Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบตรวจจับใบหน้าการเช็คชื่อเข้าเรียน

ระบบตรวจจับใบหน้าการเช็คชื่อเข้าเรียน

Published by Matsaya Chancharoen, 2023-06-06 13:16:47

Description: Face Detection System For Check-in Classroom

Search

Read the Text Version

ระบบตรวจจบั ใบหนา้ การเชค็ ชอ่ื เขา้ เรียน Face Detection System For Check-in Classroom พชั รพรรณ มโี พธส์ิ ม มัสยา จนั ทร์เจริญ ปริญญานพิ นธ์นี้ เปน็ ส่วนหนึง่ ของการศกึ ษาตามหลักสูตรบรหิ ารธุรกจิ บณั ฑติ สาขาวชิ าระบบสารสนเทศ คณะบริหารธรุ กิจและเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลสุวรรณภมู ิ ศนู ย์พระนครศรีอยธุ ยา วาสกุ รี ปีการศกึ ษา 2565

ก ชอ่ื ปริญญานพิ นธ์ ระบบตรวจจบั ใบหนา้ การเชค็ ชอ่ื เขา้ เรียน โดย Face Detection System For Check-in Classroom นางสาวพชั รพรรณ มโี พธสิ์ ม รหัสนักศึกษา 264319221017 นางสาวมัสยา จนั ทร์เจริญ รหัสนักศึกษา 264319221020 คณะกรรมการอนมุ ัตใิ ห้ปรญิ ญานิพนธฉ์ บบั นี้ เป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาวิชา ปริญญานิพนธ์ (Senior Project) และการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาระบบสารสนเทศ คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนยพ์ ระนครศรอี ยุธยา วาสกุ รี . (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ราตรี เอ่ียมประดิษฐ์) อาจารยท์ ป่ี รึกษา . . (อาจารย์ณัฐกานติ์ โตนวล) . อาจารย์ทปี่ รึกษา . . (อาจารย์ปรญิ ญา นาโท) . กรรมการ .

ข ชอื่ ปริญญานพิ นธ์ ระบบตรวจจับใบหนา้ การเชค็ ชอื่ เข้าเรียน โดย Face Detection System For Check-in Classroom สาขาวชิ า นางสาวพัชรพรรณ มีโพธิส์ ม รหสั นกั ศึกษา 264319221017 นางสาวมสั ยา จันทร์เจรญิ รหสั นักศกึ ษา 264319221020 อาจารย์ที่ปรึกษา ระบบสารสนเทศ ปกี ารศึกษา คณะบรหิ ารธรุ กิจและเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภมู ิ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ราตรี เอยี่ มประดิษฐ์ อาจารย์ณฐั กานต์ิ โตนวล 2565 บทคัดย่อ การวจิ ัยครั้งนีม้ วี ัตถุประสงคเ์ พ่ือ 1) ศึกษา วิเคราะห์และออกแบบระบบตรวจจับใบหน้าการ เช็คชื่อเข้าเรียน 2) พัฒนาระบบตรวจจับใบหน้าการเช็คชื่อเข้าเรียน 3) ประเมินประสิทธิภาพของ ระบบตรวจจับใบหน้าการเช็คชื่อเข้าเรียน และ 4) ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบตรวจจับ ใบหน้าการเช็คช่ือเข้าเรียน โดยท่ีการวิจัยในครั้งนี้ ใช้ระเบียบวิธีการพัฒนาระบบแบบ SDLC เพ่ือให้ การดาเนินงานการวจิ ยั เสร็จสิน้ ตามขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน มกี ารประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบ จานวน 30 คน เครื่องมือท่ีใช้การวิจัย ได้แก่ ระบบตรวจจับใบหน้าการเช็คชื่อเข้าเรียน แบบประเมิน ประสทิ ธิภาพจากผูเ้ ชีย่ วชาญ และแบบสอบถามความพงึ พอใจของผใู้ ช้ระบบ สถติ ิทใ่ี ชใ้ นการวิเคราะห์ ข้อมลู คอื ค่าเฉล่ยี และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) การศึกษาวิเคราะห์และออกแบบระบบตรวจจับใบหน้าการเช็คชื่อเข้า เรียน ตรงกับความต้องการข้อผู้วิจัยและผู้ใช้งานทั่วไป 2) ระบบตรวจจับใบหน้าการเช็คช่ือเข้าเรียน สามารถตรวจจับใบหน้าของผู้เขา้ เรยี น สามารถเกบ็ ข้อมลู ผู้เขา้ เรยี น สามารถแก้ไขข้อมูลวิชา สามารถ แก้ไขข้อมูลอาจารย์ สามารถดูประวัติการเข้าเรียน สามารถลงทะเบียนเรียน สามารถแจ้งเตือนการ เข้าเรียนผ่านไลน์กลุ่มนักศึกษา 3) ผลการประเมินประสิทธิภาพจากผู้เชี่ยวชาญ อยู่ในระดับมาก 4) ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบตรวจจับใบหน้าการเช็คช่ือเข้าเรียน อยู่ในระดับมาก ทส่ี ดุ

ค กติ ติกรรมประกาศ การจัดทาปริญญานิพนธ์คร้ังน้ี สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี โดยได้รับความร่วมมือช่วยเหลือ จากบุคคลหลายฝ่าย ผู้จัดทาขอขอบพระคุณ ผู้ช่วยศ าสตราจารย์ราตรี เอ่ียมประดิษฐ์ อาจารย์ณัฐกานต์ิ โตนวลซึ่งเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาในการทาปริญญานิพนธ์คร้ังน้ี ที่ให้แนวคิดในการ ดาเนนิ งาน อันเป็นประโยชนใ์ นการจดั ทาปริญญานิพนธ์คร้ังนี้เป็นอย่างดี อาจารย์ ปริญญา นาโท ซึ่ง เป็นอาจารย์ท่ีปรึกษาท่ีให้คาแนะนาและความช่วยเหลือในการแก้ไขปรับปรุงระบบ ขอบขอบคุณ คุณพ่อคุณแม่ และครอบครัว ท่ีคอยให้กาลังใจ และเพ่ือน ๆ ที่ช่วยให้คาแนะนาในการพัฒนาระบบ ผู้จดั ทารูส้ ึกซาบซ้ึงเปน็ อย่างยิง่ จึงใคร่ขอขอบพระคณุ เป็นอย่างสงู ไว้ ณ โอกาสน้ี สุดท้ายนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าปริญญานิพนธ์เรื่องน้ีสามารถให้ประโยชน์กับบุคคลที่สนใจเพ่ือ เป็นแนวทางในการศกึ ษาหรือการนาไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ย่งิ ขึ้น พัชรพรรณ มโี พธิส์ ม มัสยา จนั ทร์เจริญ

สารบญั ง คำขออนมุ ัตปิ ริญญำนิพนธ์ หน้า บทคัดย่อ ก กติ ตกิ รรมประกำศ ข สำรบัญ ค สำรบัญตำรำง ง สำรบญั ภำพ จ บทที่ 1 บทนา ฉ 1.1 ควำมเปน็ มำและควำมสำคัญของปัญหำ 1 1.2 วตั ถุประสงค์ของโครงงำน 2 1.3 ขอบเขตของโครงงำน 2 1.4 ขั้นตอนกำรดำเนนิ งำน 2 1.5 เครือ่ งมือที่ใช้ 4 1.6 ประโยชน์ที่คำดวำ่ จะไดร้ ับ 4 บทที่ 2 ทฤษฎแี ละงานวิจัยท่ีเกย่ี วขอ้ ง 2.1 ทฤษฎีทเี่ กย่ี วข้องกับโครงงำน 5 2.2 ทฤษฎขี องโปรแกรมท่ใี ชใ้ นกำรพัฒนำโครงงำน 9 2.3 งำนวจิ ัยทีเ่ ก่ยี วข้อง 11 บทที่ 3 วธิ ีการดาเนนิ งาน 3.1 เครื่องมือในกำรดำเนินงำน 15 3.2 กลมุ่ ตวั อย่ำง 19 3.3 ขัน้ ตอนกำรดำเนินงำน 19

สารบญั (ตอ่ ) หนา้ บทท่ี 4 ผลการดาเนนิ งาน 39 4.1 ผลกำรศึกษำและวิเครำะห์ 40 4.2 ผลกำรพัฒนำระบบ 47 4.3 ผลกำรประเมินประสทิ ธิภำพ 50 4.4 ผลกำรประเมนิ ควำมพงึ พอใจ 53 บทท่ี 5 สรปุ ผลการดาเนนิ งานและขอ้ เสนอแนะ 53 5.1 สรุปผลกำรดำเนนิ งำน 54 5.2 อภปิ รำยผล 55 5.3 ปัญหำและอปุ สรรค 56 5.4 ขอ้ เสนอแนะ 58 บรรณานกุ รม 77 ภาคผนวก 83 ภำคผนวก ก คมู่ ือกำรติดตง้ั ระบบและคูม่ อื กำรใช้งำนระบบ ภำคผนวก ข แบบสอบถำม ภำคผนวก ค รำชช่ือผู้เชย่ี วชำญ ประวัตขิ องผู้จดั ทาปรญิ ญานพิ นธ์

จ สารบัญตาราง ตารางท่ี หนา้ 3.2 แบบประเมนิ ประสทิ ธิภาพของระบบ 17 3.3 แบบประเมินความพึงพอใจผ้ใู ชร้ ะบบ 18 3.4 คาอธบิ าย Use Case Diagram เขา้ สรู่ ะบบ 21 3.4 คาอธบิ าย Use Case Diagram จัดการข้อมูลวชิ าทีส่ อน 22 3.5 คาอธิบาย Use Case Diagram ลงทะเบยี นเรียน 24 3.6 ตารางขอ้ มูลอาจารย์ (tbl_teacher) 29 3.7 ตารางเก็บข้อมลู นักศึกษา (tbl_std) 29 3.8 ตารางเช็คอนิ เข้าเรยี น (tbl_checkin) 30 3.9 ตารางรายวชิ าท่ลี งทะเบียนเรียน (tbl_enroll) 30 3.10 ตารางรายวิชา (tbl_subject) 30 3.11ตารางเชค็ อนิ CiRA CORE (tbl_checkin_c) 31 4.1 ประวัตกิ ารศึกษา 48 4.2 ประสบการณ์การพฒั นาระบบ 49 4.3 ระดบั ประสิทธภิ าพระบบตรวจจับใบหนา้ การเชค็ ชอื่ เข้าเรยี น 49 4.4 จาแนกเพศของผู้ใชง้ าน 50 4.5 ระดับความพึงพอใจการใชง้ านระบบของผู้ใชง้ าน 51 ข.1 แบบสอบถามประเมนิ ประสทิ ธภิ าพของระบบตรวจจับใบหนา้ การเชค็ ชอ่ื เข้าเรยี น 78 ข.2 แบบสอบถามประเมนิ ความพงึ พอใจสาหรบั ผูใ้ ชง้ านระบบ 81

สารบญั ภาพ ฉ ภาพท่ี หน้า 3.1 แพลตฟอรม์ CiRA CORE 15 3.2 เก็บภาพใบหนา้ ของนางสาวมสั ยา จนั ทรเ์ จริญ 15 3.3 เกบ็ ภาพใบหน้าของนางสาวพัชรพรรณ มโี พธส์ิ ม 16 3.4 แผนภาพทแ่ี สดงการทางาน (Use Case Diagram) 20 3.5 แผนภาพคลาส (Class Diagram) 26 3.6 แผนภาพลาดบั เขา้ สู่ระบบ 27 3.7 แผนภาพลาดบั จัดการข้อมูลวิชาทสี่ อน 28 3.8 แผนภาพลาดบั ลงทะเบียนเรยี น 29 3.9 แบบจาลองความสัมพันธ์ระหว่างข้อมลู (ER Diagram) 31 3.10 หนา้ ฟอร์มลงทะเบียนรายวิชา 32 3.11 หนา้ ฟอร์มรายละเอยี ดวิชา 32 3.12 หนา้ ฟอร์ม Login 33 3.13 หนา้ ฟอร์มเพ่ิมข้อมลู วชิ า 33 3.14 หน้าฟอร์มแก้ไขข้อมลู วิชา 34 3.15 หนา้ ฟอร์มแกไ้ ขข้อมูลอาจารย์ 34 3.16 หน้าฟอร์มแก้ไขขอ้ มลู รหสั ผ่าน 35 3.17 หนา้ ฟอร์ม Logout 35 3.18 หนา้ ฟอร์มวิชาทีส่ อน 36 3.19 หน้าฟอร์มเช็คชือ่ 36 3.20 หนา้ ฟอร์มเชค็ ชอ่ื รวม 37 3.21 หน้าฟอร์มเช็คชอ่ื รายวัน 37 4.1 หน้าฟอร์มลงทะเบียนรายวิชา 40 4.2 หนา้ ฟอร์มรายละเอยี ดรายวิชา 40 4.3 หน้าฟอรม์ Login 41

สารบญั ภาพ (ตอ่ ) หน้า 41 ภาพที่ 42 4.4 หนา้ ฟอรม์ วชิ าท่ีสอน 42 4.5 หน้าฟอร์มเพ่ิมขอ้ มูลวิชา 43 4.6 หนา้ ฟอรม์ เช็คชอ่ื 43 4.7 หน้าฟอร์มประวตั ิการเช็คชอ่ื รวม 44 4.8 หน้าฟอร์มประวัตกิ ารเช็คชื่อรายวัน 44 4.9 หน้าฟอร์มแก้ไขข้อมูลวิชาที่สอน 45 4.10 หนา้ ฟอร์มปรับปรุงโปร์ไฟลอ์ าจารย์ 45 4.11 หนา้ ฟอรม์ ปรบั ปรงุ รหัสผา่ น 46 4.12 หนา้ ฟอรม์ Logout 46 4.13 แพลตฟอรม์ CiRA CORE 47 4.14 หน้าเก็บข้อมลู ของนางสาวพชั รพรรณ มโี พธสิ์ มใน CiRA CORE 59 4.15 หนา้ เก็บข้อมลู ของนางสาวมัสยา จนั ทร์เจรญิ ใน CiRA CORE 59 ก.1 ตรวจสอบ CiRA CORE และ opt 60 ก.2 ทาการติดตง้ั CiRA CORE 60 ก.3 ตดิ ต้ังฟอนต์ 61 ก.4 ติดต้งั ROS Melodic 61 ก.5 แตกโฟลเดอรจ์ ากไฟล์ 5-CiRA-CORE.rar ไปไวท้ ไี่ ดรฟ์ C:\\ 62 ก.6 ทาการติดตง้ั shortcut 62 ก.7 ทดลองรัน โดยเปดิ เปิด ROS CORE 63 ก.8 ทดลองรนั โดยทาการเปดิ CiRA CORE 63 ก.9 คน้ หา Visual Studio Code Download 64 ก.10 ดาวน์โหลด Visual Studio Code ลง Windows 64 ก.11 เปดิ ไฟล์ท่ที าการดาวน์โหลดไว้ 65 ก.12 เลอื ก I accept the agreement และกด next 65 ก.13 เลอื กโฟลเดอร์ในการติดตงั้ และกด next ก.14 หน้าต่างการตัง้ คา่ กาหนดทางลัด บน start menu

สารบญั ภาพ (ตอ่ ) หน้า 66 ภาพที่ 66 ก.15 หนา้ ตา่ งการตัง้ คา่ 67 ก.16 หน้าต่าง install 68 ก.17 ทาการตดิ ต้ัง 68 ก.18 หนา้ ลงทะเบียนรายวิชาท่เี ปดิ สอน 69 ก.19 หน้าฟอร์ม Login 70 ก.20 หนา้ ฟอร์มสว่ นของหน้าหลัก 71 ก.20 หน้าฟอร์มการเชค็ ช่อื 72 ก.21 หน้าฟอรม์ ดูประวตั ิการเข้าเรยี น 73 ก.22 หน้าฟอร์มดปู ระวตั ิการเข้าเรียนรายวนั 73 ก.23 หน้าฟอรม์ แก้ไขรายละเอียดวิชา 74 ก.24 หนา้ ฟอร์มจอส่วนของหนา้ หลกั 75 ก.25 หน้าฟอรม์ เพม่ิ ข้อมูลรายวิชา 75 ก.26 หนา้ ฟอร์มแก้ไขโปรไฟล์อาจารย์ 76 ก.27 หนา้ ฟอร์มแก้ไขรหสั ผ่านอาจารย์ ก.28 หนา้ ฟอร์ม Logout

บทที่ 1 บทนำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมสำคญั ของปญั หำ การเช็คชื่อเข้าเรียนของนักศึกษาเป็นส่วนหน่ึงในระบบการเรียนการสอน เพื่อเป็นการ ตรวจสอบและยืนยันว่านักศึกษาได้เข้าเรียนและใช้เป็นเกณฑ์ในการประเมินผลการเรียนการสอน รวมถึงเป็นส่วนหนึ่งของคะแนนเก็บได้ไม่เกิน 10% ของคะแนนรวมทั้งหมด ปัจจุบัน บางสถาบันการศึกษายงั ใช้การเชค็ ช่อื นักศกึ ษาเขา้ เรยี นโดยการขานชื่อ และการเซ็นชื่อนักศึกษาทีละ คนซึ่งทาให้เสียเวลาในการเรียนการสอน โดยเฉพาะชั่วโมงเรียนที่มีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนเป็น จานวนมาก และนักศึกษามีการยกมือแทนกัน การเซ็นชื่อให้กัน และถ้าต้องการรายงานการเข้าเรียน ของนักศึกษา อาจารย์ผู้สอนจะต้องทาการนับนักศึกษาเป็นรายบุคคลและทาการคานวณออกมาเป็น คะแนนด้วยตนเอง ทาให้เกดิ ความผิดพลาดได้ (บษุ บา จันเจริญ และ อตวิ ชั ร์ อมรมงคล, 2561) CiRA CORE เปน็ แพลตฟอร์มปัญญาประดิษฐ์ (AI) ซึ่งนามาใช้กับระบบตรวจจับใบหน้าการเช็คช่ือเข้าเรียน สามารถเก็บบันทึกการเข้าเรียน การขาดเรียนของนักศึกษา มีการพิสูจน์ยืนยันตัวบุคคลโดยใช้ คุณลักษณะจาเพาะของบุคคลน้ัน ๆ ซ่ึงระบบตรวจจับใบหน้าจะทางานโดยการเปรียบเทียบใบหน้า จากภาพถ่ายดิจิทัลกับฐานข้อมูลที่มีอยู่ เมื่อตรวจพบว่าภาพตรงกับฐานข้อมูลท่ีมีอยู่ก็จะแสดงผล ข้อมลู และทาการบันทกึ การเข้าเรยี นของบุคคลนน้ั การเรยี นการสอนในสาขาวิชาระบบสารสนเทศ คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลสวุ รรณภมู ิ ศูนย์พระนครศรีอยุธยา วาสุกรี ประกอบไปด้วยอาจารย์ ผู้สอนและนักศึกษาหลายกลุ่มชั้นเรียน ซ่ึงในแต่ละห้องเรียนต้องเช็คชื่อนักศึกษา จากการสารวจ พบว่าในการเชค็ ช่อื เขา้ เรยี นนน้ั อาจมกี ารผดิ พลาดในการเช็คช่อื การเซ็นชื่อแทนกัน การค้นหาข้อมูล การจดั เกบ็ ข้อมูลลงในกระดาษ อาจทาใหเ้ กดิ การสูญหายของเอกสารได้ ยากต่อการตรวจสอบ จากปญั หาดังกล่าวข้างต้นผู้จัดทาจึงได้พัฒนาระบบตรวจจับใบหน้าการเช็คชื่อเข้าเรียน เพื่อ อานวยความสะดวกให้กับอาจารย์ผู้สอน ช่วยไม่ให้มีการผิดพลาดในการเช็คชื่อ และตรวจจับว่า นกั ศึกษาเขา้ เรยี นจรงิ ไม่มีการเช็คชื่อแทนกัน มีการจัดเก็บข้อมูลของนักศึกษาไว้ในฐานข้อมูล เพื่อลด การสญู หายของข้อมลู สะดวกในการค้นหา และสามารถดรู ายงานการเขา้ เรียนยอ้ นหลังได้

2 1.2 วตั ถุประสงค์ของโครงงำน 1.1.1 เพอ่ื ศึกษา วิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบตรวจจบั ใบหนา้ การเชค็ ช่ือเข้าเรยี น 1.2.2 เพ่ือพฒั นาระบบตรวจจับใบหนา้ การเชค็ ชอ่ื เขา้ เรียน 1.2.3 เพอ่ื ประเมนิ ประสทิ ธภิ าพของระบบตรวจจบั ใบหนา้ การเช็คชื่อเขา้ เรยี น 1.2.4 เพ่ือประเมินความพึงพอใจของผใู้ ชร้ ะบบตรวจจับใบหนา้ การเช็คชือ่ เข้าเรยี น 1.3 ขอบเขตของโครงงำน 1.3.1 ขอบเขตดำ้ นกำรประมวลผลของระบบ 1.3.1.1 สามารถตรวจจับใบหนา้ ผเู้ ขา้ เรยี นได้ 1.3.1.2 สามารถเกบ็ ข้อมลู ของผูเ้ ข้าเรยี นได้ 1.3.1.3 สามารถสรปุ คนเข้าเรียน ขาดเรียนได้ 1.3.1.4 สามารถลงทะเบียนรายวิชาได้ 1.3.2 ขอบเขตด้ำนกำรใช้ระบบ 1.3.2.1 ผูด้ ูแลระบบ 1) เกบ็ ขอ้ มูลนกั ศกึ ษา 1.3.2.2 อาจารย์ 1) Login-Logout ได้ 2) แกไ้ ขโปรไฟล์ ได้ 3) แกไ้ ขรหัสผา่ นได้ 4) เพิ่ม ลบ แกไ้ ข ขอ้ มลู วชิ าได้ 5) ดูประวัตกิ ารเขา้ เรยี นได้ 1.3.2.3 นกั ศกึ ษา 1) ดขู อ้ มูลวชิ า 2) ลงทะเบยี นสาหรบั ใหอ้ าจารยเ์ ชค็ ชอ่ื แตล่ ะวิชา (หนง่ึ วิชาลงได้ 1 ครั้ง) 3) สแกนใบหนา้ เชค็ ชื่อเขา้ เรยี นได้ 4) แจง้ เตือนการเข้าเรยี นในกลุ่มไลนน์ ักศกึ ษา 1.4 ขัน้ ตอนกำรดำเนนิ กำร 1.4.1 ศกึ ษำรวบรวมข้อมูล รวบรวมความต้องการโดยการถามอาจารย์ผู้สอนและอาจารย์ท่ี ปรึกษา ถึงความต้องการและขั้นตอนของกระบวนการเช็คชื่อเข้าเรียน กฎระเบียบในการเช็คช่ือเข้า เรียนของอาจารย์ผู้สอนแต่ละท่าน รวมถึงศึกษาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลในอินเทอร์เน็ต และทาการ เตรยี มข้อมลู เพือ่ นาไปพฒั นา

3 1.4.2 กำรวิเครำะห์ นาข้อมูลต่าง ๆ ท่ีได้รวบรวมมาทาการวิเคราะห์และวางแผนการ ปฏิบัติงาน เพื่อทาการกาหนดฟังก์ชันของระบบให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานได้ อย่างสมบูรณ์ ครบถ้วน โดยวิเคราะห์จากความต้องการ ปัญหาของระบบปัจจุบัน และข้อมูลต่าง ๆ จนได้เป็นข้อกาหนดของระบบ 1.4.3 กำรออกแบบ จากการศึกษาและวิเคราะห์ระบบทาให้ทราบถึงกระบวนการในการ ทางานและความต้องการของสารสนเทศในแตล่ ะส่วนแล้ว ทาให้สามารถออกแบบระบบใหม่ ให้มีการ จัดการข้อมูลท่ีดีย่ิงขึ้นสามารถประมวลผลให้ข้อมูลอยู่ในรูปแบบของสารสนเทศที่สามารถนาไปใช้ใน การสนบั สนนุ การทางานในแตล่ ะหนา้ ที่ ซึ่งนาเสนอโดยการแสดงผลท้ังแบบการแสดงผลบนจอภาพ 1.4.4 กำรพัฒนำระบบ การพัฒนาระบบตรวจจับใบหน้าการเช็คชื่อเข้าเรียน ของผู้จัดทา ระบบไดศ้ กึ ษาโปรแกรมและเคร่อื งมือต่าง ๆ ทใี่ ช้ในการพัฒนาระบบ โดยในการพัฒนาจะเริ่มจากการ เขยี นคาสัง่ (Code) ให้กับโปรแกรมทไี่ ดอ้ อกแบบระบบไว้ ซ่งึ จะเขยี นคาส่งั ในทกุ ๆ ส่วนของฟอร์มน้ัน ๆ และหลังจากพัฒนาระบบทุกส่วนแล้ว จะทาการเก็บภาพของนักศึกษาลงในฐานข้อมูล จากนั้นจะ ทาการนาโปรแกรมนั้นมาทาการประมวลผล และทาการแก้ไขจนโปรแกรมสามารถทางานได้ตรงตาม ความต้องการ 1.4.5 ทดสอบปรับปรุงและแก้ไข หลังจากท่ีได้พัฒนาระบบนั้น ผู้พัฒนาได้ทาการทดสอบ ระบบ ในการทดสอบการทางานของแต่ละส่วนของระบบ ด้วยการสร้างข้อมูลสาหรับการทดสอบ ซึ่ง จาเป็นต้องครอบคลุมทุก ๆ กรณีท่ีอาจเกิดขึ้นในการทางานจริง เพ่ือทดสอบการทางานท่ีถูกต้อง ตรวจสอบข้อผิดพลาดของระบบ และทาการแก้ไขจนระบบสามารถทางานได้ตรงตามความต้องการที่ กาหนดได้ ซ่งึ เปน็ การทดสอบระบบว่าสามารถทางานได้อย่างถูกต้อง จากการทดสอบโปรแกรม กลุ่ม ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์ พระนครศรีอยธุ ยา วาสุกรี กลมุ่ เรยี น ISM26421N 1.4.6 กำรนำระบบไปใช้ เมือ่ ทดสอบโปรแกรมและระบบผู้ใช้ระบบยอมรับแล้ว ระบบงานที่ ได้รับการพัฒนาก็พรอ้ มนาไปใช้งาน ในการพัฒนาระบบ แบบทนั ทีทนั ใด เปน็ วิธีทงี่ ่ายทีส่ ดุ 1.4.7 กำรบำรุงรักษำ การประเมินผลและบารุงรักษาระบบ เป็นข้ันตอนสุดท้ายของการ พัฒนาระบบ ภายหลังขั้นตอนการติดต้ังระบบและมีการใช้งานระบบใหม่มาเป็นเวลาพอสมควร จะต้องมีการปะเมินผลการทางานของระบบ ซึ่งเป็นการตรวจสอบว่าระบบใหม่ท่ีติดต้ังใช้งานนี้ สามารถใช้งานได้ตรงตามวัตถุประสงค์ สนองต่อความต้องการของผู้ใช้ ผู้ใช้มีความพึงพอใจและ ยอมรับการทางานกับระบบใหม่มากน้อยเพียงใด หรือมีปัญหาอุปสรรคอย่างไร โดยจะต้องกลับไป ศกึ ษาวัตถปุ ระสงค์หรือเปา้ หมายของโครงการทไ่ี ด้วางไว้ ว่าระบบใหม่น้ี สามารถทางานได้บรรลุตามที่ ต้องการหรือไม่ การประเมินผลการทางานของระบบ มักจะกาหนดได้เป็นแนวทางเพ่ือตัดสินใจว่าจะ ดาเนินการโครงการต่อไปดังนั้น ภายหลังจากการประเมินผลการทางานของระบบอาจจะมีการเสนอ

4 ใหม้ กี ารเปล่ยี นแปลงระบบเพ่ือความเหมาะสม หรือในกรณีท่ีเลวร้ายท่ีสุด คือเสนอให้ออกแบบระบบ ใหมท่ ้งั หมด 1.5 เครื่องมือที่ใชใ้ นโครงงำน 1.5.1 ฮาร์ดแวร์ - Laptop Intel Core I3 RAM 4 GB - กลอ้ งเว็บแคม (webcam) 1.5.2 ซอฟต์แวร์ - โปรแกรม Visual studio - โปรแกรม MySQL - แพลตฟอรม์ CiRA CORE - โปรแกรม Xampp 1.5.3 ภาษาทใ่ี ช้ในการพัฒนาโครงงาน - ภาษา HTML - ภาษา Script PHP - ภาษา Python 1.6 ประโยชน์ท่ีคำดวำ่ จะไดร้ บั 1.6.1 ผลจากการศกึ ษา ทาให้สามารถวิเคราะห์และออกแบบระบบได้ตรงตามความต้องการ ของผใู้ ช้ 1.6.2 ได้ระบบตรวจจับใบหน้าการเชค็ ชอื่ เข้าเรยี นท่ีมคี วามแม่นยา 1.6.3 ได้ผลประเมินประสิทธิภาพของระบบเพ่ือนาไปปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาระบบให้มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 1.6.4 ได้ทราบผลการประเมินความพงึ พอใจของผใู้ ช้ระบบตรวจจับใบหน้าสาหรับการเช็คชื่อ เข้าเรียน

บทที่ 2 ทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วข้อง การพัฒนาระบบตรวจจับใบหน้าการเช็คชื่อเข้าเรียน จาเป็นจะต้องมีความรู้เก่ียวกับทฤษฎี ตา่ ง ๆ มาใชเ้ ปน็ แนวทางประกอบการพัฒนาเพอ่ื ให้มีประสิทธิภาพมากขน้ึ ดังนี้ 2.1 ทฤษฎีทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั โครงงาน 2.1.1 การเช็คชอ่ื เขา้ เรียน 2.1.2 เทคโนโลยีการตรวจจบั ใบหน้า 2.1.3 การตรวจจับวัตถุ 2.1.4 การเขียนโปรแกรมดว้ ย Script PHP 2.1.5 การเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python 2.1.6 การเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา HTML 2.1.7 อลั กอริทมึ YOLO 2.2 ทฤษฎขี องโปรแกรมทีใ่ ชใ้ นการพฒั นาโครงงาน 2.2.1 โปรแกรม Visual studio 2.2.2 โปรแกรม MySQL 2.2.3 แพลตฟอรม์ CiRA CORE 2.2.4 โปรแกรม Xampp 2.3 งานวจิ ัยทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 2.1 ทฤษฎที ่ีเกี่ยวข้องกับโครงงาน 2.1.1 การเช็คชือ่ เข้าเรียน การเช็คช่ือเข้าเรียน หมายถึง การเช็คช่ือเข้า-ออกของนักเรียนทุกคน เพื่อช่วยอานวยความ สะดวก ให้กับอาจารย์และผู้ปกครอง ในการติดตามนักเรียนเข้าเรียนและเลิกเรียนของแต่ละวัน โดย สามารถ สรุปสถิติการเข้าออกของนักเรียนเป็นรายห้องหรือรายบุคคลตามลักษณะต่าง ๆ ได้ เพ่ือ นามาประยุกต์ใช้ในการส่งเสริมการพัฒนานักเรียนในด้านการศึกษาและด้านอื่น ๆ ได้ และสามารถ

6 นาเทคโนโลยีต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ในระบบได้(https://www.avlthai.com/14495510 /ระบบเช็คชือ่ นกั เรียน) 2.1.2 เทคโนโลยกี ารตรวจจบั ใบหนา้ เทคโนโลยีการตรวจจับใบหน้า (Face Recognition) หมายถึง กระบวนการในการจดจา ใบหน้า โดยนาไปเปรียบเทียบกับใบหน้าในฐานข้อมูล พร้อมวิเคราะห์องค์ประกอบต่าง ๆ และ เอกลักษณ์ของหน้า เช่น ตา จมูก ค้ิว ปาก โครงหน้า หรือแม้แต่ระยะห่างระหว่างอวัยวะต่าง ๆ บน ใบหน้า เพื่อยืนยันว่าใบหน้าท่ีตรวจจับได้ถูกต้องและตรงกับบุคคลนั้น ๆ เช่น การปลดล็อกสมาร์ท โฟนด้วยใบหน้า หรือการเข้ารหัสต่าง ๆ และเนื่องจากเป็นรูปแบบการยืนยันตัวท่ีมีความแม่นยาสูง จงึ มกั ถกู นามาใชใ้ นเรอื่ งของความปลอดภัย ไมว่ ่าจะเป็น การตรวจสอบบุคคล หรือการตรวจสอบก่อน การเข้าถงึ ข้อมลู การทางานของระบบจดจาใบหน้า ประกอบไปด้วย 2 ขน้ั ตอนหลกั ไดแ้ ก่ 1) การตรวจจับใบหนา้ (Face Detection) คือ การคน้ หาใบหนา้ จากข้อมูลท่ไี ดร้ บั มา เพ่ือนาไปประมวลผลสาหรับขน้ั ตอนถดั ไป 2) การรูจ้ าใบหนา้ (Face Recognition) คือ การนาภาพใบหน้าที่ได้จากขน้ั ตอนแรก มาประมวลผลและเปรียบเทยี บกบั ใบหนา้ ในฐานขอ้ มูล วา่ ใบหน้านั้นตรงกบั ใบหน้าไหนในฐานขอ้ มูล การรูจ้ าใบหนา้ กับการประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวนั เทคโนโลยีจดจาใบหน้าสามารถนามาประยุกต์ใช้ได้อย่างหลากหลาย นอกเหนือจากการ รักษาความปลอดภัย เช่น การนามาตรวจสอบจานวนของผู้คนภายในพื้นท่ี วิเคราะห์พฤติกรรมของ ผคู้ น หรือใชเ้ พ่ือยืนยนั การชาระเงินผา่ นช่องทางออนไลน์ ซ่ึงในประเทศสิงคโปร์ได้ใช้เทคโนโลยีจดจา ใบหน้าผูกเข้ากับบัตรประชาชน เพื่อให้ภายในปีพ.ศ. 2564 ประชาชนสามารถใช้บริกา รจาก หนว่ ยงานรัฐ ธนาคาร หรือส่ิงอานวยความสะดวกต่าง ๆ ไดด้ ว้ ยการแสกนใบหนา้ ในประเทศไทย หลาย ๆ อุตสาหกรรมได้มีการนาเทคโนโลยีจดจาใบหน้าไปประยุกต์ใช้บ้าง แล้ว ซ่ึงในอนาคตอาจจะมีการคิดค้นเทคโนโลยีใหม่ ๆ ท่ีสามารถใช้ร่วมกับเทคโนโลยีจดจาใบหน้า เพือ่ ชว่ ยเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพขึ้น (https://aisdc.ais.co.th/blog/trend/facial_recognition/index. html) 2.1.3 การตรวจจับวัตถุ เทคโนโลยีตรวจจับวัตถุ (Object detection) คือ หน่ึงในฟีเจอร์หลักของ AI (Artificial Intelligence) ที่ใช้กับกล้องวงจรปิด สามารถค้นหาสิ่งของโดยใช้ AI มาวิเคราะห์ข้อมูล จากการ มองเห็นของคอมพิวเตอร์ (Computer Vision) และการประมวลผลภาพ (Image Processing) เพื่อ ตรวจจับวัตถุท่ีอยู่ในรูปหรือวิดีโอ เช่น มนุษย์ สัตว์ สิ่งของ รถยนต์ อาคาร และวัตถุอ่ืน ๆ ท่ีอยู่ใน รูปภาพ หรอื วดิ ีโอ

7 โดยตามหลักแล้วก่อนที่จะพัฒนามาเป็นเทคโนโลยีตรวจจับวัตถุ (Object detection) จะต้องผ่านการจัดหมวดของวัตถุ (Object Classification) มาก่อน โดยที่การจัดหมวดของวัตถุจะ เป็นการจัดหมวดหมู่ของรูปภาพว่า รูปภาพน้ันคือภาพอะไร แต่เทคโนโลยีตรวจจับวัตถุจะเป็นการ ระบุเลยว่า ในรูปภาพนั้นมีวัตถุอะไรบ้าง ซึ่งจุดน้ีจะต้องอาศัยการทางานของ AI เข้ามาช่วยในการ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยเช่นกัน เช่น การจัดหมวดของวัตถุจะสามารถระบุได้ว่าวัตถุที่อยู่ในภาพ คือ แมว ในขณะทเี่ ทคโนโลยีตรวจจบั วตั ถุจะระบุไดว้ า่ วตั ถทุ ี่อยใู่ นภาพ มแี มว และสุนขั นอกจากนี้ ในปัจจุบันเทคโนโลยีตรวจจับวัตถุได้ถูกนามาใช้อย่างแพร่หลายในหลายธุรกิจ หรืออุตสาหกรรม ต้ังแต่ระดับประเทศจนถึงการนามาประยุกต์ใช้ในระดับครัวเรือน เพ่ือช่วยในการ แยกประเภทวัตถุ หรอื หาตาแหน่งของวตั ถุ เชน่ การทา Smart City ในเมือง โดยตรวจสอบจราจรใน บนท้องถนน การตรวจสอบอาวุธภายในสนามบิน เพื่อให้มีความเรียบร้อยและความปลอดภัย หรือ การทา Smart home เพื่อใช้มอนิเตอร์ความเรียบร้อยและตรวจสอบสิ่งแปลกปลอมภายในบริเวณ บ้ า น ไ ด้ อี ก ด้ ว ย ( https://www.bualabs.com/archives/3 4 5 3 / what-is-object-detection- tutorial-tensorflow-js-build-object-detection-machine-learning-coco-ssd-tfjs-ep-8/) 2.1.4 การเขยี นโปรแกรมดว้ ย Script PHP PHP ย่อมากจาก PHP Hypertext Preprocessor แต่เดิมย่อมาจาก Personal Home Page Tools คือภาษาคอมพิวเตอร์จาพวก Scripting language คาส่ังต่าง ๆ จะถูกเก็บอยู่ในไฟล์ที่ เรียกว่า script และเวลาที่ใช้งานต้องอาศัยตัวแปรชุดคาสั่ง ตัวอย่างของภาษาสคริปต์ เช่น JavaScript, Perl เป็นต้น ลักษณะของ PHP ท่ีแตกต่างจากภาษาสคริปต์อ่ืน ๆ คือ PHP ได้รับการ พัฒนาและออกแบบมาเพื่อใช้งานในการสร้างเอกสารแบบ HTML โดยสามารถสอดแทรกหรือแก้ไข เน้ือหาได้โดยอัตโนมัติ ดังน้ันจึงกล่าวว่า PHP เป็นภาษาท่ีเรียกว่า server-side หรือ HTML- embedded scripting language น้ันคือในทุก ๆ ครั้งก่อนที่เคร่ืองคอมพิวเตอร์ซ่ึงให้บริการเป็น Web server จะส่งหน้าเว็บเพจที่เขียนด้วย PHP ให้จะทาการประมวลผลตามคาส่ังที่มีอยู่ให้เสร็จ เสียก่อน แล้วจึงส่งผลลัพธ์ท่ีได้ให้ ผลลัพธ์ท่ีได้น้ันก็คือเว็บเพจท่ีเห็น ถือได้ว่า PHP เป็นเครื่องมือท่ี สาคัญชนิดหนึ่งที่ช่วยให้สามารถสร้าง Dynamic Web pages (เว็บเพจที่มีการโต้ตอบกับผู้ใช้) ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ PHP เป็นผลงานที่พัฒนามาจากกลุ่มของนักพัฒนาในเชิงเปิดเผยรหัสต้นฉบับ หรือ OpenSource ดังนัน้ PHP จงึ มีการพฒั นาไปอยา่ งรวดเรว็ และแพรห่ ลายโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อ ใช้ร่วมกับ Apache Web server ระบบปฏิบัติอย่างเช่น Linux หรือ FreeBSD เป็นต้น ในปัจจุบัน PHP สามารถใช้ร่วมกับ Web Server หลาย ๆ ตัวบนระบบปฏิบัติการอย่างเช่น Windows 95/98/NT เป็นต้น (https://www.mindphp.com/คู่มือ/73คืออะไร/2127-php-คืออะไร.html)

8 2.1.5 การเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา python ภาษาโปรแกรม Python คอื ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ระดับสูง โดยถูกออกแบบมาให้เป็น ภาษาสคริปต์ โดยตัดความซับซ้อนของโครงสรา้ งและไวยกรณ์ของภาษาออกไป ในส่วนของการแปลง ชดุ คาส่ังที่เขียนให้เป็นภาษาเคร่ือง Python มีการทางานแบบ Interpreter คือเป็นการแปลชุดคาสั่ง ทลี ะบรรทัด เพ่ือป้อนเข้าสู่หน่วยประมวลผลให้คอมพิวเตอร์ทางานตามท่ีต้องการ นอกจากน้ันภาษา โปรแกรม Python ยงั สามารถนาไปใช้ในการเขยี นโปรแกรมได้หลากหลายประเภท โดยไม่ได้จากัดอยู่ ที่งานเฉพาะทางใดทางหนึ่ง (General-purpose language) จึงทาให้มีการนาไปใช้กันแพร่หลายใน หลายองค์กรใหญ่ระดับโลก เช่น Google, YouTube, Instagram, Dropbox และ NASA เปน็ ตน้ ขอ้ ดีของ ภาษา Python 1) นกั พฒั นาสามารถอ่านและทาความเข้าใจไวยากรณพ์ ้ืนฐานของภาษา Python ไดอ้ ยา่ งไมย่ าก 2) ภาษา Python มีไลบรารีมาตรฐานขนาดใหญ่ท่ีมีคาสั่งโปรแกรมที่ใช้ซ้าได้สาหรับการพัฒนา ดว้ ยเหตนุ ี้ นักพัฒนาจงึ ไม่ตอ้ งเขียนคาส่ังโปรแกรมข้นึ ใหม่ทัง้ หมด 3) ภาษา Python สามารถใช้ร่วมกับภารเขียนภาษาโปรแกรมชนิดอื่นได้ เช่น Java, C และ สามารถใช้งานร่วมกับระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ เช่น Windows, macOS, Linux และ Unix (https://aws.amazon.com/th/what-is/python/) 2.1.6 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษา html HTML คือ ภาษาหลักท่ีใชใ้ นการเขียนเว็บเพจ โดยใช้แท็ก (Tag) ในการกาหนดการแสดงผล HTML ย่อมาจากคาว่า Hypertext Markup Languageโดย Hypertext หมายถึงข้อความท่ีเชื่อมต่อ กันผ่านลิงค์ (Hyperlink) Markup language หมายถึงภาษาที่ใช้แท็ก (Tag) ในการกาหนดการ แสดงผลส่ิงต่าง ๆ ท่ีแสดงอยู่บนเว็บเพจ ดังนั้น HTML จึงหมายถึง ภาษาที่ใช้แท็ก (Tag) ในการ กาหนดการแสดงผลเวบ็ เพจท่ตี า่ งก็เช่อื มถงึ กนั ใน Hyperspace ผ่าน Hyperlink ปัจจุบนั มีการพัฒนา และกาหนดมาตรฐานโดยองคก์ ร World Wide Web Consortium (W3C) ภาษา HTML ได้ถูกพัฒนาข้ึนอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ HTML Level 1, HTML 2.0, HTML 3.0, HTML 3.2 และ HTML 4.0 ในปัจจุบัน ทาง W3C ได้ผลักดัน รูปแบบของ HTML แบบใหม่ ท่ี เรียกว่า XHTML ซ่ึงเป็นลักษณะของโครงสร้าง XML แบบหน่ึง ท่ีมีหลักเกณฑ์ในการกาหนด โครงสร้างของโปรแกรมท่ีมีรูปแบบท่ีมาตรฐานกว่า มาทดแทนใช้ HTML รุ่น 4.01 ที่ใช้กันอยู่ใน ปัจจุบัน การสร้างเว็บเพจ โดยใช้ภาษา HTML สามารถทาโดยใช้โปรแกรม Text Editor ต่าง ๆ เช่น Notepad, EditPlus หรือจะใช้โปรแกรมที่เป็นเครื่องมือช่วยสร้างเว็บเพจ เช่น Microsoft FrontPage, Dream Weaver ซึ่งอานวยความสะดวกในการสร้างหน้า HTML ในลกั ษณะ WYSIWYG (What You See Is What You Get) (https://www.mindphp.com/คู่มือ/73-คืออะไร/2026- html-คอื อะไร.html)

9 2.1.7 อัลกอรทิ ึม YOLO YOLO ย่อมาจาก You Only Look Once เป็นอัลกอริทึมตรวจจับวัตถุในภาพ(Modern Convolutional Detection) ท่ีถูกพัฒนการด้วยโปรแกรม C++ สาหรับงานปัญญาประดิษฐ์แบบ โครงข่ายใยประสาท (Neural Network) ด้วยความสามารถท่ีทางานบนหน่วยประมวลผล CUDA ของ GPU Card ทาให้สามารถประมวลผลภาพแบบ Real Time ได้อย่างแม่นยาและรวดเร็ว ภายใต้ โครงขา่ ยใยประสาทเพยี งชดุ เดยี ว YOLO สามารถทานายชนดิ ของวัตถสุ ิง่ ของและตาแหน่งได้พร้อม ๆ กัน สามารถแยกแยะภาพวาด หรือภาพถ่าย สามารถแยกแยะวัตถุจากภาพBackground คาดเดา วัตถทุ ่ีกระจกั กระจายในภาพได้เปน็ อยา่ งดี YOLO แต่ละเวอร์ชันจะมีโครงสร้าง Convolution Box ท่ีแตกต่างกัน YOLO จะทาการ กาหนดขนาดของภาพกับ Model ภาพในฐานข้อมูล การคานวณแต่ละรูปแบบของ ConvolutionBox YOLO ได้นาเอา Neural Network แบบต่าง ๆ เช่น Feed Forward, Back Propagation มาต่อออกจาก Convolution Kernel น้ันเอง ซ่ึงเป็นลักษณะของ Learning Rule ท่ี แตกตา่ งกัน โดย YOLO มีขน้ั ตอนในการตรวจจับวัตถุในภาพ คือ แบ่งภาพออกเป็น Grid Cell ขนาด เล็ก และนา Grid Cell ไปทดสอบความเหมือนกับลาดับโมเดลภาพที่ต้องการเปรียบเทียบ โดยสร้าง เป็น Array of Grid Cell ค่าใน Grid จะเป็น Probability ของแต่ละ Model ในฐานข้อมูล ซ่ึงจะ สอดคลอ้ งกับ Location ของภาพ ณ ตาแหนง่ นัน้ ๆ จากน้นั จะลดขนาด และทาการวนทดสอบความ เหมือนกับลาดับโมเดลภาพใน State หลาย ๆ รอบ โดยเรียกขั้นตอนทั้งสองข้ันตอนว่า การทา Convolution หรือเรียกว่า การทา Filter และใช้ Max Pool ในการรวมกลุ่มของ Grid Cell เล็ก ๆ ทเี่ หมือนกันออก เพอ่ื ลดขนาดในการคานวณ (สริ ทิ ศั น์ เลิศตระกูลถาวร, 2563) 2.2 ทฤษฎขี องโปรแกรมทีใ่ ชใ้ นการพัฒนาโครงงาน 2.2.1 โปรแกรม visual studio Visual Studio คือโปรแกรมสร้างเว็บเพจแบบเสมือนจริงของบริษัทไมโครซอฟท์ (Microsoft) ซึ่งช่วยให้ผู้ท่ีต้องการสร้างเว็บเพจไม่ต้องเขียนภาษา HTML หรือคาส่ังโปรแกรมเอง ที่ โปรแกรม Visual Studio มีฟังก์ชันที่ทาให้ผู้ใช้สามารถจัดวางข้อความ รูปภาพ ตารางฟอร์ม วิดีโอ รวมถึงองค์ประกอบอื่น ๆ ภายในเว็บเพจได้อย่างสวยงามตามที่ผู้ใช้ต้องการ โปรแกรมVisual Studio รองรับการเขียนโปรแกรมหลายภาษา เช่น Java, C#, VB, C++, PYTHON, PHP, VB.NET, GROOVY และภาษาอ่ืน ๆ มากมาย ซึ่งภาษาแต่ละภาษาก็มีความสามารถและการใช้งานที่แตกต่าง กันไป ขึ้นอยกู่ ับระบบทตี่ ้องการพัฒนา ในปัจจุบันได้มีเคร่ืองมือหรือโปรแกรมท่ีเข้ามาช่วยให้ผู้พัฒนา ไม่จาเป็นต้องเขียนภาษาเพ่ือส่ือสารกับคอมพิวเตอร์เองท้ังหมด แต่โปรแกรมจะช่วยส่ือสารกับ คอมพิวเตอร์ให้ในระดับหนึ่งแล้ว ซ่ึงช่วยอานวยความสะดวกและลดเวลาการทางานให้แก่ผู้พัฒนาได้ เป็นอย่างมาก Visual Studio คือ โปรแกรมที่เป็นเครื่องมือที่ช่วยพัฒนาซอฟต์แวร์และระบบต่าง ๆ

10 ซ่ึงสามารถติดต่อส่ือสารกับคอมพิวเตอร์ได้ในระดับหนึ่งแล้ว แต่ยังไม่สามารถพัฒนาเป็นระบบเองได้ โปรแกรมเมอร์จะนาเครอ่ื งมือมาใช้ในการพัฒนาต่อยอดให้เกิดเป็นระบบต่าง ๆ หรือเป็นเว็บไซต์และ แอพพลเิ คชันตา่ ง ๆ ดงั นั้น วิชวลสตดู ิโอจงึ เปน็ โปรแกรมตัวหนึ่งที่เป็นเคร่ืองมือที่ช่วยพัฒนาซอฟต์แวร์และระบบ ต่าง ๆ ซึ่งโปรแกรมได้มีการติดต่อสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ในระดับหนึ่งแล้ว แต่ไม่สามารถพัฒนาเป็น ระบบได้ด้วยตนเอง นักพัฒนาจะนาเครื่องมือของโปรแกรมมาใช้พัฒนาต่อให้เกิดเป็นซอฟต์แวร์หรือ ระบบต่าง ๆ เพ่อื ช่วยอานวยความสะดวก และลดเวลาการทางานและข้อผดิ พลาดไดเ้ ป็นอยา่ งมาก (http://www.mindphp.com/คู่ มื อ / 73-คื อ อ ะ ไ ร / 3639-visual-studio-วิ ช ว ล ส ตู ดิ โ อ -คื อ อ ะ ไ ร . html) 2.2.2 โปรแกรม MySQL MySQL เป็นระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์แบบOpen Source (RDBMS) มีมาตั้งแต่ปี 1995 ถูกสร้างขึ้นโดย MySQL AB ซึ่งต่อมาได้กลายเป็น Oracle Corporation ซอฟต์แวร์ใช้ SQL เป็นภาษาข้อมูลพ้ืนฐานและจัดเก็บข้อมูลในตารางบนดิสก์ไดรฟ์ของเซิร์ฟเวอร์ ข้อมูลสามารถจัดเก็บ ได้อย่างอิสระภายในขอบเขตที่กาหนดหรือเช่ือมโยงกับสคีมาที่กาหนดวิธีการจัดโครงสร้าง และ สามารถดาวน์โหลดได้ฟรี ไม่มีการจากัดจานวนเซิร์ฟเวอร์ ผู้ใช้ หรือฐานข้อมูล MySQL ใช้เพื่อเก็บ ข้อมูลสาหรบั เว็บไซต์ เวบ็ แอปพลเิ คชนั และแอปมอื ถือ เป็นตัวเลอื กสาหรบั เว็บไซต์ส่วนตัว การศึกษา และ Open Source เช่น WordPress หรือดาวน์โหลดฐานข้อมูล MYSQL ภาษาการกาหนดข้อมูล รวมถึงคาสั่งท่ีช่วยคุณกาหนดฐานข้อมูลและวัตถุ สามารถรองรับการรับส่งข้อมูลในระดับสูง นอกจากน้ียังมีคุณสมบัติท่ีทรงพลัง เช่น การค้นหาข้อความแบบเต็ม กระบวนงานที่เก็บไว้ ทริกเกอร์ และมุมมอง MySQL มีให้เลือกสองรุ่น คือ 1) Community Edition และ 2) Enterprise Edition Community Edition น้ันไม่มีค่าใช้จ่ายและเป็น Open Source ในขณะที่ Enterprise Edition มี ฟเี จอร์มากกว่าและได้รับอนุญาตให้ใช้ในเชิงพาณิชย์ (https://www.websiterating.com/th/web- hosting/glossary/what-is-mysql/) 2.2.3 แพลตฟอรม์ CiRA CORE CiRA Core คอื เทคโนโลยี AI ดา้ น Deep Learning หรือการเรียนรู้เชิงลึก เป็นเทคโนโลยีที่ เลียนแบบเครือข่ายเซลล์ประสาทในสมองของมนุษย์ ทาให้เกิดการเรียนรู้ จดจา วิเคราะห์ แยกแยะ ตัดสินใจ ได้อย่างแม่นยา เหมาะกับการนาไปประยุกต์ใช้ในงานด้านอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น การ นาไปเชื่อมต่อกับเครื่องจักรเพ่ือตรวจนับจานวนสินค้า เช่น ในโรงงานผลิตท่อพีวีซี จากเดิมต้องมี พนักงานทาหน้าที่นับจานวนท่อที่ผลิตหรือจัดส่ง เม่ือใช้แพลตฟอร์ม CiRA Core ก็สามารถนับสินค้า ได้อยา่ งแมน่ ยาตามโปรแกรมทตี่ ้งั ไว้ สามารถโยกพนักงานไปทางานสร้างสรรค์ท่ีได้ประโยชน์มากกว่า หรือการนาไปเชื่อมต่อกับกล้อง CCTV เพ่ือนับและวิเคราะห์จานวนคนต่อพ้ืนท่ีไม่ให้เกิดความ

11 หนาแน่นมากเกินไป ถ้ามีคนเกินจานวน ระบบจะแสดงสัญญาณเตือนทันที แม้กระทั่งในภาค การเกษตร แพลตฟอร์ม CiRA Core ก็สามารถตั้งโปรแกรมคัดแยกคุณภาพผลไม้ได้อย่างแม่นยา วิเคราะห์การดูแลรักษาหรือเก็บเกี่ยวในช่วงไหน(https://www.salika.co/2022/06/05/cira-core- world-class-intelligent-platform/) 2.2.4 โปรแกรม xampp Xampp คือโปรแกรมสาหรับจาลองเคร่ืองคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ให้ทางานในลักษณะของ WebServer นั่นคือเครื่องคอมพิวเตอร์จะเป็นทั้งเครื่องแม่ และเคร่ืองลูกในเครื่องเดียวกัน ทาให้ไม่ ต้องเชือ่ มตอ่ กับ Internet กส็ ามารถทดสอบเว็บไซต์ที่สร้างขึ้น ได้ทุกแพลตฟอร์ม ปัจจุบันได้รับความ นิยมจากผใู้ ช้ CMS ในการสรา้ งเว็บไซต์ XAMPP ประกอบด้วย Apache, PHP, MySQL, PHP MyAdmin, Perl ซ่ึงเป็นโปรแกรม พื้นฐานที่รองรับการทางาน CMS ซึ่งเป็นชุดโปรแกรม สาหรับออกแบบเว็บไซต์ท่ีได้รับความนิยมใน ปัจจุบัน ไฟล์สาหรับติดตั้ง xampp มีขนาดใหญ่ เน่ืองจาก มีชุดควบคุมการทางานที่ช่วยให้การ ปรับแตง่ ส่วนต่าง ๆ ได้อยา่ งสะดวกข้ึน และโปรแกรม XAMPP รองรับระบบปฏิบัติการหลายตัว เช่น Windows, Linux, Apple ทางานได้ทั้งบนระบบปฏิบัติการแบบ 32 bit และ 64 bit สิ่งที่โดดเด่น กว่าโปรแกรมอน่ื คอื มตี ัวช่วยติดต้ัง CMS ท่ีเรียกว่า BitNami ซึ่งช่วยให้ติดตั้ง CMS รุ่นใหม่ ๆ ท่ีได้รับ ความนยิ มอกี ดว้ ย (https://www.ninetechno.com/a/website/873-xampp.html) 2.3 งานวิจยั ท่เี กี่ยวขอ้ ง จากการพฒั นาระบบตรวจจับใบหน้าการเช็คชื่อเข้าเรียน กรณีศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์ พระนครศรอี ยธุ ยา วาสกุ รี ของผ้จู ดั ทาได้มีแนวคิดจากงานวิจัย บุษบา จัน เจริญ และ อติวัชร์ อมรมงคล (2561) ได้ศึกษา เรื่อง ระบบเช็คชื่อเข้าเรียนด้วยรหัสคิวอาร์ โดยมี การพัฒนาระบบเช็คชื่อเข้าเรียนด้วยรหัสคิวอาร์ เป็นการเปล่ียนวิธีการเช็คช่ือนักศึกษาเข้าเรียนจาก เดิมเป็นการขานช่ือนักศึกษาทีละคน ซ่ึงใช้เวลาในการเช็คช่ือค่อนข้างนานและนักศึกษามีการยกมือ แทนกัน การจดั ทารายงานต้องใชเ้ วลาและอาจจะเกิดข้อผิดพลาดได้ง่าย มาเป็นการใช้รหัสคิวอาร์ ซึ่ง จะทาให้ลดระยะเวลาในการเช็คชื่อเข้าเรียน สามารถจัดทารายงานได้รวดเร็ว และข้อมูลไม่สูญหาย นกั ศึกษาจะทาการเช็คช่ือเข้าเรียนโดยการใช้โทรศัพท์มือถือสแกนรหัสคิวอาร์ที่อาจารย์ผู้สอนทาการ สร้างผ่านระบบ การเช็คชื่อเข้าเรียนแต่ละคร้ังจะถูกบันทึกลงฐานข้อมูล ระบบประกอบด้วย 2 ส่วน ประกอบด้วย 1) เว็บแอปพลิเคชัน (Web Application) สาหรับผู้ดูแลระบบในการจัดการข้อมูล อาจารย์ นักศึกษา วิชาเรียน ตารางเรียนตารางสอนสาหรับใช้ในการสร้างรหัสคิวอาร์ของแต่ละชัน เรียน และสา หรับ อาจารย์ในการดูรายงานการเช็คชื่ อเข้าเรียนของนักศึกษา และ 2) เนทีฟแอปพลิเคชันทีทางานบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android Native Application) สาหรับอาจารย์สร้างรหัสคิวอาร์วิชาและชั้นเรียนท่ีสอนในแต่ละสัปดาห์ซึ่งจะนา รหัสวิชา กลุ่ม

12 ภาคการศึกษา ปีการศึกษา ไปสร้างรหัสคิวอาร์เพื่อให้นักศึกษาใช้ในการเช็คชื่อเช้าเรียน สาหรับ นักศึกษาใช้เช็คชื่อเข้าเรียน ตารางเรียน และประวัติการเช็คช่ือเข้าเรียน และสาหรับผู้ปกครอง ข้อดี ของระบบ 1) ทาให้การเช็คชื่อเข้าเรียนมีความสะดวกมากยิ่งข้ึน 2) สามารถเป็นหลักฐานหรือออก เอกสารการเข้าเรียนได้หากมีปัญหาในภายหลัง 3) ผู้ปกครองสามารถติดตามการเข้าเรียนของ นกั ศึกษาได้ ซึ่งช่วยลดการขาดเรยี นและหมดสิทธส์ อบได้ 4) ลดการใช้ทรัพยากรส่วนอื่น ๆ ได้ ในการ เช็คช่ือเข้าเรียนและเก็บเป็นหลักฐานได้ และ ข้อจากัดของระบบ 1) ระบบไม่สามารถส่ังงานและส่ง งานออนไลน์ได้ 2) ระบบไม่สามารถคานวณการเช็คช่ือเป็นคะแนนได้ 3) ระบบไม่สามารถแจ้งงด ช่ัวโมงเรียน และแจ้งชดเชยช่ัวโมงเรียนท่ีงดได้ และงานวิจัยของ ฐิติกาญจน์ พันธ์การุ่ง (2562) ได้ ทาการศึกษาเร่ือง การพัฒนาระบบสารสนเทศการลงเวลาเข้าเรียนของนักเรียนกรณีศึกษา โรงเรียน วัดบ้านหลวง (บัวราษฎร์บารุง) โดยมีการพัฒนาระบบสารสนเทศการลงเวลาเข้าเรียนของนักเรียน กรณีศึกษา โรงเรียนวัดบ้านหลวง (บัวราษฎร์บารุง) มีการศึกษาความพึงพอใจต่อระบบสารสนเทศ การลงเวลาเข้าเรียนของนักเรียน กรณีศึกษา โรงเรียนวัดบ้านหลวง (บัวราษฎร์บารุง) กลุ่มตัวอย่างท่ี ใช้ในการวิจัยครั้งนคี้ ือ ครปู ระจาช้นั จานวน 16 คน นกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/2 จานวน 28 คน โรงเรียนวัดบ้านหลวง (บัวราษฎร์บารุง) ปีการศึกษา 2562 โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) ระบบสารสนเทศการลงเวลาเข้า เรยี นของนักเรียน กรณศี กึ ษา โรงเรยี นวดั บา้ นหลวง (บัวราษฎร์บารุง) 2) แบบประเมินความพึงพอใจ ของระบบสาหรับครูและนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานผลการวิจัยพบวา่ 1) ระบบสารสนเทศการลงเวลาเข้าเรียนของนักเรียน กรณีศึกษาโรงเรียน วัดบ้านหลวง (บัวราษฎร์บารุง) ที่พัฒนาขึ้นสามารถนาข้อมูลไปใช้ได้ทันเวลาอย่างเป็นระบบโดยใช้ เทคโนโลยีบาร์โค้ด 2) ความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบสาหรับครูในภาพรวมอยู่ในระดับมากมี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.26 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.68 และความพึงพอใจของผู้ใช้งาน ระบบสาหรับนักเรียน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.18 ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.69 และงานของ ศุภกิตติ โสภาสพ (2560) ได้ทาการศึกษาเรื่อง การพัฒนาเทคนิคการ ตรวจจับพื้นที่ใบหน้าและวัตถุบริเวณดวงตาโดยใช้การประมวลผลภาพ โดยมีการศึกษาการตรวจจับ ใบหน้าดว้ ยวธิ กี ารใชโ้ มเดลสี Color model มีการเพื่อศึกษาการหาส่ิงแปลกปลอมบริเวณดวงตาโดย วิธี Edge detection มีการเพื่อศึกษาการหาส่ิงแปลกปลอมบริเวณดวงตาโดยวิธี Image segmentation ข้อจากดั ในการศึกษา 1) รูปภาพใบหน้าทีใ่ ช้ตอ้ งเห็นใบหน้าชดั เจนท้ังสองด้าน และมี วตั ถุบรเิ วณดวงตา 2) พ้ืนหลงั ของภาพท่ีแตกต่างกนั จะทาให้ การตรวจจับใบหน้ามีความคลาดเคล่ือน ได้ 3) แสงและเงามีผลต่อรูปภาพในการหาพื้นท่ีของใบหน้า 4) สีผมและสีผิวมีผลต่อการหาพ้ืนที่ ใบหน้า ในการทดลองภาพจานวน 200 ภาพได้ถูกนามาใช้ โดยแบ่งเป็น 1) รูปที่พื้นหลังไม่มีลวดลาย และ 2) รูปที่พ้ืนหลังมีลวดลาย จากน้ันเทคนิคการใช้โมเดลสี YCbCr ถูกนามาใช้กับภาพท้ังหมดเพื่อ

13 จาแนกสีผวิ ออกจากพ้นื หลังเพราะจากการศึกษาพบว่า วิธี YCbCr ค่าข้อมูลสี Cb และ Cr จะมีความ คล้ายคลึงกับจุดภาพของสีผิว ค่าข้อมูลสี Cb และ Cr แสดงให้เห็นการกระจายค่าข้อมูลสีผิว ท่ีมีการ ครอบคลมุ ถงึ สีผวิ ทกุ เชอ้ื ชาติได้อย่างชดั เจน และโมเดลสี HSV ซง่ึ สามารถบอกความบรสิ ุทธ์ิและความ สว่างของสีได้อย่างชัดเจน จากน้ันเทคนิควิธีการ Sobel Edge Detection จะถูกนามาใช้ในการ ตรวจจับใบหน้า และตรวจจับพ้ืนที่บริเวณรอบดวงตา แล้วทาการหาสิ่งบดบังบริเวณดวงตาโดยใช้ เทคนิค Image segmentation จากการทดลองพบว่าสาหรับพื้นหลังแบบไม่มีลวดลายสามารถหา ตาแหน่งของใบหนา้ ได้ 96% หาตาแหน่งของส่งิ บดบังดวงตาได้ 91% สาหรับภาพพื้นหลังที่มีลวดลาย สามารถหาตาแหน่งของใบหน้าได้ 86% และหาตาแหน่งของส่ิงบดบังดวงตาได้ 82% ความผิดพลาด เกดิ จากสว่ นของใบหน้ามีความสวางนอ้ ยหรอื มากเกินไป และสขี องลวดลายพ้นื หลงั มสี ีท่ีใกล้เคียงกับสี ผิวของคน

บทที่ 3 วิธกี ารดาเนินงาน ใ น ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ ต ร ว จ จั บ ใ บ ห น้ า ก า ร เ ช็ ค ช่ื อ เ ข้ า เ รี ย น ส า ห รั บ นั ก ศึ ก ษ า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์ พระนครศรีอยุธยา วาสุกรี ได้มีการ วางแผนดาเนนิ งาน ประกอบไปด้วยข้นั ตอนตา่ ง ๆ ดังนี้ 3.1 เครอ่ื งมือในการดาเนนิ งาน 3.1.1 ระบบตรวจจับใบหน้าการเชค็ ช่อื เขา้ เรียน 3.1.2 แบบประเมินประสทิ ธภิ าพของระบบ 3.1.3 แบบประเมินความพงึ พอใจผ้ใู ช้ระบบ 3.2 กลมุ่ ตวั อยา่ ง 3.2.1 ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นการพฒั นาระบบ 3.2.2 ผ้ใู ชร้ ะบบ 3.3 ข้นั ตอนการดาเนนิ งาน 3.3.1 การรวบรวมข้อมลู 3.3.2 การวิเคราะห์ขอ้ มูล 3.3.3 การออกแบบ 3.3.4 การพฒั นา 3.3.5 การนาไปใช้ 3.3.6 การตดิ ตง้ั 3.3.7 การบารงุ รักษาระบบ

15 3.1 เคร่อื งมือในการดาเนนิ งาน 3.1.1 ระบบตรวจจบั ใบหนา้ การเช็คช่อื ภาพท่ี 3.1 แพลตฟอรม์ CiRA CORE ภาพท่ี 3.2 เกบ็ ภาพใบหน้าของนางสาวมัสยา จันทรเ์ จริญ

16 ภาพที่ 3.3 เกบ็ ภาพใบหน้าของนางสาวพชั รพรรณ มโี พธิส์ ม

มากที่สุด 17 มาก 3.1.2 แบบประเมินประสทิ ธิภาพของระบบ ปานกลางสว่ นท่ี 1 ขอ้ มูลสว่ นบคุ คลทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม น้อยคาชแ้ี จง โปรดทาเคร่อื งหมาย  ลงใน  ลงในช่องวา่ งตามความเป็นจรงิ 1.ประวตั กิ ารศกึ ษา น้อย ี่ทสุด  ระดบั ปริญญาตรี  ระดบั ปริญญาโท  ระดบั ปริญญาเอก 2.. ประสบการณก์ ารพัฒนาระบบ  น้อยกวา่ 5 ปี  มากกว่า 5 ปี  อื่น ๆ ............. ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจการใชง้ านระบบตรวจจบั ใบหน้าการเชค็ ชือ่ เขา้ เรียน คาชแี้ จง โปรดทาเครื่องหมาย  ลงในชอ่ งวา่ งทต่ี รงตามความคิดเหน็ ของทา่ นมากท่สี ดุ ระดับความพึงพอใจ รายการประเมนิ ด้านประสทิ ธิภาพและความถูกต้อง 1. การตรวจจับใบหน้านักเรียนถกู ต้องแมน่ ยา 2. การแสดงผลการเช็คชื่อเข้าช้ันเรยี น 3. การสรุปรายงานผลการเขา้ ชั้นเรยี น 4. ความสามารถของระบบรองรับการทางานในปัจจบุ ันได้ 5. การประมวลผลของระบบมีความรวดเรว็ 6. ข้อมูลในระบบมีความถูกต้องเช่ือถอื ได้ และสามารถตรวจสอบได้ ด้านการออกแบบ 1. ความสวยงาม ความทนั สมัย และน่าสนใจของระบบ 2. ขนาดของตวั อกั ษรที่ใช้นาเสนอ มคี วามเหมาะสม 3. สพี นื้ หลงั โดยรวม มคี วามเหมาะสม 4. การจัดวางรูปแบบในเว็บไซตง์ ่ายตอ่ การใชง้ าน 5. ขนนาดของเมนตู า่ ง ๆ มีความเหมาะสม ด้านการใชร้ ะบบ 1. ระบบง่ายตอ่ การใชง้ าน 2. สามารถนาระบบมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ตารางที่ 3.1 แบบประเมินประสิทธิภาพของระบบ

มากที่ ุสด 18 มาก 3.1.3 แบบประเมินความพงึ พอใจผ้ใู ชร้ ะบบ ปานกลาง น้อยส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม คาชแี้ จง โปรดทาเคร่อื งหมาย  ลงใน  ลงในชอ่ งวา่ งตามความเป็นจรงิ น้อย ี่ท ุสด1.เพศ  ชาย  หญิง สว่ นที่ 2 ประเมินความพงึ พอใจการใชง้ านระบบตรวจจบั ใบหน้าการเช็คชื่อเข้าเรียน คาชี้แจง โปรดทาเครอ่ื งหมาย  ลงในช่องวา่ งท่ีตรงตามความคิดเห็นของทา่ นมากทส่ี ุด ระดบั ความพึงพอใจ รายการประเมนิ ด้านประสิทธภิ าพและความถกู ต้อง 1. การตรวจจบั ใบหนา้ นกั เรียนถูกต้องแม่นยา 2. การแสดงผลการเชค็ ชื่อเขา้ ชน้ั เรยี น 3. การสรปุ รายงานผลการเขา้ ชนั้ เรียน 4. ความสามารถของระบบรองรบั การทางานในปัจจบุ นั ได้ 5. การประมวลผลของระบบมคี วามรวดเรว็ 6. ขอ้ มูลในระบบมีความถูกต้องเชอื่ ถือได้ และสามารถตรวจสอบได้ ดา้ นการออกแบบ 1. ความสวยงาม ความทันสมัย และน่าสนใจของระบบ 2. ขนาดของตวั อักษรท่ีใชน้ าเสนอ มีความเหมาะสม 3. สีพ้ืนหลงั โดยรวม มคี วามเหมาะสม 4. การจดั วางรูปแบบในเวบ็ ไซต์งา่ ยตอ่ การใช้งาน 5. ขนนาดของเมนตู า่ ง ๆ มคี วามเหมาะสม ดา้ นการใช้ระบบ 1. ระบบง่ายต่อการใชง้ าน 2. สามารถนาระบบมาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ ตารางที่ 3.2 แบบประเมินความพงึ พอใจผใู้ ชร้ ะบบ

19 .3.2 กลมุ่ ตวั อยา่ ง 3.2.1 ผเู้ ชีย่ วชาญดา้ นการพฒั นาระบบ ได้แก่ อาจารย์ประจาสาขาวชิ า ระบบสารสนเทศ จานวน 2 คน ไดแ้ ก่ อาจารย์บุญฤทธ์ิ นกครุฑ และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วชริ าภรณ์ พลภาณมุ าศ 3.2.2 ผใู้ ช้ระบบ ได้แก่ นักศึกษามหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลสวุ รรณภมู ิ จานวน 30 ตน 3.3 ขั้นตอนการดาเนินงาน 3.3.1 การรวบรวมข้อมลู รวบรวมความต้องการโดยการถามอาจารย์ผสู้ อนและอาจารย์ที่ปรกึ ษา ถึงความต้องการและ ข้นั ตอนของกระบวนการเช็คชอ่ื เขา้ เรยี น กฎระเบยี บในการเชค็ ช่อื เขา้ เรียนของอาจารย์ผสู้ อนแต่ละ ทา่ น รวมถงึ ศึกษาข้อมลู จากแหลง่ ขอ้ มลู ในอนิ เทอร์เนต็ และทาการเตรียมข้อมลู เพื่อนาไปพัฒนา

20 3.3.2 การวเิ คราะหข์ อ้ มูล นาข้อมูลต่าง ๆ ท่ีได้รวบรวมมาทาการวิเคราะห์และวางแผนการปฏิบัติงาน เพ่ือทาการ กาหนดฟังก์ชันของระบบให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานได้อย่างสมบูรณ์ ครบถ้วน โดยวิเคราะห์จากความต้องการ ปัญหาของระบบปัจจุบัน และข้อมูลต่าง ๆ จนได้เป็นข้อกาหนดของ ระบบ ดว้ ยแผนภาพยูสเคส (Use Case Diagram) ดังนี้ ภาพที่ 3.4 แผนภาพท่ีแสดงการทางาน (Use Case Diagram)

21 Use Case ID UC01 Use Case Name เขา้ สรู่ ะบบ Brief Description ยสู เคสเขา้ สู่ระบบทาหน้าท่ี ในการประมวลผลการเข้าสรู่ ะบบ Primary Actor อาจารย์ Secondary Actor - Pre-conditions Username Password Post-conditions เขา้ สรู่ ะบบสาเร็จ Basic Flows of Events Actor Actions System Responses เขา้ สู่ระบบ (Login) 1. ยูสเคสเขา้ ส่รู ะบบจะเริ่มต้นก็ต่อเม่ือแอค เตอร์อาจารย์เลือกการเข้าสูร่ ะบบ ฟอรม์ การเข้าสู่ระบบ (showLoginForm) 2. ระบบแสดงหน้าฟอรม์ การเข้าสรู่ ะบบ กรอกข้อมูล (setUser) 3. แอคเตอรอ์ าจารย์ กรอกข้อมลู ชื่อผ้ใู ช้ กรอกข้อมลู (setPassword) 4. แอคเตอรอ์ าจารย์ กรอกข้อมูลรหสั ผ่าน คืนค่าข้อมลู (getUser) 5. ระบบคืนคา่ ขอ้ มลู ช่อื ผู้ใช้ คนื ค่าข้อมลู (getPassword) 6. ระบบคนื คา่ ขอ้ มูล รหสั ผา่ น

22 ตรวจสอบการเข้าสู่ระบบ (verifyLogin) 7. ระบบตรวจสอบข้อมูล ชอื่ ผู้ใช้ รหัสผ่าน จาก ฐานข้อมูลสมาชกิ ในระบบ ตรวจสอบสทิ ธก์ิ ารเขา้ ใช้งานระบบ (Authenticate) 8. ระบบตรวจสอบสิทธก์ิ ารเข้าใช้ระบบ สถานการณเ์ ขา้ สู่ระบบ (showMessage) 9. ระบบแสดงสถานะการเขา้ สู่ระบบสาเรจ็ Exception Flows of Events - ในกรณที ี่แอคเตอรอ์ าจารย์กรอก ชื่อผูใ้ ช้ และรหสั ผ่านไม่ถูกต้อง ระบบมีการแจง้ เตือนให้ กรอกช่ือผ้ใู ช้ และรหัสผา่ นใหม่ - เมื่อใดก็ตามท่ีแอคเตอร์อาจารยเ์ ลอื กออกจากระบบ (Logout) มผี ลทาใหย้ สู เคสเขา้ สู่ ระบบ สน้ิ สุดการดาเนนิ การ ตารางท่ี 3.3 คาอธิบาย Use Case Diagram การเขา้ สู่ระบบ Use Case ID UC02 Use Case Name จดั การข้อมลู วชิ าท่ีสอน Brief Description ยูสเคสจดั การข้อมูลวิชาทสี่ อน หนา้ ทใ่ี นการประมวลผลจดั การ ขอ้ มูลวิชาที่สอน Primary Actor อาจารย์ Secondary Actor - Pre-conditions เข้าสรู่ ะบบในสถานะอาจารย์และมีข้อมูลวิชาท่ีสอน Post-conditions จัดการข้อมลู สาเรจ็

23 Basic Flows of Events Actor Actions System Responses จดั การข้อมลู วิชาท่สี อน (selectManageSubject) 1. ยูสเคสจดั การขอ้ มูลวชิ าที่สอนจะเริม่ ขน้ึ เมื่อ แอคเตอร์อาจารย์เลอื กการจัดการข้อมูลวิชาที่ สอน จัดการข้อมลู วิชาท่ีสอน (selectManageSubject) 2. แอคเตอร์อาจารย์เลอื กจดั การข้อมลู วิชาทส่ี อน หนา้ ฟอร์มจัดการข้อมลู วิชาท่สี อน (showManageSubjectForm) 3. ระบบแสดงหนา้ ฟอร์มจัดการข้อมูลวิชาท่สี อน เลอื กฟังก์ชัน (selectFunction) 4. แอคเตอรอ์ าจารย์ เลือก เพม่ิ /แก้ไข/ ลบ ฟอรม์ การเพ่ิม/แก้ไข/ลบ (showFunctionForm) 5. แสดงหน้าฟอร์มการเพ่มิ /แก้ไข/ลบ กรอกข้อมลู (setData) 6. แอคเตอรอ์ าจารย์ กรอกข้อมลู รายละเอยี ด ตรวจสอบขอ้ มลู (verfyData) 7. ระบบทาการตรวจสอบข้อมูล บันทึกขอ้ มูล (saveData) 8. ระบบทาการบนั ทกึ ข้อมลู ในฐานขอ้ มูล ตารางที่ 3.4 คาอธิบาย Use Case Diagram จดั การข้อมูลอาจารย์

24 Use Case ID UC03 Use Case Name ลงทะเบียนเรียน Brief Description ยสู เคสลงทะเบียนเรยี น หนา้ ที่ในการประมวลผลการลงทะเบยี น เรียน Primary Actor นักศกึ ษา Secondary Actor - Pre-conditions ข้อมูลนักศึกษา Post-conditions ลงทะเบยี นสาเร็จ Basic Flows of Events Actor Actions System Responses ลงทะเบียนเรียน (Enroll) 1. ยูสเคสลงทะเบียนเรยี นจะเริ่มขึ้นเมื่อแอคเตอร์ นกั ศึกษาเลอื กการลงทะเบียนเรยี น หน้าฟอรม์ เมนู (showEnrollForm) 2. ระบบแสดงหน้าฟอรม์ เมนูลงทะเบยี นเรยี น เลอื กวิชา (selectSubject) 3. แอคเตอร์นกั ศึกษาเลือกรายวชิ าทต่ี ้องการ ลงทะเบยี น ฟอรม์ ลงทะเบยี นเรียน (showEnrollDetail) 4. แสดงหนา้ ฟอร์มรายวิชาทเ่ี ลอื กลงทะเบยี นเรียน กรอกข้อมูล (setStudentData) 5. แอคเตอร์นกั ศึกษากรอกข้อมลู นักศึกษา

25 บันทกึ ข้อมลู (saveStudentData) 6. ระบบทาการบนั ทึกข้อมูลในฐานข้อมูล ตารางท่ี 3.5 คาอธิบาย Use Case Diagram ลงทะเบียนเรียน 3.3.3 การออกแบบ จากผลการศึกษา วิเคราะห์นามาใชใ้ นการออกแบบระบบตรวจจบั ใบหนา้ การเช็คช่ือเข้าเรียน ทาให้ทราบถึงกระบวนการในการทางานและความต้องการของสารสนเทศในแต่ละส่วนแล้ว ทาให้ สามารถออกแบบระบบใหม่ ให้มีการจดั การขอ้ มูลที่ดีย่ิงข้ึนสามารถประมวลผลให้ข้อมูลอยู่ในรูปแบบ ของสารสนเทศที่สามารถนาไปใช้ในการสนับสนุนการทางานในแต่ละหน้าที่ ซ่ึงนาเสนอโดยการ แสดงผลทงั้ แบบการแสดงผลบนจอภาพ การออกแบบระบบใหมม่ รี ายละเอียดในส่วนต่าง ๆ ดังนี้ 1) แผนภาพคลาส (Class Diagram) 2) แผนภาพลาดบั (Sequence Diagram) 3) พจนานกุ รมข้อมลู (Data Dictionary) 4) แผนภาพความสัมพันธร์ ะหวา่ งข้อมูล (ER Diagram) 5) การออกแบบส่ิงนาเขา้ (Input Design) 6) การออกแบบสิง่ นาออก (Output Design)

26 1) แผนภาพคลาส (Class Diagram) ภาพท่ี 3.5 แผนภาพคลาส

27 2) แผนภาพลาดับ (Sequence Diagram) ภาพที่ 3.6 แผนภาพลาดบั เขา้ ส่รู ะบบ

28 ภาพที่ 3.7 แผนภาพลาดบั จัดการข้อมลู วชิ าท่สี อน

29 ภาพท่ี 3.8 แผนภาพลาดับ ลงทะเบียนเรียน 3) พจนานุกรมขอ้ มูล (Data Dictionary) ตารางที่ 3.6 ตารางขอ้ มูลอาจารย์ (tbl_teacher) No Attribute Name Description Data type Key Type Reference Table PK 1 teacher_id รหสั อาจารย์ int(11) 2 teacher_name ชื่ออาจารย์ varchar(100) 3 username ชือ่ ผใู้ ช้ varchar(50) 4 password รหัสผา่ น varchar(50) ตารางท่ี 3.7 ตารางเก็บข้อมูลนกั ศึกษา (tbl_std) No Attribute Name Description Data type Key Type Reference Table PK 1 std_id ลาดับ Int(5) นกั ศึกษา 2 std_code รหัสนักศึกษา varchar(15) 3 std_name ชอื่ -นามสกลุ varchar(100) นกั ศกึ ษา 4 std_phone เบอรโ์ ทรศัพท์ varchar(10) 5 std_email อเี มล varchar(50)

30 ตารางท่ี 3.8 ตารางเช็คอินเขา้ เรยี น (tbl_checkin) No Attribute Name Description Data type Key Type Reference Table 1 no ลาดบั int(11) PK tbl_teacher FK tbl_enroll 2 ref_teacher_id รหสั อาจารย์ int(11) FK tbl_std FK 3 ref_s_id รหสั วิชา int(11) 4 ref_std_code รหัสนักศึกษา varcchar(15) 5 check_in_status บนั ทึกการเขา้ int(1) เรียน 6 check_in_date วนั ท่ี date 7 date_save เวลาที่เก็บ timestamp ขอ้ มูล ตารางที่ 3.9 ตารางรายวชิ าทล่ี งทะเบยี นเรียน (tbl_enroll) No Attribute Name Description Data type Key Type Reference Table 1 no ลาดับ int(11) PK tbl_subject FK tbl_std 2 ref_s_id รหัสวชิ า int(11) FK 3 ref_std_id รหัสนักศึกษา int(11) ตารางท่ี 3.10 ตารางรายวิชา (tbl_subject) No Attribute Name Description Data type Key Type Reference Table PK tbl_teacher 1 s_id รหัสวชิ า int(11) FK 2 s_name ชือ่ วิชา varchar(100) 3 ref_teacher_id รหัสอาจารย์ int(11) 4 s_detail รายละเอยี ด text รายวิชา 5 s_dateClose วนั เดอื นปี datetime ปดิ ระบบ ลงทะเบยี น

31 ตารางที่ 3.11 ตารางเชค็ อิน CiRA CORE (tbl_checkin_c) No Attribute Name Description Data type Key Type Reference Table 1 check_id ลาดบั int(11) PK 2 datetime เวลา datetime 3 std_code1 รหสั นกั ศึกษา varchar(12) 4 send_line ส่งไลน์ varchar(1) 4) แบบจาลองโครงสร้างของฐานข้อมูล (ER Diagram) ภาพท่ี 3.9 แบบจาลองความสันพนั ธร์ ะหวา่ งข้อมูล (ER Diagram)

32 3.3.3 การออกแบบสงิ่ นาเขา้ (Input Design) ภาพที่ 3.10 หน้าฟอร์มลงทะเบียนรายวชิ า ภาพท่ี 3.11 หน้าฟอร์มรายละเอียดรายวิชา

33 ภาพท่ี 3.12 หน้าฟอร์ม LOGIN ภาพท่ี 3.13 หน้าฟอร์มเพิ่มข้อมูลวชิ า

34 ภาพที่ 3.14 หน้าฟอร์มแก้ไขข้อมลู วิชา ภาพที่ 3.15 หน้าฟอร์มแก้ไขข้อมลู อาจารย์

35 ภาพที่ 3.16 หน้าฟอร์มแก้ไขรหัสผ่าน ภาพท่ี 3.17 หนา้ ฟอร์ม LOG OUT

36 3.3.4 การออกแบบสงิ่ นาออก (Output Design) ภาพท่ี 3.18 หนา้ ฟอร์มวชิ าท่ีสอน ภาพท่ี 3.19 หน้าฟอร์มเชค็ ชื่อ

37 ภาพท่ี 3.20 หนา้ ฟอร์มเชค็ ชื่อรวม ภาพที่ 3.21 หน้าฟอร์มเชค็ ชื่อรายวัน 3.3.4 การพัฒนา การพฒั นาระบบตรวจจับใบหน้าการเชค็ ชอ่ื เข้าเรียน ของผู้จัดทาระบบได้ศึกษาโปรแกรม และเคร่ืองมือตา่ ง ๆ ท่ีใช้ในการพฒั นาระบบ โดยในการพัฒนาจะเริ่มจากการเขียนคาส่ัง (Code) ใหก้ บั โปรแกรมท่ีได้ออกแบบระบบไว้ ซึง่ จะเขยี นคาสั่งในทุก ๆ ส่วนของฟอรม์ นนั้ ๆ และหลงั จาก พฒั นาระบบทุกสว่ นแลว้ จะทาการเกบ็ ภาพของนกั ศึกษาลงในฐานขอ้ มูล จากนน้ั จะทาการนา

38 โปรแกรมนั้นมาทาการประมวลผล และทาการแก้ไขจนโปรแกรมสามารถทางานได้ตรงตามความ ต้องการ 3.3.5 การทดลองและปรับปรงุ แก้ไข หลงั จากท่ีได้พัฒนาระบบน้ัน ผู้พัฒนาได้ทาการทดสอบระบบ ในการทดสอบการทางานของ แต่ละส่วนของระบบ ด้วยการสร้างข้อมูลสาหรับการทดสอบ ซึ่งจาเป็นต้องครอบคลุมทุก ๆ กรณีที่ อาจเกิดข้ึนในการทางานจริง เพื่อทดสอบการทางานที่ถูกต้อง ตรวจสอบข้อผิดพลาดของระบบ และ ทาการแก้ไขจนระบบสามารถทางานได้ตรงตามความต้องการท่ีกาหนดได้ ซึ่งเป็นการทดสอบระบบว่า สามารถทางานไดอ้ ย่างถูกต้อง จากการทดสอบโปรแกรม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ นักศึกษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภมู ิ ศนู ย์ พระนครศรอี ยุธยา วาสุกรี กลมุ่ เรียน ISM26421N 3.3.6 การติดต้ังระบบ เม่ือทดสอบโปรแกรมและระบบผู้ใช้ระบบยอมรับแล้ว ระบบงานท่ีได้รับการพัฒนาก็พร้อม นาไปใช้งาน ในการพัฒนาระบบ แบบทันทที ันใด เปน็ วธิ ีที่ง่ายทส่ี ุด การติดต้ังวธิ ีนีม้ ขี ้อดีดงั นี้ 3.6.1 ระบบใหมส่ ามารถดาเนนิ การใชง้ านได้ทันที 3.6.2 ค่าใชจ้ ่ายต่าและใช้เวลานอ้ ย 3.3.7 การบารงุ รกั ษาระบบ การประเมินผลและบารุงรักษาระบบ เป็นข้ันตอนสุดท้ายของการพัฒนาระบบ ภายหลัง ข้ันตอนการติดตั้งระบบและมีการใช้งานระบบใหม่มาเป็นเวลาพอสมควร จะต้องมีการปะเมินผลการ ทางานของระบบ ซ่ึงเป็นการตรวจสอบว่าระบบใหม่ที่ติดตั้งใช้งานนี้ สามารถใช้งานได้ตรงตาม วัตถปุ ระสงค์ สนองต่อความตอ้ งการของผูใ้ ช้ ผใู้ ช้มคี วามพงึ พอใจและยอมรับการทางานกับระบบใหม่ มากน้อยเพียงใด หรือมีปัญหาอุปสรรคอย่างไร โดยจะต้องกลับไปศึกษาวัตถุประสงค์หรือเป้าหมาย ของโครงการที่ได้วางไว้ ว่าระบบใหม่นี้ สามารถทางานได้บรรลุตามที่ต้องการหรือไม่ การประเมินผล การทางานของระบบ มักจะกาหนดได้เป็นแนวทางเพื่อตัดสินใจว่าจะดาเนินการโครงการต่อไปดังนั้น ภายหลังจากการประเมินผลการทางานของระบบอาจจะมีการเสนอให้มีการเปล่ียนแปลงระบบเพ่ือ ความเหมาะสม หรือในกรณีท่เี ลวร้ายที่สุดคอื เสนอใหอ้ อกแบบระบบใหม่ทั้งหมด

บทที่ 4 ผลการดาเนนิ งาน โครงการระบบตรวจจับใบหน้าการเช็คชื่อเข้าเรียน Face Detection System Check-in Classroom ที่ผู้พัฒนาได้วิเคราะห์ข้อมูล ออกแบบและพัฒนาระบบทาให้ผลการดาเนินงานมี ดังต่อไปนี้ 4.1 ผลการศกึ ษาและวเิ คราะห์ 4.2 ผลการพัฒนาระบบ 4.3 ผลการประเมินประสทิ ธภิ าพ 4.4 ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจ 4.1 ผลการศกึ ษาและวเิ คราะห์ ผลจากการศึกษาและวิเคราะห์ ผู้พัฒนาสามารถพัฒนาระบบตรวจจับใบหน้าการเช็คชื่อเข้า เรียน ประกอบไปด้วย การเช็คช่ือเข้าเรียนด้วยการแสกนใบหน้า สามารถตรวจจับใบหน้าของผู้เข้า เรียน สามารถแกไ้ ขข้อมลู วชิ า และสามารถแจ้งเตือนการเขา้ เรยี นผ่านไลน์กลุ่มนักศึกษา เพ่ือท่ีจะเพ่ิม ความสะดวกในการเช็คช่ือเข้าเรียน และสามารถเก็บข้อมูลผู้เข้าเรียน สามารถดูประวัติการเข้าเรียน ของนักศึกษาได้

40 4.2 ผลการพฒั นาระบบ ภาพที่ 4.1 หน้าฟอร์มลงทะเบยี นรายวิชา ภาพท่ี 4.2 หนา้ ฟอรม์ รายละเอียดรายวชิ า


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook