Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore OPEN NSTDA ประตูสู่นวัตกรรม - สวทช.

OPEN NSTDA ประตูสู่นวัตกรรม - สวทช.

Description: OPEN NSTDA ประตูสู่นวัตกรรม - สวทช.

Search

Read the Text Version

พนั ธมติ รร่วมทาง พฒั นาเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม STI Solutions Provider

สารบัญ 3รู้จัก สวทช. 8บริการสำ�หรับภาคเอกชน 30เย่ียมชมหอ้ งปฏบิ ตั ิการ นำ้ ปลาแท เกษตรสมยั ใหม่ อาหารเพื่ออนาคต 31Smart Farm สตั ว์ 45Smart Functional Food 34Smart Farm พืช 54Smart Food Processing & Packaging 41Smart Farm Bio Control 60Smart Food Safety สขุ ภาพ/การแพทย์ เศรษฐกจิ ฐานชวี ภาพ 64Smart Beauty 78Bio Based Economy 71Smart Health

สำนักงานพฒั นาวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) เปน หน�วยงานในกำกับของกระทรวง วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี จดั ตัง้ ขึ้นเม�อป พ.ศ. 2534 โดย พ.ร.บ. พัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี พ.ศ. 2534 อยภู ายใตการกำกบั ดูแลของคณะกรรมการพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยแี หง ชาติ (กวทช.) คา นยิ มหลกั สวทช.: NSTDA Nation First STecciehnncoelo&gy Excellence Teamwork Deliverability Accountability and Integrity วสิ ยั ทศั น สวทช. เปน พันธมติ รรวมทางทด่ี ี สูสงั คมฐานความรู ดว ยวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี พนั ธกิจหลัก เพอ� ขบั เคล�อนวิทยาศาสตรเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมของประเทศ สรางเสริม พัฒนากำลงั คน การถา ยทอด โครงสรางพนื้ ฐาน การวจิ ัย พฒั นา ดา นวิทยาศาสตร เทคโนโลยีไปสู ดานวทิ ยาศาสตร ออกแบบ และ เทคโนโลยี และ การใชป ระโยชน และเทคโนโลยีท่จี ำเปน วิศวกรรม นวัตกรรมของประเทศ 3Open NSTDA ประตสู นู่ วตั กรรม

4 Open NSTDA ประตสู ่นู วตั กรรม

5Open NSTDA ประตูส่นู วัตกรรม

6 Open NSTDA ประตสู ่นู วตั กรรม

7Open NSTDA ประตูส่นู วัตกรรม

บรกิ ารสำ�หรับภาคเอกชน ดา้ นเทคโนโลยบี รกิ ารสำหรบั ภาคเอกชน 1. บริการรบั จ้างวิจัยและรว่ มวิจยั ทางลัดสูก่ ารพฒั นาผลิตภัณฑ์และบรกิ าร โดยนักวจิ ยั ทมี่ คี วามเช่ยี วชาญเฉพาะทาง 2. บรกิ ารทป่ี รกึ ษาและสรรหาผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นการผลติ เพอ่ื วนิ จิ ฉยั ปญั หาทางเทคนคิ และแนวทางพฒั นาธรุ กจิ โดยทป่ี รกึ ษาเทคโนโลยี (ITA) และผ้เู ชี่ยวชาญเฉพาะทาง โดยใหก้ ารสนับสนนุ ด้านการเงนิ ดงั น้ี 1. สนบั สนุนคา่ ตอบแทนผู้เช่ียวชาญ 100 % เพอ่ื วินจิ ฉยั ปญั หาทางเทคนิคและแนวทางพฒั นาธรุ กิจ 2. สนับสนนุ คา่ ใช้จ่ายในการด�ำ เนนิ โครงการสูงสุด 50 % ของงบประมาณโครงการภายในวงเงนิ 400,000 บาท ในหมวดคา่ ตอบแทนผเู้ ชย่ี วชาญ (รวมคา่ เดนิ ทางและทพ่ี กั ) คา่ วเิ คราะหแ์ ละทดสอบ คา่ วสั ดุ และครภุ ณั ฑใ์ นการท�ำ เครอ่ื งตน้ แบบ ฯลฯ 3. สนับสนนุ แต่ละบรษิ ัทได้ถงึ 2 โครงการต่อปี 3. บรกิ ารวเิ คราะหท์ ดสอบ สวทช. เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพและขดี ความสามารถในการท�ำ วจิ ยั และวศิ วกรรมแกภ่ าคเอกชน เพอ่ื ใหส้ ามารถ แขง่ ขันกบั ตา่ งประเทศได้ โดยการใหบ้ ริการเทคโนโลยี วเิ คราะห์ ทดสอบ ด้วยเครอ่ื งมือวทิ ยาศาสตร์ที่ทันสมัย และบุคลากร ผู้มีความรคู้ วามชำ�นาญเฉพาะทาง หน่วยบรกิ ารทางเทคนิค เพือ่ แก้ไขปัญหาการผลติ สินค้าและบริการตา่ งๆ ดา้ นพฒั นาก�ำ ลังคน ดานการเงนิ ภาษี และมาตรการสง เสรมิ TAXES 1. บรกิ ารฝกึ อบรม NSTDA Academy ใ ห้ บ ริ ก า ร ฝึ ก อ บ ร ม อ อ ก แ บ บ แ ล ะ - ยกเวนภาษี 300% สำหรบั งาน R&D พฒั นาหลกั สตู รส�ำ หรบั พฒั นา ผบู้ รหิ าร - บัญชนี วัตกรรมไทย บคุ ลากรเจา้ หนา้ ท่ี หลกั สตู รเทคโนโลยี ขน้ั สงู ครอบคลมุ ดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยเี พอ่ื ยกระดบั ขดี ความสามารถ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของ บคุ ลากร ในภาคการผลติ และบริการ ของไทย ดา นพัฒนากำลงั คน สนบั สนนุ ภาคเอกชน ดานเทคโนโลยี เพือเพ่มิ ขดี ความสามารถ ในการแขง ขัน - การรบั จางวจิ ัยและรวมวจิ ัย 8 Open NSTDA ประตูสู่นวตั กรรม









































Electronics Industry เครอ� งใชไฟฟา และอปุ กรณอ เิ ลก็ ทรอนกิ สท ว่ั ไป MTEC NCTC • การวเิ คราะหช นดิ โครงสรา งและองคป ระกอบทางเคมี • ตรวจสอบและวเิ คราะหห าธาตทุ ม่ี ปี รมิ าณนอ ยในตวั อยา ง ของสารอนิ ทรยี  และสารอนนิ ทรยี  โดยไมท ำลายตวั อยา ง • การวเิ คราะหโครงสรา งจลุ ภาคพน้ื ผวิ ตำหนบิ นผลติ ภณั ฑ • ถา ยภาพพน้ื ผวิ ทก่ี ำลงั ขยายสงู ลกั ษณะความเสยี หายของชน้ิ สว นตา งๆ รวมถงึ องคป ระกอบ • วเิ คราะหอ งคป ระกอบของพน้ื ผวิ ธาตุ สารประกอบ สถานะทางเคมี และการเรยี งตวั ของผลกึ • ดลู กั ษณะการกระจายตวั ของธาตตุ า งๆ • การวเิ คราะหส มบตั กิ ายภาพ วา อยทู ต่ี ำแหนง� ใดของพน้ื ผวิ - การวเิ คราะหข นาดอนภุ าค ความหนาแนน� พน้ื ทผ่ี วิ จำเพาะ • วเิ คราะหร อยแยก, รอยแตก, คราบปนเปอ นของชน้ิ งาน ขนาดและการกระจายตวั ของรพู รนุ และความเสยี หายของวสั ดุ - การวเิ คราะหส มบตั ทิ างความรอ น • บรกิ ารเตรยี มชน้ิ งาน เชน เคลอื บทอง เคลอื บแพลทนิ มั - การทดสอบสมบตั ทิ างกล • การวเิ คราะหป ระสทิ ธภิ าพการยบั ยง้ั การเจรญิ ของเชอ้ื จลุ นิ ทรยี  ตวั อยางมาตรฐานท่ีไดรบั การรบั รอง ในผลติ ภณั ฑ เชน ทอ แอร ซลี ประตตู เู ยน็ • การทดสอบผลติ ภณั ฑเ ซรามกิ ISO/IEC 17025:2005 ISO 9001:2015 & TIS 18001:2554 NTEECC ตวั อยางเครอ� งมือ • บรกิ ารวเิ คราะหอ งคป ระกอบธาตขุ องวสั ดแุ ละฟล ม บาง หอ งทดสอบทางดา นความปลอดภยั ของเครอ� งใชไฟฟ า • บรกิ ารวเิ คราะหห าจดุ บกพรอ งบนวงจรรวม • บรกิ ารตรวจวเิ คราะหค ณุ สมบตั ทิ างไฟฟา แผน วงจรรวม • บรกิ ารวเิ คราะหอ งคป ระกอบของวสั ดปุ นเปอ นบนผวิ ชน้ิ งาน • บรกิ ารสรา งฟล ม โลหะอะลมู เิ นยี มดว ยเทคนคิ สปต เตอรงิ • บรกิ ารสรา งฟล ม บางดว ยเทคนคิ แอลพซี วี ดี ี • บรกิ ารผลติ ตน แบบวงจรรวม MTEC ศนู ยเทคโนโลยีโลหะและวสั ดุแหงชาติ (MTEC) และNTคEECCอมศพนูวิ เยตเ ทอรคแ โนหโง ลชยาอีตเิิ ล(Nก็ ทECรอTนEกิCส) 114 อุทยานวทิ ยาศาสตรประเทศไทย ถ.พหลโยธิน ศูนยเ ทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนกิ ส (TMEC) ต.คลองหน่งึ อ.คลองหลวง จ.ปทมุ ธานี 12120 51/4 หม1ู ต.วงั ตะเคียน อ.เมอื ง จ.ฉะเชงิ เทรา 24000 โทร 0 3885 7100 http://tmec.nectec.or.th/ โทรศพั ท 0 2564 6500 ตอ 4109 www.mtec.or.th 29Open NSTDA ประตูสนู่ วัตกรรม

เยี่ยมชมห้องปฏิบตั กิ าร นำ้ ปลาแท 30 Open NSTDA ประตสู ู่นวัตกรรม

เกษตรสมยั ใหม่ Smart Farm สตั ว์ 31Open NSTDA ประตสู นู่ วตั กรรม

งานวจิ ยั ดา้ นสขุ ภาพสตั ว์ในยุคเกษตรสมัยใหม่ ปัจจบุ นั การเกษตรของประเทศไทยกา้ วเขา้ สยู่ คุ เกษตรสมยั ใหมท่ ม่ี กี ารน�ำ นวตั กรรม การวจิ ยั และความเจรญิ ก้าวหน้าทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยมี าใช้ เพอ่ื พัฒนาอุตสาหกรรม ภายในประเทศให้มีประสทิ ธิภาพเทียบเคียงกบั ตา่ งประเทศ อุตสาหกรรมการเล้ยี งสัตวเ์ ปน็ อตุ สาหกรรมหนง่ึ ทม่ี กี ารขยายตวั อยา่ งรวดเรว็ เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการของตลาด โรคระบาด ในสตั วจ์ งึ เปน็ ปจั จยั ส�ำ คญั ทต่ี อ้ งปอ้ งกนั และควบคมุ อยา่ งเรง่ ดว่ นและมปี ระสทิ ธภิ าพ เนอ่ื งจาก ปัญหาดังกล่าวจะก่อให้เกิดความเสียหายต่ออุตสาหกรรมการเล้ียงสัตว์ภายในประเทศเป็น อยา่ งมาก ท้ังนก้ี ารพฒั นาวัคซนี และชดุ ตรวจวินจิ ฉยั จึงมบี ทบาทส�ำ คัญย่ิงตอ่ การปอ้ งกันและ ควบคุมโรคระบาดในสตั ว์เศรษฐกจิ ที่สำ�คัญของประเทศ เชน่ สกุ ร โค กระบอื และสตั วป์ ีก การวิจัยและพฒั นาดา้ นสุขภาพสัตว์ในยคุ เกษตรสมยั ใหม่ จึงมุ่งเนน้ พฒั นานวตั กรรม การผลติ วคั ซนี และชดุ ตรวจวนิ จิ ฉยั เพอ่ื ปอ้ งกนั และควบคมุ โรคระบาดในสตั วเ์ ศรษฐกจิ ทส่ี �ำ คญั ของประเทศ โดยการน�ำ นวตั กรรม การวจิ ัย และความเจริญก้าวหน้าทางวทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยมี าใช้ ไดแ้ ก่ การพฒั นาวคั ซนี จากพชื เพอ่ื ใชเ้ ปน็ อาหารสตั วท์ ส่ี ง่ เสรมิ การสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ในสตั ว์ การออกแบบวคั ซนี จากฐานขอ้ มลู เชอ้ื ไวรสั การพฒั นาระบบน�ำ สง่ วคั ซนี รวมทง้ั นวตั กรรม การพฒั นาชดุ ตรวจวนิ จิ ฉยั ทง่ี า่ ย สะดวก และสามารถใช้ไดจ้ รงิ ในฟารม์ โดยเกษตรกรสามารถ ใช้ชดุ ตรวจวนิ ิจฉัยและวคั ซีนที่ผลิตขึ้นอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพภายในประเทศ เพ่ือลดการนำ�เข้า วัคซนี จากตา่ งประเทศ ลดตน้ ทนุ การผลติ ทางปศสุ ตั ว์ ลดภาวะการเกดิ โรคระบาดและควบคมุ โรคระบาดในสตั ว์ ลดการสญู เสยี จากการเปน็ โรค ตลอดจนเพม่ิ ผลผลติ และขดี ความสามารถ ในการแขง่ ขนั ของประเทศ สนใจตดิ ต่อ หน่วยวจิ ัยไวรสั วิทยาและเทคโนโลยแี อนติบอดี ศนู ย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหง่ ชาติ 113 อุทยานวทิ ยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธนิ ตำ�บลคลองหนึง่ อำ�เภอคลองหลวง จังหวดั ปทมุ ธานี 12120 โทรศัพท์ 02 564 6700 โทรสาร 02 564 6707 32 Open NSTDA ประตสู ่นู วตั กรรม

บริษทั เวทโปรดักส์ รเี ซริ ์ช แอนด์ อนิ โนเวช่นั เซน็ เตอร์ จ�ำ กดั ขดี ความสามารถหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร : ศนู ยว์ จิ ยั และพฒั นา ทางดา้ นนวตั กรรมในเครอื เวทโปรดกั ส์ โดยมจี ดุ มงุ่ หมาย เพอ่ื พฒั นาผลติ ภณั ฑท์ เ่ี ปน็ นวตั กรรม และการบรกิ ารทางดา้ นการวจิ ยั การวเิ คราะหแ์ ละทดสอบ (Innovative Products & Service) เพอ่ื เปน็ สว่ นหนง่ึ ในการ ขบั เคลอ่ื นธรุ กจิ ภายใตก้ ารใชน้ วตั กรรมใหส้ ามารถน�ำ มาใช้ไดจ้ รงิ ในเชงิ พาณชิ ย์ บรษิ ทั ฯ จดั ตง้ั ในอทุ ยานวทิ ยาศาสตรป์ ระเทศไทย ภายใต้โครงสรา้ ง พน้ื ฐานของระบบการจดั การ ในดา้ นตา่ งๆ ทจ่ี �ำ เปน็ ตอ่ งานวจิ ยั การวเิ คราะหแ์ ละทดสอบ เพอ่ื การพฒั นาและเพม่ิ โอกาส ทางดา้ นธรุ กจิ ในกลมุ่ เวชภณั ฑส์ ตั ว์ วติ ามนิ แรธ่ าตุ เอนไซม์ ผลติ ภณั ฑส์ ารเสรมิ สตั วท์ กุ ชนดิ ลกั ษณะการใหบ้ รกิ าร : ใหบ้ รกิ ารทางดา้ นรบั จา้ งวจิ ยั และพฒั นา รวมทง้ั การใหบ้ รกิ าร ทางดา้ น การวเิ คราะหแ์ ละทดสอบในกลมุ่ เวชภณั ฑส์ ตั ว์ วติ ามนิ แรธ่ าตุ เอนไซม์ ผลติ ภณั ฑส์ าร เสรมิ สตั วท์ กุ ชนดิ และใหบ้ รกิ ารลกู คา้ ทางดา้ นการถา่ ยทอดเทคโนโลยี และการบรกิ าร ทางดา้ นวชิ าการ เพอ่ื สง่ เสรมิ การใชผ้ ลติ ภณั ฑ์ให้ไดป้ ระสทิ ธภิ าพอนั สงู สดุ ประโยชน/์ การน�ำ เทคโนโลยไี ปใชส้ �ำ หรบั อตุ สาหกรรม: น�ำ เทคโนโลยที ใ่ี ชจ้ ากงานวจิ ยั และพฒั นา ทางดา้ นนวตั กรรม มาประยกุ ต์ใช้ในอตุ สาหกรรมทางดา้ นการเกษตร ปศสุ ตั ว์ เวชภณั ฑส์ ตั ว์ วติ ามนิ แรธ่ าตุ เอนไซม์ ผลติ ภณั ฑส์ ารเสรมิ สตั ว์ ทกุ ชนดิ เพอ่ื ตอบโจทย์ในการชว่ ย แกป้ ญั หาของลกู คา้ ในตลาด และสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารพฒั นาผลติ ภณั ฑท์ ส่ี ง่ เสรมิ ทางดา้ น ความปลอดภยั ตอ่ ผบู้ รโิ ภค เพราะธรุ กจิ ทางดา้ นการเลย้ี งสตั วน์ บั เปน็ สว่ นหนง่ึ ของ หว่ งโซ่ อาหาร จากผลงานทางดา้ นนวตั กรรมของบรษิ ทั ฯ ทผ่ี า่ นมา นบั วา่ ไดร้ บั การยอมรบั ใน ระดบั นานาชาตใิ นการตอบโจทยป์ ญั หา ทางการตลาด รบั ประกนั จากรางวลั ชนะเลศิ ในการประกวด ผลงานทางดา้ นนวตั กรรมในตา่ งประเทศ บรษิ ทั เวทโปรดกั ส์ รเี ซริ ช์ แอนด์ อนิ โนเวชน่ั เซ็นเตอร์ จ�ำ กัด สนใจติดต่อ โทรศพั ท์ : 02 117 8068 แฟกซ์ : 02 117 8069 Email : [email protected] 33Open NSTDA ประตูส่นู วตั กรรม

เกษตรสมยั ใหม่ Smart Farm พืช 34 Open NSTDA ประตูสูน่ วตั กรรม

เทคโนโลยเี พื่อการตรวจสอบเมลด็ พนั ธ์ุ ชดุ ตรวจวินจิ ฉยั โรคพชื เมล็ดพันธ์ทุ ่ตี รงตามพันธ์แุ ละมีคุณภาพดีเป็นรากฐานสำ�คัญสำ�หรับการผลิตพืชท่ีให้ผลผลิต ท่มี ีทง้ั ผลติ ภาพและคุณภาพดีเปน็ ทต่ี ้องการของตลาดและผู้บรโิ ภค การผลติ เมล็ดพันธุ์ เพ่อื ใชเ้ พาะปลูกในประเทศ และการผลิตพันธุเ์ พอื่ การส่งออกไปยงั ประเทศตา่ งๆ ท่วั โลก ของประเทศไทยมมี ลู คา่ ถึง 5,000 ลา้ นบาทตอ่ ปี ดังนัน้ เทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธ์ุและ การตรวจสอบเมลด็ พนั ธุ์เพอื่ การส่งออก จึงมีความสำ�คัญในการสนับสนุนให้ผูป้ ระกอบการ ของไทยมีศักยภาพมากขึ้นในการส่งออกเมลด็ พนั ธ์ุ ในการทีจ่ ะเป็นผ้นู ำ�ตลาดเมลด็ พันธุ์ใน อาเซยี นนนั้ เทคโนโลยีการปรบั ปรงุ พนั ธพุ์ ืชในกลมุ่ พชื ทผี่ ลิตเมลด็ พนั ธุ์ เพอ่ื ให้ได้สายพันธ์ุ ใหม่ๆ และเป็นทีต่ ้องการของตลาดในภมู ิภาคดงั กล่าว มีความจำ�เป็นตอ้ งพัฒนา เพ่อื เพ่ิม ประสทิ ธภิ าพการพัฒนาพนั ธอ์ุ ย่างรวดเร็ว จงึ จะสรา้ งเสริมความเข้มแขง็ และความสามารถ ของอุตสาหกรรมเมลด็ พนั ธขุ์ องไทยให้แข่งขนั ได้ การพัฒนาเทคโนโลยีที่ประยุกต์ใชก้ ับงาน ทางดา้ นการเกษตรโดยเฉพาะด้านเมลด็ พนั ธุพ์ ืช อาทิ เช่น การพัฒนาเครอ่ื งหมายโมเลกลุ ในการตรวจสอบความบรสิ ุทธ์ขิ องเมลด็ พนั ธ์ุ การพฒั นาเทคนคิ การตรวจวนิ จิ ฉยั โรคพชื เพอ่ื ใช้ในอุตสาหกรรมการผลติ เมลด็ พันธุ์ การที่ประเทศไทยจะเปน็ ผูน้ ำ� หรอื ศูนยก์ ลางในการสง่ ออกเมล็ดพันธ์ุพืชนั้น จะตอ้ ง มกี ารท�ำ งานร่วมกนั ระหวา่ งภาครัฐและภาคเอกชนอย่างใกลช้ ดิ ทง้ั ทางด้านการวิจยั พัฒนา การผลติ การจำ�หนา่ ย การนำ�เข้า-สง่ ออกเมลด็ พนั ธทุ์ ่ีหลากหลายมีคณุ ภาพดี ในปรมิ าณ ท่ีเพียงพอตอ่ ความต้องการ และทนั ตอ่ สถานการณค์ วามเปล่ียนแปลงทเ่ี กดิ ขึน้ ในอนาคต เพ่ือประโยชนต์ อ่ เกษตรกรในการสรา้ งรายได้ ตลอดจนพฒั นาอุตสาหกรรมเมล็ดพันธ์ุไทยให้ มกี ารเติบโตอยา่ งมนั่ คงและยั่งยืนในอนาคต ประโยชน/์ การนำ�เทคโนโลยีไปใชส้ ำ�หรับอตุ สาหกรรม : • ​การพฒั นาเคร่อื งหมายโมเลกลุ ในการตรวจสอบความบรสิ ุทธิ์ของเมล็ดพนั ธ์ุ • ​การพฒั นาเทคนคิ การตรวจวนิ จิ ฉยั โรคพชื เพอ่ื ใช้ในอตุ สาหกรรมการผลติ เมลด็ พนั ธ์ุ สนใจติดต่อ หนว่ ยวจิ ัยไวรัสวิทยาและเทคโนโลยแี อนตบิ อดี และหน่วยวิจัยเทคโนโลยจี ีโนม ศนู ย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแหง่ ชาติ 113 อุทยานวทิ ยาศาสตรป์ ระเทศไทย ถนนพหลโยธนิ ต�ำ บลคลองหนงึ่ อ�ำ เภอคลองหลวง จังหวัดปทมุ ธานี 12120 โทรศพั ท์ 02 564 6700 โทรสาร 02 564 6707 เว็บไซต์ http://www.biotec.or.th/fbu 35Open NSTDA ประตูสนู่ วตั กรรม

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั พฒั นาเทคโนโลยสี มองกลฝงั ตวั Embedded System Technology Lab (EST) ขดี ความสามารถห้องปฏิบตั กิ าร : เทคโนโลยรี ะบบสมองกลฝังตัว (Embedded System) ซง่ึ ไดน้ �ำ ไปใชง้ านกนั อยา่ งแพรห่ ลายในอตุ สาหกรรมตา่ งๆ อาทิ อตุ สาหกรรมอาหารและ การเกษตร อตุ สาหกรรมยานยนต์และขนสง่ อตุ สาหกรรมพลังงานและสิง่ แวดล้อม อุตสาหกรรมเครอ่ื งใช้ไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ การสอ่ื สาร การแพทยแ์ ละสาธารณสขุ โดยอาจกล่าวได้ว่าเทคโนโลยีระบบสมองกลฝังตัวสามารถนำ�ไปใช้ได้กับทุก อุตสาหกรรม ดังนั้นการพัฒนาเทคโนโลยีระบบสมองกลฝังตัวขึ้นในประเทศไทย จะเป็นการสนับสนุนภาคอุตสาหกรรมให้มีการพัฒนาสินค้า ผลิตภัณฑ์ในด้านการ ออกแบบนวัตกรรม เพอ่ื เป็นการเพมิ่ มูลค่าของผลติ ภณั ฑ์ให้สามารถแขง่ ขันในเวที ระดบั โลกได้ และก่อใหเ้ กดิ ผลกระทบในเชงิ เศรษฐกิจของประเทศต่อไป ตัวอยา่ งผลงานพรอ้ มถ่ายทอดเทคโนโลยี : 1. เรอื นเพาะชำ� และแปลงเกษตรอัจฉริยะ (Smart farm) เกษตรกรรมมบี ทบาทส�ำ คญั ตอ่ เศรษฐกจิ ของประเทศ เนคเทคจงึ มงุ่ พฒั นาเทคโนโลยี เพอ่ื ประยกุ ต์ใช้ในหนว่ ยตา่ งๆ ของหว่ งโซค่ ณุ คา่ ทางภาคการเกษตร ในเบอ้ื งตน้ จะใชเ้ ทคโนโลยี ไมโครเซนเซอร์เพื่อยกระดับความสามารถของการผลิตพืชผลทางการเกษตรให้ไปสู่รูปแบบ Smart farm โรงเรือนสาธติ ประกอบดว้ ย 1. ระบบโรงเรอื นอจั ฉรยิ ะ ทต่ี ดิ ตง้ั ระบบควบคมุ ตา่ งๆ อาทิ Soil Moisture Sensor, Temperature & Humidity Sensor, Solar Sensor, Water Pressure Sensor, Chemical Sensor 2. ระบบนำ�้ หยดอัจฉรยิ ะของพืชไร่ ด้วยการวดั ความดันในระบบทอ่ นำ้�หยด (Water Pressure sensor) ควบคมุ แหลง่ จา่ ยน�ำ้ (Water Level Sensor) และควบคมุ ปรมิ าณ การใหน้ �ำ้ (Soil Moisture Sensor) 3. ระบบตดิ ตามปจั จยั สภาพแวดลอ้ มทางการเกษตรผา่ น IoT ใชค้ วบคมุ ปจั จยั ทเ่ี หมาะสม ในการผลติ การประยกุ ต์ใช้ไมโครเซน็ เซอรแ์ ละระบบอนิ เทอรเ์ นต็ ในโรงเรอื นเพอ่ื ตดิ ตามปจั จยั ตา่ งๆ เชน่ อณุ หภมู ิ ความชน้ื อากาศ ความชน้ื ดนิ ปรมิ าณการใหน้ �ำ้ ปรมิ าณแสง และเซนเซอรเ์ ฉพาะทางอ่ืนๆ จะช่วยเพม่ิ ประสิทธภิ าพการวเิ คราะห์ และควบคมุ ปจั จยั หลกั ทางการเกษตร 36 Open NSTDA ประตูสู่นวตั กรรม

4. ระบบควบคมุ การใหน้ �ำ้ (Irrigation Valve Control System) สามารถตง้ั เวลาเปดิ -ปดิ น�ำ้ ไดต้ ามเวลาทต่ี อ้ งการควบคกู่ บั ความชน้ื ดนิ ทเ่ี หมาะสม ควบคมุ ผา่ นสมารท์ โฟน/ แทบ็ เลต็ 2. Food and Agriculture Revolution Model - Farm Intelligent Technology (FAARM FIT) เปน็ การน�ำ เสนอเทคโนโลยอี จั ฉรยิ ะส�ำ หรบั การเกษตร ประกอบดว้ ยผลงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ดงั น้ี 1. เซนเซอรแ์ ละระบบควบคมุ ดว้ ยขดี ความสามารถของเนคเทคทผ่ี ลติ และออกแบบ เซนเซอร์ไดเ้ อง จงึ ไดน้ �ำ ตวั อยา่ งเซนเซอรท์ ใ่ี ช้ในทางการเกษตรมาแสดง อาทเิ ชน่ เซนเซอรว์ ดั อณุ หภมู ิ (Temperature Sensor), เซนเซอรว์ ดั ความชน้ื (Humidity Sensor), เซนเซอรว์ ดั ความดนั (Pressure Sensor), เซนเซอรว์ ดั ความเปน็ กรด-ดา่ ง (pH Sensor), เซนเซอรว์ ดั ปรมิ าณออกซเิ จนละลาย (DO Sensor) เปน็ ตน้ 2. ฟารม์ รู้ (FAARMRu) เปน็ ระบบ Data Visualization ทน่ี �ำ ขอ้ มลู จากหนว่ ยงานรบั ขน้ึ ทะเบยี นภายใตก้ ระทรวงเกษตรและสหกรณม์ าน�ำ เสนอภาพการขน้ึ ทะเบยี นเชงิ สถติ ทิ ง้ั ในแบบแยกหนว่ ยงานและแบบเปรยี บเทยี บระหวา่ งหนว่ ยงาน โดยมรี ะบบ FAARMLink ทเ่ี ปน็ ตวั กลางในการเรยี กขอ้ มลู จากหนว่ ยงานรบั ขน้ึ ทะเบยี นและน�ำ ขอ้ มลู มาเกบ็ ไว้ในฐานขอ้ มลู กลาง 37Open NSTDA ประตสู ูน่ วัตกรรม

3. TraceFarm เป็นระบบสืบย้อนกลับแหล่งผลิตอาหาร โดยเชื่อมโยงข้อมูลจาก เกษตรกรไปสผู่ บู้ รโิ ภคผา่ นระบบเวปไซตก์ ลาง ผบู้ รโิ ภคสามารถสแกน QR code บนฉลากทต่ี ดิ อยบู่ นแพก็ เกจ ระบบ TraceFarm จะแสดงขอ้ มลู แหลง่ ผลติ รวมถงึ เกษตรกรผปู้ ลกู และวนั ทเ่ี กบ็ เกย่ี วผลผลติ ​บ​นหนา้ จอมอื ถอื ระบบ TraceFarm ได้ รบั การทดสอบกบั LemonFarm และ CPRAM แลว้ ประโยชน์/การนำ�เทคโนโลยีไปใช้สำ�หรับอุตสาหกรรม : ทำ�ใหเ้ กษตรกรสามารถเพมิ่ ผลผลติ ทางการเกษตร ควบคมุ ปริมาณและคณุ ภาพการผลิต เพิม่ ประสิทธภิ าพ การวิเคราะหแ์ ละควบคมุ ปัจจยั หลักได้สะดวกยิง่ ขึน้ ลดตน้ ทุนการผลติ ในระยะยาว สร้างมาตรฐานเปน็ ท่นี า่ เชอื่ ถือของผบู้ ริโภค สนใจตดิ ตอ่ ฝา่ ยพัฒนาธรุ กิจและถา่ ยทอดเทคโนโลยี (Bฺ TT) ศูนย์เทคโนโลยีอเิ ลก็ ทรอนิกส์และคอมพิวเตอรแ์ หง่ ชาติ 112 อุทยานวทิ ยาศาสตร์แหง่ ประเทศไทย ถนนพหลโยธนิ ต�ำ บลคลองหนง่ึ อำ�เภอคลองหลวง จงั หวัดปทุมธานี 12120 โทรศพั ท์ 0 2564 6900 ต่อ 2346, 2351-2354, 2382, 2399 Emai : [email protected] 38 Open NSTDA ประตสู ู่นวตั กรรม

ศนู ยเ์ ทคโนโลยไี มโครอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ Thai Microelectronics Center (TMEC) ขีดความสามารถห้องปฏิบตั ิการ : เป็นศูนย์กลางของงานวจิ ยั และพัฒนาด้านไมโคร อเิ ล็กทรอนิกส์ อกี ท้งั ยังเป็นโรงงานผลติ วงจรรวมแหง่ แรกของประเทศไทย โดยเน้น ตอบสนองความตอ้ งการในการผลิตวงจรรวมต้นแบบ การฝกึ อบรมสำ�หรับสถาบนั การศึกษา และภาคอตุ สาหกรรม มเี ปา้ หมายเพอื่ ตดิ ตัง้ สายการผลติ และดำ�เนินการ ผลิตวงจรรวมเพื่อประยุกต์ใช้งานเฉพาะด้าน (Application-Specific Integrated Circuit: ASIC) ระดบั 0.5 ไมครอน อีกทั้งยงั มีเปา้ หมายในการสรา้ งบุคลากรและ ปูพื้นฐานด้านเทคโนโลยีไมโครอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ตลอดจนเพอ่ื สนับสนุนการยกระดับ อตุ สาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ของไทยให้ทัดเทียมระดับสากล และเป็นรากฐานใน การพัฒนาสู่นวตั กรรมและเทคโนโลยีใหม่ๆ ในอนาคต สนใจติดตอ่ ฝ่ายพัฒนาธรุ กิจและถ่ายทอดเทคโนโลยี (ฺBTT) 39 ศูนย์เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์และคอมพวิ เตอร์แหง่ ชาติ 112 อุทยานวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย ถนนพหลโยธิน ตำ�บลคลองหนึง่ อ�ำ เภอคลองหลวง จงั หวัดปทุมธานี 12120 โทรศัพท์ 0 2564 6900 ต่อ 2346, 2351-2354, 2382, 2399 Emai : [email protected] Open NSTDA ประตูสนู่ วัตกรรม

บรษิ ัท ไบโอไซน์ (ไทยแลนด)์ จ�ำ กดั ขีดความสามารถห้องปฏิบัติการ : เปน็ บรษิ ทั ลกู ของ VSN International Ltd (VSNi) จากประเทศองั กฤษ ทมี่ หี นา้ ทีร่ บั ผิดชอบ การสง่ มอบ ผลติ ภัณฑ์ และบรกิ ารเก่ียวกบั การวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านสถิติ เราดำ�เนินงานด้วยมาตรฐานระดับสากล โดยมี กลุ่มเป้าหมายที่กลุ่มประเทศแถบอาเซียน รวมไปถึง ออสเตรเลยี และนวิ ซีแลนด์ ซอฟต์แวรท์ ี่ใหบ้ รกิ ารในปจั จุบัน ได้แก่ Genstat®, ASreml®, BMS ลกั ษณะการใหบ้ ริการ : จ�ำ หนา่ ยซอฟตแ์ วร,์ ใหบ้ ริการฝึกอบรม และบริการ ให้คำ�ปรึกษา ประโยชน์/การน�ำ เทคโนโลยีไปใชส้ ำ�หรบั อุตสาหกรรม : เป็น ซอฟตแ์ วรท์ ชี่ ว่ ยวิเคราะห์ ข้อมูล และจัดการกับขอ้ มูลขนาดใหญ่ ซ่งึ จะช่วยแกป้ ัญหา เพิม่ ประสทิ ธิภาพในการ ตดั สินใจดว้ ยตัวเลข และประหยดั เวลา • Genstat® Application: เปน็ ซอฟตแ์ วรส์ ถติ ทิ ม่ี ฟี งั กช์ นั คลอบคลมุ ทกุ สาขางานวจิ ยั และผู้ใชง้ านสามารถใชว้ เิ คราะหข์ อ้ มลู ทางสถติ ขิ น้ั พน้ื ฐาน จนกระทง่ั สถติ ขิ น้ั สงู ได้ อยา่ งงา่ ยดาย ดว้ ย user interface ทเ่ี ออ้ื ตอ่ การเรยี นรดู้ ว้ ยตวั เอง นยิ มใชก้ บั ขอ้ มลู ทางดา้ น Agriculture, Animal, Plant, Biology Genetic, Ecology Environment, Forestry, Soil, Food, Medical Pharmaceutical, Science • ASreml® Application: เปน็ ตวั เลอื กทด่ี ที ส่ี ดุ ส�ำ หรบั การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทม่ี ขี นาด ใหญ่ (Big data) และ Mixed models หรอื สถติ ขิ น้ั สงู อน่ื ๆ นยิ มใชก้ บั ขอ้ มลู ทางดา้ น Agricultural, Environmental, Medical, Biological • BMS Application: เปน็ ซอฟตแ์ วรท์ ค่ี รอบคลมุ ทกุ ขน้ั ตอนและใชง้ านงา่ ย ทอ่ี อกแบบ มาเพอ่ื ชว่ ยนกั ปรบั ปรงุ พนั ธพ์ุ ชื ใหส้ ามารถพฒั นาสายพนั ธไ์ุ ดร้ วดเรว็ และมปี ระสทิ ธภิ าพ สนใจตดิ ต่อ Website: www.biosci.global, Email: [email protected], Tel.: +66 (0)-2564-7757 40 Open NSTDA ประตูส่นู วตั กรรม

เกษตรสมยั ใหม่ Smart Farm Bio Control 41Open NSTDA ประตสู ู่นวตั กรรม

หนว่ ยวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพจลุ นิ ทรยี ์และ ชีวเคมภี ณั ฑ์ ขดี ความสามารถหนว่ ยวิจยั : มงุ่ เน้นการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากรชวี ภาพในด้านตา่ งๆ อาทิ การคน้ หาสารออกฤทธท์ิ างชวี ภาพเพอ่ื ใชป้ ระโยชนด์ า้ นการเกษตรและการแพทย์ การควบคุมโรคและแมลงศตั รูพชื โดยชีววิธี และ การใช้ประโยชน์จากจลุ ินทรยี ์ใน การผลิตเอนไซม์และสารมูลค่าสูงสำ�หรับอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น อุตสาหกรรม อาหารสัตว์ อุตสาหกรรมกระดาษ อตุ สาหกรรมสิ่งทอ และอุตสาหกรรมผลิตภณั ฑ์ สขุ ภาพเปน็ ตน้ รวมทง้ั การพฒั นาเทคโนโลยแี บบสหสาขาวชิ าในการใชป้ ระโยชนจ์ าก ชีวมวลทางการเกษตรเพื่อการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ และสารเคมีในอุตสาหกรรม พลงั งานและเคมีชวี ภาพ ลักษณะการให้บริการ : วจิ ัยและพฒั นา/ถ่ายทอดเทคโนโลยี การนำ�เทคโนโลยีไปใชส้ ำ�หรับอตุ สาหกรรม : การควบคมุ แมลงศตั รพู ชื แบบชวี วิธี ตัวอย่างผลงานพร้อมถา่ ยทอดเทคโนโลยี : การผลิตสปอรร์ าบิวเวอเรยี จำ�นวนมากบนอาหารแข็ง (ซา้ ย) และราบวิ เวอเรียท่ีเจรญิ อยา่ งดหี ลงั เกบ็ รกั ษาในสูตร C ทีอ่ ณุ หภมู สิ งู ต่อเนือ่ งเป็นเวลา 4 เดอื น (ขวา) สนใจตดิ ต่อ หน่วยวจิ ยั เทคโนโลยีชวี ภาพจุลินทรยี แ์ ละชีวเคมีภัณฑ์ ศนู ยพ์ ันธวุ ศิ วกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหง่ ชาติ 113 อทุ ยานวทิ ยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธิน ตำ�บลคลองหนงึ่ อ�ำ เภอคลองหลวง จังหวดั ปทมุ ธานี 12120 โทรศพั ท์ 02 564 6700 42 Open NSTDA ประตสู ู่นวัตกรรม

โรงงานตน้ แบบผลติ ไวรสั เอน็ พวี ี เพอ่ื ควบคมุ แมลงศตั รพู ชื ขดี ความสามารถหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร : มงุ่ เนน้ การผลติ เชอ้ื ไวรสั เอน็ พวี ี ในระดบั กง่ึ อตุ สาหกรรม โดยเน้นประสิทธภิ าพการผลติ สงู สดุ เพ่อื ให้ต้นทนุ ของผลิตภณั ฑ์ไวรัสเอ็นพวี ี อยูใ่ น ระดับท่เี หมาะสมและเปน็ ทน่ี ่าสนใจของเกษตรและธุรกิจทางด้านการเกษตร รวมถงึ การเผยแพร่และถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่กลุ่มเป้าหมายโดยร่วมมือกับหน่วยงานท่ี เกย่ี วข้องทั้งภาครฐั และเอกชน นอกจากน้ียังมีกิจกรรมวิจัยทน่ี �ำ เทคโนโลยที างไวรสั วิทยาและพนั ธุวศิ กรรมมาปรบั ปรงุ สายพันธุข์ องไวรสั ให้มีประสิทธิภาพสูงขึน้ ลกั ษณะการใหบ้ ริการ : ถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารผลิตเช้ือไวรัสเอน็ พวี ี การน�ำ เทคโนโลยไี ปใชส้ �ำ หรบั อตุ สาหกรรม : ผลติ เชอ้ื ไวรสั เอน็ พวี เี พอ่ื ควบคมุ แมลงศตั รพู ชื ตัวอย่างผลงานพร้อมถา่ ยทอดเทคโนโลยี : ผลิตภัณฑ์ไวรัส NPV (Spod-e focus และ Spod-l focus) กำ�จดั หนอนแมลงศัตรพู ชื สนใจติดตอ่ โรงงานตน้ แบบผลติ ไวรัสเอ็นพวี ีเพือ่ ควบคุมแมลงศัตรูพชื หนว่ ยวิจัยไวรสั วิทยาและเทคโนโลยีแอนติบอดี ศูนยพ์ ันธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหง่ ชาติ 113 อุทยานวทิ ยาศาสตรป์ ระเทศไทย ถนนพหลโยธนิ ตำ�บลคลองหนงึ่ อำ�เภอคลองหลวง จงั หวดั ปทุมธานี 12120 โทรศพั ท์ 02 564 6700 ต่อ 3712 43Open NSTDA ประตสู นู่ วตั กรรม

บรษิ ทั กรีนอินโนเวทีฟ ไบโอเทคโนโลยี จำ�กัด ขีดความสามารถห้องปฏิบตั กิ าร : เป็นศูนย์วิจยั และพัฒนา GIB Advance Research & Development Center สำ�หรบั วจิ ัยและพฒั นาผลติ ภัณฑ์เก่ียวกับจลุ ินทรีย์หรือสาร สง่ เสริมการเจริญเตบิ โตและกระตนุ้ ภมู ิคมุ้ กนั แก่พืชและสัตว์ และรับจ้างวจิ ัยและ พัฒนาเทคโนโลยกี ารผลติ โดยผลติ ภณั ฑ์ของบรษิ ัทได้แก่ กลมุ่ Organic Fertilizer, Crop Protection ในพืช และ Natural Immune Booster สำ�หรบั สตั ว์ ลกั ษณะการให้บรกิ าร : ประโยชน์/การน�ำ เทคโนโลยีไปใช้ส�ำ หรบั อุตสาหกรรม : เปน็ ประโยชน์ต่ออุตสาหกรรม เกษตรและอาหาร โดยเน้นผลิตภัณฑท์ ี่เกี่ยวขอ้ งทางดา้ น Food Safety, Food Security and Sustainability ตัวอย่างผลงานพร้อมถา่ ยทอดเทคโนโลยี : สนใจตดิ ต่อ ช้นั 7 อาคาร D ตึก INC2 Phone : +66 2347 7588 Fax : +66 2347 7589 Email: [email protected] 44 Open NSTDA ประตูสู่นวตั กรรม

วนุ เสน อาหารเพอื่ อนาคต Smart Functional Food 45Open NSTDA ประตูสนู่ วตั กรรม

หอ้ งปฏบิ ัติการฟสิ ิกสโ์ พลเิ มอร์ ขดี ความสามารถหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร : กลมุ่ วจิ ยั รโี อโลยอี าหารในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารฯ ไดน้ �ำ ความรู้ พื้นฐานเชิงวัสดุศาสตร์ ได้แก่ สมบัติรีโอโลยี (การไหลและการเสียรูป) สมบัติ วิสโคอิลาสติก (ความหยุ่นหนืด) และสมบัติไตรโบโลยี (การไหลลื่น) มาใช้ในการปรบั เนอ้ื สมั ผสั อาหารเพอ่ื สขุ ภาพ รวมถึง การศึกษากระบวนการบดเคี้ยวและ กลนื อาหารในช่องปาก เพ่ือพฒั นา ผลิตภัณฑ์อาหารท่ีปรับเน้ือสัมผัส ใหเ้ คย้ี วและกลนื งา่ ยส�ำ หรบั ผสู้ งู อายุ ตัวอยา่ งของผลิตภณั ฑ์ : ขนมปงั ปราศจาก ไสก้ รอกไขมนั ต�่ำ มายองเนสไขมนั ต�่ำ แป้งชุบทอด ไสเ้ บอเกอรเ์ หด็ กลเู ตนจากขา้ ว ลดการอมนำ�้ มนั โดยมีความพรอ้ มทางเครื่องมอื วเิ คราะห์ทดสอบ ดังนี้ • เครอ่ื งวเิ คราะหส์ มบตั ริ โี อโลยแี บบหมนุ (Rotational Rheometer) • หวั วดั สมบตั ไิ ตรโบโลยขี องอาหารและวสั ดโุ พลเิ มอร์ • หวั วดั ความหนดื แบบดงึ ยดื (Extensional Viscosity) • เครือ่ งวเิ คราะห์สมบตั กิ ารไหลแบบคาปลิ ลารี (Capillary Rheometer) ทม่ี หี น่วย ทดสอบการดงึ ยดื • เครอ่ื งวเิ คราะหส์ มบตั เิ ชงิ กล (Universal Testing Machine) และเครอ่ื งมอื เตรยี ม ตวั อยา่ งอาหารตา่ งๆ เชน่ เครอ่ื งโฮโมจไี นเซอรค์ วามดนั สงู ลกั ษณะการให้บรกิ าร : ใหบ้ ริการรบั จ้างวิจยั และร่วมวจิ ยั ในการศกึ ษาพน้ื ฐาน และพัฒนา ผลติ ภณั ฑอ์ าหารเพอ่ื สขุ ภาพใหม้ เี นอ้ื สมั ผสั ทด่ี ี อาหารบดเคย้ี วงา่ ยและกลนื งา่ ยส�ำ หรบั ผ้สู ูงอายุ และอาหารส�ำ หรับผทู้ ่มี ภี าวะกลนื ลำ�บาก นอกจากนยี้ งั ให้บริการวิเคราะห์ ทดสอบสมบตั ริ ีโอโลยีและสมบตั เิ ชงิ กลของอาหารอีกด้วย 46 Open NSTDA ประตูสนู่ วัตกรรม

ประโยชน์/การนำ�เทคโนโลยีไปใชส้ ำ�หรับอตุ สาหกรรม : ปจั จุบันอุตสาหกรรมอาหารมี แนวโน้มสนใจผลิตภัณฑ์ที่ใส่ใจผู้บริโภคมากขึ้น โดยคำ�นึงถึงรูปลักษณ์ รสชาติ คุณประโยชน์ และความสะดวกตอ่ การบรโิ ภค การทำ�ให้อาหารมสี มบัตติ ่างๆ ตาม ความตอ้ งการโดยอาศยั ความรพู้ น้ื ฐานเกย่ี วกบั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งโครงสรา้ งกบั สมบตั ิ ของอาหาร ทำ�ใหส้ ามารถปรบั สูตรหรอื พฒั นาสูตรใหมไ่ ดส้ ะดวกและรวดเรว็ ขนึ้ ตวั อย่างผลงานพรอ้ มถา่ ยทอดเทคโนโลยี ขนมปงั ปราศจากกลเู ตนจากฟลาวมนั ส�ำ ปะหลงั (Gluten-free Bread from Cassava Flour) โปรตนี เมอ่ื จ�ำ นวนผแู้ พก้ ลเู ตนเพม่ิ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จงึ เปน็ ความทา้ ทายทจ่ี ะพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ อาหารปราศจากกลเู ตน เพอ่ื รองรบั กบั ความตอ้ งการและพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของผทู้ ม่ี อี าการ แพก้ ลเู ตน โครงการวจิ ยั นจ้ี งึ ไดน้ �ำ ฟลาวมนั ส�ำ ปะหลงั มาใช้ในการผลติ ขนมปงั ปราศจากกลเู ตน โดยท�ำ การปรบั คณุ สมบตั วิ สิ โคอลิ าสตกิ ของแปง้ โด และคณุ ภาพของขนมปงั ใหค้ ลา้ ยคลงึ กบั ฟลาวสาลที ี่มโี ปรตนี กลูเตนเปน็ องคป์ ระกอบส�ำ คัญ โดยอาศยั สมบัติร่วมกันของสารไฮโดร คอลลอยด์ สตาร์ชดดั แปร และสารประกอบอาหารชนิดอนื่ ๆ มาทดแทนสมบัติของกลเู ตน ทีข่ าดหายไป การศึกษานพ้ี บวา่ ฟลาวมันสำ�ปะหลังที่แทนท่ดี ว้ ยฟลาวข้าวหอมมะลิบางสว่ น รว่ มกับการเติมโปรตีน ไฮโดรคอลลอยด์ และเอนไซม์ ทำ�ให้ได้ขนมปงั ทีม่ ีลกั ษณะปรากฏ ภายนอก และโครงสรา้ งของเนอ้ื ในทด่ี ี เนอ่ื งจากแปง้ โดแสดงสมบตั วิ สิ โคอลิ าสตกิ คลา้ ยโดจาก ฟลาวข้าวสาลี และจากการวิเคราะห์โครงสร้างจุลภาคพบว่า โปรตีนในเนื้อขนมปังสูตรที่ พฒั นาข้นึ น้จี ะอยูก่ ระจายลอ้ มรอบเม็ดฟลาว ซง่ึ คล้ายคลึงกับโครงสร้างทีพ่ บในขนมปงั จาก ฟลาวขา้ วสาลี การทดสอบทางประสาทสมั ผสั พบวา่ สมบตั โิ ดยรวมของขนมปงั ทพ่ี ฒั นาขน้ึ ไมด่ อ้ ยกวา่ ขนมปงั ทเ่ี ตรยี มจากแปง้ สตู รปราศจากกลเู ตนทม่ี จี �ำ หนา่ ยในตา่ งประเทศ อกี ทง้ั ยงั มรี าคาต�ำ่ กวา่ ขนมปงั ปราศจากกลเู ตนทม่ี จี �ำ หนา่ ยในตา่ งประเทศถงึ 3 เทา่ หัวหนา้ โครงการ : ดร. ชยั วุฒิ กมลพลิ าส กนกพร ม่ันสกุล สนใจตดิ ตอ่ ศนู ย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ โทรศพั ท์ 02 564 6500 ต่อ 4305 อเี มล: [email protected] 47Open NSTDA ประตูสนู่ วตั กรรม

ศูนย์นวตั กรรมอาหารและอาหารสตั ว์ Food and Feed Innovation Center ขีดความสามารถห้องปฏิบตั กิ าร : ศนู ยน์ วัตกรรมอาหารและอาหารสัตว์ จดั ตั้งขึ้นเพ่ือ เพิ่มศักยภาพและความสามารถในการแข่งขันให้กับภาคอุตสาหกรรมอาหารและ อาหารสัตวข์ องประเทศไทย โดยการบูรณาการความเชี่ยวชาญท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั การใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพ และเทคโนโลยที ีเ่ ก่ยี วข้องในดา้ นต่างๆ ทั้งภายใน และภายนอกไบโอเทคให้อย่ทู ่ีจุดเดยี ว ลักษณะการให้บริการและการน�ำ เทคโนโลยีไปใชส้ ำ�หรับอตุ สาหกรรม : • การวจิ ยั และพฒั นา ใชเ้ ทคโนโลยชี วี ภาพสรา้ งนวตั กรรมทต่ี อบสนองตอ่ โจทยแ์ ละ ความตอ้ งการของภาคเอกชน ทง้ั การคดิ คน้ และพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ใหมๆ่ และการพฒั นา ตอ่ ยอดจากผลติ ภณั ฑท์ ่ีไดพ้ ฒั นาขน้ึ แลว้ ไปสกู่ ารใชป้ ระโยชน์ในเชงิ พาณชิ ย์ • การทดสอบและพฒั นาระบบการผลติ ในระดบั กง่ึ อตุ สาหกรรม จนไดต้ น้ แบบผลติ ภณั ฑ์ ท่ใี ชส้ �ำ หรบั การทดลองในภาคสนามและการประเมนิ ความเปน็ ไปไดท้ างธรุ กจิ ซง่ึ จะ ผลกั ดนั ผลงานวจิ ยั ใหส้ ามารถถา่ ยทอดสกู่ ารใชป้ ระโยชนเ์ ชงิ พาณชิ ย์ไดร้ วดเรว็ และ มปี ระสทิ ธภิ าพเพม่ิ ขน้ึ • การจดั หาและรับเทคโนโลยีจากต่างประเทศ สร้างพันธมติ รวิจยั รว่ มกับหนว่ ยงาน ตา่ งประเทศ เปน็ ตวั กลางจดั หาและปรบั เทคโนโลยจี ากตา่ งประเทศใหเ้ หมาะสมกบั ผู้ประกอบการในไทย • การใหบ้ ริการทางวิชาการในดา้ นการเปน็ ทป่ี รึกษา การให้บรกิ ารด้านเทคนคิ การให้ บรกิ ารเช่าเครอื่ งมอื สำ�หรับภาครฐั และเอกชน การถ่ายทอดเทคโนโลยี และการ ฝกึ อบรมเฉพาะทางให้กับบุคลากร เพื่อยกระดับความสามารถทางเทคนิคของ บคุ ลากรใหม้ ีความเช่ียวชาญและทกั ษะเพมิ่ ข้นึ ตลอดจนการสรา้ งองค์ความรู้ด้าน การประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณ เพื่อกำ�หนดเกณฑ์ควบคุมความปลอดภัยใน อาหารตั้งแต่จุดเร่มิ ตน้ จนถึงปลายทางการผลติ 48 Open NSTDA ประตูสนู่ วัตกรรม

ตวั อย่างผลงาน : • ผลติ ภณั ฑ์ไกพ่ รอ้ มรบั ประทานในบรรจภุ ณั ฑร์ ที อรท์ เพาช์ • การผลิตใยอาหารละลายน้ำ�สายสั้น (MOS) จากกากมะพร้าวเหลือทิ้งจาก กระบวนการผลิต • การผลติ ไบโอแคลเซยี มจากเปลอื กไข่ • การผลติ โปรคอลลาเจนจากเยอ่ื หมุ้ เปลอื กไข่ • เทคโนโลยผี ลติ กรดไขมนั Omega-3 และ Omega-6 จากจลุ นิ ทรยี ์ สนใจติดตอ่ ศูนยน์ วตั กรรมอาหารและอาหารสตั ว์ ศูนย์พันธวุ ิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ 113 อทุ ยานวิทยาศาสตรป์ ระเทศไทย ถนนพหลโยธิน ต�ำ บลคลองหน่ึง อ�ำ เภอคลองหลวง จังหวดั ปทมุ ธานี 12120 โทรศพั ท์ 02 564 6700 โทรสาร 02 564 6707 เวบ็ ไซต์ http://www.biotec.or.th/fbu 49Open NSTDA ประตสู ูน่ วัตกรรม