Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีภาษีอากรโดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน

วิจัยการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีภาษีอากรโดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน

Description: วิจัยการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีภาษีอากรโดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน

Search

Read the Text Version

รายงานการวจิ ัย การพัฒนาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นวชิ าการบัญชภี าษอี ากร โดยใชก้ ิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning) ผู้วิจัย นางสุเมตตา จอ้ ยเจรญิ แผนกวชิ าการบญั ชี วิทยาลยั อาชีวศึกษาเพชรบรุ ี ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564

2 กติ ตกิ รรมประกาศ งานวิจัยในชั้นเรียนฉบับน้ีจัดทาข้ึนเพ่ือ (1) เพ่ือศึกษาความสนใจและความพึงพอใจ วิธีการสอนวิชาการบัญชีภาษีอากรเรื่องภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาโดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน (2) เพ่ือ ศกึ ษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวชิ าการบัญชีภาษีอากรหลงั ใชก้ ิจกรรมการเรยี นแบบการใชก้ จิ กรรมเป็น ฐาน (Activity-Based Learning) งานวิจัยสาเร็จได้ด้วยดี ผู้วิจัยขอขอบพระคุณคณาจารย์ทุกท่านท่ี ได้ประสิทธ์ิประสาทวิชาความรู้ให้แก่ผู้วิจัย ขอขอบคุณเจ้าของตาราและผลงานทางวิชาการต่างๆ ที่ ผูว้ ิจัยได้นามาอ้างอิงในงานวจิ ัยฉบับน้ี และขอขอบคุณนักศกึ ษาทกุ คนที่ให้ข้อมูลซ่ึงเป็นประโยชน์ใน การวิจัย อันจะนาไปสู่การปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในภาคการศึกษาถัดไปให้มีประสิทธิผล ย่งิ ข้ึน คุณประโยชน์อนั ใดท่ีเกิดจากงานวิจัยในช้ันเรียนฉบับนี้ผู้วิจัยขอมอบให้แด่ครูบาอาจารย์ และ บดิ ามารดาทใี่ หก้ ารศึกษาและอบรมแกผ่ ู้วจิ ยั เป็นอยา่ งดี สเุ มตตา จ้อยเจริญ มนี าคม 2564

3 ช่อื เร่ือง การพัฒนาผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นวิชาการบญั ชภี าษีอากรโดยใช้ ผู้วิจยั กิจกรรมเปน็ ฐาน (Activity-Based Learning) นางสุเมตตา จ้อยเจริญ สาขาวชิ าการบัญชี วิทยาลัยอาชวี ศึกษาเพชรบรุ ี ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 บทคดั ย่อ การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์ ดังน้ี (1) เพื่อศึกษาความสนใจและความพึงพอใจวิธีการเรียน วิชาการบัญชีภาษีอากรเรื่องภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาโดยใช้กิจกรรมการยื่นภาษีออนไลน์เป็นฐาน (Activity-Based Learning) (2) เพ่ือศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาการบัญชีภาษีอากรหลังใช้ กิจกรรมการเรียนโดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning) กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัย คร้ังน้ีคือนักศึกษาช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงชั้นปีท่ี 1 สาขาการบัญชี วิทยาลัยอาชีวศึกษา เพชรบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน 13 คน เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉล่ีย และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ผลการวจิ ัยมีดงั น้ี 1. ผ้เู รยี นสนใจและพึงพอใจวิธีการสอนวิชาการบญั ชภี าษีอากรเรือ่ งภาษีเงนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา โดยใช้กิจกรรมเป็นฐานโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ทุกด้านมี ความพึงพอใจมากท่สี ดุ ได้แก่ ด้านคุณภาพการจดั การเรยี นการสอน รองลงมาได้แก่ดา้ นประสทิ ธิภาพ การใช้ส่อื การสอน ตามลาดับ 2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาการบัญชีภาษีอากรหลังใช้กิจกรรมการเรียนโดยใช้กิจกรรม เป็นฐาน (Activity-Based Learning) ในช้ันเรียนทาให้ผู้เรียนจานวน 13 คนท่ีไม่มีพื้นฐานการเรียน วิชาภาษีเงินได้บุคคลธรรมดามาก่อน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินทุกคน ดังน้ี ระดับ 4 (ดีเยี่ยม) 9 คน คิดเป็น 69.23% ระดับ 3.5 (ดีมาก) 2 คน คิดเป็น 15.39% ระดับ 3 (ดี) 1 คน คิดเปน็ 7.69% ระดับ 2.5 (ดพี อใช้) 1 คน คิดเปน็ 7.69% ตามลาดับ

4 สารบัญ หนา้ 3 บทคดั ย่อ........................................................................................................................... 4 สารบญั ............................................................................................................................. 6 สารบัญตาราง ................................................................................................................... บทท่ี 1 บทนา ............................................................................................................... 7 ความเป็นมาและความสาคญั ของการวิจัย.................................................................. 7 วัตถุประสงค์ของการวิจยั ........................................................................................... 8 ขอบเขตของการวิจัย .................................................................................................. 8 ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะได้รับ......................................................................................... 8 นิยามศพั ท์เฉพาะ................................................................................................................ 9 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยท่เี กีย่ วข้อง................................................................................. 10 เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน....................................... 10 เอกสารท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั กิจกรรมการเรยี นร้โู ดยใชก้ ิจกรรมเป็นฐาน.............................. 10 เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี ก่ยี วข้อง ................................................................................. 12 บทท่ี 3 วธิ ดี าเนินการวจิ ยั .............................................................................................. 16 ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง ........................................................................................ 16 เครอ่ื งมอื ทใี่ ช้.............................................................................................................. 16 ขนั้ ตอนในการสรา้ งเคร่ืองมอื ..................................................................................... 17

5 สารบญั (ต่อ) หน้า บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ....................................................................................... 18 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล................................................................................................ 18 บทที่ 5 สรุปผลการวิจยั อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ .................................................. 21 สรุปผลการวิจยั .......................................................................................................... 21 อภิปรายผลการวจิ ยั ................................................................................................... 22 ขอ้ เสนอแนะจากการวจิ ัย........................................................................................... 23 บรรณานุกรม .................................................................................................................... 24 ภาคผนวก ......................................................................................................................... 25 ผลการเรยี น....................................................................................................................... 26

6 สารบัญตาราง ตาราง หน้า 1 จานวนและรอ้ ยละของข้อมลู เกย่ี วกบั นักศึกษา ...................................................... 18 2 ความสนใจและความพงึ พอใจวธิ ีสอนวิชาการบัญชภี าษอี ากร ................................ 19 3 ขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกับสื่อและกิจกรรมการเรียนวิชาการบัญชีภาษีอากร.................. 20 4 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวชิ าการบญั ชีภาษีอากร ..................................................... 20

7 บทท่ี 1 บทนา ความสาคัญของปัญหา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ในบททั่วไปกาหนดความมุ่งหมายและ หลักการในการจัดการศึกษาไว้ว่า “ต้องเป็นไปเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ทีสมบูรณ์ทั้งทาง ร่างกายและจิตใจสติ.....ความสุข” จึงถือเป็นพันธะกิจที่สาคัญทีจะต้องจัดระบบการเรียนการสอน ให้สอดคล้องกับนโยบายของสถานศึกษาและการเรียนการสอนในปัจจุบัน หากมีการสอนแบบการ เรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Active Learning) ก็อาจจะ เป็นวิธีการสอนทีมีประสิทธิภาพเหมาะสมกับ ในปัจจุบันและการปฏิรูปการศึกษาไทยนั้นสิ่งหน่ึงทีจะขาดไม่ได้เลยก็คือการสอนโดยยึดนักเรียน เป็นสาคัญ กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning เป็นนวัตกรรมการศึกษาท่ีสถาบันการศึกษา ใหค้ วามสนใจและใหค้ วามสาคัญพร้อม ๆ กบั นโยบายปฏิรปู การศึกษาตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ที่เน้นการจัดการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ หากผู้สอนนาวิธีการสอนท่ีใช้ Active learning มาใช้ในห้องเรียนสร้างวิธีการเรียนการสอนแบบใหม่ข้ึนมาให้น่าเรียน มีชีวิตชีวาได้ กระตุ้นนักเรียนให้เกิดกระบวนการตามผลการเรียนรู้ ส่งผลให้ผู้เรียนมีจิตพิสัยท่ีดีมากขึ้นได้ และ นาไปสู่ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีกว่าเดิมก็จะเป็นแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนในเร่ือง อื่นๆหรือวชิ าอ่ืนตอ่ ไป หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2564 ของสานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีการเรียนการสอนรายวิชาการบัญชีภาษีอากร รหัส 30201-2007 โดยจัดการเรียนการสอนทั้งหมด 17 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 4 ชั่วโมง เนื้อหาประกอบด้วย ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะและ อากรแสตมป์ พบว่าวชิ าน้ีเป็นวิชาที่ยากและเนื้อหามีความซับซ้อนโดยเฉพาะ เรื่องการคานวณภาษี เงินได้บุคคลธรรมดา ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า มีนักศึกษาหลายคน ท่ีสอบไม่ผ่าน ในรายวชิ าและนักศึกษาสว่ นใหญ่มีผลการเรยี นอยู่ในระดับพอใช้ถงึ ปานกลาง เนื่องจากเห็นวา่ เป็นวชิ า ท่ยี ากทาให้ไมพ่ ยายามท่ีจะทาความเขา้ ใจ ไมซ่ ักถามข้อสงสยั เพือ่ เป็นการแก้ปญั หาดงั กล่าว ผ้วู ิจัยจึง ได้นารปู แบบการเรยี นโดยใช้กิจกรรมเปน็ ฐาน (Activity-Based Learning) ได้แก่วธิ กี ารสอนแบบการ ใช้กระบวนการกลุ่มและการใชก้ รณศี กึ ษา มาเป็นฐานในการเรียนรู้ เพื่อเปน็ ทางเลอื กในการแกป้ ญั หา ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นและช่วยให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบญั ชภี าษีอากรผา่ นเกณฑ์ การประเมินทุกคน การวิจยั ในครงั้ น้จี ึงเป็นการวิจัยที่ดาเนินตามแผนการสอนและแสดงการวิเคราะห์ ผลการใช้แผนการสอนดงั กล่าว วัตถปุ ระสงคข์ องการวิจัย 1. เพอื่ ศกึ ษาความสนใจและความพึงพอใจวธิ ีการสอนวิชาการบัญชีภาษีอากรเรอ่ื งภาษเี งนิ ได้ บุคคลธรรมดาโดยใช้กจิ กรรมเป็นฐาน

8 2. เพ่ือศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีภาษีอากรหลังใช้กิจกรรมการเรียนแบบ การใชก้ จิ กรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning) สมมติฐานของการวิจยั 1. ความสนใจและความพึงพอใจวิธีการสอนวิชาการบัญชีภาษีอากรเร่ืองภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดา ของนักศึกษาท่ีได้รับการสอนโดยใช้กจิ กรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning) สามารถ ช่วยแก้ปญั หาการเรยี นของนกั ศกึ ษาได้ 2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนัก ศึกษาท่ีได้รับการสอนโดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning) มีผลการสอบผ่านเกณฑ์การประเมนิ ทุกคน ขอบเขตของการวิจัย ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง ประชากรและกลุ่มตวั อย่างเปน็ นักศึกษาช้นั ปวส.1 สาขาการบัญชี ม.6 วิทยาลยั อาชีวศกึ ษา เพชรบรุ ี ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 จานวน 13 คน ตวั แปรทีศ่ กึ ษา 1.ตัวแปรต้น คือวิธีการสอนโดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน(Activity-Based Learning) ในช้ันเรยี นเพอ่ื แกป้ ัญหาการเรียนเรอื่ งภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 2. ตัวแปรตาม ไดแ้ ก่ 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวชิ าการบญั ชภี าษอี ากร 2.2 ความสนใจและความพึงพอใจวธิ ีสอนวชิ าการบัญชีภาษอี ากร ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั จากการวจิ ัย ผลการศึกษาวิจัยจะเป็นแนวทางในการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนวิชาการบัญชีภาษี อากรระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นชั้นสูงช้ันปีที่ 1 ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยนากิจกรรม การเรียนแบบการใช้กิจกรรมเป็นฐานในชั้นเรียนมาใช้กับนักศึกษาระดับช้ัน ปวส.1 สาขาการบัญชี (ม.6) ทาให้นักศึกษามีความสนใจในการเรียนวิชาการบัญชีภาษีอากรโดยมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ผ่านเกณฑ์การประเมินทุกคน และเป็นวิธีการสอนที่สร้างความพึงพอใจทาให้นักศึกษารู้สึกว่า เนื้อหาวชิ าทจี่ ะเรียนไมไ่ ด้ยากอกี ตอ่ ไป นิยามศัพทเ์ ฉพาะ 1. ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน หมายถึง คะแนนของนักศึกษาท่ีได้จากการประเมินผลหลังเรียน วิชาการบัญชภี าษอี ากรซงึ่ เครื่องมอื เปน็ ขอ้ สอบทคี่ รสู ร้างขนึ้ เอง 2. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกของนักศึกษาที่มตี ่อสื่อและรปู แบบการจดั กิจกรรมการ เรียนการสอนแบบการใช้กระบวนการกลุ่มและการใช้กิจกรรมเป็นฐาน รายวิชาการบัญชีภาษีอากร

9 สาหรับนักศึกษาระดับช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันชั้นปีท่ี 1 สาขาการบัญชี(ม.6) ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 โดยใชแ้ บบสอบถามความพงึ พอใจต่อสื่อและกิจกรรมการเรยี น 3. การเรียนรู้โดยใชก้ จิ กรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning) หมายถึงรูปแบบการเรียน การสอนทม่ี ุ่งเน้นส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นมีส่วนรว่ มในการเรียนรู้และมีบทบาทในการเรยี นรู้โดยเอากจิ กรรม เช่น เกมในชั้นเรียน กิจกรรม “คิด-จับคู่-แลกเปล่ียน” การเรียนแบบกลุ่มร่วมแรงร่วมใจ และการ แสดงบทบาทสมมุติ เป็นทต่ี ั้งเพือ่ ท่ีจะฝึกหรอื พัฒนาผู้เรียนให้เกดิ การเรยี นรใู้ ห้บรรลุวตั ถปุ ระสงคห์ รือ เป้าหมายทีก่ าหนด

10 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวขอ้ ง ในการวิจัยคร้ังนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องและได้นาเสนอตามหัวข้อ ต่อไปนี้ 1. เอกสารและงานวิจัยทเี่ กยี่ วข้องกับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 2. เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั กจิ กรรมการเรยี นแบบการใช้กระบวนการกลมุ่ 3. เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั ความสนใจและความพึงพอใจ 1. เอกสารและงานวิจัยทเี่ ก่ียวข้องกบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ความหมายของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง คุณลักษณะ และความรู้ความสามารถของบุคคลอันเป็นผลมาจากการเรียนการสอน หรือประมวลประสบการ ทีบ่ ุคคลได้รับจากการเรียนการสอนทาใหบ้ ุคคลเกิดการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของสมรรถภาพสมอง ซึ่งสามารถวัดออกมาได้เป็นคะแนน โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน (เกียรติศักด์ิ ส่องแสง, มปป.) 2. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน (Activity- Based Learning) ในชนั้ เรยี น 2.1 ทฤษฎแี ละแนวคิดเก่ียวกับการสอนแบบมีส่วนร่วม (Active learning) พ.ร.บ.การศกึ ษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 ในหมวด 4 ได้เน้นและให้ความสาคัญกับกระบวนการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียน เป็นสาคญั ซ่ึงหมายถึง การจัดกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมการเรียนรู้ทีสอดคล้องกบั การนาไปใช้ ในชีวิตจริง สามารถนาไปปฏิบัติและประยุกต์ใช้ได้ “เป็นกระบวนการเรียนรู้ทีผู้เรียนมีส่วนร่วมใน การปฏิบัติจริงได้พัฒนากระบวนการคิด วิเคราะห์ศึกษา ค้นคว้า ทดลองและแสวงหาความรู้ ด้วยตนเองตามความถนัด ความสนใจ ด้วยกระบวนการและแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ทั้งในและนอก ห้องเรียน สามารถนาความร้แู ละประสบการณ์ไปพัฒนา คุณภาพชีวิตของตน สังคม และส่วนรวม ” กระบวนการการเรยี นรู้ท่ีคลา้ ยคลงึ กบั Active Learning แตกตา่ งกนั ที่กลุ่มผ้เู รยี นในระดับการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน ซึ่งยังเป็นเยาวชนอยู่ จึงเรียกว่า Child Center ส่วนกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่มงุ่ เนน้ การเรียนร้ทู ่ีมีข้ันตอนการจดั กิจกรรมการ เรียนร้ดู ังนี้ 2.1.1 กาหนดผลการเรียนรู้ (Learning Outcome) ให้ครอบคลุมองค์ความรู้ท่ีต้องการ ให้ เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทักษะเจตคตกิ ระบวนการ คุณธรรม และจรยิ ธรรม 2.1.2 กาหนดสาระการเรียนรู้ ให้ครอบคลุมเน้ือหาและสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ ท่ี ต้องการให้เกดิ ขึน้ กับผู้เรยี น 2.1.3 ออกแบบหรอื ทาแผนกจิ กรรมการเรยี นรู้ ซึ่งเน้นกจิ กรรม 4 องค์ประกอบดงั นี้ 2.1.3.1 การแลกเปล่ียนประสบการณ์เรียนรู้ หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ท่ี กระตนุ้ ให้ผู้เรียนดึงประสบการณ์เดิมของตนเอง ออกมาเช่ือมโยงหรืออธิบายปัญหาใหม่ที่พบเพ่ือ

11 นาไปสู่การสร้างองคค์ วามรู้ หรือขอ้ สรุปการกระตุ้นให้เกดิ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์นี้ ครูอาจใช้วีดที ัศน์ สถานการณ์จาลอง ตง้ั คาถาม หรือ สื่อกิจกรรมอ่ืน ๆ กไ็ ด้ 2.1.3.2 การสร้างองคค์ วามรรู้ ่วมกนั โดยการตั้งประเดน็ ปัญหาหรอื คาถามให้ผู้เรียน ได้ คิด วิเคราะห์ และสร้างสรรค์มวลประสบการณ์ร่วมกัน อาจใช้คาถามหรือสถานการณ์จาลองที่ ทา้ ทายอารมณ์ ความรู้สกึ ของผู้เรียน เชน่ ความรกั และความเมตตาตา่ งกันอย่างไร ? เปน็ ตน้ 2.1.3.3 การนาเสนอความรู้ หมายถึง การหลอมรวมแนวคิดที่ได้จากการอภิปราย กลุ่ม เข้ากับหลักการทฤษฎีท่ีครูจัดเตรียมให้ หรือค้นคว้ามาจากแหล่งเรียนรู้ มาสังเคราะห์ภายใน กล่มุ ผู้เรยี น จนเกิดความเช่ือมนั่ ยอมรับวา่ เปน็ ข้อเท็จจริง เชน่ การนาปัญหา โทษภัยจากการสูบบหุ ร่ี หรอื สง่ิ เสพตดิ ทกุ ชนดิ ลว้ นเกดิ โทษภยั ตอ่ ตนเอง สังคม และประเทศชาติ โดยรวมจนผเู้ รียนยอมรับ 2.1.3.4 การประยุกต์ใช้ นาเสนอ หรือลงมือปฏิบตั ิ หมายถงึ การนาเสนอความร้นู ั้น ต่อกลุ่มในห้องเรียน การนาเสนอต่อสาธารณะในลักษณะ ป้ายนิเทศ ป้ายโฆษณา หรือการเผยแพร่ ทางสื่อมวลชน และหากผู้เรียนสามารถนาไปใช้ในชีวิตจริงได เช่น การลดและเลิกการสูบบุหรี่ สงิ เสพติดเพราะตระหนักและเชื่อในส่ิงท่ีพบ ถือวา่ เป็นผลการเรียนรู้ท่ีมีคุณค่าสูงสุด (ไพบูลย์ เปานลิ . 2546: 51-57) 2.2 การเรียนร้โู ดยใชก้ ิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning) เป็นวิธกี ารจดั การเรยี นรู้ ที่พัฒนามาจากแนวคิดในการจัดการเรียนการสอนท่ีเผยแพร่ในปลายศตวรรษที่ 20 ที่เรียกว่า การเรียนรู้ท่ีเน้นบทบาทและการมีส่วนร่วมของผู้เรยี น หรือ “การเรียนรเู้ ชงิ รุก” (Active Learning) ซึ่งหมายถึงรูปแบบการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นส่งเสริมให้ผเู้ รียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ และบทบาท ในการเรยี นรู้ของผู้เรียน \"ใช้กิจกรรมเป็นฐาน\" หมายถึงเอากิจกรรมเป็นท่ีต้ังเพื่อที่จะฝึกหรือพัฒนา ผเู้ รยี นใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ใหบ้ รรลุ วตั ถปุ ระสงค์หรือเป้าหมายท่ีกาหนด ลกั ษณะสาคัญของการเรียนร้โู ดยใชก้ จิ กรรมเปน็ ฐาน 1. ส่งเสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นมคี วามต่ืนตัวและกระตอื รือร้นด้านการรู้คดิ 2. กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้จากตัวผู้เรียนเองมากกว่าการฟังผู้สอนในห้องเรียนและ การทอ่ งจา 3. พัฒนาทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง ทาให้เกิดการเรียนรู้ อยา่ งต่อเน่ืองนอกหอ้ งเรยี นอีกด้วย 4. ได้ผลลัพธ์ในการถ่ายทอดความรู้ใกล้เคียงกับการเรียนรู้รูปแบบอ่ืน แตไ่ ดผ้ ลดีกว่าในการ พัฒนาทกั ษะดา้ นการคดิ และการเขียนของผเู้ รียน 5. ผู้เรียนมีความพึงพอใจกับการเรียนรู้แบบน้ีมากกว่ารูปแบบที่ผู้เรียนเป็นฝุายรับความรู้ ซ่ึงเปน็ การเรยี นรแู้ บบตง้ั รับ (Passive Learning) 6. มุ่งเน้นความรับผดิ ชอบของผู้เรยี นในการเรียนร้โู ดยผา่ นการอา่ น เขยี น คิด อภปิ ราย และ เขา้ ร่วมใน การแก้ปญั หา และยังสมั พันธ์เกี่ยวขอ้ งกับการเรยี นรู้ตามลาดบั ข้ันการเรียนรขู้ องบลูมทง้ั ใน ดา้ นพุทธพิ สิ ัย ทักษะพิสยั และจติ พสิ ยั หลักการจดั การเรียนรโู้ ดยใชก้ ิจกรรมเปน็ ฐาน 1. ใหค้ วามสนใจทต่ี ัวผู้เรยี น 2. เรยี นรผู้ า่ นกิจกรรมการปฏิบตั ทิ น่ี ่าสนใจ

12 3. ครผู ูส้ อนเปน็ เพียงผอู้ านวยความสะดวก 4. ใช้ประสาทสัมผัสทง้ั 5 ในการเรียน 5. ไมม่ กี ารสอบ แตป่ ระเมินผลจากพฤติกรรม ความเข้าใจ ผลงาน 6. เพ่อื นในช้นั เรยี นช่วยสง่ เสรมิ การเรยี น 7. มีการจัดสภาพแวดล้อม และบรรยากาศท่ีเอื้อต่อการพัฒนาความคิด และเสริมสร้าง ความม่ันใจในตนเอง ประเภทของการเรียนรโู้ ดยใชก้ จิ กรรมเป็นฐาน กิจกรรมการเรียนรู้โดยวธิ ีใช้กิจกรรมเป็นฐานมีหลากหลายกิจกรรม การนามาใชข้ ึ้นอยู่กับ ความ เหมาะสมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรมนั้นๆ ว่ามุ่งให้ผู้เรียนได้เรียนรู้หรือ พฒั นาในเรอื่ งใด โดยท่ัวไปสามารถจาแนกออกเปน็ 3 ประเภทหลกั ๆ คอื 1. กิจกรรมเชิงสารวจ เสาะหา ค้นคว้า (Exploratory) ซ่ึงเกี่ยวข้องกับการรวบรวมส่ังสม ความรู้ ความคดิ รวบยอดและทกั ษะ 2. กิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ (Constructive) ซ่ึงเก่ียวขอ้ งกับการรวบรวมส่ังสมประสบการณ์ โดยผ่านการปฏบิ ตั ิหรอื การทางานที่รเิ รม่ิ สร้างสรรค์ 3. กจิ กรรมเชิงการแสดงออก (Expressional) ไดแ้ กก่ ิจกรรมทเี่ กยี่ วกับการนาเสนอผลงาน กิจกรรมการเรยี นรู้ท่ีนยิ มใช้ - การอภิปรายในช้ันเรียน (class discussion ) ที่กระทาได้ท้ังในห้องเรียนปกติ และการ อภิปราย ออนไลน์ - การอภปิ รายกลุ่มย่อย (Small Group Discussion) - กิจกรรม “คดิ -จบั คู่-แลกเปลย่ี น” (think-pair-share) - การฝกึ เขียนขอ้ ความสั้นๆ (One-minute Paper) - การโตว้ าที (Debate) - บทบาทสมมุติ (Role Play) - การเรียนรูโ้ ดยใชส้ ถานการณ์ (Situational Learning) - การเรียนแบบกลุม่ รว่ มแรงร่วมใจ (Collaborative learning group) - เกมในชนั้ เรยี น (Game) - แกลเลอรี่ วอลค์ (Gallery Walk) - การเรียนรูโ้ ดยการสอน (Learning by Teaching) ฯลฯ 3. เอกสารและงานวจิ ัยที่เกยี่ วขอ้ งกบั ความสนใจ ดิวอี้ ( Dewey. 1965 : 66 ) กล่าวว่า ความสนใจ คือความรู้สึกชอบหรือความพอใจท่ีมีต่อ ส่ิงหนึง่ แนวคิดใดแนวคิดหนงึ่ หรอื กจิ กรรมใดกิจกรรมหนึง่ โพเวลล (Powell. 1963 : 330 ) กล่าวว่า ความสนใจ หมายถึง แรงผลักดันที่กระตุ้น ให้บคุ คลกระทาสง่ิ ใดใหส้ าเร็จลลุ ่วงไปดว้ ยดี

13 จากความหมายท่ีกล่าวมา สรุปได้ว่า ความสนใจ หมายถึง ความรู้สึกอยากรู้อยากเห็นต่อ ส่งิ ใดส่ิงหน่ึงทั้งที่เป็นบุคคล สิ่งของ กิจกรรม ซึ่งแสดงออกโดยการศึกษาค้นคว้า เพิ่มเตมิ การติดตาม ความ เปล่ยี นแปลงของส่ิงที่สนใจน้นั สุโท เจรญิ สขุ ( 2522 : 72 ) ใหแ้ นวการจดั การเรยี นตามความสนใจของผู้เรยี นไว้ดงั นี้ 1. คานึงถึงสัญชาติญาณความอยากรู้อยากเห็นของผู้เรียนโดยนาเอาเร่ืองราวหรือ ส่งิ แปลกใหมม่ าเลา่ หรือแสดงให้นักเรยี นดู 2. ทาบทเรียนใหส้ นุกโดยใชอ้ ุปกรณก์ ารสอนหรอื เทคนคิ วธิ ีการสอนหลาย ๆ รูปแบบ 3. ทาใหบ้ ทเรยี นกระจ่าง โดยใชถ้ อ้ ยคาทง่ี ่าย ๆ หรือ เนน้ รูปธรรมมากกวา่ นามธรรม 4. ให้นกั เรียนมีโอกาสแสดงความคดิ เห็น หรือกระต้นุ ใหผ้ ู้เรียนรว่ มกิจกรรมการเรียนอยู่ เสมอ ดว้ ยการใช้คาถาม ใชก้ ิจกรรม หรืออุปกรณต์ า่ ง ๆ เขา้ มาช่วยสอน 5. จดั ส่ิงแวดล้อมรอบ ๆ ตัวให้ผู้เรียนนา่ สนใจ เชน่ จดั นทิ รรศการ การอภปิ รายจดั ชุมนุม จัดการแสดงหนงั สอื ฯลฯ วนชิ บรรจง และคณะ (2516 : 33-34) เสนอแนะวิธกี ารสร้างความสนใจไวด้ ังนี้ 1. ก่อนจะสอนเรอ่ื งใดก็ตาม ต้องสร้างความรูพ้ ืน้ ฐานในเรื่องนนั้ ๆ ให้แกน่ กั เรยี นกอ่ น 2. จดั บทเรียนใหเ้ หมาะกบั ความสามารถในการเรียนของนกั เรยี น 3. จัดกจิ กรรมใหน้ ักเรียนไดท้ างานได้สาเร็จเปน็ ชิ้นเปน็ อนั 4. ชี้แจงให้นักเรียนเห็นความก้าวหน้าของตนเอง ซ่ึงเป็นแรงจูงใจที่จะทาให้นักเรียน อยากเรียนและมคี วามสนใจในงานน้ันมากขนึ้ 5. ในการสอนครคู วรชใ้ี หน้ กั เรียนไดเ้ ห็นความน่าสนใจของเรื่องทีเ่ รียน 6. จัดสภาพในการเรยี นใหเ้ ปน็ ทีน่ า่ ร่ืนรมย์ 7. ในการสอนแตล่ ะคร้ัง ครูควรจัดหาอปุ กรณ์การสอนทีเ่ หมาะสมมาใช้ 8. ในการสอนแตล่ ะครง้ั ครตู อ้ งม่งุ สรา้ งเจตคตทิ ่ดี ตี ่อวชิ านั้นควบคู่ไปด้วย 9. ควรจัดให้นกั เรยี นมสี ่วนร่วมในกิจกรรมใหม้ ากที่สุด 10. จดั บทเรยี นใหม้ ีความหมายตอ่ ชีวติ ของนกั เรียน สรุปได้ว่า การสร้างความสนใจในบทเรียนเป็นหน้าท่ีที่สาคัญของครูผู้สอนที่จะต้องทาให้ เกิดข้ึนในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ซึ่งจะต้องใชเ้ ทคนคิ และวิธีการสอนท่ีเรา้ ความสนใจดึงดูด ความสนใจของผู้เรียน ท้ังนเ้ี พ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้สึกอยากจะเรียนรู้ ติดตามแสวงหาคาตอบเพ่ือท่ีจะ ทาใหผ้ เู้ รยี นประสบความสาเรจ็ ในการเรยี นต่อไป

14 บทท่ี 3 วธิ ีดาเนินการวิจัย ในการวิจัยครัง้ นี้ ผ้วู จิ ัยได้ดาเนนิ การตามข้ันตอน คือ 1. ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง 2. เครอื่ งมือทใ่ี ช้ 3. ขั้นตอนในการสรา้ งเครอ่ื งมือ 4. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 5. การวิเคราะห์ขอ้ มลู 6. สถิติท่ีใช้ในการวิจยั 1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง ประชากรและกลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี เป็นนักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชน้ั สูงชนั้ ปที ี่ 1สาขาการบัญชี (ม.6) ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 จานวน 1 หอ้ งเรียนรวม 13 คน 2. เคร่อื งมอื ท่ใี ช้ เคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลในงานวิจัยครั้งน้ี คือ แบบสอบถาม (questionnaire) โดยแบง่ ออกเปน็ 3 ตอน ดงั นี้ ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลทวั่ ไป ตอนท่ี 2 เป็นคาถามเก่ียวกับความสนใจและความพึงพอใจวิธีการจัดการเรียนการสอน รายวิชาการบัญชีภาษีอากร ลักษณะของคาถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (rating scale) 5 ระดับ ตั้งแต่ (1) น้อยที่สุด (2) น้อย (3) ปานกลาง (4) มาก (5) มากท่ีสุด มีประเด็นการประเมิน 3 ดา้ น ตอนที่ 3 เป็นคาถามเกี่ยวกับความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ในการใช้ส่ือและการ จัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมการพัฒนาความรู้และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักศึกษา ลักษณะของ คาถามเปน็ แบบปลายเปิด 3. ขั้นตอนการสร้างเคร่ืองมือ 1.ศึกษาหลักสตู รและจุดประสงค์การเรยี นรู้วิชาการบัญชภี าษอี ากร รายละเอยี ดเกย่ี วกับการ สร้างแผนการสอนโดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning) จากเอกสารตาราและ งานวิจัยต่าง ๆ ตลอดจนตัวอย่างกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ (เทคนิคการสอนแบบ Jigsaw) จาก เอกสารเผยแพรค่ วามรู้ ผเู้ ชีย่ วชาญ (วไิ ลพร ดาสะอาด,2542) 2. ศึกษาหลักการและทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องกับกิจกรรมการเรียนแบบการใช้กิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning) 3. จดั แบง่ เนอื้ หารายวชิ าการบัญชีภาษีอากรเปน็ 6 หน่วยการเรียนรู้ 4. สรา้ งแผนการสอน จานวน 1 แผน มีจดุ ประสงค์การเรยี นรู้คือ

15 4.1 ให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับหลักการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ตาม ประมวลรัษฎากร 4.2. มีทักษะในการคานวณ การบันทึกบัญชี จัดทารายงาน และย่ืนแบบแสดงรายการ เกยี่ วกับภาษี ตามประมวลรัษฎากร 4.3. มีกิจนิสัย มีระเบียบ ละเอียดรอบคอบ ซื่อสัตย์ มีวินัยตรงต่อเวลา และมีเจตคติท่ีดี ตอ่ วิชาชีพบญั ชี 5. ให้ผู้เรียนเรียนเป็นกลุ่ม และทากิจกรรมแบบร่วมมือ ใช้กจิ กรรมเกม และใช้กิจกรรมการ ยืน่ ภาษอี อนไลน์ใหก้ บั ผู้มเี งินไดร้ ายละหน่งึ คน 4. การเก็บรวบรวมข้อมลู ผู้วิจัยได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยแจกแบบสอบถาม QR Code ให้นักศึกษาเพ่ือ ประเมินเกี่ยวกับความสนใจและความพึงพอใจวิธีการสอนรายวิชาการบัญชีภาษีอากร ในสัปดาห์ที่ 16-17 ของการเรียนการสอน เมื่อรวบรวมข้อมูลได้ครบจานวน 13 คนแล้วจึงนาแบบสอบถามไป ตรวจสอบความถูกตอ้ งและครบถ้วนของข้อมูล เพื่อนาข้อมูลไปวเิ คราะห์และแปลผลตอ่ ไป 5. การวิเคราะหข์ ้อมลู และสถิตทิ ่ใี ช้ในการวจิ ัย 5.1 การวิเคราะห์ข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลครบตามจานวนแล้ว ผู้วิจัยใช้สถิติในการ วเิ คราะห์ข้อมลู ดงั นี้ 5.1.1 สถิตเิ ชิงพรรณนา (descriptive statistics) ไดแ้ ก่ (1) ค่าความถ่ี (frequency) และค่าร้อยละ (percentage) เพื่ออธิบายข้อมูล เก่ียวกับนักศึกษา ประกอบด้วย เพศ จานวนคร้ังในการเข้าเรียน และกิจกรรมการเรียนใดท่ีช่วย สง่ เสริมพฤติกรรมการแบง่ ปันความรขู้ องนักศึกษา (2) ค่าเฉล่ีย (mean) และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (standard deviation) เพ่ือ วิเคราะห์ขอ้ มลู ความสนใจและความพึงพอใจของนกั ศึกษา การแปลความหมายจะใช้เกณฑ์ ดังนี้ ระดบั คะแนน การแปลผล 4.50 – 5.00 มากทสี่ ดุ 3.50 – 4.49 มาก 2.50 – 3.49 ปานกลาง 1.50 – 2.49 นอ้ ย 1.00 – 1.49 นอ้ ยท่ีสุด

16 บทท่ี 3 วธิ ีดาเนนิ การวจิ ยั การวิจัยเร่ืองการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาการบัญชีภาษีอากรโดยใช้กิจกรรมเป็น ฐาน (Activity-Based Learning) ผู้วิจัยได้ดาเนินการตามระเบียบวิธีวิจัยซึ่งประกอบด้วยหัวข้อ ดังตอ่ ไปนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง 2. เครือ่ งมอื ท่ีใช้ 3. ขัน้ ตอนในการสร้างเคร่อื งมือ 4. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 5. การวิเคราะห์ข้อมลู 6. สถิตทิ ่ีใช้ในการวิจยั 1. ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง 1.1 ประชากรท่ีใช้ในการวิจยั คือ นักศึกษาช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพชนั้ สูง ชั้นปีที่ 1 สาขา การบญั ชี ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 จานวน 1 ห้องเรยี น รวม 13 คน 1.2 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ นักศึกษาช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง ชั้นปีท่ี 1 สาขา การบญั ชีทล่ี งทะเบียนเรยี นในรายวิชาการบัญชภี าษอี ากรภาคเรียนที่1ปีการศึกษา 2564 จานวน13 คน 2. เครอ่ื งมอื ทใี่ ช้ เครือ่ งมือในการเก็บรวบรวมข้อมลู ในงานวิจัยครั้งน้ี คอื แบบสอบถาม (questionnaire) โดย แบง่ ออกเปน็ 3 ตอน ดังน้ี ตอนที่ 1 เป็นคาถามเก่ียวกับนักศึกษา ลักษณะของคาถามเป็นแบบมีสองตัวเลือกให้ตอบ จานวน 1 ข้อ และคาถามแบบหลายตัวเลือกให้เลือกตอบ (multiple choices) จานวน 1 ข้อ รวม จานวนทง้ั ส้ิน 2 ข้อ ตอนที่ 2 เป็นคาถามเก่ียวกับความสนใจและความพึงพอใจของนักเรียนต่อส่ือและกิจกรรม การเรียนในรายวิชาการบัญชีภาษีอากร ลักษณะของคาถามเปน็ แบบมาตราสว่ นประมาณค่า (rating scale) 5 ระดับ ตั้งแต่ (1) น้อยท่ีสุด (2) น้อย (3) ปานกลาง (4) มาก (5) มากที่สุด จานวน 2 ด้าน ได้แก่ด้านคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและด้านประสทิ ธิภาพการใชส้ อ่ื การสอน รวม 15 ข้อ ตอนท่ี 3 เป็นคาถามเกี่ยวกับความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ในการใช้ส่ือและการจัด กจิ กรรมเพื่อส่งเสริมการพัฒนาความรู้และผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของนักศึกษา ลักษณะของคาถาม เปน็ แบบปลายเปิด

17 3. ขนั้ ตอนในการสรา้ งเครือ่ งมอื ขน้ั ตอนในการสร้างเคร่ืองมือ คือ แบบสอบถาม มีดังนี้ 3.1 ผู้วิจัยศึกษารวบรวมข้อมูลต่างๆ จากแนวคิดและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง รวมทั้งศึกษาวิธีการ สรา้ งแบบสอบถามงานวิจัย 3.2 ศึกษาวัตถปุ ระสงค์ กรอบแนวคดิ ในการศึกษา และสมมติฐานการศึกษา 3.3 นิยามตวั แปรเพอื่ สร้างแบบสอบถาม 3.4 สร้างแบบสอบถามให้ครอบคลมุ ตวั แปรทใี่ ช้ในการศกึ ษา

18 บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู การวิจัยเร่ืองการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีภาษีอากรโดยใช้กิจกรรมเป็น ฐาน (Activity-Based Learning) ผู้วิจัยได้แบ่งการนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลออกเป็น 3 ตอน ดังน้ี ตอนที่ 1 ข้อมูลท่ัวไปเกีย่ วกับนกั เรียน ตอนท่ี 2 ความสนใจและความพงึ พอใจวธิ สี อนวิชาการบญั ชภี าษีอากร ตอนท่ี 3 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอน่ื ๆ ตอนท่ี 4 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนวิชาการบญั ชภี าษอี ากร ซ่ึงสอดคลอ้ งกับวัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ัยดังนี้ (1) เพ่ือศึกษาความสนใจและความพงึ พอใจวิธี สอนวิชาการบัญชีภาษีอากรท่ีใช้กิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning) ในช้ันเรียน (2) เพ่ือ ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีภาษีอากรหลังใช้กิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning) ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ท่ัวไป ตารางที่ 1 จานวนและรอ้ ยละของขอ้ มลู เกย่ี วกับนกั เรยี น ข้อมูลทว่ั ไป จานวน ร้อยละ เพศ 23.08 76.92 ชาย 3 100 หญงิ 10 - 15.38 รวม 13 38.46 46.16 ผลการเรยี นเฉลีย่ - ต่ากวา่ 2.00 - 100 ระหวา่ ง 2.01 – 2.50 2 ระหวา่ ง 2.51 – 3.00 5 ระหวา่ ง 3.01 – 3.50 6 ตง้ั แต่ 3.51 ขึ้นไป - รวม 13 จากตารางท่ี 1 พบว่า นักเรียนที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน 10 คน คดิ เป็นร้อยละ 76.92 เพศชาย จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 23.08 และมีผลการเรียนเฉล่ียระหว่าง 2.01 – 2.50 จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 15.38 ระหว่าง 2.51 – 3.00 จานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 38.46 ระหว่าง 3.01 – 3.50 จานวน 6 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 46.16 ตามลาดบั

19 ตอนท่ี 2 ความสนใจและความพงึ พอใจวธิ สี อนวิชาการบญั ชภี าษอี ากร ตารางที่ 2 ความสนใจและความพึงพอใจวิธสี อนวชิ าการบัญชีภาษีอากร ข้อ ประเด็นการประเมนิ คา่ ค่า การแปลงคา่ เฉลี่ย เบ่ยี งเบน ความ มาตรฐาน พงึ พอใจ 1. ด้านคณุ ภาพการจัดการเรยี นการสอน 1.1 การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นการสอนมีความชัดเจน 4.73 0.65 มากทส่ี ดุ 1.2 ข้นั ตอนการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนแตล่ ะขน้ั เข้าใจงา่ ย 4.91 0.30 มากที่สดุ 1.3 การออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ 4.73 0.47 มากที่สุด 1.4 กจิ กรรมการเรยี นการสอนทีอ่ อกแบบไวส้ ามารถปฏิบตั ไิ ดจ้ รงิ 5 0 มากทส่ี ุด 1.5 กิจกรรมการเรียนการสอนกระต้นุ ให้นักศึกษาต้ังใจเรยี นมีความ 4.91 0.30 มากทสี่ ุด เขา้ ใจและนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ไดจ้ ริง 1.6 จดั กิจกรรมการเรียนการสอนเหมาะสม/สอดคลอ้ งกบั เนอื้ หาวชิ า 4.82 0.47 มากท่ีสดุ 1.7 การออกแบบการเรยี นการสอนสอดคล้องกบั เวลาทใ่ี ช้ในการ 4.73 0 มากทสี่ ดุ จัดการเรยี นรู้ 1.8 กจิ กรรมการเรียนการสอนงา่ ยตอ่ การวดั และประเมนิ ผล 4.91 0.30 มากท่สี ดุ 1.9 จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนเหมาะสมกับสถานที่และสือ่ การสอน 4.82 0.40 มากท่สี ุด 1.10 การออกแบบการสอนและการจัดกจิ กรรมบรรลจุ ุดม่งุ หมาย 4.91 0.30 มากทส่ี ดุ รวม 4.85 0.19 มากที่สดุ 2. ดา้ นประสทิ ธิภาพการใช้สอ่ื การสอน 2.1 สื่อการสอนทใี่ ช้สอดคลอ้ งกบั เนื้อหา 4.73 0.47 มากที่สุด 2.2 ส่ือการสอนที่ใช้มรี ูปแบบน่าสนใจในการศึกษาเรียนรู้ 4.73 0.47 มากทส่ี ุด 2.3 สอ่ื การสอนท่ใี ช้กระตนุ้ กระบวนการคิดวเิ คราะห์ 4.82 0.40 มากทส่ี ุด 2.4 ส่อื การสอนสามารถเพ่ิมพูนความรเู้ ขา้ ใจได้ 4.82 0.40 มากทสี่ ดุ 2.5 สอื่ การสอนมปี ระสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู้ 4.82 0.40 มากท่ีสุด รวม 4.78 0.05 มากทีส่ ุด รวมท้ังสน้ิ 4.81 0.10 มากทีส่ ดุ จากตารางท่ี 2 พบว่า ผู้เรียนมีความสนใจและความพึงพอใจต่อสื่อและกิจกรรมการเรียน วิชาการบญั ชีภาษีอากรโดยภาพรวมอยใู่ นระดับมากทสี่ ุด ( x = 4.81) เมอ่ื พจิ ารณาเป็นรายดา้ นพบว่า ทกุ ด้านมีความพึงพอใจมากท่ีสุดไดแ้ ก่ ด้านคุณภาพการจัดการเรียนการสอน ( x = 4.85) รองลงมา เป็นดา้ นประสทิ ธิภาพการใชส้ อ่ื การสอน ( x = 4.81) ตามลาดบั เมอ่ื พิจารณาความสนใจและความพงึ พอใจโดยรวมต่อด้านคุณภาพการจัดการเรียนการสอน พบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจมากท่ีสุดทุกข้อ ได้แก่กิจกรรมการเรียนการสอนท่ีออกแบบไว้สามารถ ปฏิบัติได้จริง( x = 5) ขั้นตอนการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนแต่ละข้ันเข้าใจง่าย,กิจกรรมการเรียน การสอนกระตุ้นให้นักศึกษาต้ังใจเรียนมีความเข้าใจและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้จริง( x = 4.91) รองลงมาจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเหมาะสม/สอดคล้องกับเนื้อหาวชิ า,จัดกิจกรรมการเรียนการ สอนเหมาะสมกับสถานที่และสื่อการสอน ( x = 4.82) การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนมี ความชัดเจน,การออกแบบกิจกรรมการเรียนรเู้ น้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ,การออกแบบการเรียนการสอน สอดคล้องกบั เวลาทใี่ ช้ในการจัดการเรยี นรู้( x = 4.73) ตามลาดบั

20 เม่ือพิจารณาด้านประสิทธิภาพการใช้ส่ือการสอนท่ีผู้สอนใช้ในการจัดการเรียนการสอน พบว่าผู้เรียนมีความพึงพอใจมากที่สุดทุกข้อ ได้แก่ สื่อการสอนท่ีใช้กระตุ้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ ,ส่ื อ ก ารส อน สาม าร ถเพ่ิ ม พู น ค ว าม รู้เข้ าใจ ได้ ,สื่อ ก ารส อ น มี ป ระ สิ ท ธิภ าพ ใน กา รจัด ก ารเรี ยน รู้ ( x = 4.82) ส่ือการสอนที่ใช้สอดคล้องกับเน้ือหาและสื่อการสอนท่ีใช้มีรูปแบบน่าสนใจในการศึกษา เรียนรู้( x = 4.73) ตามลาดับ ตอนท่ี 3 ความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ ตารางที่ 3 ขอ้ เสนอแนะเก่ียวกับสือ่ และกิจกรรมการเรียนวชิ าภาษเี งินได้นติ ิบคุ คลกับการบัญชี ข้อเสนอแนะ ความถี่ 1. ต้องการให้สอนและทาแบบฝกึ ในหอ้ งเรียนเพอ่ื ลดการบ้าน 1 2. ให้สอนใหเ้ ข้าใจแบบฟอรม์ ในการเขยี นและการคานวณอยา่ งชัดเจนขนึ้ 1 3. ขอให้จดั กจิ กรรมแบบนี้ตอ่ ไปเรอ่ื ยๆซ่ึงความร้นู ีส้ ามารถนาไปใช้ในอนาคตไดจ้ ริง 1 4. ตอ้ งการใหม้ กี ารจดั กิจกรรมแบบนีอ้ ยา่ งตอ่ เน่อื ง 1 รวม 4 จากตารางท่ี 3 ผลการวิจยั พบข้อเสนอแนะด้านการใช้สื่อและกจิ กรรมการเรยี นดังนี้ ผูเ้ รยี น ต้องการให้จัดกิจกรรมเป็นฐานอย่างต่อเน่ือง 34% และต้องการให้มีเวลาในการทากิจกรรมมากขึ้น กวา่ เดิม 22% ให้เพิ่มเวลาเรียนและแบ่งคาบเรยี นใน 1 สัปดาห์เป็น 2 วัน 22% พบปัญหาห้องเรยี น มีแสงสวา่ งมากทาใหม้ องเหน็ สือ่ ไม่ชดั เจน 11% และต้องการใหส้ ่ือมสี ีสันมากขน้ึ 11% ตามลาดับ ตอนที่ 4 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนวชิ าการบญั ชีภาษีอากร ตารางที่ 4 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวชิ าการบญั ชีภาษีอากร หลังใชก้ ิจกรรมเปน็ ฐาน (Activity-Based Learning) ระดับช้นั 4 ระดบั ผลการเรยี น 0 รวม 3.5 3.0 2.5 2.0 1.5 1. ปวส.1 บัญชีหอ้ ง 3 9 2 1 1 - - - - 13 รวม 9 2 1 1 - - - - 13 % 69.23 15.39 7.69 7.69 - - - - 100 จากตารางที่ 4 พบว่าหลังใช้กิจกรรมการเรียนแบบใช้กิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning) ในช้นั เรยี น ผเู้ รียนจานวน 13 คน มีผลสัมฤทธิผ์ า่ นเกณฑก์ ารประเมินทกุ คนดงั นี้ ระดับ 4 (ดีเยี่ยม) 9 คน คิดเป็น 69.23% ระดับ 3.5 (ดีมาก) 2 คน คิดเป็น 15.39% ระดับ 3 (ดี) 1 คน คิด เปน็ 7.69% ระดับ 2.5 (ดพี อใช)้ 1 คน คิดเปน็ 7.69% ตามลาดับ

21 บทท่ี 5 สรปุ ผลการวิจัย อภปิ รายและขอ้ เสนอแนะ การวิจัยครั้งน้ี เป็นการศึกษาความสนใจและความพึงพอใจวิธีการสอนเพื่อการพัฒนา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาการบัญชีภาษีอากรของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นชน้ั สูง ช้ันปีที่ 1 สาขาการบัญชี วิทยาลัยอาชีวศึกษาเพชรบุรี ที่ได้รับการสอนโดยการใช้กิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning) เป็นการวจิ ัยเชงิ สารวจ โดยใช้กลมุ่ ทดลองกลุม่ เดยี ว 1. สรุปผลการวจิ ยั ตอนท่ี 1. ข้อมลู ท่ัวไปของนักศึกษา ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง และมีผลการเรียน เฉลีย่ ต้ังแต่ 3.01 ข้นึ ไป ตอนท่ี 2. ความสนใจและความพงึ พอใจวิธีสอนวชิ าการบญั ชีภาษอี ากร ผลการวจิ ัยพบว่า ผเู้ รียนมีความพึงพอใจตอ่ ส่ือและกจิ กรรมการเรยี นวิชาการบัญชภี าษีอากร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด เม่ือพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าทุกด้านมีความพึงพอใจมากที่สุด ได้แก่ ด้านคุณภาพการจัดการเรียนการสอน รองลงมาเป็นด้านประสิทธิภาพการใช้ส่ือการสอน ตามลาดับ เม่ือพิจารณาความสนใจและความพึงพอใจโดยรวมด้านคุณภาพการจัดการเรียนการสอน พบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจมากท่ีสุดทุกข้อ ได้แก่กิจกรรมการเรียนการสอนที่ออกแบบไว้สามารถ ปฏิบัตไิ ด้จริง ข้ันตอนการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนแต่ละขั้นเข้าใจง่าย,กิจกรรมการเรียนการสอน กระตนุ้ ให้นักศึกษาตัง้ ใจเรยี นมีความเข้าใจและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้จริง รองลงมาจัดกิจกรรม การเรียนการสอนเหมาะสม/สอดคล้องกับเน้ือหาวิชา,จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเหมาะสมกับ สถานที่และส่อื การสอน การออกแบบกจิ กรรมการเรียนการสอนมีความชัดเจน,การออกแบบกิจกรรม การเรียนรู้เน้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ ,การออกแบบการเรยี นการสอนสอดคล้องกับเวลาที่ใชใ้ นการจดั การ เรียนรตู้ ามลาดับ เมื่อพิจารณาด้านประสิทธิภาพการใช้ส่ือการสอนท่ีผู้สอนใช้ในการจัดการเรียนการสอน พบวา่ ผู้เรียนมีความพึงพอใจมากท่ีสดุ ทุกข้อ ได้แก่ สอ่ื การสอนที่ใช้กระตุน้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ ,สือ่ การสอนสามารถเพิ่มพูนความรู้เข้าใจได้,สื่อการสอนมีประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู้ สอ่ื การ สอนทใี่ ชส้ อดคล้องกับเนอื้ หาและสอ่ื การสอนที่ใช้มีรูปแบบน่าสนใจในการศึกษาเรียนรู้ ตามลาดับ ตอนท่ี 3. ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ผลการวจิ ยั พบว่า ต้องการให้สอนและทาแบบฝึกในห้องเรียนเพื่อลดการบ้าน และปรับปรุง การสอนให้เข้าใจแบบฟอร์มในการเขียนและการคานวณอย่างชัดเจนข้ึน รวมท้ังต้องการให้มีการ จัดกจิ กรรมแบบนอี้ ย่างต่อเน่ืองซึง่ ความรูน้ ีส้ ามารถนาไปใช้ในอนาคตไดจ้ ริง

22 ตอนท่ี 4 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นวิชาการบัญชภี าษีอากร ผลการวิจัยพบว่าหลังใช้กิจกรรมการเรียนแบบใช้กิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning) ในชัน้ เรยี น ผู้เรียนจานวน 13 คน มีผลสัมฤทธผ์ิ ่านเกณฑก์ ารประเมินทกุ คนดังนี้ ระดับ 4 (ดีเยีย่ ม) 9 คน คิดเปน็ 69.23% ระดับ 3.5 (ดีมาก) 2 คน คิดเป็น 15.39% ระดับ 3 (ด)ี 1 คนคิดเป็น 7.69% ระดับ 2.5 (ดพี อใช้) 1 คน คดิ เปน็ 7.69% ตามลาดับ 2. อภิปรายผลการวิจัย วัตถุประสงคข์ ้อท่ี 1. เพ่ือศกึ ษาความสนใจและความพึงพอใจวิธีการเรียนวชิ าการบัญชีภาษี อากรโดยใชก้ จิ กรรมเปน็ ฐาน (Activity-Based Learning) จากวัตถปุ ระสงค์การวิจัยข้อที่ 1 สามารถสรุปได้ว่า ผู้เรียนมีความสนใจและมีความพึงพอใจ วธิ ีการจดั การเรียนการสอนวิชาการบัญชภี าษีอากรมาก เมอื่ พิจารณาเป็นรายดา้ น ได้แก่ ดา้ นคุณภาพ การจดั การเรียนการสอน รองลงมาไดแ้ ก่ ด้านประสทิ ธภิ าพการใชส้ อ่ื การสอน ตามลาดบั เมื่อพิจารณาด้านคุณภาพการจัดการเรียนการสอนพบว่าผู้เรียนมีความพึงพอใจมากท่ีสุดใน เรื่องกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีออกแบบไว้สามารถปฏิบัติได้จริง ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนแตล่ ะขั้นเข้าใจงา่ ย,กจิ กรรมการเรยี นการสอนกระตุ้นให้นักศึกษาต้งั ใจเรียนมีความเขา้ ใจและ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้จริง รองลงมาจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเหมาะสม/สอดคล้องกับ เน้อื หาวิชา,จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนเหมาะสมกบั สถานท่ีและส่ือการสอน การออกแบบกิจกรรม การเรยี นการสอนมีความชัดเจน,การออกแบบกิจกรรมการเรียนร้เู น้นผเู้ รียนเป็นสาคญั ,การออกแบบ การเรียนการสอนสอดคลอ้ งกบั เวลาท่ใี ช้ในการจดั การเรยี นรู้ ตามลาดบั เม่ือพิจารณาด้านประสิทธิภาพการใช้ส่ือการสอนที่ผู้สอนใช้ในการจัดการเรียนการสอน พบว่าผู้เรียนมีความพึงพอใจมากที่สุดโดย 3 ลาดับแรกได้แก่สื่อการสอนท่ีใช้สอดคล้องกับเนื้อหา สอื่ การสอนที่ใชม้ ีรปู แบบนา่ สนใจในการศึกษาเรียนรู้และมีประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู้ สือ่ การ สอนสามารถเพ่ิมพนู ความร้คู วามเขา้ ใจได้ ตามลาดบั วัตถปุ ระสงค์ข้อท่ี 2. เพอ่ื ศึกษาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนวชิ าการบญั ชีภาษีอากรหลังใช้ กิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning) จากวัตถุประสงค์การวิจัยข้อที่ 2. สามารถสรุปได้ว่าผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาการบัญชี ภาษีอากรหลังการใช้กิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning) ในชน้ั เรยี นแล้ว มีผลทาให้ผเู้ รียน จานวน 13 คนสามารถสอบผา่ นเกณฑ์การประเมินได้ทกุ คน สาเหตุที่ผ้เู รยี นมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ผ่านเกณฑท์ ุกคนเนือ่ งมาจากการใชก้ จิ กรรมการเรยี นทผ่ี ู้เรียนมีความร้สู กึ สนใจหรือเปน็ ความพงึ พอใจ ที่มีต่อกิจกรรมการเรียนโดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน ได้แก่ การใช้กิจกรรมการยื่นภาษีออนไลน์ ในช้ัน เรียน กิจกรรม “คิด-จับคู่-แลกเปล่ียน” การเรียนแบบกลุ่มร่วมแรงร่วมใจ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด ของ ดวิ อ้ี ( Dewey. 1965 : 66 ) ซึง่ กลา่ วไว้ว่า ความสนใจ คือความรู้สึกชอบหรือความพอใจที่มีต่อ สิ่งหนึ่ง แนวคิดใดแนวคิดหน่ึงหรือกิจกรรมใดกิจกรรมหน่ึง และสอดคล้องกับแนวคิดของโพเวลล (Powell. 1963 : 330 ) ซ่ึงกล่าวไว้ว่า ความสนใจ หมายถึง แรงผลกั ดันท่ีกระตุ้นใหบ้ ุคคลกระทาส่ิง ใดใหส้ าเรจ็ ลลุ ว่ งไปด้วยดี

23 3. ขอ้ เสนอแนะจากการวิจยั 3.1 ผเู้ รยี นให้ขอ้ เสนอแนะเกย่ี วกับการเรยี นการสอนดงั นี้ ผลการวิจัยพบวา่ ด้านการใช้ส่ือและกิจกรรมการเรียน ผเู้ รียนต้องการให้สอนและทาแบบฝึก ในห้องเรียนเพื่อลดการบ้าน และปรับปรุงการสอนให้เข้าใจแบบฟอร์มในการเขียนและการคานวณ อยา่ งชดั เจนขนึ้ รวมท้งั ตอ้ งการใหม้ ีการจดั กิจกรรมแบบน้ีอยา่ งต่อเนอื่ งซึ่งความรู้นี้สามารถนาไปใชใ้ น อนาคตได้จรงิ รวมทัง้ เปน็ การพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นให้ดขี ้นึ 3.2 ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยคร้ังต่อไป 3.2.1 ควรศึกษาเก่ยี วกับผลสัมฤทธกิ์ ่อนเรยี นและหลงั เรียนควบคู่กนั ไปด้วยเป็นรายหน่วย การเรียนรู้เพื่อเห็นการเปล่ียนแปลงต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นอยา่ งต่อเน่ืองและสามารถพฒั นาผ้เู รยี นให้ มผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นดีข้ึนได้ทันเวลา

24 บรรณานุกรม กาญจนา วัฒายุ. การวิจัยในช้นั เรียนเพื่อพฒั นาการเรียนการสอน สถาบนั พัฒนาผ้บู ริหารการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ กรงุ เทพฯ :กระทรวงศึกษาธกิ าร,2544. เกียรติศกั ด์ิ สอ่ งแสง. ปรญิ ญานพิ นธ์ , มปป. ไตรเทพ โห้โก๋. เอกสารอดั สาเนาการเปรียบเทียบความเข้าใจในการฟังภาษาไทยและความสนใจ ในวิธีสอนฟังของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาป่ีท่ี 1 ที่เรียนโดยการใช้แบบฝกึ จากการฟังจาก แถบบนั ทึกเสียงและจาก การอ่านของครปู รญิ ญานิพนธ์ กศ.ม. (การสอนมัธยม). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร, 2533. ฝา่ ยวชิ าการโรงเรียนหนองชมุ แสงวิทยา. เทคนคิ การจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเปน็ ศูนยก์ ลางเพชรบุรี : ฝา่ ยวิชาการโรงเรยี นหนองชมุ แสงวิทยา, 2542. ล้วน สายยศ และ อังคณา สายยศ. เทคนิคการวัดผลการเรียนรู้. กรุงเทพฯ :มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ท รวิโรฒ ประสานมติ ร, 2539.. วนชิ บรรจง และคนอ่ืน ๆ. ความหมายของความสนใจ. กรงุ เทพฯ ,2520. วชั รี ทรัพยม์ ี. ความหมายของความสนใจ. กรงุ เทพฯ, 2545 วิไลพร ดาสะอาด. การศกึ ษาความสามารถในการใชภ้ าษาไทยและความสนใจในวิธกี ารสอน ภาษาไทย ท 401 ของนักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 โรงเรยี นหนองชุมแสงวิทยา ทไ่ี ด้รับ การสอนโดยใชเ้ พลงและเกมประกอบการสอน.เพชรบุรี : โรงเรียนหนองชุมแสงวทิ ยา, 2542.

25 ภาคผนวก