Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วัสดุศาสตร์

วัสดุศาสตร์

Published by prancharoen1990, 2022-05-05 09:35:10

Description: วัสดุศาสตร์

Search

Read the Text Version

ชดุ วิชา วสั ดศุ าสตร 1 รายวิชาเลือกบังคบั ระดบั ประถมศึกษา รหสั พว12011 หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาํ นกั งานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สาํ นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ

ก คำนำ ชุดวิชาวัสดุศาสตร์ 1 รหัสวิชา พว12011 ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษานี้ ประกอบด้วยเนื้อหา วัสดุในชีวิตประจาวัน สมบัติของวัสดุ การเลือกใช้และผลกระทบจากการใช้วัสดุ และ การจัดการและกาจัดวัสดุที่ใช้แล้ว เนื้อหาความรู้ดังกล่าว มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียน มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับวัสดุและการเลือกใช้วัสดุในชีวิตประจาวัน ตระหนักถึง ผลกระทบทเ่ี กิดจากการใช้วสั ดุ ตลอดจนสามารถนาความร้ไู ปใช้ในการจัดการและกาจัดวัสดุ ทีใ่ ชแ้ ล้วในชวี ติ ประจาวันของตนเอง และชุมชน สานักงาน กศน. ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี ที่ให้การ สนับสนุนองค์ความรู้ประกอบการนาเสนอเนื้อหา รวมทั้งผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดทา ชุดวิชา หวังเป็นอย่างยิ่งว่าชุดวิชานี้ จะเกิดประโยชน์ต่อผู้เรียน กศน. และสร้างความ ตระหนกั ในการจัดการวสั ดุทใี่ ช้แลว้ อย่างรคู้ ุณค่าต่อไป สานักงาน กศน.

ข คำแนะนำกำรใช้ชดุ วิชำ ชดุ วชิ าวัสดศุ าสตร์ 1 รหสั วิชา พว12011 ใชส้ าหรบั นักศกึ ษาหลักสตู รการศกึ ษา นอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ระดบั ประถมศกึ ษา แบง่ ออกเปน็ 2 สว่ น คือ ส่วนที่ 1 โครงสร้างของชุดวชิ า แบบทดสอบกอ่ นเรียน โครงสร้างหนว่ ยการเรียนรู้ เนอื้ หาสาระ กิจกรรมเรยี งลาดบั ตามหนว่ ยการเรียนรู้ และแบบทดสอบหลงั เรียน สว่ นที่ 2 เฉลยแบบทดสอบและกิจกรรม ประกอบด้วย เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี นและ หลังเรียน เฉลยและแนวตอบกิจกรรมท้ายหนว่ ยการเรียน เรียงลาดับตามหนว่ ยการเรียนรู้ วธิ กี ำรใช้ชดุ วชิ ำ ใหผ้ ู้เรียนดาเนนิ การตามขัน้ ตอน ดงั น้ี 1. ศึกษารายละเอียดโครงสรา้ งชดุ วิชาโดยละเอยี ด เพือ่ ให้ทราบวา่ ผ้เู รยี นตอ้ งเรียนรู้ เนอื้ หาในเรอ่ื งใดบา้ งในรายวิชานี้ 2. วางแผนเพ่ือกาหนดระยะเวลาและจดั เวลาทผี่ เู้ รียน มคี วามพรอ้ มท่ีจะศกึ ษาชดุ วชิ า เพ่ือให้สามารถศึกษารายละเอียดของเนื้อหาได้ครบทุกหน่วยการเรียนรู้ พร้อมทากิจกรรม ตามทกี่ าหนดให้ทนั ก่อนสอบปลายภาค 3. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนของชุดวิชาตามที่กาหนด เพื่อทราบพ้ืนฐานความรู้เดิม ของผู้เรียน โดยให้ทาลงในสมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้และตรวจสอบคาตอบจากเฉลย แบบทดสอบ เฉลยและแนวตอบกิจกรรมท้ายหน่วยการเรยี น 4. ศกึ ษาเนื้อหาในชุดวชิ าในแต่ละหน่วยการเรียนรูอ้ ย่างละเอยี ดให้เข้าใจ ทั้งในชุดวิชา และสื่อประกอบ (ถา้ มี) และทากจิ กรรมทก่ี าหนดไวใ้ หค้ รบถว้ น 5. เมื่อทากิจกรรมเสร็จแต่ละกิจกรรมแล้ว ผู้เรียนสามารถตรวจสอบคาตอบได้จาก เฉลยและแนวตอบกิจกรรมท้ายหน่วยการเรียน หากผู้เรียนตรวจสอบแล้วมีผลการเรียนรู้ ไม่เป็นไปตามท่ีคาดหวัง ให้ผู้เรียนกลับไปทบทวนเนื้อหาสาระในเรื่องน้ันซ้าจนกว่าจะเข้าใจ แล้วกลบั มาทากิจกรรมนัน้ ใหม่

ค 6. เม่ือศึกษาเนื้อหาสาระครบทุกหน่วยแล้ว ให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนและ ตรวจคาตอบจากเฉลยแบบทดสอบหลังเรียนที่ให้ไว้ในท้ายเล่ม เพื่อประเมินความรู้หลังเรียน หากผลไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง ให้ผู้เรียนกลับไปทบทวนเน้ือหาสาระในเรื่องน้ันให้เข้าใจ อกี ครงั้ หนึ่ง แลว้ กลบั มาทาแบบทดสอบหลังเรียนและตรวจให้คะแนนตนเองอีกคร้งั ผู้เรียนควร ทาแบบทดสอบหลงั เรียนใหไ้ ดค้ ะแนนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 60 ของแบบทดสอบทงั้ หมด (หรอื 24 ขอ้ ) เพ่อื ใหม้ น่ั ใจว่าจะสามารถสอบปลายภาคผ่าน 7. หากผเู้ รียนไดท้ าการศกึ ษาเนอ้ื หาและทากจิ กรรมแล้วยังไม่เข้าใจ ผ้เู รยี นสามารถ สอบถามและขอคาแนะนาได้จากครู ผ้รู ู้ หรอื แหล่งคน้ คว้าอื่น ๆ เพิ่มเตมิ กำรศกึ ษำค้นควำ้ เพ่ิมเติม ผู้เรียนอาจศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมได้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น หนังสือเรียนรายวิชา พ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 คมู่ ือการจดั การขยะมูลฝอยชมุ ชนอยา่ งครบวงจร คู่มอื การคัดแยกขยะ มลู ฝอยและนากลบั มาใช้ใหม่ วารสาร แผ่นพบั ประชาสัมพนั ธ์ อินเทอรเ์ น็ต ผู้รู้ และ แหล่งเรียนรู้ในชมุ ชน เป็นต้น กำรวดั ผลสัมฤทธท์ิ ำงกำรเรียน การวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น หลกั สูตรรายวิชาเลือกบังคับ วัสดศุ าสตร์ 1 เป็นดังนี้ 1. ระหว่างภาค วัดผลจากการทากิจกรรมหรอื งานทีไ่ ดร้ บั มอบหมายระหว่างเรียน 2. ปลายภาค วัดผลจากการทาข้อสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ปลายภาค

ง โครงสรา้ งชุดวชิ า พว12011 วสั ดุศาสตร์ 1 ระดบั ประถมศึกษา สาระการเรยี นรู้ สาระความรู้พ้นื ฐาน มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐานท่ี 2.2 มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะพื้นฐานเกีย่ วกบั คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ มคี วามรู้ความเข้าใจ ทักษะและเหน็ คุณค่าเกี่ยวกบั กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สง่ิ มีชีวิต ระบบนเิ วศ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมในท้องถน่ิ สาร แรง พลังงาน กระบวนการเปล่ียนแปลงของโลกและดาราศาสตร์ มจี ติ วิทยาศาสตรแ์ ละนาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ในการดาเนนิ ชวี ติ ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั 1. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับวัสดุในชีวิตประจาวัน สมบัติของวัสดุ การเลือกใช้ และผลกระทบจากการใช้วสั ดุ การจัดการและกาจดั วัสดทุ ใ่ี ช้แล้ว 2. ทดลองสมบัติของวัสดชุ นิดตา่ ง ๆ ได้ 3. ตระหนักถงึ ผลกระทบท่ีเกิดจากการใชว้ ัสดุในชีวิตประจาวนั

จ สรปุ สาระสาคัญ 1. วสั ดุศาสตร์ เปน็ การศกึ ษาองค์ความรู้ท่ีเกี่ยวข้องกับวัสดุ ท่ีนามาใช้ประกอบกัน เป็นชิ้นงาน ตามการออกแบบ มีตัวตน สามารถสัมผัสได้ โดยวัสดุแต่ละชนิดจะมีสมบัติ เฉพาะตัว ได้แก่ สมบัติทางฟิสิกส์ สมบัติทางเคมี สมบัติทางไฟฟ้า และสมบัติเชิงกล ท้ังน้ี วัสดุ ที่เราใช้หรือพบเห็นในชีวิตประจาวัน สามารถจาแนกประเภทตามแหล่งที่มาของวัสดุ คือ วัสดุ ธรรมชาติ และวัสดุสงั เคราะห์ 2. วัสดุแต่ละชนิดที่นามาทาเป็นสิ่งของเคร่ืองใช้ต่าง ๆ บางอย่างทาจากวัสดุชนิด เดียวกัน บางอย่างทาจากวัสดุต่างชนิดกัน ซึ่งวัสดุแต่ละชนิดจะมีสมบัติบางอย่างคล้ายคลึงกัน และมสี มบตั ิบางอย่างท่ีแตกต่างกนั การศึกษาสมบัติของวัสดุแต่ละชนิด ประกอบด้วย ความแข็ง ความเหนียว ความยืดหยุ่น การนาความร้อน การนาไฟฟ้าและความหนาแน่นของวัสดุ การศึกษาสมบัติของวัสดุ ดังกล่าว ทาให้สามารถนาวัสดุไปใช้ประโยชน์ได้ตามความเหมาะสม กบั การใชง้ าน 3. ผลิตภัณฑ์ท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หมายถึง ผลิตภัณฑ์ท่ีส่งผลกระทบต่อ ส่ิงแวดล้อมน้อยกว่าเม่ือเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์อ่ืน ๆ โดยมีฉลากส่ิงแวดล้อมเป็นเคร่ืองมือ แยกผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมออกจากผลิตภัณฑ์ทั่วไปในท้องตลาด ปัจจุบันเทคโนโลยี ได้เข้ามามีบทบาทและความจาเป็นต่อการดารงชีวิตของมนุษย์เป็นอย่างมาก ท้ังภายในบ้าน และภายนอกบ้าน เพ่ืออานวยความสะดวกสบายในชีวิตประจาวัน แต่เทคโนโลยีเหล่าน้ัน ก็ส่งผลกระทบต่อชีวิตและส่ิงแวดล้อมในด้านต่าง ๆ หากละเลยและไม่คานึงถึงการใช้วัสดุหรือ ผลติ ภัณฑ์อยา่ งรคู้ ณุ คา่ 4. การจัดการวสั ดุทีใ่ ช้แล้วดว้ ยหลกั 3R เปน็ แนวทางปฏิบัตใิ นการลดปรมิ าณวัสดุ ทีใ่ ช้แล้วในครัวเรือน โรงเรียน และชมุ ชน โดยใช้หลักการ การใช้นอ้ ยหรือลดการใช้ (Reduce) การใช้ซ้า (Reuse) และการผลิตใช้ใหม่ (Recycle) เพ่ือลดปัญหาที่เกิดข้ึนจากการใช้วัสดุ ในปัจจุบัน ซ่ึงเป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้มีปริมาณวัสดุท่ีใช้แล้วเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ เนื่องจากความ เจรญิ เตบิ โตทางดา้ นเศรษฐกจิ การเพิ่มขน้ึ ของจานวนประชากร ตลอดจนพฤติกรรมการอุปโภค บริโภคของคนที่เริ่มเปล่ียนไป ส่งผลให้ต้องศึกษาวิธีการกาจัดวัสดุที่ใช้แล้วให้ถูกต้องตามหลัก สขุ าภบิ าล เพอ่ื ลดปัญหาและผลกระทบทเี่ กดิ ขน้ึ ต่อชมุ ชนและสงั คม

ฉ ขอบข่ายเนื้อหา จานวน 10 ชั่วโมง จานวน 30 ชว่ั โมง หนว่ ยท่ี 1 วัสดุในชีวิตประจาวนั จานวน 20 ช่ัวโมง หนว่ ยที่ 2 สมบตั ิของวสั ดุ จานวน 20 ชั่วโมง หนว่ ยท่ี 3 การเลอื กใชแ้ ละผลกระทบจากการใช้วสั ดุ หน่วยท่ี 4 การจดั การและกาจัดวสั ดุทีใ่ ชแ้ ล้ว การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ 1. บรรยาย 2. ศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเองจากสือ่ ที่เกย่ี วขอ้ ง 3. พบกล่มุ ทาการทดลอง อภปิ ราย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิเคราะห์ และสรปุ การเรียนรู้ ท่ีได้ลงในเอกสารการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง (กรต.) สือ่ ประกอบการเรยี นรู้ 1. ส่ือเอกสาร ไดแ้ ก่ 1.1 ชดุ วชิ า วัสดศุ าสตร์ 1 รหัสวชิ า พว12011 1.2. สมดุ บนั ทึกกิจกรรมการเรียนรู้ ชดุ วชิ า วัสดุศาสตร์ 1 2. สื่ออิเลก็ ทรอนกิ ส์ ไดแ้ ก่ 2.1 เวป็ ไซต์ 2.2 หนงั สอื เรียนอิเลก็ ทรอนกิ ส์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2.3 CD,DVD ท่เี ก่ียวขอ้ ง 3. แหล่งเรยี นรูใ้ นชมุ ชน ได้แก่ 3.1 มมุ หนงั สอื กศน.ตาบล 3.2 หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอ 3.3 ห้องสมดุ ประชาชนจังหวัด 3.4 ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษา 3.5 เทศบาลและสานกั งานสิง่ แวดลอ้ ม

ช จานวนหน่วยกิต ระยะเวลาเรียนตลอดหลกั สูตร จานวน 80 ชว่ั โมง รวม 2 หน่วยกติ กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนและตรวจสอบคาตอบจากเฉลยท้ายเล่ม รายวชิ า วัสดุศาสตร์ 1 2. ศกึ ษาเน้อื หาสาระในหน่วยการเรยี นรู้ทกุ หน่วย 3. ทากจิ กรรมตามที่กาหนดและตรวจสอบคาตอบจากเฉลยและแนวตอบในท้าย เล่มรายวชิ าวัสดุศาสตร์ 1 4. ทาแบบทดสอบหลังเรียนและตรวจสอบคาตอบจากเฉลยท้ายเลม่ รายวิชา วสั ดศุ าสตร์ 1 การวดั และประเมินผล 1. ประเมนิ ความกา้ วหน้าผู้เรยี น จานวน 60 คะแนน ไดแ้ ก่ 1.1 แบบทดสอบก่อนเรยี น - หลังเรียน 1.2 การสังเกต การซักถาม ตอบคาถาม 1.3 ตรวจกจิ กรรมในแตล่ ะหน่วยการเรียนรู้ (กรต.) 2. ประเมนิ ผลรวมผูเ้ รียน จานวน 40 คะแนน โดยการทดสอบปลายภาคเรยี น จานวน 40 คะแนน

สารบัญ ซ คานา หนา้ คาแนะนาการใช้ชุดวิชา ก โครงสร้างชุดวชิ า ข สารบญั ง หนว่ ยที่ 1 วสั ดใุ นชวี ิตประจาวัน ซ 1 เรอ่ื งที่ 1 ความหมายของวัสดุศาสตร์ 2 เรอื่ งท่ี 2 ประเภทของวัสดุ 4 เร่ืองท่ี 3 ประโยชนข์ องวสั ดุ 5 หน่วยท่ี 2 สมบตั ิของวสั ดุ 12 เรื่องที่ 1 ความแข็ง 14 เรอ่ื งท่ี 2 ความเหนียว 15 เรอื่ งท่ี 3 ความยืดหยนุ่ 18 เรอ่ื งท่ี 4 การนาความรอ้ น 20 เรอ่ื งท่ี 5 การนาไฟฟ้า 21 เรื่องที่ 6 ความหนาแนน่ 22 หนว่ ยท่ี 3 การเลอื กใชแ้ ละผลกระทบจากการใช้วัสดุ 25 เร่อื งที่ 1 การเลอื กใช้วัสดุที่เปน็ มิตรต่อส่งิ แวดล้อม 27 เรอื่ งที่ 2 ผลกระทบจากการใช้วัสดใุ นชีวติ ประจาวัน 31 หน่วยท่ี 4 การจดั การและกาจัดวสั ดุท่ีใชแ้ ลว้ 40 เรอ่ื งที่ 1 การจดั การวสั ดุทใ่ี ชแ้ ลว้ ดว้ ยหลัก 3R 41 เรอ่ื งที่ 2 การกาจัดและการทาลาย 46 บรรณานุกรม 58 คณะผ้จู ัดทา 67

1 หน่วยท่ี 1 วัสดุในชีวติ ประจำวนั สำระสำคัญ วัสดุศาสตร์ เปน็ การศกึ ษาองคค์ วามรทู้ ่ีเก่ียวข้องกับวัสดุ ท่ีนามาใชป้ ระกอบกนั เป็นช้ินงาน ตามการออกแบบ มีตัวตน สามารถสัมผัสได้ โดยวัสดุแต่ละชนิดจะมีสมบัติ เฉพาะตวั ได้แก่ สมบัติทางฟิสิกส์ สมบัติทางเคมี สมบัติทางไฟฟ้า และสมบัติเชิงกล ท้ังนี้ วัสดุ ที่เราใช้หรือพบเห็นในชีวิตประจาวัน สามารถจาแนกประเภทตามแหล่งที่มาของวัสดุ ได้แก่ วัสดุธรรมชาติ และวัสดุสังเคราะห์ ตัวชว้ี ัด 1. อธิบายความหมายของวัสดุศาสตร์ได้ 2. จาแนกประเภทของวัสดไุ ด้ 3. บอกประโยชน์ของวสั ดทุ ีใ่ ช้ในชีวติ ประจาวันได้ ขอบข่ำยเน้ือหำ 1. ความหมายของวสั ดศุ าสตร์ 2. ประเภทของวสั ดุ 3. ประโยชน์ของวัสดุ เวลำทใี่ ชใ้ นกำรศึกษำ ใช้เวลาเรียน โดยศึกษาจากเอกสารและสอ่ื ต่าง ๆ ฝึกปฏิบัติกิจกรรม และรวมกล่มุ เพือ่ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ จานวน 10 ช่วั โมง สื่อกำรเรยี นรู้ 1. ชดุ วชิ าวสั ดุศาสตร์ ระดับประถมศึกษา 2. ศกึ ษาคน้ ควา้ จากอินเตอรเ์ น็ต 3. ศึกษาคน้ ควา้ จากหนงั สอื ในหอ้ งสมุดประชาชน

2 หน่วยที่ 1 วสั ดใุ นชวี ติ ประจำวัน เร่อื งท่ี 1 ควำมหมำยของวสั ดศุ ำสตร์ วัสดุศาสตร์ เป็นการศึกษาองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับวัสดุ ท่ีนามาใช้ประกอบกัน เป็นชิ้นงาน ตามการออกแบบ มีตัวตน สามารถสัมผัสได้ โดยวัสดุแต่ละชนิดจะมีสมบัติ เฉพาะตัว ได้แก่ สมบัติทางฟิสิกส์ สมบตั ิทางเคมี สมบตั ิทางไฟฟา้ และสมบัติเชิงกล ทัง้ นี้ วัสดุ ที่เราใช้หรือพบเห็นในชีวิตประจาวัน สามารถจาแนกตามแหล่งท่ีมาของ วัสดุ ได้แก่ วัสดุธรรมชาติ แบ่งออกเป็น วัสดุธรรมชาติท่ีได้จากสิ่งมีชีวิต เช่น ไม้ เปลือกหอย ขนสตั ว์ ใยไหม ใยฝ้าย หนงั สตั ว์ ยางธรรมชาติ วัสดธุ รรมชาติทไ่ี ด้จากสง่ิ ไม่มชี วี ิต เช่น ดินเหนียว หินปูน ศิลาแลง กรวด ทราย เหล็ก และ วัสดุสังเคราะห์ ซ่ึงเป็นวัสดุที่เกิดจาก กระบวนการทางเคมี เช่น พลาสติก เสน้ ใยสงั เคราะห์ ยางสงั เคราะห์ โฟม กระเบ้ือง เปน็ ตน้ ตัวอย่างวัสดุศาสตรท์ ่ี ใช้ในชีวิตประจาวัน ภาพท่ี 1.1 ตัวอยา่ งวัสดทุ ่ีใชใ้ นชีวิตประจาวนั

3 กล่าวโดยสรุป วัสดุศาสตร์มีความผูกพันกับการดาเนินชีวิตของมนุษย์มาเป็นเวลา ช้านาน หรืออาจกล่าวได้ว่า “วัสดุศาสตร์อยู่รอบตัวเรา” ซ่ึงวัตถุต่าง ๆ ล้วนประกอบข้ึนจากวัสดุ ทั้งสนิ้ และวัสดุแต่ละประเภทจะมีลักษณะและสมบัติแตกต่างกันออกไป ข้ึนอยู่กับการนาไปใช้ ประโยชนใ์ นแต่ละประเภทงาน ซงึ่ ปจั จุบันมีการพฒั นาสมบัตขิ องวสั ดุใหส้ ามารถนาไปใช้งาน ไดอ้ ย่างหลากหลาย เพือ่ อานวยความสะดวกตอ่ การดาเนินชีวิตของมนุษย์มากขน้ึ

4 เรื่องที่ 2 ประเภทของวสั ดุ ในชีวิตประจาวันมีการนาวัสดุมาทาส่ิงของเคร่ืองใช้มากหมาย เช่น ผ้า ทาเป็นเส้ือ กระโปรง ผ้าพนั คอ ต๊กุ ตา หนงั นามาทาเปน็ กระเป๋า โซฟา เหลก็ สามารถทารว้ั สแตนเลส ใช้ทาเป็นหม้อ ช้อมส้อม พลาสติก ใช้ทาดอกไม้ เก้าอ้ี กล่องใส่ของ กล่องดินสอ กล่องสบู่ ส่ิงของเครื่องใช้อยู่ในชีวิตประจาวัน อาจทามาจากวัสดุชนิดเดียว เช่น ยางลบทาจากยาง บางอย่างทามาจากวัสดหุ ลายชนดิ เช่น กระทะทามาจากวัสดุ 2 ชนิด คือ สแตนเลสกับพลาสติก หรือเหล็กกับไม้ เป็นต้น ประเภทของวสั ดุ วสั ดุรอบ ๆ ตัวเราท่ีใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน แบง่ ออกตามลกั ษณะท่มี าของวสั ดุ ดงั นี้ วสั ดธุ รรมชำติ ไดม้ าจากสง่ิ ท่ีมอี ยใู่ นธรรมชาติท้ังจากสิ่งมีชีวิต เช่น ไม้ เปลือกหอย ขนสัตว์ ใยไหม ใยฝ้าย หนังสัตว์ ยางธรรมชาติ และจากสง่ิ ไมม่ ีชีวติ เชน่ ดินเหนยี ว หินปนู ศิลาแลง กรวด ทราย เหลก็ ซึ่งอาจนา มาใช้โดยตรงหรือนา มาแปรรปู เพื่อให้เหมาะกับ การใช้งาน ภาพท่ี 1.2 ตวั อยา่ งวัสดธุ รรมชาติ วัสดุสังเครำะห์ เป็นวัสดุท่ีเกิดจากกระบวนการทางเคมี เช่น พลาสติก เส้นใย สังเคราะห์ ยางสังเคราะห์ โฟม วัสดุท้ังหลายเหล่าน้ีนามาใช้ทดแทนวัสดุธรรมชาติ ซึ่งอาจมี ปรมิ าณไมเ่ พียงพอหรอื คุณภาพไมเ่ หมาะสม ภาพท่ี 1.3 ตวั อย่างวัสดสุ ังเคราะห์ ท่ีมา : http://118.174.133.140

5 เรื่องที่ 3 ประโยชนข์ องวัสดุ ในชีวิตประจาวันมีการนาวัสดุ มาทาเป็นส่ิงของเครื่องใช้ต่าง ๆ มากมาย เพื่อ อานวยความสะดวกในการใชส้ อย ซง่ึ วัสดเุ หล่านนั้ ล้วนมลี กั ษณะที่แตกต่างกันออกไป วัสดุมีทั้ง ทไ่ี ด้จากธรรมชาติ เช่น ไม้ หนิ ดนิ ทราย เหลก็ ขนสตั ว์ และเส้นใยพชื และวัสดุท่ีมนุษย์สร้างข้ึน เรียกว่า วสั ดุสังเคราะห์ ซ่ึงสร้างข้ึนด้วยกระบวนการทางเคมี เพ่ือใช้ทดแทนวัสดุจากธรรมชาติ ที่ขาดแคลน เช่น พลาสติก โฟม เส้นใยสังเคราะห์ ยางสังเคราะห์ เป็นต้น การนาวัสดุต่าง ๆ เหลา่ นัน้ มาใชป้ ระโยชน์จงึ จาเป็นต้องเลือกใชว้ สั ดุท่ีมีสมบัติเหมาะสมกบั การใชส้ อย 3.1 กำรเลือกใชว้ สั ดใุ นชีวติ ประจำวนั การนาวสั ดไุ ปใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ ประจาวันจาเป็นต้องเลอื กใช้วัสดุที่มสี มบตั ิ เหมาะสมกบั การใชง้ าน ดงั นี้ 1. วสั ดุทมี่ คี วำมยืดหยนุ่ เช่น ยาง นิยมใช้ทา ของเลน่ เชน่ ตกุ๊ ตา ลกู บอล นอกจากนย้ี งั ใชท้ าของใช้ เชน่ ยางรถยนต์ สายยาง ยางยืด ยางวง เป็นตน้ 2. วัสดทุ ี่มีควำมแข็ง เชน่ โลหะชนิดต่าง ๆ ใชท้ าโครงสรา้ งอาคาร เคร่ืองบนิ รถยนต์ อาวธุ ต่าง ๆ เคร่อื งมือช่าง เช่น ประแจ ไขควง นอต เป็นตน้ 3. วัสดทุ มี่ ีควำมเหนยี ว เช่น โลหะชนิดต่าง ๆ ใช้ทาโซ่ รอก เส้นลวด ม้งุ ลวด เสน้ เอน็ สายเบด็ ตกปลา เอ็นไมเ้ ทนนิส เอน็ ไม้แบดมินตนั เป็นต้น 4. วสั ดทุ มี่ สี มบตั นิ ำควำมร้อน เชน่ โลหะ ชนิดตา่ ง ๆ ใช้ทาภาชนะหงุ ตม้ สว่ นวสั ดุท่ีเป็นฉนวนความร้อน เชน่ พลาสตกิ ไม้ ใช้ทาส่วนประกอบของภาชนะหงุ ตม้ ในสว่ นท่ีเปน็ ด้ามจับ 5. วสั ดุทม่ี สี มบัตนิ ำไฟฟำ้ ไดแ้ ก่ โลหะตา่ ง ๆ ทองแดง ทองคา อะลมู ิเนียม ใชท้ าสายไฟ ปล๊กั ไฟ ส่วนวสั ดทุ ี่เปน็ ฉนวนไฟฟ้า เชน่ ไม้ ยาง พลาสติก ใช้ทาอุปกรณ์ ป้องกันไฟฟ้ารว่ั หรอื ไฟฟา้ ดูด

6 3.2 วัสดุในชวี ิตประจำวนั ไม้ เปน็ วัสดุทีไ่ ด้จากไมย้ ืนตน้ ซ่งึ เจริญเติบโตสูงกวา่ 6 เมตร อาจไดจ้ าก ลาต้นหรอื กิ่งกา้ นสาขาของลาต้น สามารถแบง่ ไดเ้ ป็น 2 กลุ่ม คือ ไมเ้ น้ือแขง็ และไม้เนอื้ อ่อน 1. ไมเ้ นอ้ื แขง็ คือ ไม้ท่ีมีความแข็งแรงทนทาน ทาการตดั หรือเลื่อยได้ยาก เช่น ไม้สัก ไมม้ ะขาม ไม้ชงิ ชัน ไมม้ ะมว่ ง นยิ มใชท้ าเครอ่ื งเรอื น เคร่อื งมือ และเสาบา้ น 2. ไม้เน้ืออ่อน คือ ไม้ท่ีมีความหนาแน่นต่า น้าหนักเบา รับน้าหนักได้ไม่ค่อยดี ทาการตัด เลอื่ ย ไสกบ หรือแกะสลักตกแตง่ ได้งา่ ย เชน่ ไมฉ้ าฉา ไมก้ ะบาก ไมย้ คู าลปิ ตัส ไมย้ างพารา นิยมใชท้ าเฟอรน์ ิเจอร์ ของเดก็ เล่น ของใช้ในครัวเรอื น กรอบรูป ลังใสผ่ ลไม้ เปน็ ต้น ภาพที่ 1.4 บา้ นเรอื นไทย ที่มา : http://www.bloggang.com

7 กระดำษ เปน็ วสั ดทุ ่ีทาข้ึนจากไมเ้ นื้ออ่อนใชท้ าของใช้ตา่ ง ๆ มากมาย เชน่ สมุด หนงั สือ กระดาษชาระ ถุงใสข่ อง กล่องใส่ของ เป็นต้น ภาพท่ี 1.5 ผลติ ภณั ฑ์ทไี่ ด้จากการแปรรูปไมเ้ ป็นกระดาษ ยำง เป็นวสั ดทุ ม่ี นุษย์ค้นพบประโยชน์จากน้ายางที่ได้จากต้นยางพารา โดยต้นยางพารา จะผลิตนา้ ยางเรยี กว่า “ลาเทกซ์” โดยยางพารา 1 ต้น จะให้น้ายาง นาน 25 – 30 ปี ขนาดของ ตน้ ยางพาราที่พร้อมจะกรีดเอาน้ายางนนั้ ต้องมีความยาวรอบต้นไม่น้อยกว่า 50 เซนติเมตรและ วัดความสูงจากพื้นดิน 150 เซนติเมตร น้ายางที่กรีดได้จะต้องนามาทาเป็นแผ่นโดยผสมกับ กรดนา้ ส้มผสมกับนา้ ให้เจือจาง เทลงในน้ายางตามอตั ราสว่ นทก่ี าหนด เพอื่ ใหน้ า้ ยางแข็งตัว จบั กันเป็นกอ้ น จากนั้นนาไปรดี เป็นแผน่ ผึง่ ให้แห้งแลว้ นาไปรมควันเกบ็ ไว้ ของใช้หลายอยา่ ง ทาขึน้ จากยาง เช่น ยางรัดของ ยางลบ ถงุ มอื ยาง สายยาง พื้นรองเทา้ ภาพท่ี 1.6 แผ่นยางท่ไี ดจ้ ากต้นยางพาราและตัวอยา่ งผลิตภัณฑท์ ่ีทาจากยาง ทม่ี า : http://118.174.133.140/

8 ผ้ำทอหรือส่งิ ทอ เป็นวสั ดทุ ีม่ นษุ ย์ทาขึน้ จากการปน่ั เส้นใยให้เปน็ เสน้ และถักทอเป็นผ้า เพ่ือนาไป ตัดเย็บทาเป็นเสื้อผ้าและของใชต้ ่าง ๆ เชน่ ผ้าห่ม ผ้าคลุมเตียง ผ้าเชด็ หนา้ ผา้ ม่าน ถงุ ใสข่ อง กระเปา๋ หุ้มเบาะรองนั่ง เปน็ ต้น ตัวอยา่ งเส้นใยทไี่ ด้จากพชื เช่น ฝ้าย ลินนิ ปอ ปา่ นนุน่ และเสน้ ใยที่ไดจ้ ากสตั ว์ เชน่ ขนแกะ ใยไหม 1. เสน้ ใยฝ้าย ไดจ้ ากดอกของต้นฝ้าย เมือ่ นามา ถกั ทอเป็นผ้า จะได้ผ้าท่ีมีเนอ้ื นมุ่ ผิวของผ้าจะเรียบเนียน ทนทาน ซบั น้าและเหง่อื ไดด้ ี ภาพที่ 1.7 ดอกของต้นฝา้ ย ท่ีมา : http://puechkaset.com 2. เสน้ ใยลินนิ ไดจ้ ากเปลือกของต้นลินนิ เม่อื นามาถกั ทอทาเป็นผา้ จะได้ผา้ ท่ีมี ความมันเงา มผี ิวเรียบแขง็ ดดู ซับนา้ ได้ดี แตย่ ับงา่ ยและรดี ให้เรยี บยาก 3. เสน้ ใยไหม ไดจ้ ากรังไหมท่ีตัวอ่อนของผีเสอ้ื ไหมสรา้ งขนึ้ เมื่อนามากรอและ ถกั ทอจะได้ผา้ ทีม่ คี วามมนั เงา ออ่ นนุ่ม คงรูปร่างไดด้ ไี มย่ บั ง่าย ดูดความชื้นไดด้ ี 4. เสน้ ใยจากขนสัตว์ ไดจ้ ากสัตว์ เช่น แกะ แพะ กระต่าย แต่ทีผ่ ลติ ไดม้ ากท่สี ุดคอื ขนแกะ ผ้าที่ถกั ทอจากขนสัตว์จะดดู ซับความชืน้ ไดด้ แี ละให้ความอบอุ่น มกั ใช้ตดั เยบ็ ทาเปน็ เสื้อกันหนาว ผ้าพันคอ เสน้ ใยสงั เครำะห์ ผลิตด้วยกระบวนการทางเคมี เช่น โพลเี อสเตอร์ ไนลอน เรยอน มีสมบตั ิคล้ายกัน คอื เนอื้ ผา้ โปรง่ ซักรีดง่าย แหง้ เรว็ ไม่ค่อยยบั ภาพท่ี 1.8 ผลิตภณั ฑ์จากผ้าใยสงั เคราะห์โพลเี อสเตอร์ ท่มี า : http://www.ideasquareshop.com

9 ดนิ เผำ เปน็ วสั ดุที่ทาขนึ้ จากดินเหนยี วเมื่อผสมเข้ากันกับน้าจะทาให้ดินมีความเหนียว และ สามารถปั้นเป็นของใช้ต่าง ๆ เช่น จาน ชาม แจกัน ไห โอ่ง กระถาง เรียกว่า เคร่ืองป้ันดินเผา จากนัน้ นาดนิ ที่ปั้นเสร็จไปตากแดดให้แห้งแล้วนาเข้าเตาเผาจะได้เครื่องปั้นดินเผาที่มีความแข็ง และทนทาน ภาพท่ี 1.9 เคร่อื งปน้ั ดนิ เผา แก้ว เป็นวสั ดทุ ผี่ ลติ ขน้ึ จากกระบวนการอตุ สาหกรรมจากสว่ นผสมของทราย 63% หินปูน 15% และสารโซดาแอช 20% นาเขา้ เตาหลอมท่ีอณุ หภูมิ 1,500 องศาเซลเซียส ส่วนผสมจะหลอมรวมกนั เปน็ แก้วเหลว จากนั้นสง่ ไปยงั เครอ่ื งข้นึ รูปเพื่อทาเปน็ ผลติ ภณั ฑ์ตา่ ง ๆ ตอ่ ไป เชน่ 1. ทาภาชนะตา่ ง ๆ เช่น แก้วน้า ขวดโหล จาน ชาม ถ้วย 2. ทาเปน็ แผน่ กระจกใส กระจกฝา้ หรอื กระจกเงา นาไปติดท่ีบานหนา้ ต่าง ผนงั ก้ันหอ้ ง ใช้เปน็ สว่ นประกอบของ เครื่องเรอื น เช่น โตะ๊ ตู้ ช้นั วางกระจกส่องหนา้ กระจกรถยนต์ 3. ทาเป็นเครอื่ งประดบั ตกแต่ง เชน่ โคมไฟระยา้ พวงกุญแจ ของทรี่ ะลกึ 4. ใชเ้ ปน็ สว่ นประกอบของหลอดไฟ จอโทรทัศน์ จอคอมพวิ เตอร์ แวน่ ตา แวน่ ขยาย เลนสก์ ลอ้ งถ่ายรปู หน้าปัดนาฬิกา

10 โลหะ เปน็ วสั ดุท่ีเป็นชน้ิ สว่ นประกอบอยใู่ นหินและแร่ โลหะมหี ลายชนดิ เช่น เหล็ก ทองแดง ทองคา เงิน เป็นต้น ตัวอยา่ งการใช้ประโยชนจ์ ากโลหะ 1. เหลก็ อะลมู ิเนยี ม ใช้ทาภาชนะหุงต้ม เช่น หม้อ กระทะ มีด 2. เหล็กเมอื่ นาไปผสมกับคารบ์ อนจะได้เหลก็ กล้าที่มีความแขง็ แรงมากกว่าเหล็ก บริสทุ ธ์ิใช้ทาวสั ดุกอ่ สร้าง ใบเล่ือย ตะไบเหลก็ ดอกสว่าน 3. ทองแดง ใช้ทาสายไฟ และส่วนประกอบของอุปกรณ์ไฟฟา้ เช่น สายไฟ เน่ืองจากนาไฟฟ้าไดด้ ี 4. เงนิ ทองคา ทองคาขาว ใชท้ าเคร่ืองประดับ เชน่ แหวน กาไล ตา่ งหู สร้อยคอ ภาพที่ 1.10 การใช้ประโยชน์จากโลหะ ทมี่ า : http://118.174.133.140/

11 พลำสติก เปน็ วัสดุที่สังเคราะหข์ นึ้ จากน้ามนั ดิบและแก๊สธรรมชาติ เม่อื พลาสติกได้รบั ความร้อนจะออ่ นตัว และเม่ือเย็นจะแข็งตัวและคงรูปรา่ งได้ ทาให้สามารถหล่อพลาสตกิ ให้เปน็ รูปรา่ งต่าง ๆ ได้ และถูกใช้ทาสิง่ ของต่าง ๆ มากมาย เช่น ขวดนา้ ถังนา้ ขันนา้ กลอ่ งใส่ของ ถุงใสอ่ าหาร เส้ือกันฝน ของเล่น ปากกา ไม้บรรทดั ฯลฯ ภาพท่ี 1.11 ผลติ ภัณฑ์จากพลาสตกิ กล่าวโดยสรปุ วัสดุ คือ สง่ิ ทอี่ ยรู่ อบ ๆ ตัวเรา เกดิ ขน้ึ ได้เองตามธรรมชาติและ มนษุ ย์สงั เคราะห์ขน้ึ วัสดุแต่ละชนิดมีลกั ษณะและสมบัตทิ ี่แตกตา่ งกัน การศึกษาท่เี กี่ยวข้องกับ สมบตั ขิ องวัสดแุ ต่ละชนดิ ทาใหส้ ามารถเลอื กวสั ดแุ ละนาวัสดุเหล่านั้นมาพัฒนาเป็นเครอื่ งใช้ต่างๆ ทีเ่ หมาะสมกบั การใชง้ านได้อยา่ งหลากหลาย กจิ กรรมทำ้ ยหน่วยท่ี 1 หลังจากท่ีผู้เรยี นศกึ ษาเอกสารชดุ การเรียนหนว่ ยท่ี 1 จบแลว้ ใหศ้ ึกษาค้นควา้ เพิ่มเตมิ จากแหล่งเรยี นรตู้ ่าง ๆ แล้วทากจิ กรรมการเรยี นหน่วยที่ 1 ในสมุดบันทกึ กิจกรรม การเรียนรู้ แล้วจดั สง่ ตามท่ีครผู สู้ อนกาหนด

12 หนว่ ยที่ 2 สมบตั ิของวสั ดุ สาระสาคัญ วัสดุแต่ละชนิดท่ีนำมำทำเป็นสิ่งของเครื่องใช้ต่ำง ๆ บำงอย่ำงทำจำกวัสดุชนิด เดยี วกนั บำงอย่ำงทำจำกวัสดุต่ำงชนิดกัน ซ่ึงวัสดุแต่ละชนิดจะมีสมบัติบำงอย่ำงคล้ำยคลึงกัน และมีสมบตั บิ ำงอยำ่ งท่ีแตกตำ่ งกัน กำรศกึ ษำสมบัติของวัสดุแต่ละชนิดประกอบด้วย ควำมแข็ง ควำมเหนียว ควำมยืดหยุ่น กำรนำควำมร้อน กำรนำไฟฟ้ำและควำมหนำแน่นของวัสดุ กำรศึกษำสมบัติของวัสดุ ดังกล่ำวทำให้สำมำรถนำวัสดุไปใช้ประโยชน์ได้ตำมควำมเหมำะสม กับกำรใชง้ ำน ตัวช้วี ัด 1. นำควำมรู้เรื่องควำมแขง็ ของวสั ดไุ ปใช้ในชีวิตประจำวนั ได้ 2. อธิบำยสมบัตคิ วำมเหนยี วของวสั ดุได้ 3. ทดลองสมบัตคิ วำมยืดหยนุ่ ของวัสดไุ ด้ 4. นำควำมรูเ้ ร่ืองสมบัตขิ องวสั ดดุ ำ้ นควำมยดื หยุน่ ไปใชป้ ระโยชน์ได้ 5. จำแนกสมบัติกำรนำควำมรอ้ นของวัสดุได้ 6. นำควำมรเู้ ร่ืองกำรนำควำมรอ้ นของวัสดไุ ปใชใ้ นชีวิตประจำวันได้ 7. อธิบำยสมบตั กิ ำรนำไฟฟำ้ ของวสั ดไุ ด้ 8. นำควำมรู้เร่ืองกำรนำไฟฟำ้ ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 9. คำนวณหำค่ำควำมหนำแนน่ ของวสั ดไุ ด้ ขอบข่ายเนื้อหา 1. ควำมแขง็ 2. ควำมเหนียว 3. ควำมยืดหย่นุ 4. กำรนำควำมรอ้ น 5. กำรนำไฟฟ้ำ 6. ควำมหนำแนน่

13 เวลาทใี่ ช้ในการศึกษา ใชเ้ วลำเรียน โดยศึกษำจำกเอกสำรและสอื่ ตำ่ ง ๆ ฝึกปฏบิ ตั ิกจิ กรรม และรวมกล่มุ เพอ่ื แลกเปล่ียนเรยี นรู้ จำนวน 30 ชั่วโมง ส่ือการเรยี นรู้ 1. ชุดวชิ ำวสั ดศุ ำสตร์ ระดบั ประถมศึกษำ 2. วีดที ศั นท์ ่ีเกยี่ วขอ้ ง 3. ศึกษำค้นควำ้ จำกอนิ เตอร์เน็ต 4. ศกึ ษำค้นควำ้ จำกหนังสอื ในห้องสมุดประชำชน 5. ชุดวสั ดุ อุปกรณก์ ำรทดลองวทิ ยำศำสตร์

14 หน่วยท่ี 2 สมบัตขิ องวสั ดุ เรือ่ งที่ 1 ความแขง็ ควำมแข็ง หมำยถึง ควำมทนทำนตอ่ กำรตดั และกำรขูดขดี ของวสั ดุ ควำมแขง็ เป็นสมบัติทีแ่ สดงถึงควำมทนทำนของวสั ดตุ ่อกำรถูกกระทำหรือถูกขูดขีด เมือ่ นำวัสดชุ นดิ หนึ่งขูดบนวัสดุอีกชนิดหนึ่ง ถ้ำวัสดุมีควำมแข็งต่ำงกันจะทำให้เกิดรอย วัสดุที่มี ควำมแข็งมำก จะสำมำรถทนทำนต่อกำรขดี ขว่ นไดม้ ำก และเม่อื ถกู ขีดข่วนจะไม่เกดิ รอย บนวัสดุชนิดน้ัน เช่น ตะปูกับไม้ เมื่อเรำเอำตะปูไปขูดกับไม้ จะพบว่ำ ไม้เกิดรอย นั้นแสดงว่ำ วสั ดใุ ดที่เกิดรอยจะมคี วำมแข็งนอ้ ยกว่ำวัสดทุ ไี่ มเ่ กดิ รอย แสดงวำ่ ตะปมู ีควำมแขง็ มำกกวำ่ ไม้ กลำ่ วโดยสรปุ เมอื่ นำวัสดุชนิดหนึ่งขีดบนวสั ดุอกี ชนดิ หน่งึ ถำ้ 1. วัสดุทีถ่ กู ขดู เกดิ รอย แสดงวำ่ ควำมแข็งนอ้ ยกว่ำวัสดุท่ีใช้ขูด 2. วัสดุทถ่ี ูกขดู ไม่เกดิ รอย แสดงว่ำ ควำมแขง็ มำกกวำ่ วสั ดทุ ีใ่ ชข้ ูด ภำพท่ี 2.1 ไม้มคี วำมแขง็ นอ้ ยกวำ่ เหรยี ญ เมื่อถกู ขดู จงึ เกิดรอย

15 เร่ืองท่ี 2 ความเหนยี ว ควำมเหนียว หมำยถงึ ควำมสำมำรถในกำรรบั น้ำหนกั มำกระทำต่อ 1 หนว่ ย พ้ืนที่หนำ้ ตัดของวัสดทุ ท่ี ำให้วัสดขุ ำดได้พอดี วัสดุเส้นใหญ่มีพื้นท่ีหน้ำตัดมำก จะทนต่อแรงดึงสูงสุดได้มำกกว่ำ วัสดุเส้นเล็กท่ีมี พ้ืนที่หน้ำตัดน้อย วัสดุเส้นใหญ่จะมีควำมเหนียวมำกกว่ำเส้นเล็ก วัสดุที่รับน้ำหนักได้มำกจะมี ควำมเหนียวมำกกว่ำวสั ดุทีร่ ับน้ำหนกั ได้นอ้ ย หรือกล่ำวได้ว่ำ ควำมเหนียวเป็นลักษณะของวัสดุ ท่ีดึงขำดยำก ไม่ขำดง่ำยเมื่อต้องรับแรง หรือน้ำหนักมำก ๆ หรือไม่ขำดเม่ือถูก ดึง ยืด ทุบ ตี เพื่อให้เปล่ยี นรูปร่ำงไปจำกเดมิ ควำมเหนียว จึงเป็นสมบัติประกำรหนึ่งของวัสดุท่ีสำมำรถรับแรงหรือน้ำหนักท่ีมำ กระทำได้มำกและสำมำรถนำมำเปลี่ยนรูปร่ำงต่ำง ๆ ได้ตำมควำมต้องกำรของกำรนำมำใช้ ประโยชน์ เช่น กำรใช้เส้นเอ็นทำสำยเบ็ดตกปลำ เพรำะมีควำมเหนียวมำกสำมำรถทนแรงดึง หรอื รับน้ำหนักของปลำได้ ดินนำ้ มันและดินเหนยี ว สำมำรถนำมำเปล่ียนรูปร่ำงโดยกำรนำมำป้ันเป็นก้อนกลม ทุบให้เป็นแผ่นแบน ๆ และดึงยืดให้เป็นเส้นยำว ๆ ได้ แต่ดินทรำยไม่สำมำรถนำมำป้ัน เป็นรปู รำ่ งตำ่ ง ๆ ได้ แสดงวำ่ ดินนำ้ มันและดนิ เหนยี วมสี มบัติดำ้ นควำมเหนียว แตด่ นิ ทรำยไม่มี สมบัติควำมเหนียว และเนื่องจำกดินเหนียวเป็นวัสดุท่ีหำได้ง่ำยในบำงท้องถิ่น จึงนิยมนำมำป้ัน เปน็ ผลติ ภัณฑ์ตำ่ ง ๆ เช่น โอ่ง กระถำง กอ้ นอิฐ ภำพท่ี 2.2 ผลติ ภณั ฑจ์ ำกดนิ เหนียว กำรนำดินเหนียวมำปน้ั เป็นผลิตภณั ฑ์ต่ำง ๆ เมือ่ ขน้ึ รปู ดนิ เหนยี วเป็นผลติ ภัณฑ์ ตำมตอ้ งกำรแล้ว จึงนำมำตกแตง่ รำยละเอยี ดอกี คร้ังหนึ่ง จำกนน้ั นำเขำ้ เตำเผำเพ่ือให้ผลิตภัณฑ์ คงรูป

16 นอกจำกดินเหนยี วแล้ว วสั ดุอกี ชนิดหน่งึ ที่มีสมบตั ิควำมเหนยี ว กค็ อื โลหะตำ่ ง ๆ เช่น ทองคำ เงิน เหล็ก ดีบุก กำรเปลี่ยนรูปโลหะต้องใช้ควำมร้อน เมื่อโลหะร้อน จึงสำมำรถ นำมำตีแผ่ให้เปน็ แผน่ หรือรีดให้เปน็ เสน้ ได้ โดยไมแ่ ตกเป็นผงหรอื หัก ทองคำและเงิน เป็นโลหะ ที่นิยมนำมำทำเป็นเคร่ืองประดับชนิดต่ำง ๆ เชน่ สรอ้ ย แหวน กำไล ต่ำงหู ภำพท่ี 2.3 ส่งิ ของเคร่อื งใช้และเครื่องประดบั ทที่ ำมำจำกเงิน และทองคำ ท่ีมำ : http://raanmon.com ส่วนอลูมิเนียม และสแตนเลส เป็นโลหะที่นิยมนำมำผลิตเป็นอุปกรณ์ในครัวเรือน เช่น กระทะ หม้อ กะละมัง มีด ช้อน ส้อม เครื่องครัวท่ีทำจำกอลูมิเนียมและสแตนเลสจะมี ควำมทนทำน และไม่เปน็ สนมิ ภำพที่ 2.4 เครอ่ื งครวั ทที่ ำจำกอลมู ิเนียมและสแตนเลส ทม่ี ำ : http://118.174.133.140/

17 นอกจำกนี้ ยังใชเ้ ชือกลำกสงิ่ ของ แตใ่ นกำรยกสิง่ ของทีม่ มี วลมำก ๆ นิยมใชโ้ ซ่ ดงึ ยกสิง่ ของ เนอ่ื งจำกโซ่มีควำมเหนียวมำกกว่ำเชือกจึงใชย้ กส่ิงของท่ีมมี วลมำกไดด้ ีกว่ำเชือก ภำพท่ี 2.5 วสั ดทุ ่ีใช้ประโยชน์จำกสมบตั ิควำมเหนียว ท่ีมำ : http://118.174.133.140/ กล่ำวโดยสรุป วัสดุแต่ละชนิดมีควำมเหนียวไม่เท่ำกัน วัสดุท่ีรับน้ำหนักได้มำกแล้ว จึงขำด จะมีควำมเหนยี วมำกกวำ่ วัสดุทรี่ บั น้ำหนกั ได้นอ้ ยแลว้ ขำด

18 เร่ืองท่ี 3 ความยืดหยนุ่ ควำมยืดหยุ่น หมำยถึง ลักษณะท่ีวัตถุนั้นสำมำรถกลับคืนรูปร่ำงทรงเดิมได้ หลังจำกแรงท่มี ำกระทำตอ่ วตั ถหุ ยดุ กระทำต่อวตั ถนุ นั้ ควำมยดื หยุ่นเป็นสมบัติของวัสดุท่ีสำมำรถกลับคืนสู่สภำพเดิมได้ หลังจำกหยุดแรง กระทำที่ทำให้เปลี่ยนรูปร่ำงไป เช่น กำรดึง บีบหรือกระแทก วัสดุแต่ละชนิดมีควำมยืดหยุ่น ไม่เท่ำกัน บำงชนิดออกแรงมำก ๆ แต่สภำพยืดหยุ่นยังคงอยู่ แต่บำงชนิดเมื่อออกแรงมำก เกนิ ไปกห็ มดสภำพยืดหยุน่ ได้ วสั ดทุ ่ีถูกแรงกระทำแลว้ สำมำรถเปล่ยี นรูปร่ำงหรอื ขนำดของวสั ดุ และเมื่อหยดุ ออกแรง วัสดุน้ันจะกลับคืนสู่สภำพเดิม เรียกว่ำ วัสดุน้ันมีสภาพความยืดหยุ่น เช่น ถุงมือยำง ยำงยดื ฟองนำ้ และวสั ดุทอ่ี อกแรงกระทำแล้ว วัสดุเกดิ กำรเปลี่ยนรปู ร่ำงหรือขนำด แต่เมื่อหยุด ออกแรง วัสดุไม่คืนสภำพเดิม เรียกวัสดุน้ันว่ำ วัสดุไม่มีความยืดหยุ่น เช่น ดินน้ำมัน ไม้ แผ่น พลำสติก กระดำษ (ก) (ค) (ข) (ง) ภำพท่ี 2.6 แสดงกำรเปรียบเทยี บกำรออกแรงกระทำต่อวัสดุ จำกภำพ 2.6 ขณะออกแรงกระทำต่อฟองน้ำ และดินน้ำมัน จะพบว่ำ วัสดุท้ังสอง เกิดกำรยุบตัว แตเ่ ม่ือหยดุ ออกแรงกระทำ ฟองนำ้ จะเปล่ียนรูปร่ำงและเม่ือหยุดออกแรงกระทำ วัสดุกลับสู่สภำพเดิม แสดงว่ำ วัสดุนั้นมีสภำพยืดหยุ่น ดินน้ำมันเมื่อหยุดออกแรงกระทำจะไม่ กลับสสู่ ภำพเดมิ แสดงวำ่ วัสดุนนั้ ไมม่ ีสภำพยดื หยุ่น

19 กำรนำควำมรู้เกี่ยวกับสมบัติของวัสดุ ด้ำนควำมยืดหยุ่น มำใช้ในชีวิตประจำวัน ไดแ้ ก่ ยำง นำมำทำยำงรถยนต์ ชว่ ยลดแรงส่ันสะเทือนขณะรถยนตถ์ ูกขบั เคลอ่ื นไป ฟองนำ้ นำมำทำเบำะเก้ำอี้ ชดุ รบั แขก หรอื ท่ีนอน ทำให้นงั่ นอน รสู้ กึ น่มุ สบำย ลวดสปริง ถูกประดิษฐใ์ ห้ยดื หยนุ่ ใชป้ ระกอบของใชไ้ ดห้ ลำยอยำ่ ง เช่น ที่นอนสปริง เก้ำอ้เี บำะสปรงิ ปำกกำลูกล่ืน ทีเ่ ย็บกระดำษ ไฟฉำย เป็นตน้ ภำพท่ี 2.7 ตัวอยำ่ งวสั ดทุ ่ีมสี มบตั ิด้ำนควำมยืดหยุ่นในชีวติ ประจำวนั

20 เรือ่ งที่ 4 การนาความรอ้ น กำรนำควำมร้อน หมำยถึง กำรถ่ำยเทพลังงำนควำมร้อนจำกอนุภำคหน่ึงสู่อนุภำค หนึง่ และถ่ำยทอดกันไปเร่ือย ๆ ภำยในเนื้อของวัตถุ กำรนำควำมรอ้ น เปน็ สมบัติของวัสดุทพี่ ลงั งำนควำมร้อนสำมำรถ ถ่ำยโอนผ่ำนวัสดุ น้ันได้ ซง่ึ วสั ดุแต่ละชนิดสำมำรถนำควำมร้อนได้แตกต่ำงกันและบำงชนิดไม่นำควำมร้อน วัสดุ ทนี่ ำควำมร้อนได้ดีจะถ่ำยเทพลงั งำนควำมร้อนได้เร็ว และมำก เม่ือวัสดุชนิดน้ันได้รับควำมร้อน ที่บรเิ วณใดบริเวณหนงึ่ จะถ่ำยโอนควำมร้อนไปสูบ่ ริเวณอ่นื ด้วย กำรจำแนกสมบัติกำรนำควำมร้อนของวัสดุ แบ่งเปน็ 2 ประเภท คือ ตวั นำควำมร้อน และฉนวนควำมรอ้ น 1. ตัวนำควำมร้อน หมำยถึง วัสดุท่ีควำมร้อนผ่ำนได้ดี ส่วนใหญ่เป็นโลหะ เช่น เหลก็ อะลมู เิ นียม เงิน ทอง ทองแดง นิยมใชท้ ำภำชนะหงุ ข้ำว เชน่ หมอ้ กำตม้ น้ำ กระทะ 2. ฉนวนควำมรอ้ น หมำยถงึ วสั ดทุ ่ีไม่นำควำมร้อนหรือนำควำมร้อนนอ้ ย ส่วนใหญ่ เป็นอโลหะ เช่น ผ้ำ ไม้ ยำง พลำสตกิ กระเบือ้ ง นิยมใชท้ ำ ด้ำมตะหลิว ดำ้ มหม้อ หูหม้อ ที่จบั หมอ้ เพ่อื ป้องกันควำมร้อน การพาความร้อน ฉนวนความรอ้ น การนาความรอ้ น การแผร่ งั สี ตวั นาความรอ้ น ภำพที่ 2.8 กลไกกำรถ่ำยเทควำมรอ้ น ภำพท่ี 2.9 กำรใชป้ ระโยชนจ์ ำกสมบัติ กำรนำควำมรอ้ นของวัสดุ ทม่ี ำ : http://www.lesa.biz/

21 เรอ่ื งที่ 5 การนาไฟฟา้ กำรนำไฟฟ้ำ หมำยถงึ สมบัตใิ นกำรยอมให้ประจไุ ฟฟ้ำหรอื กระแสไฟฟำ้ ไหลผ่ำนได้ วัสดุบำงชนิดมีสมบัติในกำรนำไฟฟ้ำ คือ ยอมให้กระแสไฟฟ้ำไหลผ่ำนได้ดี แต่วัสดุ บำงชนิดไม่ยอมให้กระแสไฟฟ้ำไหลผ่ำนได้ เรำจึงสำมำรถนำสมบัติกำรนำไฟฟ้ำของวัสดุมำใช้ ในกำรผลติ อุปกรณ์ตำ่ ง ๆ ได้ สมบตั กิ ำรนำไฟฟำ้ ของวสั ดุ แบ่งออกเปน็ 1. วัสดุที่นำไฟฟ้ำ คือ วัสดุท่ียอมให้กระแสไฟฟ้ำไหลผ่ำนได้ เรียกว่ำ ตัวนาไฟฟ้า ได้แก่ วัสดุประเภทโลหะ เช่น ทองแดง เงิน เหล็ก อะลูมิเนียม จึงมีกำรนำโลหะมำทำอุปกรณ์ เครื่องใชไ้ ฟฟำ้ เช่น ทองแดงนำไฟฟ้ำได้ดี จงึ ใช้ทำสำยไฟฟำ้ ไสห้ ลอดไฟ เป็นตน้ ทม่ี ำ : http://www.atom.rmutphysics.com ที่มา : http://www.sci-mfgr.com ภำพที่ 2.10 กำรนำควำมรเู้ รอ่ื งสมบัตกิ ำรนำไฟฟ้ำของวัสดุมำใช้ทำสำยไฟฟำ้ เพื่อใช้ในชีวิตประจำวนั 2. วัสดุท่ีไม่นำไฟฟ้ำ คือ วัสดุท่ีไม่ยอมให้กระแสไฟฟ้ำไหลผ่ำนได้ เรียกว่ำ ฉนวนไฟฟา้ ได้แก่ วัสดุทีไ่ มใ่ ชโ่ ลหะ เชน่ พลำสติก ไม้ แกว้ จงึ มกี ำรนำวสั ดุเหล่ำนี้มำทำอุปกรณ์ ป้องกันไฟฟ้ำดูด หรือไฟฟ้ำร่ัว เช่น พลำสติก ใช้ทำที่หุ้มปล๊ักไฟฟ้ำ สวิตซ์ไฟฟ้ำ เป็นต้น เนือ่ งจำกไมน่ ำไฟฟ้ำจงึ ปลอดภัยในกำรใช้งำน กล่ำวโดยสรุป กำรเลือกวัสดุท่ีใช้ในกำรผลิตอุปกรณ์ต่ำง ๆ หรือทำอุปกรณ์ไฟฟ้ำ ต้องอำศัยควำมรู้ด้ำนสมบัติกำรนำไฟฟ้ำของวัสดุมำใช้ เนื่องจำกวัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติกำรนำ ไฟฟ้ำทแ่ี ตกต่ำงกัน เพือ่ ควำมสะดวกและควำมปลอดภัยในกำรใช้งำน

22 เรือ่ งท่ี 6 ความหนาแนน่ ควำมหนำแนน่ ของวัสดุ คือ คำ่ ทีบ่ อกมวลของวตั ถุ 1 หน่วยปริมำตร หรืออำจกล่ำว ได้ว่ำ ถ้ำวัสดุมีปริมำตรเท่ำกัน วัสดุที่มีมวลมำกจะมีควำมหนำแน่นมำกกว่ำวัสดุท่ีมีมวลน้อย ควำมหนำแน่น เป็นสมบัติเฉพำะของสำรหรือวัสดุแต่ละชนิด แม้วัสดุนั้นจะมีขนำดเท่ำกัน แต่ ทำจำกวสั ดุแตกตำ่ งกนั กจ็ ะมีควำมหนำแน่นแตกตำ่ งกัน สามารถเขียนความสมั พนั ธท์ างคณิตศาสตร์ ได้ดงั นี้ ควำมหนำแน่น = มวล ค่ำมวลมีหน่วย เชน่ กรมั ปรมิ ำตร ปรมิ ำตรมหี น่วย เชน่ ลูกบาศก์ เซนติเมตร (ควำมหนำแน่นมหี น่วยทีอ่ ยู่ในรูปของมวลต่อปริมำตร เช่น กรมั ต่อลูกบำศกเ์ ซนตเิ มตร กโิ ลกรัมตอ่ ลูกบำศก์เมตร ) การหาปรมิ าตรของวัตถุทม่ี ีทรงส่ีเหล่ยี มมมุ ฉากสามารถใชส้ ูตรการคานวณ ดังน้ี ปรมิ ำตรทรงส่เี หลยี่ ม = กวำ้ ง x ยำว x สงู กวา้ ง สูง กวำ้ ง x ยำว x สูง = ปริมาตรของวัตถุ ยำว ภำพที่ 2.11 แสดงกำรหำปรมิ ำตรทรงส่ีเหลี่ยม

23 การหาความหนาแน่นของวัตถุทไ่ี ม่เปน็ ทรงเรขาคณิต สำมำรถหำคำ่ ควำมหนำแนน่ โดยใช้วธิ ีกำรแทนท่ีน้ำในถ้วยยูรีกำ แล้ววัดปริมำตร ของน้ำที่ล้นออกมำ โดยปริมำตรของน้ำที่ล้นออกมำจะเท่ำกับปริมำตรของวัตถุนั้น แล้วนำ ปริมำตรทีห่ ำได้น้ไี ปหำมวลของวตั ถุ ภำพท่ี 2.12 วธิ ีกำรหำปริมำตรของวตั ถทุ ีไ่ ม่เปน็ ทรงเรขำคณติ ทีม่ ำ : หนังสอื เรียนวทิ ยำศำสตร์ หน่วยกำรเรียนร้ทู ่ี 2 เรอื่ งสมบตั ขิ องวัสดุ หนำ้ ท่ี 61 สรปุ การหาความหนาแน่นของวสั ดุทแี่ นน่ อน จากความสมั พนั ธ์ ดังน้ี ควำมหนำแน่น = มวล ปรมิ ำตร จากสมการความสัมพันธ์ มวล คือ ปริมำณเน้อื ของวัตถุ มีหนว่ ยเปน็ กโิ ลกรมั มวลจะมคี ่ำคงทเี่ สมอ นำ้ หนัก คือ แรงดงึ ดูดของโลกท่กี ระทำตอ่ มวลของวตั ถุ มหี น่วยเปน็ นวิ ตนั **นำ้ หนัก (นิวตัน) = มวล (กิโลกรมั ) x แรงโนม้ ถว่ งโลก (นวิ ตัน/กิโลกรมั ) ปรมิ ำตร หำได้ดังน้ี - ถ้ำหำปรมิ ำตรของแขง็ จะหำโดยกำรแทนที่นำ้ หรือ ถ้ำเป็นรูปทรงสเ่ี หลี่ยม มุมฉำก ใชส้ ูตรน้ี ปรมิ ำตร = กว้ำง X ยำว X สงู - ถ้ำเปน็ ของเหลว โดยใชก้ ระบอกตวงวดั ปริมำตรแล้วอ่ำนคำ่ ทไี่ ด้

24 ตวั อย่างการหาความหนาแน่น โจทย์ แทง่ ไม้ มีมวล 30 กรมั และมปี ริมำตร 15 ลูกบำศกเ์ ซนตเิ มตร วธิ คี ิด ควำมหนำแนน่ ของแทง่ ไม้ = มวลของแทง่ ไม้ (กรัม) ปริมำตรของแทง่ ไม้ (ลูกบำศก์เซนติเมตร) = 30 กรมั 15 ลกู บำศกเ์ ซนติเมตร = 2 กรัม / ลูกบำศก์เซนตเิ มตร ดงั นน้ั ควำมหนำแนน่ ของแทง่ ไม้ = 2 กรมั / ลกู บำศกเ์ ซนตเิ มตร หมำยควำมวำ่ แทง่ ไม้ทม่ี ปี รมิ ำตร 1 ลกู บำศก์เซนตเิ มตร มีมวล เท่ำกบั 2 กรมั กจิ กรรมท้ายหนว่ ยท่ี 2 หลงั จำกทีผ่ ู้เรียนศกึ ษำเอกสำรชุดกำรเรยี นหน่วยท่ี 2 จบแลว้ ขอให้ศึกษำคน้ ควำ้ เพิ่มเตมิ จำกแหล่งเรยี นรตู้ ่ำง ๆ แล้วทำกจิ กรรมกำรเรียนหนว่ ยท่ี 2 ในสมดุ บนั ทกึ กิจกรรม กำรเรียนรู้ แล้วจดั ส่งตำมทผี่ สู้ อนกำหนด แนะนาแหล่งเรยี นร้บู นอินเตอร์เน็ต วสั ดแุ ละสมบตั วิ ัสดุ http://krootonwich.com/data-3801.html นำไฟฟ้ำของวัสดุ วิทยำศำสตร์ ป. 5 https://www.youtube.com/watch?v=xUI5Dxwk1xM

25 หน่วยท่ี 3 การเลือกใชแ้ ละผลกระทบจากการใชว้ สั ดุ สาระสาคัญ ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หมายถึง ผลิตภัณฑ์ท่ีส่งผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมน้อยกว่าเม่ือเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์อ่ืน ๆ โดยมีฉลากสิ่งแวดล้อมเป็นเคร่ืองมือ แยกผลิตภัณฑ์ท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมออกจากผลิตภัณฑ์ทั่วไปในท้องตลาด ปัจจุบัน เทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทและความจาเป็นต่อการดารงชีวิตของมนุษย์เป็นอย่างมาก ท้ัง ภายในบ้านและภายนอกบ้าน เพ่ืออานวยความสะดวกสบายในชีวิตประจาวัน แต่เทคโนโลยี เหล่านั้นก็ส่งผลกระทบต่อชีวิตและส่ิงแวดล้อมในด้านต่าง ๆ หากละเลยและไม่คานึงถึงการใช้ วัสดหุ รือผลิตภัณฑ์อยา่ งรู้คุณคา่ ตวั ชว้ี ดั 1. อธิบายความหมายผลติ ภัณฑท์ ี่เป็นมติ รตอ่ สง่ิ แวดล้อมได้ 2. อธิบายวิธกี ารเลอื กใช้วัสดุในชีวติ ประจาวนั ได้ 3. อธบิ ายความหมายสัญลกั ษณ์ผลติ ภณั ฑท์ ี่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมได้ 4. อธิบายผลกระทบที่เกดิ จากการใช้วัสดุในชีวติ ประจาวันได้ 5. ระบุวัสดอุ ันตรายในชวี ิตประจาวันได้ 6. แก้ปัญหาท่ีกอ่ ให้เกิดผลกระทบจากการใช้วัสดุในชีวติ ประจาวนั ได้ 7. วิเคราะห์ผลกระทบที่เกดิ จากการใชว้ ัสดุในชีวิตประจาวนั ได้ ขอบขา่ ยเนือ้ หา 1. การเลือกใช้วัสดุที่เป็นมิตรตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม 2. ผลกระทบจากการใชว้ สั ดุในชีวิตประจาวัน

26 เวลาที่ใชใ้ นการศึกษา ใชเ้ วลาเรียน โดยศึกษาจากเอกสารและสอ่ื ต่าง ๆ ฝึกปฏิบตั กิ ิจกรรม และรวมกล่มุ เพ่อื แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ จานวน 20 ชั่วโมง สอื่ การเรยี นรู้ 1. ชุดวิชาวัสดุศาสตร์ระดบั ประถมศกึ ษา 2. ศกึ ษาคน้ ควา้ จากอนิ เตอรเ์ น็ต 3. ศึกษาคน้ ควา้ จากหนงั สอื ในหอ้ งสมุดประชาชน

27 หนว่ ยที่ 3 การเลอื กใช้และผลกระทบจาการใช้ วัสดุ เร่อื งที่ 1 การเลือกใชว้ สั ดุท่ีเปน็ มติ รตอ่ สิ่งแวดล้อม ปัจจุบันเทคโนโลยีมีผลตอ่ การพัฒนาผลติ ภัณฑห์ รอื สิง่ ของเครื่องใช้มากมาย หลายชนิด ทาให้มนุษย์มีชีวิตท่ีสะดวกสบายมากข้ึน แต่อย่างไรก็ตามเทคโนโลยีก็มีผลกระทบ ต่อมนุษย์หลายด้าน เช่น ทาให้เกิดมลภาวะ ทาลายสภาพแวดล้อม ปัญหาทางสังคมและ เศรษฐกิจ การใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้เกิดโทษมากกว่าประโยชน์ ซึ่งการแกป้ ญั หานอกจากจะใช้กระบวนการเทคโนโลยี โดยการหาวิธใี หม่ ๆ แลว้ ทุกคนควร มีจิตสานึกในการอนุรักษ์พลังงาน รวมทั้งคานึงถึงประโยชน์ของส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ สว่ นตวั เลอื กใชผ้ ลิตภณั ฑอ์ ย่างรู้คณุ คา่ ก่อใหเ้ กดิ ผลกระทบต่อส่งิ แวดลอ้ มนอ้ ยที่สุด เปน็ ต้น สิ่งของเครื่องใช้ท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม หมายถึง ส่ิงของเครื่องใช้ท่ีผลิตจาก กระบวนการทางเทคโนโลยีที่ใส่ใจกับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อม โดยเร่ิมต้ังแต่ กระบวนการออกแบบจนกระทัง่ กระบวนการผลิต ไดแ้ ก่ 1) วธิ ีการผลติ โดยการใชว้ ัสดทุ ่สี ้นิ เปลืองใหน้ ้อยท่สี ุด 2) วิธีการผลิต โดยใช้วัสดุต่าง ๆ ท่ีไม่เป็นอันตรายต่อผู้อ่ืน เช่น ลดการใช้ ถุงพลาสติก โฟม เปน็ ต้น หรอื หลกี เลยี่ งวัสดุทีก่ ่อให้เกดิ มลพษิ ตอ่ ส่งิ แวดล้อม 3) ก่อนการผลิตจะต้องศึกษาว่าผู้ใช้งานหรือผู้บริโภคจะนาไปใช้ในสถานการณ์ใด หรือภาวะการณใ์ ด เพอ่ื จะนาไปเปน็ ขอ้ มูลในการผลติ 4) การออกแบบการผลิตจะต้องคานึงถึงความปลอดภัย และคานึงถึงผลเสียที่จะ กระทบตอ่ สิง่ แวดลอ้ มมากท่สี ุด 1.1 ความหมายของผลติ ภณั ฑท์ ี่เป็นมิตรต่อส่งิ แวดล้อม ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หมายถึง ผลิตภัณฑ์ท่ีส่งผลกระทบต่อ ส่ิงแวดล้อมน้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์อื่น ๆ โดยมีฉลากสิ่งแวดล้อมเป็นเครื่องมือ แยกผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมออกจากผลิตภัณฑ์ทั่วไปในท้องตลาด และให้ข้อมูล ผลิตภัณฑ์ด้านสิ่งแวดล้อมที่ถูกต้องแก่ผู้บริโภค สาหรับประเทศไทยได้ใช้คาว่า “ฉลากสีเขียว” แทน “ฉลากสิ่งแวดล้อม” Green label หรือ Eco-label เป็นฉลากท่ีให้กับผลิตภัณฑ์ที่มี คุณภาพและมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่าเมื่อนามาเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์ท่ีทาหน้าที่ อย่างเดียวกัน

28 1.2 สญั ลกั ษณ์ผลิตภัณฑท์ ีเ่ ป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในปัจจุบัน ประเทศไทยได้มีฉลากทางด้านสิ่งแวดล้อมที่ริเร่ิมโดยหน่วยงาน ต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง ได้แก่ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) และกรมพัฒนาพลงั งานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) สานักงานพิทักษ์ส่ิงแวดล้อม (EPA) เป็นตน้ ดังนี้ 1. ฉลากสเี ขียว (Green Label) “ฉลากเขยี ว” คือ ฉลากทใ่ี หก้ บั ผลิตภณั ฑ์ ท่ีมีคุณภาพและมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่า เมื่อนามา เปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์ท่ีทาหน้าท่ีอย่างเดียวกัน ฉลากเขียว เร่ิมใช้เป็นครั้งแรกในประเทศเยอรมนีต้ังแต่ปี พ.ศ. 2520 ปัจจุบันมีการใช้ในประเทศต่าง ๆ มากกว่า 30 ประเทศทั่วโลก ไดม้ กี ารจัดทาโครงการฉลากเขียวสาหรับประเทศไทย ริเร่ิมข้ึน ภาพท่ี 3.1 สัญลักษณ์ โดยคณะกรรมการนักธุรกิจ เพอื่ ส่ิงแวดล้อมไทย (Thailand ฉลากสีเขยี ว Business Council for Sustainable Development, ที่มา : คู่มอื การประเมินสานักงาน TBCSD) ในปี พ.ศ. 2536 สเี ขียว กรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพ สงิ่ แวดลอ้ ม หน้า 115 ฉลากเขียว สนับสนุนสินค้าทุกประเภท ยกเว้น ยารักษาโรค เครื่องด่ืม และอาหาร เน่อื งจากทงั้ สามประเภทท่ีกล่าว เกี่ยวข้องกับสุขภาพ ความปลอดภัยในการบริโภค มากกว่าด้านส่ิงแวดลอ้ ม 2. ฉลากประหยดั ไฟเบอร์ 5 คือ ฉลากแสดงประสิทธิภาพ อุปกรณ์ไฟฟ้า ยกตัวอย่างเช่น เคร่ืองปรับอากาศท่ีมี ปริมาณกาลังไฟฟ้า 1 หน่วยของอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ได้รับ ฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 จะได้ความเย็นไม่น้อยกว่า 10,600 บีทียู เปรียบเทียบกับเคร่ืองปรับอากาศปกติ โดยทั่วไปท่ีค่าไฟฟ้า 1 หน่วยจะได้ความเย็น ประมาณ 7,000 - 8,000 บีทยี ู เท่านั้น แสดงว่า ถา้ ใช้ ภาพที่ 3.2 สัญลกั ษณ์ฉลากประหยัดไฟ เครือ่ งปรบั อากาศเบอร์ 5 ประหยัดไฟฟ้าประมาณ 35% เบอร์ 5 ท่มี า : ค่มู อื การประเมนิ สานกั งานสีเขยี ว กรมสง่ เสรมิ คุณภาพ สงิ่ แวดลอ้ ม หนา้ 116

29 ปัจจุบันการไฟฟา้ ฝ่ายผลติ ไดด้ าเนินการออกฉลากประหยดั ไฟฟา้ เบอร์ 5 ใหแ้ ก่ ผลติ ภณั ฑต์ ่าง ๆ 17 ชนิด ดังนี้ 1. เคร่อื งรบั โทรทัศน์ 10. จอคอมพิวเตอร์ 2. กระติกน้าร้อนไฟฟา้ 11. ตเู้ ย็น 3. เคร่อื งปรบั อากาศ 12. บัลลาสตน์ ิรภัย 4. บลั ลาสตอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ T5 13. หลอดผอม 5. พัดลมชนดิ ต้ังโต๊ะ ตัง้ พนื้ ติดผนงั 14. พัดลมชนดิ ส่ายรอบตวั 6. หลอดคอมแพคตะเกยี บ 15. หมอ้ หงุ ข้าวไฟฟา้ 7. โคมไฟประสิทธิภาพสูง 16. ขา้ วกล้อง 8. โคมไฟฟ้าสาหรับหลอดผอม 17. พดั ลมระบายอากาศ 9. เคร่ืองทานา้ อ่นุ ไฟฟ้า 3. ฉลากประสิทธิภาพสูง การเกดิ ขึน้ ของฉลากประสิทธภิ าพสูงเป็นไปตาม พระราชบญั ญตั ิ การส่งเสรมิ การอนุรกั ษ์พลังงาน โดยได้เริม่ ดาเนนิ การ ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2549 เป็นโครงการนาร่องของกรมพฒั นา พลงั งานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน สาหรบั อุปกรณ์ ไมใ่ ชไ้ ฟฟา้ 4 ผลติ ภัณฑ์ ไดแ้ ก่ 1. เตาหงุ ตม้ ในครวั เรอื นหรือ เตาแกส๊ 2. อปุ กรณ์ปรับความเรว็ รอบมอเตอร์ ภาพที่ 3.3 ฉลากประสทิ ธิภาพสงู 3. ฉนวนกันความร้อน ที่มา : ค่มู ือการประเมินสานกั งานสีเขียว 4. กระจกอนรุ ักษพ์ ลงั งาน กรมส่งเสรมิ คณุ ภาพ สิ่งแวดล้อม หน้า 116

30 1.3 แนวทางการเลือกซือ้ สนิ ค้าท่เี ป็นมติ รต่อสิ่งแวดลอ้ ม ผู้บริโภค มีแนวทางการเลือกผลิตภัณฑ์หรือสินค้าที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม โดยพจิ ารณาคุณสมบตั ิของผลติ ภณั ฑ์หรือสินค้า ได้ดังน้ี 1) ใช้วสั ดุทม่ี ีผลกระทบต่อสง่ิ แวดลอ้ มน้อย เชน่ วัสดไุ มม่ ีพษิ วสั ดหุ มนุ เวียน ทดแทนได้ วสั ดุรีไซเคลิ และวสั ดุทีใ่ ชพ้ ลังงานตา่ ในการจัดหามา 2) ใช้วสั ดุน้อย เช่น น้าหนกั เบา ขนาดเลก็ มจี านวนประเภทของวัสดุนอ้ ย 3) มเี ทคโนโลยกี ารผลิตท่มี ปี ระสิทธภิ าพสงู สุด เช่น ใช้พลังงานสะอาด ลดการเกดิ ของเสียจากกระบวนการผลิตและลดขน้ั ตอนของกระบวนการผลิต 4) มรี ะบบขนส่งและจดั จาหน่ายท่ีมีประสทิ ธภิ าพสงู สดุ เช่น ลดการใช้ หบี ห่อบรรจุภัณฑ์ที่ฟุ่มเฟือย ใช้บรรจุภัณฑ์ท่ีทาจากวัสดุท่ีใช้ซ้าหรือหมุนเวียนใช้ได้ใหม่ได้ และ เลอื กใช้เส้นทางการขนส่งที่ประหยดั พลังงานท่สี ุด 5) ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมท่ีเกดิ ในช่วงการใชง้ าน เชน่ ใชพ้ ลังงานตา่ มกี ารปล่อยมลพิษตา่ ในระหวา่ งการใช้งาน ลดการใช้วสั ดุส้ินเปลอื ง และลดการใช้ชิน้ ส่วน ทีไ่ มจ่ าเป็น 6) มีความค้มุ ค่าตลอดชวี ติ การใชง้ าน เชน่ ทนทาน ซอ่ มแซมและดแู ล รกั ษางา่ ย ปรับปรุงตอ่ เตมิ ได้ ไมต่ อ้ งเปล่ียนบอ่ ย 7) มีระบบการจดั การระบบหลังหมดอายุการใช้งานท่ีมีประสิทธิภาพสูง เช่น การเก็บรวบรวมท่ีก่อผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมน้อย มีการออกแบบให้สามารถนาสินค้าหรือ ช้ินส่วนกลับมาใช้ซ้า หรือหมุนเวียนใช้ใหม่ได้ง่าย หรือหากต้องกาจัดท้ิงสามารถนาพลังงาน กลบั คืนมาใชไ้ ด้และมีความปลอดภัยสาหรับการฝังกลบ กล่าวโดยสรุป การพิจารณาว่าสินค้าใดเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม ควรพิจารณาว่า สินค้านั้นส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากในช่วงใดของวัฎจักรชีวิต เช่น เคร่ืองใช้ไฟฟ้า จะก่อ ผลกระทบมากในช่วงใช้งานมากกว่าในชว่ งการผลิต และหากมีการลดผลกระทบในช่วงดังกล่าว ใหน้ ้อยกว่าสินคา้ อ่นื ทมี่ ลี ักษณะการทางานเหมอื นกัน รวมทง้ั ประเดน็ ดา้ นสิ่งแวดลอ้ มอ่นื ๆ ซึง่ จะถอื ไดว้ า่ เป็นสินคา้ ที่เป็นมติ รตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม

31 เรอ่ื งท่ี 2 ผลกระทบจากการใชว้ ัสดุในชวี ิตประจาวัน ในปจั จบุ นั เทคโนโลยีไดเ้ ขา้ มามีบทบาทและความจาเป็นตอ่ การดารงชีวติ ของมนุษย์ เปน็ อยา่ งมาก ทงั้ ภายในบ้านและภายนอกบ้าน เพื่ออานวยความสะดวกสบายในชีวิตประจาวัน เช่น การทางานบ้าน การคมนาคม การส่ือสาร การแพทย์ การเกษตร และการอุตสาหกรรม เป็นตน้ ซ่งึ ความเจริญกา้ วหนา้ อย่างตอ่ เนื่องของเทคโนโลยีช่วยพฒั นาใหเ้ กดิ ประโยชน์สูงสุด แก่มนุษย์ อย่างไรก็ตาม แม้เทคโนโลยีจะเข้ามามีบทบาทต่อมนุษย์ แต่หลายครั้งเทคโนโลยี เหล่านั้นก็ส่งผลกระทบต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมในด้านต่าง ๆ ผลกระทบท่ีจะตามมามีทั้ง ความสูญเสียทางด้านส่ิงแวดล้อม ก่อให้เกิดมลพิษทางน้า ดินเสื่อมสภาพ ส่งกล่ินเหม็นรบกวน รวมถงึ เปน็ แหล่งท่อี ยูอ่ าศยั ของสัตว์พาหะนาโรค เสยี หายต่ออตุ สาหกรรมการท่องเทีย่ ว ความสญู เสียทางด้านเศรษฐกจิ และสน้ิ เปลอื งงบประมาณของรฐั ที่ใชใ้ นการแกไ้ ขปัญหาวัสดุ ท่ใี ชแ้ ล้ว การทิ้งวัสดุอนั ตรายปะปนกับวัสดมุ ลู ฝอยท่วั ไป อาจเกดิ อันตรายหรอื ทาให้ สารอันตรายปนเปือ้ นส่งิ แวดลอ้ มได้ ท้ังในระหวา่ งขนั้ ตอนการเกบ็ ขนและการกาจัด ซ่ึงการจัดการวัสดอุ ันตรายทไี่ ม่ถกู วธิ จี ะสง่ ผลกระทบหลายด้าน เช่น ก่อใหเ้ กดิ โรค ระบบนเิ วศ ถูกทาลาย เกดิ ความเสียหายต่อทรัพยส์ ินและสงั คม กลบั คนื สู่มนษุ ย์ แพร่ไปในอากาศ ของเสยี อนั ตรายที่ทงิ้ รวมกับ ขยะมูลฝอยท่วั ไป ปนเป้ือนในดนิ สัตว์ และแหล่งนา้ ตน้ ไม้และพชื ภาพท่ี 3.4 ผลกระทบจากการทิ้งวัสดุอันตรายปะปนกบั วสั ดมุ ลู ฝอยในชวี ติ ประจาวัน ท่ีมา : http://www.wangitok.com

32 ผลกระทบจากความเสยี่ งต่อการเกดิ โรค การได้รับสารอันตรายบางชนิดเข้าไปใน ร่างกาย อาจทาใหเ้ จบ็ ป่วยเปน็ โรคต่าง ๆ จนอาจถงึ ตายได้ ผลกระทบต่อระบบนิเวศ หากสารอันตรายซึมหรือไหลลงสู่พ้ืนดิน หรือแหล่งน้า จะไปสะสมในห่วงโซอ่ าหาร เปน็ อนั ตรายตอ่ สัตวน์ ้าและพืชผัก เมื่อเรานาไปบริโภคจะได้รับสาร นน้ั เข้าส่รู า่ งกายเหมอื นเรากินยาพษิ เขา้ ไปอย่างช้า ๆ ผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคม สารอันตรายบางชนิดนอกจากทาให้เกิดโรค ตอ้ งเสยี คา่ ใช้จา่ ยในการรกั ษาพยาบาลแล้ว อาจทาใหเ้ กดิ ไฟไหม้ เกดิ การกัดกรอ่ นเสียหาย ของวัสดุ เกิดความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อม ทาให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการบารุงรักษา สภาพแวดล้อมและทรพั ยส์ ิน จากวงจรดงั กล่าว แสดงใหเ้ ห็นวา่ การไม่คดั แยกวัสดุที่ใช้แลว้ ประเภทอันตราย ออกจากวัสดทุ ่ัวไป แล้วนาไปทงิ้ รวมกัน จะส่งผลกระทบตอ่ หลายด้านและท้ายที่สุดก็จะกลับคืน ส่มู นุษย์ 2.1 ผลกระทบตอ่ สุขภาพ 2.1.1 ความเสีย่ งต่อการเกดิ โรค การได้รบั สารอันตรายบางชนดิ เขา้ ไปใน ร่างกาย อาจทาใหเ้ จบ็ ป่วยเปน็ โรคต่าง ๆ จนอาจถงึ ตายได้ พิษของขยะอนั ตรายสามารถเข้าสู่ รา่ งกายของเราจาก 3 ทาง คือ 1) ทางการหายใจ โดยการสูดดมเอาไอ ผง หรือละอองสารพิษเข้าสู่ ร่างกาย เช่น สี สารระเหย ไอน้ามันรถยนต์ 2) ทางปาก โดยการรับประทานเข้าไปโดยตรง ทั้งตั้งใจและไม่ต้ังใจ เช่น สารพิษท่ีปนเปื้อนจากภาชนะใส่อาหาร หรือจากมือ รวมถึงสารพิษท่ีสะสมอยู่ในผักและ เน้ือสตั ว์ 3) ทางผิวหนัง โดยการสัมผสั หรอื จบั ต้องสารพิษ ซึง่ สามารถซึม เข้าสผู่ ิวหนงั และจะดดู ซมึ ไดม้ ากยง่ิ ขน้ึ หากมีบาดแผลทผ่ี วิ หนัง หรอื เป็นโรคผวิ หนงั อยกู่ ่อนแล้ว

33 ตารางที่ 3.1 ตวั อยา่ งวัสดุอันตรายและอาการเจบ็ ปว่ ยเม่ือสารพษิ เข้าสู่รา่ งกาย ผลติ ภณั ฑใ์ นชวี ติ ประจาวัน สารพิษ/สาร อาการ/ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ อันตราย ถ่ายไฟฉาย กระปอ๋ งสี สารแมงกานสี เมื่อสารพิษเข้าสู่ร่างกายทาให้ปวดศีรษะ งว่ งนอน อ่อนเพลีย ซึมเศร้าประสาทหลอน เกิดตะคริวกินทีแ่ ขน ขา หลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ สารปรอท เมื่อสารพิษเข้าสู่ร่างกายเกิดการ สารฆา่ แมลง ถ่านกระดมุ ระคายเคืองตอ่ ผวิ หนงั เหงือกบวมอักเสบ เลอื ดออกง่าย กล้ามเนอ้ื กระตกุ หงุดหงิด โมโหง่าย แบตเตอร่ีรถยนต์ สารตะกัว่ เมอ่ื สารพิษเขา้ สู่ร่างกาย ทาให้ปวดศีรษะ สารฆ่าแมลง กระปอ๋ ง อ่อนเพลีย ตัวซดี ปวดเม่ือยกล้ามเนอื้ ความจาเส่อื ม สเปรย์ นา้ ยาย้อมผม สารระเหย เม่ือสารพิษเข้าสรู่ ่างกายเกิดการ นา้ ยาทาเลบ็ นา้ ยาลา้ งเล็บ แอลกอฮอล์ ระคายเคืองตอ่ ผวิ หนัง คัน หรอื เหอ่ บวม เครอ่ื งสาอางหมดอายุ ปวดศรี ษะ หายใจขัด เป็นลม

34 ตวั อย่างผลกระทบของสารพษิ อนั ตรายทีม่ ตี ่อร่างกายมนษุ ย์ เบรลิ เลียม เป็นสารก่อมะเรง็ ชนิดหน่งึ หาก หายใจเขา้ ไปอย่างต่อเนือ่ งจะเปน็ โรคทีม่ ผี ลกับปอด หากสัมผสั จะทา ให้เกดิ แผลทผี่ ิวหนงั อย่างรุนแรง ภาพท่ี 3.5 แสดงผลกระทบของสารพษิ อันตรายทีม่ ีตอ่ ร่างกายมนษุ ย์ ท่มี า : คูม่ อื การคดั แยกขยะอันตราย สาหรับเยาวชน หน้า 47

35 2.1.2 เป็นแหลง่ เพาะพนั ธขุ์ องแมลง และพาหะของโรค วัสดุท่ีใช้แล้วและของเสีย มีปริมาณเพิ่มมากข้ึนทุกขณะ เน่ืองจากการ ขยายตัวของเมือง การพัฒนาเทคโนโลยีเพ่ืออานวยความสะดวกสบาย การอยู่อาศัยอย่าง หนาแน่น หากใช้วิธีกาจัดท่ีไม่ถูกต้องเหมาะสม ย่อมก่อให้เกิดปัญหาตามมา นอกจากน้ัน วัสดุ ท่ีใช้แล้วท่ีถูกปล่อยทิ้งไว้นาน ๆ จะเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์พาหะท่ีจะเข้ามาทารัง ขยายพันธุ์ เพราะมีท้ังอาหารและที่หลบซ่อน ดังนั้น วัสดุท่ีใช้แล้วที่ขาดการเก็บรวบรวม และการกาจัด จงึ ทาใหเ้ กดิ เป็นแหลง่ เพาะพันธ์ุทีส่ าคัญของเชอ้ื โรค แมลงวนั หนู แมลงสาบ ซง่ึ เปน็ หาหะ นาโรคมาสคู่ น 2.1.3 ก่อใหเ้ กิดความราคาญ การเกบ็ รวบรวมวัสดุที่ใช้แล้วไม่หมดก่อให้เกิดกล่ินรบกวน กระจายอยู่ ทั่วไปในชุมชน นอกจากนั้นฝุ่นละอองที่เกดิ จากการเก็บรวบรวม การขนถ่าย และการกาจัดแล้ว ยงั คงเป็นสาเหตุสาคญั ที่กอ่ ใหเ้ กิดปัญหาเร่ืองกลิ่นรบกวน สตั วพ์ าหะนาเชื้อโรค ทัศนวิสัยในการ ใชท้ ่ีดินและน้าเสยี จากนา้ ชะขยะ 2.2 ผลกระทบต่อระบบนเิ วศและสง่ิ แวดลอ้ ม วัสดุท่ีใช้แล้วเป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้เกิดมลพิษของน้า มลพิษของดิน และ มลพษิ ของอากาศ เน่อื งจากวัสดสุ ว่ นทีข่ าดการเก็บรวบรวมหรอื ไม่นามากาจัดให้ถูกวิธี ปล่อยทิ้ง ค้างไว้ในพื้นที่ของชุมชน เม่ือมีฝนตกลงมาจะไหลชะนาความสกปรก เช้ือโรค สารพิษจากวัสดุ ที่ใชแ้ ลว้ ไหลลงสู่แหลง่ นา้ ทาให้แหลง่ นา้ เกดิ เน่าเสียได้ หากสารอันตรายซึมหรือไหลลงสู่พ้ืนดิน หรือแหล่งน้า จะไปสะสมในห่วงโซ่อาหาร เป็นอันตรายต่อสัตว์น้าและพืชผัก เมื่อนาไปบริโภค จะได้รบั สารน้นั เขา้ สรู่ า่ งกายเหมอื นกินยาพิษเข้าไปอย่างช้า ๆ 2.2.1 มลพษิ ทางดนิ วัสดุท่ีใช้แล้วและของเสียต่าง ๆ ถ้าท้ิงลงในดิน ขยะส่วนใหญ่จะ สลายตัวให้สารประกอบ อินทรีย์และอนินทรีย์มากมายหลายชนิดด้วยกัน แต่ก็มีวัสดุบางชนิด ท่ีสลายตัวได้ยาก เช่น ผ้าฝ้าย หนัง พลาสติก โดยเฉพาะเกลือไนเตรตจะสะสมอยู่เป็นจานวน มาก แล้วละลายไปตามน้า สะสมอยูใ่ นบรเิ วณใกลเ้ คยี ง การทิ้งของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม ตา่ ง ๆ เป็นแหลง่ ผลิตของเสียทส่ี าคญั ยิ่ง โดยเฉพาะของเสียจากโรงงานทีม่ ีโลหะหนกั ปะปน ทาให้ดินบริเวณน้ันมีโลหะหนักสะสมอยู่มาก โลหะหนักท่ีสาคัญ ได้แก่ ตะก่ัว ปรอท และ แคดเมยี ม ซงึ่ จะมีผลกระทบมากหรอื น้อยข้นึ อยู่กบั คุณลักษณะของขยะ ถา้ ขยะมี

36 ซากถา่ นไฟฉาย ซากแบตเตอรี่ ซากหลอดฟลูออเรสเซนต์ มาก ก็จะส่งผลต่อปริมาณโลหะหนัก พวกปรอท แคดเมียม ตะก่ัว ในดินมาก ซึ่งจะส่งผลเสียต่อระบบนิเวศน์ในดิน และสารอินทรีย์ ในขยะ เมื่อมีการย่อยสลาย จะทาให้เกิดสภาพความเป็นกรดในดิน และเม่ือฝนตกมาชะ กองขยะ จะทาให้น้าเสียจากกองขยะไหลปนเปื้อนดินบริเวณรอบ ๆ ทาให้เกิดมลพิษของดินได้ การปนเปื้อนของดิน ยังเกิดจากการนาวัสดุที่ใช้แล้วไปฝังกลบ หรือการลักลอบนาไปท้ิง ทาให้ ของเสยี อนั ตรายปนเป้ือนในดนิ นอกจากนัน้ การเลยี้ งสัตว์เป็นจานวนมาก ก็ส่งผลตอ่ สภาพ ของดิน เพราะส่ิงขับถ่ายของสัตว์ที่นามากองทับถมไว้ ทาให้เกิดจุลินทรีย์ย่อยสลายได้ อนุมูล ของไนเตรตและอนมุ ูลไนไตรต์ ถา้ อนุมูลดังกล่าวนส้ี ะสมอยูจ่ านวนมากในดินบริเวณนั้น จะเกิด เป็นพิษได้ ซงึ่ เปน็ อันตรายต่อมนุษย์ในทางออ้ ม โดยไดร้ บั เขา้ ไปในรูปของน้าดืม่ ทม่ี สี ารพษิ เจอื ปน โดยการรับประทานอาหาร พืชผักท่ีปลูกในดินที่มีสารพิษสะสมอยู่ และยังส่งผลกระทบ ต่อคณุ ภาพดนิ ภาพที่ 3.6 ปญั หามลพษิ ทางดิน ทมี่ า : https://www.sites.google.com 2.2.2 มลพิษทางน้า วัสดุท่ีใช้แล้วจาพวกสารอินทรีย์(คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน) เช่น ส่ิงปฏิกูลจากคน เศษอาหาร น้ายาทาความสะอาด เป็นต้น หากถูกท้ิงลงสู่แม่น้าลาคลอง จะ สง่ ผลใหแ้ ม่น้าลาคลองเกดิ การเนา่ เสีย ซ่งึ สารอนิ ทรีย์ในนา้ เสยี มที งั้ ทอ่ี ยู่ในรปู สารแขวนลอยและ สารละลาย สามารถถกู ย่อยสลายได้ โดยจุลินทรยี ์ที่ใชอ้ อกซิเจน ทาให้เกิดสภาพขาดออกซิเจน ส่งผลให้แมน่ ้าเกดิ การเนา่ เสียมีกลนิ่ เหมน็ เนา่ เปน็ แหลง่ เพาะพันธขุ์ องสตั ว์นาโรคต่าง ๆ เกิดการแพร่ระบาดของเช้ือโรค และทาให้เกิดการสูญเสียทัศนียภาพ เกิดภาพท่ีไม่น่าดู เช่น สภาพนา้ มสี ีดา มขี ยะและสง่ิ ปฏิกลู ลอยนา้

37 ปริมาณของสารอินทรีย์นิยมวัดด้วยค่าปริมาณออกซิเจนท่ีจุลินทรีย์ ต้องการใช้ในการย่อยสลายอินทรีย์วัตถุ (BOD) เม่ือ ค่าบีโอดีในน้าสูง แสดงว่า มีสารอินทรีย์ ปะปนอยู่มาก สง่ ผลใหส้ ภาพเหม็นเน่าเกดิ ขน้ึ ได้ง่าย นอกจากน้ี ในน้าเสียยังมีจุลินทรีย์บางชนิด อาจเปน็ เชอื้ โรคทเ่ี ปน็ อันตรายต่อมนุษย์ได้ ภาพที่ 3.7 ผลกระทบตอ่ ระบบนเิ วศทางนา้ ท่ีมา : http://www.suriyothai.ac.th 2.2.3 มลพิษทางอากาศ ถ้ามีการเผาวัสดุท่ีใช้แล้วกลางแจ้งทาให้เกิดควัน มีสารพิษทาให้ คณุ ภาพของอากาศเสยี ส่วนมลพิษทางอากาศจากวัสดุท่ีใช้แล้วนั้น อาจเกิดขึ้นได้ทั้งจากมลสาร ท่ีมีอยู่ในวัสดุและพวกแก๊สหรือไอระเหย ท่ีสาคัญก็คือ กลิ่นเหม็นท่ีเกิดจากการเน่าเป่ือย และ สลายตวั ของอนิ ทรยี ส์ ารเป็นส่วนใหญ่ ปญั หาสิง่ แวดลอ้ มเป็นพิษ ซ่ึงเป็นปัญหาใหญ่ของคนไทย อีกปัญหาหนึ่ง ซึ่งส่งผลมาจากฝีมือของมนุษย์ ที่เกิดจากการกาจัดวัสดุท่ีใช้แล้วไม่ถูกวิธี เช่น การฝังกลบมูลฝอยที่ไม่ถูกวิธี ทาให้เกิดก๊าซมีเทน (CH4) การใช้สารเคมีที่ทาลายช้ันโอโซน การเผาไหม้ขยะมูลฝอย การเผาไหม้เชอื้ เพลงิ ถา่ นหิน ก๊าซธรรมชาติ ทาให้เกดิ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ซ่ึงเป็นก๊าซทส่ี ะสมพลังงานความร้อนในช้นั บรรยากาศโลก ไว้มากท่ีสุด และมีผลทาให้อุณหภูมิของโลกสูงข้ึนเรื่อย ๆ เกิดภาวะโลกร้อน ซึ่งปรากฏการณ์ท่ี โลกมีอุณหภูมิสูงข้ึน เรียกว่า ปรากฏการณ์เรือนกระจก นอกจากการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์แล้ว อีกปัจจัยหนึ่ง ท่ีเป็นสาเหตุในการทาลายชั้นบรรยากาศโอโซน ที่ทาให้อุณหภูมิของโลกสูงข้ึน ได้แก่ กระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น การทาความเย็นในตู้เย็น เคร่ืองปรับอากาศ โฟม กระป๋องสเปรย์ สารดับเพลิง สารชะล้างในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์

38 ซึ่งสารเหล่านี้ เรียกว่า สารคลอโรฟลูโอโรคาร์บอน (CFC) และในอนาคต ถ้าไม่ช่วยกันลดการใช้ สารทาลายชั้นโอโซนที่เกิดจากสาร CFC โลกของเรากจ็ ะเจอกับปญั หาส่งิ แวดลอ้ มเปน็ พษิ อย่างหลกี เลย่ี งไมไ่ ด้ ภาพที่ 3.8 มลพิษทางอากาศ ที่มา : http://www.thaihealth.or.th 2.3 ผลกระทบดา้ นเศรษฐกิจและสังคม 2.3.1 เกดิ ความเสียหายต่อทรพั ย์สนิ สารอันตรายบางชนิดนอกจากทาให้เกิดโรค ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการ รักษาพยาบาลแล้ว อาจทาให้เกิดไฟไหม้ เกิดการกัดกร่อนเสียหายของวัสดุ เกิดความเส่ือม โทรมของส่งิ แวดล้อม ทาให้ตอ้ งเสียค่าใชจ้ ่ายในการบารงุ รกั ษาสภาพแวดล้อมและทรพั ยส์ ิน 2.3.2 เกดิ การสูญเสยี ทางเศรษฐกจิ วสั ดุทใี่ ช้แล้วหากมีปริมาณมาก ๆ ย่อมต้องสิ้นเปลอื งงบประมาณ ในการจัดการเพ่ือให้ได้ประสิทธิภาพ นอกจากน้ีผลกระทบจากวัสดุท่ีใช้แล้วไม่ว่าจะเป็นน้าเสีย อากาศเสยี ดินปนเปื้อนสารพิษ เหลา่ นี้ย่อมสง่ ผลกระทบตอ่ เศรษฐกจิ ของประเทศ

39 2.3.3 ทาใหข้ าดความสง่างาม การเก็บ ขนและกาจัดวัสดุที่ใช้แล้วที่ดีจะช่วยให้ชุมชนเกิดความ สวยงาม มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย ซ่ึงแสดงถึงความเจริญและวัฒนธรรมของชุมชน ฉะน้ัน หากกระบวนการเก็บ ขนไม่หมดและกาจัดไม่ดี ย่อมก่อให้เกิดความไม่น่าดู ขาดความสวยงาม บ้านเมืองสกปรก และความไมเ่ ปน็ ระเบยี บ ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ภาพท่ี 3.9 ผลกระทบต่อระบบนเิ วศ ท่มี า : https://www.pantip.com กล่าวโดยสรุป เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทต่อการพัฒนาวัสดุและผลิตภัณฑ์ เพื่อ อานวยความสะดวกสบายในการดารงชีวิตประจาวันของมนุษย์ ทั้งภายในบ้านและภายนอกบ้าน แตเ่ ทคโนโลยีเหล่าน้ันก็ส่งผลกระทบต่อชีวิตและส่ิงแวดล้อมในด้านต่าง ๆ หากทุกคนยังละเลย และไม่คานึงถงึ การใช้วัสดหุ รอื ผลิตภัณฑ์อย่างรู้คณุ คา่ กจิ กรรมทา้ ยหน่วยท่ี 3 หลังจากทีผ่ ู้เรยี นศึกษาเอกสารชุดการเรียนหน่วยที่ 3 จบแล้ว ใหศ้ ึกษาคน้ ควา้ เพิม่ เติมจากแหลง่ เรียนรตู้ ่าง ๆ แล้วทากิจกรรมการเรียนหนว่ ยท่ี 3 ในสมดุ บนั ทกึ กจิ กรรม การเรียนรู้ แล้วจดั สง่ ตามท่ีครผู ูส้ อนกาหนด

40 หน่วยท่ี 4 การจัดการและกาจดั วสั ดุที่ใช้แล้ว สาระสาคัญ การจดั การวัสดุทใี่ ช้แลว้ ดว้ ยหลกั 3R เปน็ แนวทางปฏิบัตใิ นการลดปริมาณวัสดุ ท่ีใชแ้ ลว้ ในครัวเรอื น โรงเรียน และชุมชน โดยใช้หลักการใชน้ ้อยหรอื ลดการใช้ (Reduce) การใช้ซา้ (Reuse) และผลิตใช้ใหม่ (Recycle) เพอื่ ลดปัญหาท่ีเกิดขึนจากการใช้วัสดุในปัจจุบัน ซ่ึงเป็นสาเหตุส้าคัญที่ท้าให้มีปริมาณวัสดุที่ใช้แล้วเพ่ิมมากขึน ทังนีเน่ืองจากความเจริญเติบโต ทางด้านเศรษฐกจิ การเพมิ่ ขนึ ของจ้านวนประชากร ตลอดจนพฤตกิ รรมการอุปโภค บรโิ ภค ของคนทเี่ ริม่ เปลีย่ นไป ส่งผลให้ต้องศึกษาวิธีการก้าจัดวัสดุที่ใช้แล้วให้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล เพ่อื ลดปญั หาและผลกระทบทเ่ี กิดขึนต่อชมุ ชนและสงั คม ตัวชวี้ ัด 1. บอกความหมายของการจดั การวัสดดุ ้วยหลัก 3R ได้ 2. อธิบายวิธกี ารจัดการวัสดุทใ่ี ชแ้ ล้วดว้ ยหลกั 3R ได้ 3. บอกระยะเวลาการย่อยสลายของวสั ดุทใ่ี ชแ้ ล้วได้ 4. อธบิ ายวิธีการกา้ จดั และท้าลายวัสดทุ ่ใี ช้แล้วได้ 5. ก้าจัดวัสดทุ ่ใี ชแ้ ลว้ อยา่ งถกู ต้องตามหลักสขุ าภิบาลได้ ขอบขา่ ยเน้อื หา 1. การจดั การวัสดทุ ีใ่ ช้แล้วดว้ ยหลกั 3R 2. การก้าจดั และทา้ ลาย เวลาทีใ่ ช้ในการศกึ ษา ใชเ้ วลาเรียน โดยศกึ ษาจากเอกสารและส่อื ต่าง ๆ ฝึกปฏิบตั ิกิจกรรม และรวมกลมุ่ เพอ่ื แลกเปลีย่ นเรียนรู้ จ้านวน 20 ชวั่ โมง ส่อื การเรยี นรู้ 1. ชดุ วชิ าวสั ดศุ าสตร์ ระดับประถมศกึ ษา 2. ศกึ ษาคน้ ควา้ จากอินเตอร์เน็ต 3. ศึกษาค้นควา้ จากหนังสือในหอ้ งสมุดประชาชน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook