Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สารสนเทศโรงเรียนศรีเกษตรวิทยา

สารสนเทศโรงเรียนศรีเกษตรวิทยา

Published by sirimongkol Jandoung, 2018-07-20 23:35:59

Description: แนะนำโรงเรียนศรีเกษตรวิทยา ปีการศึกษา 2561

Search

Read the Text Version

คณะนิเทศ ติดตาม โครงการพฒั นาคุณการศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยี การศึกษาทางไกล DLTV และ DLITโรงเรียนพระปริยตั ิธรรม แผนกสามญั ศึกษา จงั หวดั ศรสี ะเกษ วนั ท่ี ๓ เดือน กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

โรงเรียนศรเี กษตรวทิ ยาโรสมงเเรด็จียพนพรระใเะทนปพโครรริยตั ัตงนกิธรารรารชตสมาุดมแาพผรฯนะกสรสยาาาชมมดญับารรศมกึิ รษาาชตกนุ้มแารบบี สำนักงำนกลุ่มโรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสำมัญศึกษำ กลมุ่ ที่ ๑๑ กองพท่ ธศำสนศึกษำ สำนักงำนพระพท่ ธศำสนำแหงุ ชำติ มหำเถรสมำคม

ขอ้ มูลผบู้ รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ (ข้อมูล ณ วันท่ี ๓ มถิ ุนายน ๒๕๖๑) ชอ่ื ประเภทบุคลากร พระภกิ ษุ คฤหสั ถ์ รวมท้งั สนิ้ ชาย หญิงผจู้ ดั การ ๑ ๑ผอู้ านวยการ ๑ -- ๑รองผอู้ านวยการ ๑ -- ๒ครูประจา ๕ ๑- ๑๒ครูพเิ ศษ ๒ ๖๑ ๔ครบู าลี ๑ ๑๑ ๑นกั วชิ าการหรือเจา้ พนกั งานศาสนศกึ ษา - -- ๒เจ้าหน้าทหี่ รอื อ่ืน ๆ - ๑ ๑๑ ๒- ๒๔ รวม -๑ ๑๐ ๓

การจัดการศกึ ษา ข้อมลู นกั เรยี น (ณ วันท่ี ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๑)ระดบั ชน้ั เรยี น ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖ รวม ทง้ั สน้ิ ๑จานวนหอ้ ง ๒ ๒๒ ๑ - ๑๘ ๓๕เพศ พระ - -๑ ๑ ๓๕ -๒ สามเณร ๔๕ ๔๖ ๒๙ ๒๘ ๑๘ ๒๐๑ ๒๙รวม ๔๕ ๔๖ ๓๐ ๑๘ ๒๐๓ รปูหมายเหตุ จานวนนักเรยี นอยู่ประจา จานวน ๓๕ รูป จานวนนักเรยี นเดนิ ทางไป - กลบั จานวน ๑๖๘

การจดั การศึกษาขอ้ มูลอาคารสถานท่ีที่ต้งั โรงเรียนศรเี กษตรวทิ ยา มีพ้นื ท่ปี ระมาณ ๓ ไร่ พ้ืนทป่ี ลูกสร้างอาคาร ๒ ไร่ และพน้ื ท่สี นาม/นันทนาการ ๑ ไร่อาคารเรยี นถาวร จานวน ๑ หลงั ขนาดสงู ๓ ชนั้ กว้าง ๑๒ เมตร ยาว ๓๕ เมตรประกอบดว้ ยหอ้ งตา่ ง ๆ ดงั นี้- หอ้ งเรยี นท้ังหมด จานวน 8 ห้อง - หอ้ งพักครู จานวน ๒ ห้อง- หอ้ ง ICT คอมพวิ เตอร์ จานวน ๒ ห้อง - ห้องผบู้ รหิ าร จานวน ๑ หอ้ ง- หอ้ งแสดงผลงาน จานวน ๑ ห้อง - ห้องเจา้ หน้าท่พี สั ดุ จานวน ๑ ห้อง- หอ้ งพยาบาล จานวน ๑ ห้อง - หอ้ งนา้ /ห้องสุขา จานวน 4 ห้อง

>ตอ่ >ขอ้ มลู อาคารสถานที่อาคารหอประชมุ จานวน ๑ หลัง ขนาดกว้าง ๑๖ เมตร ยาว ๓๖ เมตรอาคารหอสมดุ จานวน ๑ หลัง ขนาดกวา้ ง ๑๑ เมตร ยาว ๑๖ เมตร ประกอบด้วย- หอ้ งสมุด จานวน ๑ หอ้ ง - หอ้ งสหกรณโ์ รงเรยี น จานวน ๑ หอ้ ง- ห้องปฏบิ ัตกิ ารทางวทิ ยาศาสตร์ จานวน ๑ ห้องอาคารโรงอาหาร จานวน ๑ หลังห้องสุขา จานวน ๑๐ หอ้ งอปุ กรณเ์ กยี่ วกบั DLTV/DLIT- โทรทัศน์ ขนาด ๕๐ น้วิ จานวน ๑๐ เครือ่ ง- จานรบั สัญญาณดาวเทียม จานวน ๕ จาน- เคร่อื งรบั สญั ญาณดาวเทียม จานวน ๑๐ เคร่อื ง

การจดั การศกึ ษาข้อมลู จานวนผสู้ าเร็จการศกึ ษาปีการศกึ ษา ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ รวม ๒๕๕๙ ๓๔ ๑๔ ๔๘ ๒๕๖๐ ๔๑ ๗ ๔๘ข้อมลู จานวนการศึกษาตอ่ ของนักเรยี น ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๖ รวม ๑๐ ๔๐ปกี ารศกึ ษา ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ๕ ๔๕ ๒๕๕๙ ๓๐ ๒๕๖๐ ๔๐

ข้อมลู ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนระดบั สถานศึกษาร้อยละของนักเรียนทมี่ เี กรดเฉลยี่ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นแต่ละรายวชิ าในระดบั ๓ ข้ึนไป ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ – ๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ๗๐.๐๐ ๗๕.๐๐ ภาษาไทย ๖๘.๐๐ ๕๓.๕๔ คณิตศาสตร์ ๖๐.๐๐ วทิ ยาศาสตร์๗๒.๐๐ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม สขุ ศกึ ษา๖๘.๐๐ ๗๖.๐๐ ศลิ ปะ การงานอาชพี และเทคโนโลยี๖๗.๐๐ ๘๒.๐๐ ภาษาองั กฤษ ฟสิ ิกส์๕๘.๐๐ ๗๒.๐๐ ชีววทิ ยา ๕๖.๐๐ ๗๑.๐๐ เคมี ๕๕.๐๐๖๕.๐๐ พระพุทธศาสนา (ธรรม) พระพุทธศาสนา (วินัย) พระพุทธศาสนา ภาษาบาลี กระทธู้ รรม

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ๕๐.๐๐คะแนนเฉล่ีย ๔๐.๐๐ ๓๐.๐๐ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ๒๐.๐๐ ๓๖.๐๒ ๑๗.๘๕ ๒๖.๔๔ ๒๖.๐๕ ๑๐.๐๐ ๔๖.๕๗ ๒๒.๘๑ ๓๐.๘๒ ๒๘.๐๖ ๐.๐๐ ๓๙.๔๐ ๑๙.๖๙ ๒๗.๙๘ ๒๖.๕๑ ๔๘.๒๙ ๒๖.๓๐ ๓๒.๒๘ ๓๐.๔๕คะแนนเฉลีย่ ของโรงเรียนคะแนนเฉลย่ี ระดับจงั หวดัคะแนนเฉลี่ย สงั กัดสพฐ.ท้งั หมดคะแนนเฉลีย่ ระดบั ประเทศ

ตารางเปรยี บเทียบผลการทดสอบ O-NET ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ และ ๒๕๖๐ สาระการเรยี นรู้ ปกี ารศกึ ษา ผลตา่ งปี พฒั นาการ ๒๕๕๙ 2560 ๒๕๕9-๒๕601. ภาษาไทย 36.24 36.02 ลดลง2. สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม -0.22 -3. ภาษาองั กฤษ 00 04. คณิตศาสตร์ 26.24 26.05 ลดลง5. วทิ ยาศาสตร์ 19.81 17.85 -0.19 ลดลง 29.41 26.44 -1.96 ลดลง เฉลย่ี 27.93 26.59 -2.97 ลดลง -1.34

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พ้ืนฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖ ๕๐.๐๐คะแนนเฉล่ีย ๔๕.๐๐ ๔๐.๐๐ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมฯ ภาษาอังกฤษ ๓๕.๐๐ ๓๗.๒๑ ๑๕.๓๖ ๒๕.๘๑ ๓๑.๗๑ ๑๘.๒๑ ๓๐.๐๐ ๔๖.๕๖ ๑๙.๑๔ ๒๖.๕๒ ๓๒.๙๐ ๒๓.๑๗ ๒๕.๐๐ ๓๖.๔๒ ๑๕.๑๔ ๒๓.๓๑ ๒๙.๗๘ ๒๐.๗๒ ๒๐.๐๐ ๔๙.๒๕ ๒๔.๕๓ ๒๙.๓๗ ๓๔.๗๐ ๒๘.๓๑ ๑๕.๐๐ ๑๐.๐๐ ๕.๐๐ ๐.๐๐คะแนนเฉลย่ี ของโรงเรียนคะแนนเฉลยี่ ระดบั จงั หวดัคะแนนเฉลี่ย สังกัดสพฐ.ทง้ั หมดคะแนนเฉล่ยี ระดบั ประเทศ

ตารางเปรยี บเทียบผลการทดสอบ O-NET ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๙ และ ๒๕๖๐ สาระการเรยี นรู้ ปีการศึกษา ผลต่างปี พฒั นาการ ๒๕๕๙ 2560 ๒๕๕9-๒๕601. ภาษาไทย 45.64 37.21 ลดลง2. สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 35.21 31.71 -8.43 ลดลง3. ภาษาองั กฤษ 22.32 18.21 -3.50 ลดลง4. คณติ ศาสตร์ 16.79 15.36 -4.11 ลดลง5. วทิ ยาศาสตร์ 28.79 25.81 -1.43 ลดลง 29.75 25.66 -2.98 ลดลง เฉลยี่ -4.09

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (B-NET) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ ๔๕.๐๐คะแนนเฉล่ีย ๔๐.๐๐ ๓๕.๐๐ ภาษาบาลี ธรรม พุทธประวตั ิ วินัย ๓๐.๐๐ ๓๔.๕๖ ๓๘.๑๕ ๓๙.๒๗ ๓๗.๐๗ ๒๕.๐๐ ๓๔.๓๐ ๓๙.๖๖ ๔๐.๓๙ ๓๖.๐๙ ๒๐.๐๐ ๓๒.๗๘ ๓๙.๒๖ ๓๙.๖๓ ๓๖.๒๙ ๑๕.๐๐ ๓๓.๒๕ ๓๖.๗๒ ๓๖.๒๗ ๓๓.๘๗ ๑๐.๐๐ ๕.๐๐ ๐.๐๐คะแนนเฉลยี่ ของโรงเรยี นคะแนนเฉล่ยี ระดับจังหวดัคะแนนเฉล่ยี สังกดั สานักงานกล่มุ ฯคะแนนเฉลย่ี ระดับประเทศ

ตารางเปรียบเทยี บผลการทดสอบ B-NET ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๙ และ ๒๕๖๐ สาระการเรยี นรู้ ปีการศกึ ษา ผลต่างปี พัฒนาการ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๕๙-๒๕๖๐1. ภาษาบาลี ๓๓.๐๖ ๓๔.๕๖ เพิม่ ขน้ึ2. ธรรม ๓๖.๒๙ ๓๘.๑๕ ๑.๕๐ เพิม่ ข้ึน3. พุทธประวัติ ๓๓.๗๑ ๓๙.๒๗ ๑.๘๖ เพ่มิ ขึ้น3. วนิ ยั ๓๖.๔๑ ๓๗.๐๗ ๕.๕๖ เพิ่มขนึ้ ๓๔.๘๗ ๓๗.๒๖ ๐.๖๖ เพม่ิ ขึ้น เฉลีย่ ๒.๓๙

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พ้ืนฐาน (B-NET) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖ ๔๕.๐๐คะแนนเฉล่ีย ๔๐.๐๐ ๓๕.๐๐ ภาษาบาลี ธรรม พุทธประวัติ วินัย ๓๐.๐๐ ๓๗.๑๔ ๓๗.๔๓ ๔๒.๘๖ ๔๓.๑๔ ๒๕.๐๐ ๓๔.๓๒ ๓๒.๕๓ ๔๐.๑๑ ๓๘.๒๖ ๒๐.๐๐ ๓๖.๕๑ ๓๖.๙๕ ๔๑.๒๙ ๓๙.๘๗ ๑๕.๐๐ ๓๔.๕๔ ๓๕.๐๙ ๓๘.๔๗ ๓๖.๗๙ ๑๐.๐๐ ๕.๐๐ ๐.๐๐คะแนนเฉล่ยี ของโรงเรยี นคะแนนเฉล่ียระดบั จงั หวดัคะแนนเฉล่ยี สงั กัดสานกั งานกลมุ่ ฯคะแนนเฉล่ีย ระดับประเทศ

ตารางเปรียบเทยี บผลการทดสอบ B-NET ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙ และ ๒๕๖๐ สาระการเรียนรู้ ปกี ารศึกษา ผลต่างปี พฒั นาการ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๕๙-๒๕๖๐1. ภาษาบาลี ๔๐.๘๐ ๓๗.๑๔ ลดลง2. ธรรม ๓๙.๗๓ ๓๗.๔๓ -๓.๖๖ ลดลง3. พทุ ธประวตั ิ ๕๒.๘๐ ๔๒.๘๖ -๒.๓๐ ลดลง4. วนิ ยั ๔๓.๖๐ ๔๓.๑๔ -๙.๙๔ ลดลง ๔๔.๐๕ ๔๐.๑๔ -๐.๔๖ ลดลง เฉลย่ี -๓.๙๑

ผลการสอบนกั ธรรม ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ชน้ั สง่ สอบ สอบได้ สอบตก หมายเหตุนกั ธรรมชั้นตรี ๓๒ ๒๘ ๔นกั ธรรมชน้ั โท ๑๘ ๘ ๑๐นกั ธรรมชั้นเอก ๑๕ ๑๐ ๕รวม ๖๕ ๔๖ ๑๙ผลการสอบบาลี ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ ช้นั ส่งสอบ สอบได้ สอบตก หมายเหตุประโยค ๑-๒ ๗๖ ๐ ๗๖ประโยค ป.ธ.๓ ๒๑ ๑ ๒๐ประโยค ป.ธ.๔ ๔ ๐ ๔รวม ๑๐๑ ๑ ๑๐๐

การดาเนินการของสถานศึกษา ตามแผนพฒั นาเด็กและเยาวชนในถ่ินทรุ กนั ดาร ตามพระราชดาริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารีเปา้ หมายหลกั ที่ ๑ด้านส่งเสรมิ โภชนาการและสขุ ภาพอนามัยของเดก็ และเยาวชน เร่มิ ตงั้ แต่ในครรภ์มารดากจิ กรรมตรวจสขุ ภาพสามเณรนกั เรียนและตรวจเยี่ยมโรงเรียน หน่วยงานต่างๆ เช่น กรมอนามัย สานักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ โรงเรียนพยาบาลศรีสะเกษ เป็นต้น ได้ดาเนินกิจกรรมเพื่อสนับสนุนการดาเนินงานโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถ่ินทุรกันดารตามพระราชดาริ ตามวัตถุประสงค์ของแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ด้านการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัย ปีละ ๒ ครง้ั

การดาเนนิ การของสถานศกึ ษา ตามแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถ่ินทรุ กันดาร ตามพระราชดาริ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารีเป้าหมายหลักท่ี ๒ เพิม่ โอกาสทางการศกึ ษา โรงเรียนศรีเกษตรวิทยา เปิดโอกาสให้พระภิกษุสามเณรท่ีบวชมาแล้ว ได้มีโอกาสทางการศึกษา โดยไม่จากัดอายุ หากอยู่ในวัดที่ห่างไกลท่ีอยู่ในเขตบริการโรงเรียนได้จัดรถยนต์รับ-ส่ง เพื่ออานวยความสะดวกด้านการศึกษา

การดาเนินการของสถานศกึ ษา ตามแผนพฒั นาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกนั ดาร ตามพระราชดาริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีเป้าหมายหลกั ที่ ๓ เสรมิ สร้างศกั ยภาพของเดก็ และเยาวชนทางวิชาการและทางจรยิ ธรรม โรงเรียนศรีเกษตรวิทยา มุ่งเน้นการแก้ไขปัญหาวิกฤตเรื่องภาษาไทย โดยเฉพาะสามเณรนักเรียนท่ีอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ หรืออ่านเขียนไม่คล่อง โดยมีกระบวนการวัดความรู้การอ่านการเขียนภาษาไทย เป็นรายบุคคล จัดกิจกรรมพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านการเรียน ให้ครแู ตล่ ะคนได้รว่ มกนั รับผิดชอบ

การดาเนินการของสถานศึกษา ตามแผนพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถ่ินทุรกนั ดาร ตามพระราชดาริ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีเปา้ หมายหลักท่ี ๔ ดา้ นเสริมสรา้ งศักยภาพของเดก็ และเยาวชนทางการอาชีพ กิจกรรมสง่ เสริมการเกษตร เพ่ือส่งเสริมให้สามเณรนักเรียนมีความรู้และทักษะ ทางด้านการงานอาชีพอ่ืน นอกเหนือจากเกษตรกรรม ท้ังท่ีเป็นทักษะอาชีพในการดารงชีวิตและทักษะอาชีพท่ี เปน็ ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน กจิ กรรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ โรงเรียนได้จัดต้ังสหกรณ์ข้ึน เพ่ือส่งเสริมให้สามเณรนักเรียนมีความรู้และ ทักษะทางด้านการจดบันทึกทารายงานการประชุม จัดทาบัญชี และจัดให้มีทัศน ศกึ ษาเพอ่ื ส่งเสริมประสบการณด์ ้านสหกรณ์

เปา้ หมายหลักท่ี ๔ ด้านเสรมิ สร้างศกั ยภาพของเด็กและเยาวชนทางการอาชีพ (ตอ่ ) กจิ กรรมสง่ เสริมชุมนุมคอมพิวเตอร์ โรงเรียนศรีเกษตรวิทยา ร่วมกับวิทยาลัยเทคนิคศรีสะเกษ ได้ จัดการอบรมให้นักเรียนชุมนุมคอมพิวเตอร์ เพ่ือส่งเสริมให้สามเณร นักเรียนมีความรู้และทักษะทางด้านการประกอบ ซ่อมคอมพิวเตอร์ เสริมทักษะและประสบการณ์ให้สามเณรนักเรียน ให้สามารถซ่อมบารุง คอมพวิ เตอร์ของโรงเรยี นได้เอง

เปา้ หมายที่ ๕ ดา้ นปลูกฝังจิตสานกึ และพฒั นาศกั ยภาพของเดก็ และเยาวชนใน การอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โครงการการอนุรักษ์ส่งิ แวดลอ้ มโดยใชพ้ ลังงานทดแทนก๊าซชวี ภาพ โรงเรียนศรีเกษตรวิทยา มีแนวคิดที่จะผลิตพลังงานทดแทนก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์ เพ่ือลด รายจ่ายในโรงอาหารและรายจ่ายด้านพลังงาน ช่วยลดปริมาณปัญหาของส่ิงปฏิกูลและกล่ินของมูล สัตว์ สามารถนากา๊ ซชีวภาพไปใช้เป็นเชื้อเพลิงในการประกอบอาหาร ใช้เป็นแนวทางในการใช้ประโยชน์ ของมลู สตั ว์ใหเ้ กดิ ประโยชน์อย่างมากท่สี ุดตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง กจิ กรรมจดั แยกขยะ/กจิ กรรมปรบั ภมู ทิ ศั น์ เพอื่ ให้สามเณรนกั เรียนมีส่วนรว่ ม ในด้านความสะอาด ความมีระเบียบของอาคาร ตลอด บรเิ วณของโรงเรียน จงึ จดั ระบบงานถงั ขยะรองรบั ตามจุดต่าง ๆ รวมทงั้ การเก็บ การนาไปท้ิง ซ่ึงเดิม ยังไม่มีการคัดแยกประเภทขยะท่ีชัดเจนแต่อย่างใด และเพ่ือเป็นการปลูกจิตสานึกให้กับสามเณร นักเรียน ได้ตระหนักและเห็นถึงความสาคัญ รวมทั้งการเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาขยะ สามารถจดั ทาได้ โดยจัดระบบการจัดการขยะอย่างมีประสิทธภิ าพ และมีสภาพแวดล้อมทีด่ ตี ่อไป

เป้าหมายที่ ๖ ด้านเสริมสรา้ งศักยภาพของเดก็ และเยาวชนในการอนรุ กั ษ์และสบื ทอดวฒั นธรรมและภูมปิ ัญญาท้องถ่ินโครงการเรยี นรภู้ าษาถิ่น : อกั ษรธรรม โรงเรียนศรีเกษตรวิทยา จัดทาเป็นหลักสูตรท้องถ่ิน รายวิชา อักษรธรรมเพื่อให้สามเณรนักเรียนได้เกิดความภาคภูมิใจหวงแหนในภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ ปลูกจิตสานึกในการดูแลรักษาและอนุรักษ์เอกสารโบราณอันเป็นมรดกทางภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ใหค้ งอยู่สืบต่อไปกจิ กรรมศกึ ษาแหลง่ เรียนรู้ จานวนนักเรยี นที่ใช้แหลง่ เรียนรภู้ ายนอกโรงเรยี น โรงเรียนศรีเกษตรวิทยา จัดกิจกรรมทัศนศึกษาเป็นกิจกรรมหน่ึงที่กาหนดตาม ภผู า ปีการวศัดรกึอยษพระาพุทธ ๒๕๕๙แผนการดาเนินงานกระบวนการจัดการเรียนการสอน โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดการบูรณาการ เทบิทางวิชาการ และทักษะกระบวนการเรียนรูน้ อกห้องเรียนในสาขาต่าง ๆ เข้าด้วยกัน นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุขจากการได้ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้จริง ได้รับประสบการณ์จริงจาก 5% สวนเสือตระการพืชผล ตลาดอินโดจีน บาทภูมโนรมย์ วัดพระธาตพุ นมการได้เรียนรูด้ ้วยตนเอง และปลูกจิตสานึกในการดูแลรกั ษาและอนุรักษ์เอกสารโบราณอนั เป็น จังหวัดอุบลราชธานี 3% 8% 9% สวนสมเดจ็ พระศรีมรดกทางภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ให้คงอยู่สืบตอ่ ไป พพิ ธิ ภัณฑ์ ส4วน%สัตว์อุบลราชธานี นครนิ ทร์ วทิ ยาศาสตร์ 5% 5% ร้อยเอด็ ห้องวิทยาศาสตร์ วัดมหาพุทธาราม 3% มหาวิทยาลยั 14% อบุ ลราชธานี ศาลา พระธาตเุ รอื งรอง ห้องวทิ ย4าศ%าสตร์ กลาง สวนสัตว์ศรี 12% ประสาทสระ มหาวทิ ยาลัยราช จังหวัด ก้าแพงใหญ่ ภฏั ศอาบุ ลลหรลาักชเธมาือนงี ศรสี ะเกษ พิพธิ ภณั ฑส์ ัตว์น้า สะเกษ 11% 33%% 3% 2% 6%

เปา้ หมายที่ ๗ ขยายการพฒั นาจากโรงเรียนสชู่ มุ ชนโรงเรียนไดด้ าเนนิ การ ดงั น้ี ๑. การสร้างเครือข่ายโรงเรียนและกิจกรรมชุมชนกิจกรรม เพ่ือให้เกิดการมีส่วนร่วมท้ังในโรงเรียนและชุมชน อกี ทงั้ เปน็ ทีต่ ้งั ของโรงเรยี นผู้สูงอายชุ ุมชนวดั เจียงอี ๒. สร้างความสัมพันธ์โดยเชิญปราชญ์ชาวบ้านให้ความรู้ ทักษะการดารงชีวิตให้แก่สามเณรนักเรียนเพอ่ื การจดั การเรยี นการสอนทมี่ คี วามยดื หยนุ่ เน้นการบูรณาการทางการเรยี นรู้ควบคุมการดารงชวี ติ ๓. รว่ มมอื กับชุมชนระดมสรรพกาลังสรา้ งระบบเครือข่าย ๔. เป็นสถานทีศ่ กึ ษา คือเปน็ ท่เี รียนรตู้ ง้ั แต่เดก็ เล็กจนถึงมัธยมทั้งในด้านสามัญศึกษา ศาสนศึกษา และวิสามัญศกึ ษา (ศนู ยศ์ ึกษาพระพทุ ธศาสนาวันอาทติ ย์) ๕. เป็นสถานศึกษา สาหรับฝึกอบรม ทางศีลธรรมและเล่าเรียนวิชาการต่าง ๆ (ธรรมศึกษา อบรมนักเรยี นโรงเรียนอนบุ าลศรสี ะเกษ เทศบาลเมอื งศรสี ะเกษ)

เป้าหมายท่ี ๘ พัฒนาสถานศกึ ษาเปน็ ศูนย์บรกิ ารความรู้ โรงเรียนได้เป็นศูนย์บริการแก่หน่วยงาน วัด และโรงเรียนต่าง ๆ ท่ีเข้ามาใช้เป็นศูนย์การเรียนรู้ ดงั นี้ ๑. เปน็ ศูนยป์ ระสานงานกลุ่มโรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา จงั หวัดศรีสะเกษ ๒. เปน็ ศูนย์อบรมเยาวชนนักเรียนโรงเรียนอนบุ าลศรสี ะเกษ โรงเรยี นเทศบาล ๑ (วัดเจียงอ)ี ๓. เปน็ ศนู ย์ประชมุ คณะสงฆจ์ ังหวัดศรีสะเกษ

ความกา้ วหนา้ การใช้ DLTV/DLIT ผลการดาเนินการขับเคล่อื นการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาด้วยเทคโนโลยี DLTV/DLIT สาหรับโรงเรียนพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษา โครงการตามพระราชดาริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ๑. พัฒนาการจัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยี DLTV/DLIT จากสานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดศรีสะเกษ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๘ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเขต ๑ โรงเรยี นศรีสะเกษวทิ ยาลัย โรงเรียนบ้านหนองบาง และคณะเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภฏั มหาสารคาม ๒. พัฒนาระบบเครอื่ ข่ายและจดั หาอุปกรณส์ ่อื DLTV/DLIT ประกอบดว้ ยจานรับสญั ญาณดาวเทียมและทีวี ขนาด ๕๐ นว้ิ จานวน ๑๐ ชดุ

ความกา้ วหนา้ การใช้ DLTV/DLIT (ต่อ) ๓. ฝา่ ยวิชาการร่วมกันวเิ คราะห์ตารางการออกอากาศ การถา่ ยทอดสัญญาณกับตารางสอนของโรงเรียน โดยการปรับตารางสอนเปน็ รายชวั่ โมง ๔. จัดตารางเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เน้นการใช้ DLTV/DLIT เป็นหลัก ได้แก่ กลุ่มสาระการ เรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ และกลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ใหต้ รงกับตารางการออกอากาศ ๕. เน่ืองจากตารางสอนของ DLTV ไมส่ มั พันธก์ ับตารางสอนของโรงเรยี น เช่น เวลาฉันภตั ตาหารเพล เปน็ ช่วงเวลา ๑๑.๐๐ น. จึงได้ใชร้ ะบบ DLIT มาเปน็ สอื่ การสอนแทนชว่ งเวลาดังกล่าว โดยทาการบันทึกการ จดั การเรียนการสอนในรปู แบบ VDO เพื่อนามาเป็นสอ่ื การสอนแทนชว่ งเวลาทข่ี าดไป ๖. ปญั หาการใชร้ ะบบ DLTV คือ ระบบสญั ญาณถ่ายทอดสดขัดขอ้ งเนอ่ื งจากสภาพอากาศไมเ่ ออื้ อานวย วธิ ีแกป้ ญั หาโดยใช้ส่อื จากเวบ็ ไซต์ DLIT ทต่ี รงกับเนอื้ หาทีต่ อ้ งการสอน ท่ีดาวน์โหลดไว้แล้ว และสอ่ื ทด่ี าวน์ โหลดจาก YouTube มาสอนแทน

ประโยชน์ของการใช้ DLTV-DL ๑. ชว่ ยแก้ปัญหาการขาดแคลนครู และครูสอนไม่ตรงตามวิชาเอก ๒. เพิม่ /แลกเปลยี่ นประสบการณ์สอนจากการครูต้นแบบกับโรงเรียนตน้ ทาง ๓. ครูได้เรียนร้แู ละใชส้ ่อื การสอนท่ีหลากหลายจากเวป็ ไซต์ DLIT ๔. ครูได้ปรับเปล่ียนเทคนิคการสอน จากการเป็นผ้บู รรยาย เป็นผูค้ วบคมุ หรือเป็นพเ่ี ล้ียงนักเรยี น ๕. นกั เรียนสามารถทบทวนเนอ้ื หาที่ไม่เข้าใจได้ยอ้ นหลังจากเวป็ ไซต์ DLIT หรือ VDO ทบ่ี นั ทกึ ไว้

อปุ สรรคและวิธีแก้ปัญหาการใช้ DLTV/DLIT ๑. ตารางออกอากาศของ DLTV ไมต่ รงกับตารางสอนของโรงเรยี น แกป้ ัญหาโดยใชเ้ วป็ ไซต์ DLIT และสือ่ ทดี่ าวน์โหลดไว้ จาก YouTube ๒. วิชาทีไ่ มม่ ใี นตารางออกอากาศของ DLTV ครูได้รับคาแนะนาในการจดั ทาแผนการสอนจากสานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต ๒๘ และครผู ูส้ อนของโรงเรยี นพี่เลย้ี ง ๓. ได้รับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๘ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา ศรีสะเกษ เขต ๑ และคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ด้านหลักสตู ร กระบวนการเรยี นรู้ การจัดทาแผนการสอนทกุ กลุ่มสาระฯ และการจัดการเรยี นการสอนดว้ ย DLTV/DLIT ๔. สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๒๘ ไดแ้ ตง่ ต้ังโรงเรียนในสหวทิ ยาเขตในจงั หวัดศรีสะเกษ สนบั สนุน ช่วยเหลือการจดั การเรยี นการสอน DLTV/DLIT ๕. กรณีที่นกั เรยี นจดบันทึกเนอ้ื หาไม่ทันในขณะจดั การเรยี นการสอน DLTV แกป้ ญั หาใช้ DLIT

ผลทค่ี าดว่าจะได้รับการใช้ DLTV/DLIT ๑. คุณภาพดา้ นการจดั การเรียนการสอนและผลสมั ฤทธ์สิ งู ข้ึน ๒. นักเรียนสนใจในการเรียนมากข้ึน ๓. ครูมที กั ษะและกระบวนการในการจัดการเรยี นการสอนเพ่มิ ขึน้ ๔. ครูผู้สอนสามารถนารปู แบบการสอนจาก DLTV/DLIT ไปปรับใชใ้ นการจัดการเรียนการ สอน ๕. นกั เรียนสนใจการเรยี นการสอน เทคนิค ส่อื การสอนของครู มคี วามสนุกสนาน และมีส่วน รว่ มในการจดั กิจกรรมการเรยี นสอนของครูเพิ่มข้นึ

ขอ้ เสนอแนะการใช้ DLTV/DLIT ๑. ควรเพ่ิม internet ที่มคี วามเร็วสูง ๒. ควรเพมิ่ วสั ดุ-ครภุ ณั ฑด์ ้าน ICT และด้านอืน่ ๆ ให้เพียงพอ ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนมัธยมศกึ ษา ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ๓. จดั งบประมาณเพอ่ื สนับสนนุ การพัฒนาครูทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้

ขอจบการนาเสนอ ขอขอบคุณ คณะนิเทศ ติดตาม โครงการพฒั นาคุณการศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยกี ารศึกษาทางไกล DLTV และ DLIT


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook