Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปบท-1-จวง

สรุปบท-1-จวง

Published by marisasasar, 2020-06-06 07:18:12

Description: สรุปบท-1-จวง

Search

Read the Text Version

หนว่ ยที่ 1 แนวคดิ ทฤษฎี หลกั การพยาบาลในวัยผูใ้ หญท่ ี่มี ภาวะ การเจ็บป่วยเฉียบพลนั วกิ ฤติ เฉียบพลัน ภาษาอังกฤษ คือ acute หมายถงึ กะทนั หัน วกิ ฤต ภาษาอังกฤษ คือ critical หมายถึง เวลา หรือเหตกุ ารณ์อันตราย ถงึ ข้ันอนั ตราย ในระยะหัวเลยี้ ว หวั ต่อ ขัน้ แตกหัก เกีย่ วกับความเป็นความตาย การพยาบาลผู้ป่วยท่มี เี จบ็ ปว่ ยภาวะ เฉียบพลนั วกิ ฤต หมายถงึ การพยาบาลผปู้ ่วยท่ีมกี ารเจบ็ ป่วยเกดิ ขึ้น กะทนั หนั จนถึงขน้ั อนั ตรายต่อชีวติ เพอ่ื ให้ผปู้ ่วยปลอดภยั และไม่มภี าวะแทรกซ้อน เปน็ การพยาบาลท่ี เช่ยี วชาญเฉพาะสาขาในการดูแลผ้ปู ่วย ICU ( Total human being ) ตามการตอบสนองของบคุ ลต่อ ความเจบ็ ปว่ ย หรอื ภาวะเสย่ี งของปัญหาสุขภาพ รวมท้ังดแู ลการตอบสนองของครอบครัวผู้ป่วย ววิ ัฒนาการของการดูแลผูป้ ่วยภาวะ เฉียบพลัน วิกฤต ในอดีต ถูกจดั ให้รักษาในหนว่ ยพเิ ศษ คือ ไอซียู (ICU : intensive care unit) จดั ต้งั คร้ังแรกในประเทศ สหรัฐอเมรกิ า มีการใชย้ านอนหลบั ยาแกป้ วด ทาใหม้ ผี ลกระทบ หรือภาวะแทรกซอ้ น ความประทับใจ คอ่ นข้างน้อย ในปัจจบุ ัน มคี วามปลอดภยั และใหม้ ีอันตรายน้อยที่สดุ พฒั นาการติดต่อสื่อสารกับผู้ปว่ ยและญาติ เนน้ การงาน เปน็ ทีมกับสหสาขาวิชาชีพ องค์ประกอบของการพยาบาลผปู้ ่วยวิกฤตมี 3 องค์ประกอบ 1. ผู้ปว่ ยวิกฤต 2. พยาบาลให้การพยาบบาลผปู้ ่วยวิกฤต 3. สิ่งแวดลอ้ มภายในผู้ปว่ ย ผลกระทบดา้ นรา่ งกาย

1. นอนไมห่ ลับ 2. ความเจ็บปวดจากพยาธสิ ภาพ ผลกระทบด้านจติ ใจ 1. ทาให้เกิดความไมเ่ ปน็ สว่ นตวั ถูกแยก 2. การไดร้ บั สง่ิ กระตนุ้ มากหรือน้อยเกนิ ไป 3. การนอนหลับไม่เพยี งพอ การดแู ลผู้ป่วยทีม่ ภี าวะการเจ็บป่วยเฉยี บพลนั วิกฤตในปัจจุบัน ลดการใชก้ ารแพทย์ทีเ่ สย่ี งอันตรายในอดตี ลดความเข้มงวดในการเยีย่ มของญาติ และครอบครัว การตดิ เช้ือด้ือยาเพิ่มมากขึ้น โรงพยาบาลใหญ่ ๆ มกี ารทางานรว่ มกันของสหสาขาวิชาชพี สมรรถนะ (Competency) หมายถงึ ลกั ษณะ พฤติกรรมทแี่ สดงออกของบคุ คลทส่ี ะท้อนใหเ้ ห็นถงึ 1. ความรู้ 2. ความสามารถ 3. ทกั ษะ 4. คุณลกั ษณะแตล่ ะบุคคล กระบวนการพยาบาลผปู้ ่วยภาวะการเจบ็ ปว่ ย เฉียบพลัน วิกฤต  •การประเมนิ สภาพ (Assessment)  การวินจิ ฉยั ทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)  การวางแผนการพยาบาล (Planning )  •การปฏบิ ัติการพยาบาล (Implementation)  •การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)

การประเมนิ สภาพ (Assessment) แบบประเมินผ้ปู ่วยภาวะวกิ ฤต ทน่ี ิยมใชม้ าก : กรอบแนวคดิ ทางการพยาบาล FANCAS เน้นและลาดับปัญหาสาคัญ ทาให้ประเมินได้รวดเร็วและครอบคลมุ ปัญหาสาคญั ท่ีคกุ คามกบั ชวี ิต  F : Fluid balance = ความสมดุลของน้า  A : Aeration = การหายใจ  N : Nutrition = โภชนาการ  C : Communication = การตดิ ต่อส่อื สาร  A : Activity = การทากจิ กรรม  S : Stimulation = การกระตุน้ กรอบแนวคิด & ทฤษฎีการพยาบาล ทาใหก้ ารพยาบาลมีคณุ ภาพมาตรฐาน ผู้ป่วยได้รับบรกิ ารท่ีมีประสิทธภิ าพและคุณภาพ เชน่ การใช้ ทฤษฎกี ารปรบั ตวั ของรอย การใชท้ ฤษฎกี ารปรับตวั ของรอย (Roy’ s adaptation model) •ด้านร่างกาย เป็นการทางานของรา่ งกายระบบต่าง ๆ •ดา้ นอตั มโนทศั น์ ความรสู้ ึกต่อตนเอง

•ด้านบทบาทหน้าท่ี เช่น ความเจบ็ ปว่ ยมผี ลกระทบต่อบทบาทหนา้ ท่ี •ความสัมพนั ธแ์ ละพ่งึ พา เชน่ การไดร้ บั ความรู้สกึ ต่อการรักษาพยาบาล ส่วนใหญ่ มปี ัญหาทุกระบบ เชน่  การหายใจ  การไหลเวยี นโลหิต  ความเจบ็ ปวด  การตดิ เชื้อในกระแสเลอื ด  ไม่รสู้ กึ ตวั  ทกุ ข์ทรมาน  จากร่างกายเคล่อื นไหวไม่ได้  จาเปน็ ตอ้ งมีการวัด ประเมิน เฝา้ ระวงั การเปลีย่ นแปลงอย่างใกล้ชดิ  เคร่อื งมือท่ี วัด ประเมินและเฝา้ ระวังเพ่ือใหก้ ารรักษาพยาบาลมีประสิทธภิ าพ เช่น 1.EKG monitor เคร่อื งวดั ความดนั การไหลเวียนโลหติ (hemodynamics monitoring) 2.แบบประเมนิ ความเจ็บปวด 3.แบบประเมินความรุนแรงของความเจบ็ ป่วยวกิ ฤต 4.แบบประเมนิ ภาวะเครียดและความวติ กกังวล 5.แบบประเมินภาวะสบั สน เฉยี บพลันในผู้ป่วยไอซยี ู การประเมินความรุนแรงของผู้ปว่ ยภาวะการเจบ็ ป่วยวกิ ฤต ทีน่ ยิ มใช้แพรห่ ลาย คือ Acute Physiology and Critical Health Evaluation II : APACHE II Score 1. เปน็ การประเมนิ และจดั แบ่งกลุ่มผู้ปว่ ยตามความรนุ แรงของโรค 2. การประเมินและจัดแบ่งกลมุ่ ผู้ป่วยตามความรนุ แรงของโรค 3. งานวิจัยจานวนมากท่ีเลอื กหรือติดตามผปู้ ว่ ยโดยอาศัย APACHE II score น้ีเป็นตวั ช่วย

ผู้ป่วย chronic disease ทมี่ ี organ insufficiency จะมีเกณฑ์อนื่ ๆ ท่ีต้องพิจารณาสาหรบั อวัยวะแต่ ละส่วน ได้แก่ 1. Liver: จะตอ้ งไดร้ บั การวนิ ิจฉัยยืนยนั แลว้ ว่ามี cirrhosis และมี portal hypertension รวมถึงประวตั ิ การมี upper GI bleeding จาก portal hypertension หรอื ประวัติการเกิด hepatic encephalopathy 2. Cardiovascular: กลุ่ม New York Heart Association Class IV 3. Respiratory: โรคปอด ทที่ าใหเ้ หนือ่ ยจนไมส่ ามารถเดินหรือทากจิ วตั รประจาวันได้ หรือตรวจพบวา่ มี chronic hypoxia, hypercapnia, pulmonary hypertension หรอื ต้องใช้ home O2 หรือ ventilator 4. Renal: ไตวายและได้รบั การรักษาดว้ ย chronic dialysis 5. Immunosuppression: เชน่ HIV หรอื จากยาทีไ่ ดเ้ พื่อการรักษาโรคอืน่ ๆ}จะตอ้ งเป็นมากพอทจี่ ะเกิด opportunistic infection ได้ กรอบแนวคิดในการดแู ลผูป้ ว่ ย ทาให้การดูแลผ้ปู ว่ ยมปี ระสิทธิภาพ ได้แก่ กรอบแนวคดิ FASTHUG and BANDAIDS 15 องคป์ ระกอบ แนวคิด ABCDE Bundle : ABCDE care Bundle คือการจดั การปญั หาสขุ ภาพ โดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ เพ่ือให้ไดผ้ ลลพั ธด์ ีท่สี ุด (best practice ) ซึ่งอยบู่ น พน้ื ฐานสาคัญ 3 ประการคือ 1. สะดวกในการสอ่ื สารระหวา่ งบคุ ลากรไอซยี ู 2. เป็นมาตรฐานการพยาบาล 3. ลดการใช้ยานอนหลับ ลดการใช้เคร่อื งชว่ ยหายใจเวลานาน ซึ่งอาจทาใหเ้ กดิ ภาวะแทรกซอ้ นด้าน รา่ งกาย และอาจเกิด ICU Delirium


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook