Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีสิ่งทอ

แผนการสอนวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีสิ่งทอ

Published by Oranut, 2023-06-15 11:16:05

Description: แผนการสอนวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีสิ่งทอ

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรยี นรู้แบบฐานสมรรถนะ หลักสตู ร ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ช้นั สงู ประเภทวิชา สามญั สมั พนั ธ์ สาขาวชิ า วชิ าชพี พ้ืนฐาน รหสั วิชา 30000-1307 วิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยสี ง่ิ ทอ (Science for Textile Tecnology) จดั ทำโดย นางสาวอรนุช กอสวัสดพิ์ ัฒน์ วิทยาลัยอาชวี ศึกษาเพชรบุรี สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ก คำนำ แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีสิ่งทอ ได้จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการ เรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมและกระบวนการเรียนรู้ สามารถสร้างองค์ ความรู้ได้ดว้ ยตนเอง ท้งั เป็นรายบคุ คลและรายกลุ่ม ทำให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความร้กู ับการเรยี นรรู้ ายวชิ าอ่นื ๆ ได้ในเชิงบูรณาการด้วยวิธีการที่หลากหลาย เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปความรู้ด้วยตนเอง ทำให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทั้งด้านความรู้ ด้านทักษะ/กระบวนการ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดี นำไปสกู่ ารอย่รู ว่ มกนั ในสังคมอยา่ งสนั ตสิ ุข การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ วชิ าวิทยาศาสตร์เทคโนโลยสี ิง่ ทอ ฉบับน้ีจัดทำขน้ึ ตามหลักสูตร ประกาศนยี บตั รวิชาชีพชนั้ สงู พุทธศกั ราช 2563 ตรงตามจุดประสงค์รายวิชา ซึง่ ครอบคลุมเนื้อหาครบถ้วนตรงตาม คำอธบิ ายรายวิชา มเี นื้อหาประกอบด้วย การศึกษาและปฏิบัตวิ ทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยีส่ิงทอเกี่ยวกับสารละถาย ปฏกิ ิรยิ าเคมี พอลเิ มอร์ เส้นใยนาโน เทคโนโลยีในอตุ สาหกรรมเสน้ ใย สมบัติของเส้นใย สยี ้อม สารเคมีใน กระบวนการผลติ ผา้ การถนอมรกั ษาเสน้ ใย และการจดั การส่ิงแวดลอ้ มในอตุ สาหกรรมเคมีสงิ่ ทอ และการ ประยกุ ตใ์ ช้ในงานอาชีพท่เี ก่ยี วขอ้ ง แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยีสิง่ ทอ ผจู้ ัดทำได้ออกแบบการ เรยี นรดู้ ว้ ยเทคนิคและวิธีการสอนอยา่ งหลากหลาย เพื่อการจัดการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมสำหรบั ผู้เรียนใหบ้ รรลุ เปา้ หมายของหลกั สตู รต่อไป อรนุช กอสวสั ดิ์พัฒน์ พฤษภาคม 2566 ข

สารบัญ หนา้ เรื่อง คำนำ สารบัญ ลักษณะรายวชิ า จุดประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะ คำอธบิ ายรายวิชา หนว่ ยการเรยี นรู้ ตารางวเิ คราะหห์ ลักสูตรรายวิชา กำหนดการสอน กรอบการจดั การเรียนร้แู บบบูรณาการเป็นเรื่อง/ช้ินงาน/โครงการและบรู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยท่ี ช่ือหน่วยการเรยี นและรายการสอน 1 สารละลาย..................................................................................................................... 2 ปฏกิ ิริยาเคมี.................................................................................................................. 3 พอลิเมอร์ เสน้ ใย นาโนเทคโนโลยใี นอุตสาหกรรมเส้นใย.............................................. 4 สมบัติของเสน้ ใย............................................................................................................ 5 สยี ้อม สารเคมีในกระบวนการผลิตผ้า........................................................................... 6 การถนอมรกั ษาเสน้ ใย.................................................................................................... 7 การจัดการส่ิงแวดล้อมในอุตสาหกรรมเคมีส่งิ ทอ............................................................

ค ลักษณะรายวิชา หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพชัน้ สงู (ปวส.) ประเภทวิชา สามญั สมั พันธ์ สาขาวิชา วชิ าชีพพ้ืนฐาน สาขาแฟชัน่ และเทคโนโลยีสง่ิ ทอ รหัสวิชา 30000-1307 ช่ือรายวชิ า วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีสงิ่ ทอ ทฤษฎี.........2...........ช่วั โมง/สัปดาห์ ปฏิบตั ิ...........2..........ช่วั โมง/สัปดาห์ จำนวน.......3.............หน่วยกิต จดุ ประสงคร์ ายวชิ า เพอ่ื ให้ 1. เข้าใจหลกั การและการประยกุ ตใ์ ชว้ ิทยาสาสตร์ในเทคโนโลยีสง่ิ ทอ 2. สามารถคำนวณ ทดลอง แก้ปญั หา วางเผน ตรวจสอบ และประยุกตใ์ ชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในงานอาชพี ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 3. มีเจตคติทดี่ ตี ่อวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยสี ่งิ ทอ และกิจนสิ ยั ทด่ี ใี นงานอาชพี สมรรถนะรายวชิ า 1. แสดงความรเู้ ก่ียวกับ สารละลาย ปฏกิ ริ ิยาเคมี พอลิเมอร์ เส้นใย นาโนเทคโนโลยใี นอุตสาหกรรมเสน้ ใย สมบตั ขิ องเส้นใย สยี อ้ ม สารเคมีในกระบวนการผลิตผ้า การถนอมรักษาเส้นใย และการจดั การส่ิงแวดลอ้ มใน อุตสาหกรรมสิง่ ทอ 2. คำนวณข้อมูลเกี่ยวกับสารถะลาย ปฏกิ ิริยาเคมีตามหลักการและทฤษฎี 3. ทดลอง ตรวจสอบ และแก้ปัญหา เกี่ยวกับ สารละลาย ปฏิกิริยาเคมี พอลิเมอร์ เส้นใย นาโนเทคโนโลยีใน อุตสาหกรรมเส้นใย สมบัติของเส้นใย สีย้อม สารเคมีในกระบวนการผลิตผ้า การถนอมรักษาเส้นใย และการ จดั การสิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรมส่ิงทอตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4. ประยุกตใ์ ช้ความรู้เร่ืองวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยสี ิง่ ทอในงานอาชีพ คำอธิบายรายวิชา ศกึ ษาและปฏิบัติวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยสี ิง่ ทอ เกีย่ วกับสารละลาย ปฏิกริ ยิ าเคมี พอลิเมอร์ เส้นใยนาโน เทคโนโลยใี นอตุ สาหกรรมเส้นใย สมบัติของเส้นใย สียอ้ ม สารเคมใี นกระบวนการผลติ ผ้า การถนอมรักษาสน้ ใย และการจัดการส่งิ แวดล้อมในอสหกรรมเคมีสิง่ ทอ และการประยกุ ตใ์ ช้ในงานอาชีพที่เกี่ยวขอ้ ง

หนว่ ยการเรยี นรู้ ง รหัสวิชา 30000-1307 วิชา วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยสี ่ิงทอ จำนวน 3 หน่วยกิต 4 ชม./สัปดาห์ หน่วยท่ี หน่วยการเรียนรู้ เวลาเรียน (ชม.) 1 บทนำ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ รวม 2 สารละลาย 3 ปฏิกิริยาเคมี 22 4 4 พอลิเมอร์ เส้นใย นาโนเทคโนโลยใี นอุตสาหกรรมเส้นใย 5 สมบตั ิของเสน้ ใย 44 8 6 สีย้อม สารเคมใี นกระบวนการผลติ ผา้ 7 การถนอมรักษาเสน้ ใย 44 8 การจดั การสง่ิ แวดล้อมในอตุ สาหกรรมเคมีสิ่งทอ บทสง่ ท้าย การประยุกต์ใชใ้ นงานอาชีพทเ่ี กย่ี วข้อง 44 8 สอบปลายภาค รวม 44 8 44 8 44 8 44 8 44 8 4 34 34 72

จ ตารางการวเิ คราะหห์ ลกั สูตรรายวิชา รหสั วชิ า 30000-1307 วชิ า วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยีสิ่งทอ ทฤษฏี......34...........ชัว่ โมง/สปั ดาห์ ปฏบิ ัติ....34............ชั่วโมง/สปั ดาห์ จำนวน.......3.......หน่วยกิต ระดับพฤตกิ รรมท่ีพึงประสงค์ หน่วยท่ี ช่อื หน่วยการเรียนรู้ พทุ ธพิ ิสยั ความรู้ ความเข้าใจ นำไปใ ้ช ิวเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า ทักษะพิ ัสย จิต ิพ ัสย รวม ลำ ัดบ ควเาวมลสาำคั(ชญม.) ปฐมนเิ ทศ 2211 2 2 10 2 8 1 สารละลาย 2 2 10 2 8 2 2 10 2 8 1.1 กระบวนการเกิดสารละลาย 1.2 สถาพการละลายได้ 1.3 ความเขม้ ข้นของสารละลาย 1.4 ความสามารถในการละลายของนำ้ 1.5 อันตรายจากการใช้สารละลาย 2 ปฏกิ ริ ยิ าเคมี 2211 2.1 การเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี 2.2 ความหมายของปฏิกริ ิยาเคมี 2.3 ชนดิ ของปฏิกริ ิยาเคมี 2.4 พลังงานกับการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี 2.5 อตั ราการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี 2.6 ปฏิกิรยิ าทพ่ี บในชีวิตประจำวนั 3 พอลิเมอร์ เสน้ ใย นาโนเทคโนโลยใี น 2 2 1 1 อุตสาหกรรมเสน้ ใย 3.1 ความหมายของพอลเิ มอร์ 3.2 ประเภทของพอลิเมอร์ 3.3 โครงสร้างและสมบตั ิของพอลเิ มอร์ 3.4 พอลเิ มอร์ในชีวิตประจำวนั 3.5 เส้นใยสังเคราะห์ 3.6 สง่ิ ทอกบั นาโนเทคโนโลยี

รหัสวชิ า 30000-1307 วชิ า วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยสี ่งิ ทอ จำนวน 3 หนว่ ยกิต 4 ชม./สัปดาห์ หนว่ ยท่ี ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ ระดบั พฤติกรรมทพ่ี ึงประสงค์ พุทธพิ สิ ัย ความรู้ ความเข้าใจ นำไปใ ้ช วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า ทักษะพิ ัสย ิจตพิ ัสย รวม ลำ ัดบ ควเาวมลสาำคั(ชญม.) 4 สมบัตขิ องเสน้ ใย 22 11 2 2 10 2 8 2 2 10 2 8 4.1 ประเภทของเสน้ ใย 2 2 10 2 8 2 2 10 2 8 4.2 สมบตั ขิ องเสน้ ใย 4.3 สมบัตขิ องเสน้ ใยที่มผี ลต่อสมบตั ขิ องผ้า 5 สีย้อม สารเคมีในกระบวนการผลติ ผ้า 22 11 5.1 สยี ้อม 5.2 สารเคมีในกระบวนการผลติ ผา้ 5.3 ข้ันตอนการผลติ ผ้า 6 การถนอมรกั ษาเสน้ ใย 22 11 6.1 การถนอมรกั ษาเสน้ ใยธรรมชาติ 6.2 การถนอมรักษาเสน้ ใยสังเคราะห์ 6.3 การถนอมรกั ษาเสน้ ใยกงึ่ สังเคราะห์ 7 การจัดการสิง่ แวดลอ้ มในอตุ สาหกรรม 2 2 1 1 เคมสี ิง่ ทอ 7.1 หลักการทัว่ ไปเกยี วกบั การจัดการ สง่ิ แวดล้อม 7.2 การประเมินวัฏจกั รชีวติ ผลติ ภัณฑ์ Life- cycle Analysis 7.3 นิเวศวิทยากบั การผลิตสิง่ ทอ เคร่ืองนุ่งห่ม 7.4 นเิ วศวิทยากบั การใช้งานสงิ่ ทอ เครอื่ งนุ่งหม่ 7.5 นเิ วศวิทยากบั การกำจัด บทส่งทา้ ย 22 22 3 3 4 18 1 8 สรุปทบทวน สอบปลายภาค 4 72 รวม 18 18 10 10 2 20 20 100 60 20 20 100 หมายเหตุ ระดับพุทธพิ สิ ยั 1 = ความจำ 2 = ความเข้าใจ 3 = การนำไปใช้ 4 = วเิ คราะห์ 5 = สังเคราะห์ 5 = การประเมนิ ค่า

ฉ กำหนดการสอน หน่วย ชือ่ หนว่ ยการเรียนร้/ู รายการสอน สมรรถนะประจำหนว่ ย สปั ดาห์ ชั่วโมง ท่ี 1. อธบิ ายข้อตกลงในการเรียนรายวชิ าวิทยาศาสตร์ ท่ี ท่ี บทนำข้อตกลงการเรยี น 1 1-2 เทคโนโลยแี ละส่งิ ทอ การวัดประเมนิ ผล การ กำหนดคะแนน ระหวา่ งภาค ปลายภาค 2. อธบิ ายวธิ ีการศกึ ษาหาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ ดว้ ยวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์และทกั ษะกระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตรไ์ ด้ 3. น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใช้ ในการปฏิบตั งิ านได้ 1 สารละลาย 1.บอกความหมายและองคป์ ระกอบของสารละลาย 1-3 3-12 2 ปฏกิ ิรยิ าเคมี ได้ 2. อธิบายการละลายของสารในตวั ทำละลายได้ 3. บอกความเขม้ ข้นของสารและคำนวณหาความ เข้มข้นของสารละลายได้ 4. อธบิ ายความแตกต่างระหว่างการละลาย ประเภทดูดและคายความร้อนได้ 1.บอกความหมายและยกตวั อยา่ งการเกดิ ปฏกิ ริ ิยา 4-5 13-20 เคมีของสารได้ 2.เขยี นสมการเคมแี ละดุลสมการเคมไี ด้ 3.บอกชนดิ ของปฏิกริ ยิ าเคมไี ด้ 4.อธิบายความแตกต่างระหวา่ งปฏิกริ ยิ าดดู ความ รอ้ นกับปฏกิ ิริยาคายความร้อนได้ 5.อธิบายอัตราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมีได้ 3 พอลเิ มอร์ เส้นใย นาโน 1.บอกความหมายและยกตัวอยา่ งพอลิเมอรไ์ ด้ 6-7 21-28 เทคโนโลยีในอตุ สาหกรรมเสน้ ใย 2.แยกประเภทพอลิเมอร์ดว้ ยหลกั การตา่ งๆได้ 3.บอกชนิดและการเกดิ ของเส้นใยตา่ งๆ ได้ 4.อธิบายเทคโนโลยีนาโนทเี่ กย่ี วขอ้ งกับ อุตสาหกรรมเสน้ ใยได้

หน่วย ชื่อหน่วยการเรียนรู้/รายการ สมรรถนะประจำหน่วย สปั ดาห์ ช่วั โมง ที่ สอน 4 สมบตั ขิ องเส้นใย ที่ ที่ 5 สียอ้ ม สารเคมีในกระบวนการ 1. อธิบายสมบตั ขิ องเสน้ ใยประเภทตา่ งๆ ได้ 8-9 29-36 ผลติ ผ้า 2. เข้าใจและแยกประเภทของเสน้ ใยได้ 6 การถนอมรักษาเสน้ ใย 3. ยกตัวอยา่ งและอธิบายเกย่ี วกับการสมบตั ิของ 7 การจัดการส่งิ แวดล้อมใน อุตสาหกรรมเคมีส่ิงทอ เสน้ ใยประเภทต่างๆได้ 4. บอกหลกั การใช้เส้นใยและผ้าชนิดต่างๆ ตลอดจนสามารถนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวันได้ 1. เข้าใจความหมายและแยกประเภทของสยี ้อม 10-11 37-44 ในกระบวนการผลติ ผา้ ได้ 2. ทดลองและอธบิ ายการยอ้ มสผี า้ ชนดิ ต่างๆ ได้ 3. อธิบายสมบตั ขิ องสยี ้อมชนดิ ตา่ งๆ ได้ 4. บอกผลิตภณั ฑส์ ยี อ้ มและการเลือกนำไปใช้ ประโยชน์กบั ผ้าชนดิ ต่างๆ ได้ 5. อภิปรายผลที่เกดิ จากกระบวนการผลติ และการ ใช้เสน้ ใยและสิ่งทอได้ 1. บอกวิธีการถนอมรักษาเสน้ ใยแตล่ ะชนดิ ได้ 12-13 45-52 2. บอกขั้นตอนการรักษาผา้ ทผ่ี ลิตจากเส้นใย ประเภทต่างๆ ได้ 3. อธบิ ายรปู แบบการเก็บรักษาผา้ ชนดิ ได้ 4. บอกวธิ กี ารอนรุ ักษพ์ ลงั งานและสงิ่ แวดลอ้ มใน การถนอมรกั ษาเสน้ ใยได้ 1. อธิบายวัฏจกั รชีวติ ผลติ ภณั ฑส์ งิ่ ทอได้ 14-15 53-60 2. เขา้ ใจ และตระหนักถงึ ความสำคญั นเิ วศวิทยากับ การผลติ ส่งิ ทอเคร่ืองนุ่งหม่ 3. อธิบายนิเวศวทิ ยากบั การใช้งานส่ิงทอ เครื่องนุ่งห่มได้

หนว่ ย ชือ่ หน่วยการเรยี นร้/ู รายการสอน สมรรถนะประจำหน่วย สปั ดาห์ ชวั่ โมง ที่ ท่ี ท่ี 1. อธิบายความหมายของทกั ษะกระบวนการทาง บทสง่ ทา้ ย วิทยาศาสตรไ์ ด้ 16-17 61-68 2. ระบปุ ัญหาจากสถานการณท์ ี่กำหนดใหไ้ ด้ 3. ต้ังสมมติฐานจากปญั หาท่ีกำหนดได้ 4. ระบตุ วั แปรอสิ ระ ตวั แปรตาม และตวั แปร ควบคุมในการรวบรวมข้อมลู ได้ 5. เลือกใชเ้ ครอ่ื งมอื วัดและทำการวดั ในการ รวบรวมข้อมลู ได้ 6. เกบ็ รวบรวมข้อมลู และจดั กระทำข้อมูลอยา่ ง เป็นระบบ 7. วิเคราะห์ขอ้ มลู แปลความหมายข้อมลู เพอ่ื ตรวจสอบสมมติฐานได้ 8. ลงความเหน็ และสรปุ ผลการเรยี นร้นู ำเสนอต่อ ผ้อู น่ื ได้ 9. จัดทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์และแสดงผลงานที่ ศกึ ษาใหผ้ ู้อืน่ เขา้ ใจได้ 10. น้อมนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไป ใช้ในการปฏิบัติงานได้ 11. มคี วามสนใจใฝร่ ู้ มีเหตผุ ล เพยี รพยายาม ละเอียดรอบคอบ ซ่อื สตั ย์ และทำงานกบั ผู้อ่นื ได้ สอบปลายภาค 18 69-72 ช

กรอบการจดั การเรยี นรู้แบบบูรณาการเปน็ เรอื่ ง/ชิ้นงาน/โครงการ และบูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ความพอประมาณ ความมเี หตุผล 1. ความพอดี ทไ่ี มม่ ากและไมน่ อ้ ย การมภี ูมิคุม้ กนั จนเกนิ ไป 1.การเลือกทำผลงานหรอื ชน้ิ งานที่ 2. ไมเ่ บยี ดเบยี นตนเองและผอู้ ื่น 1. การเตรยี มตวั ให้พรอ้ มรบั ต่อ ได้รบั มอบหมายให้ใชห้ ลักเหตผุ ลใน ทกุ คนชว่ ยกันทำงานกลมุ่ ผลกระทบทีเ่ กิดข้ึนจากการ การตัดสนิ ใจเรอ่ื งตา่ ง ๆ โดย เปล่ยี นแปลงรอบตัว เชน่ ผลการ พิจารณาจากเหตปุ ัจจยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ทดลองทีอ่ าจไม่เป็นไปอย่างท่ี ตลอดจนผลทีค่ าดวา่ จะเกิดขึน้ อยา่ ง คาดหวงั ใหศ้ กึ ษาปจั จัยทเี่ กดิ ขึ้น รอบคอบ โดยอาศัยความรู้ และคณุ ธรรม เปน็ 2. ......................................... โครงงาน เง่ือนไขพืน้ ฐาน 3........................................... วิทยาศาสตร์ ...................................... 2. .เ.ง..่ือ..น...ไ.ข...ด..้า..น..ค...ณุ ...ธ..ร..ร..ม....จ..ร..ิย..ธรรม คา่ นิยม คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ เงอ่ื นไขดา้ นความรแู้ ละทกั ษะ 3.1....ก..า..ร..ย..ึด..ถ...ือ..ค..ณุ ...ธ..ร..ร..ม..ต...่า.ง...ๆ... อาทิ 1. การเลอื กทำกิจกรรมต่างๆ จะตอ้ งมี ความซื่อสตั ยส์ ุจรติ ความอดทน ความรอบรู้ จากการเรียนวิชาวทิ ยาศาสตร์ ความเพยี ร การมงุ่ ตอ่ ประโยชน์ 2. มีความรอบคอบ และความระมัดระวงั ใน สว่ นรวมและการแบง่ ปัน ฯลฯ การดำเนินชีวติ และการประกอบการงาน. ตลอดเวลาท่ีประยกุ ตใ์ ชป้ รชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงในฝึกปฏบิ ัติการ การเรยี นรูใ้ นหนว่ ยการเรยี นต่างๆ ..................................... ผลกระทบเพือ่ ความสมดุล พรอ้ มรับการเปลีย่ นแปลง 2. ......................................... ดา้ นสังคม ด้านเศรษฐกิจ ด้านวฒั นธรรม 3.................ด...า้ ..น...ส..่ิง..แ..ว...ด..ล...้อ..ม.. ผเู้ รยี นมีการทำงานเปน็ กลุ่ม ผ้เู รยี นตอ้ งรู้จกั ใชจ้ ่ายอย่าง การศึกษาโครงงาน การทำโครงงานวิทยาศาสตร์ นอกจากตดิ ต่อกับเพอื่ นใน ประหยดั ไมฟ่ ่มุ เฟอื ย หรอื วทิ ยาศาสตรท์ ำใหผ้ เู้ รยี นได้ ผู้เรยี นต้องคำนึงถึงสง่ิ แวดลอ้ ม กลมุ่ ก็ยงั ต้องตดิ ตอ่ กับภมู ิ คดิ หัวขอ้ โครงงานทท่ี ำใหเ้ กดิ สัมผสั ปรึกษาหารอื กับครู ว่า ผลของโครงงานจะกระทบ ปัญญาทอ้ งถน่ิ ท่จี ะให้ความรู้ ความประหยดั และเป็น ประชาชนผมู้ ีความรู้ หรอื ตอ่ ส่ิงแวดลอ้ มหรอื ไม่ หรอื เปน็ ประโยชน์ตอ่ สิง่ แวดลอ้ มออก เกยี่ วกับโครงงานทีท่ ำ ประโยชนต์ ่อสว่ นรวม ศกึ ษาส่ิงที่เกี่ยวขอ้ งกับ ท้องถิ่น เช่น ตาลโตนด ฯลฯ อยา่ งไร หมายเหตุ กรอบการจดั การเรยี นรู้แบบบรู ณาการใหเ้ ลือกใช้ แบบใดแบบหนึง่ หรือออกแบบใหม่ได้

แผนการจดั การเรียนรแู้ บบฐานสมรถนะ 1 รหัส 30000-1307 วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีสงิ่ ทอ(2-2-3) ชือ่ หน่วย/เร่อื ง ปฐมนิเทศ หน่วยที่ - สอนคร้ังท่ี 1 (1-1) จำนวนชั่วโมง 1 ช.ม. 1. สาระสำคญั การศึกษาวิชาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีสิ่งทอเป็นวชิ าทเ่ี น้นการศกึ ษาวิชาวทิ ยาศาตร์เบือ้ งตน้ เพอ่ื ให้ ผู้เรยี นสามารถนำความรู้ทไ่ี ด้รบั ไปประยุกตใ์ ช้ให้เกิดประโยชน์ในงานเทคโนโลยีส่งิ ทอ รวมทั้งการนำไป ประยุกตใ์ ช้ในการดำรงชีวติ ประจำวันทวั่ ไปอีกด้วย ผเู้ รยี นวชิ าน้ีนอกจากจะได้ความรทู้ ี่ถูกต้อง ผา่ นการบรรยาย และเทคนิคการสอนต่าง ๆ ที่ผูส้ อนจัดเตรยี มไว้ ผเู้ รยี นยังจะได้ศกึ ษาผ่านการปฏบิ ตั ิและทดลองจรงิ เพอ่ื ใหเ้ กิด ประสทิ ธิภาพการเรยี นรู้สูงสุดตอ่ ผูเ้ รยี นอีกด้วย 2.จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1.บอกจดุ ประสงคร์ ายวิชา สมรรถนะรายวชิ า และคำอธิบายรายวิชาตามหลกั สูตรได้ 2.บอกแนวทางวัดผลและการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ได้ 3.มีการพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของผู้สำเร็จการศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ท่คี รสู ามารถสงั เกตได้ขณะทำการสอนในเรื่อง 3.1 ความมมี นุษยสมั พันธ์ 3.2 ความมวี ินยั 3.3 ความรบั ผิดชอบ 3.4 ความซือ่ สตั ยส์ จุ ริต 3.5 ความเชื่อม่ันในตนเอง 3.6 การประหยดั 3.7 ความสนใจใฝร่ ู้ 3.8 การละเวน้ สิง่ เสพตดิ และการพนนั 3.9 ความรกั สามัคคี 3.10 ความกตัญญูกตเวที

2 3.สมรรถนะรายวชิ า 1. แสดงความร้เู กยี่ วกบั สารละลาย ปฏกิ ริ ิยาเคมี พอลิเมอร์ เส้นใย นาโนเทคโนโลยใี นอุตสาหกรรมเส้นใย สมบตั ขิ องเส้นใย สีย้อม สารเคมีในกระบวนการผลติ ผ้า การถนอมรักษาเสน้ ใย และการจดั การส่งิ แวดลอ้ มใน อุตสาหกรรมสิ่งทอ 2. คำนวณขอ้ มลู เกยี่ วกับสารถะลาย ปฏกิ ิริยาเคมตี ามหลกั การและทฤษฎี 3. ทดลอง ตรวจสอบ และแก้ปัญหา เกย่ี วกับ สารละลาย ปฏิกิริยาเคมี พอลเิ มอร์ เส้นใย นาโนเทคโนโลยี ในอุตสาหกรรมเส้นใย สมบตั ิของเสน้ ใย สีย้อม สารเคมีในกระบวนการผลติ ผา้ การถนอมรักษาเสน้ ใย และการ จดั การส่ิงแวดลอ้ มในอุตสาหกรรมสง่ิ ทอตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4. ประยุกต์ใชค้ วามรู้เรอ่ื งวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยีสงิ่ ทอในงานอาชพี 4. เนอื้ หาสาระ 1.บอกจุดประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวิชา และคำอธบิ ายรายวชิ าตามหลักสูตรฯ ได้ 2.บอกแนวทางวดั ผลและการประเมินผลการเรยี นรู้ได้ 5. กจิ กรรมการเรียนรู้ ขน้ั นำเข้าสู่บทเรียน 1.ครูผ้สู อนแนะนำจุดประสงค์ทผี่ ้เู รยี นจะไดจ้ ากหลกั สูตร โดยกำหนดใหผ้ ้เู รยี นทุกคนต้องมีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกบั สารละลาย ปฏิกริ ยิ าเคมี พอลิเมอร์ เส้นใยนาโนเทคโนโลยีในอตุ สาหกรรมเส้นใย สมบตั ิของ เส้นใย สยี ้อม สารเคมใี นกระบวนการผลติ ผ้า การถนอมรักษาส้นใย และการจัดการส่ิงแวดลอ้ มในอสหกรรม เคมีสงิ่ ทอ และการประยุกต์ใช้ในงานอาชพี ทเี่ กย่ี วข้อง 2.ครูสนทนากับผู้เรยี นเพื่อให้เห็นความสำคัญของการเรยี นวิชาวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยีสิ่งทอ ข้นั สอน 3.ผ้เู รยี นรบั ฟังคำช้ีแจงสังเขปรายวชิ าและการวดั ประเมนิ ผล ซักถามข้อปญั หารวมทง้ั แสดงความ คดิ เหน็ เก่ยี วกบั การเรียนวิชาน้ี ขั้นสรุปและการประยุกต์ 4.ผู้เรียนวางแผนการเรยี นวิชาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีสิ่งทอ และการนำความรู้ท่ีได้จากรายวชิ าไป ประยกุ ต์ใช้กับงานในชวี ติ ประจำวันท่ีจำเป็นโดยทว่ั ไป ซงึ่ ทุกคนจะตอ้ งวางแผนการทำงานตา่ ง ๆ ในอนาคต 6. ส่ือและแหลง่ การเรียนรู้ 1.เอกสารประกอบการเรยี น วชิ าวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยสี ิ่งทอ 2.สอื่ Power Point 3.กจิ กรรมการเรียนการสอน

3 7.หลักฐาน 1.บันทึกการสอน 2.ใบเชค็ รายชือ่ 3.แผนจัดการเรยี นรู้ 4.การตรวจประเมินผลงาน 8.การวัดผลและการประเมินผล วธิ ีวดั ผล 1. สังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล 2. ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม 3. สงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม 4. การสงั เกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ เคร่ืองมือวัดผล 1. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุม่ 3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครแู ละผู้เรียนร่วมกัน ประเมิน เกณฑ์การประเมนิ ผล 1. เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ตอ้ งไม่มชี อ่ งปรบั ปรงุ 2. เกณฑ์ผ่านการประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกล่มุ คือ ปานกลาง (50 % ขนึ้ ไป) 3. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุม่ คือ ปานกลาง (50% ขนึ้ ไป) 4. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึน้ อยู่กับการประเมิน ตามสภาพจริง

4 9. บันทึกหลงั การสอน ข้อสรปุ หลงั การสอน ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................. ..................................... ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................. ..................................... ปัญหาที่พบ ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... แนวทางแกป้ ญั หา ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................. .....................................

แผนการจัดการเรยี นรแู้ บบฐานสมรถนะ 5 รหสั 30000-1307 วิทยาศาสตร์เทคโนโลยสี ิ่งทอ(2-2-3) ชอ่ื หน่วย/เรอ่ื ง สารละลาย หนว่ ยท่ี 1 สอนคร้ังท่ี 1-3 (2-12) จำนวน 10 ชม. 1.สาระสำคัญ สารละลาย คือ สารเนอื้ เดยี วทีเ่ กดิ จากสารบรสิ ุทธติ์ ้งั แต่ 2 ชนิดขน้ึ ไปผสมกัน สารละลายจงึ ไมเ่ ป็นสาร บรสิ ทุ ธแ์ิ ตเ่ กิดจากการรวมตวั ของสารบรสิ ุทธ์ิ โดยทีร่ วมกันแล้วยังตอ้ งเปน็ สารเนื้อเดียว (Homogeneous) เนอื่ งจากอนภุ าคของตัวถกู ละลายแทรกตวั ในอนุภาคของตัวทำละลายอยา่ งสมำ่ เสมอ โดยองคป์ ระกอบที่มี ปริมาณมากทีส่ ุด เรยี กวา่ ตัวทำละลาย (Solvent) ส่วนองค์ประกอบอื่น ๆ ที่มปี รมิ าณน้อยกวา่ เรยี กว่า ตัวถูก ละลาย (Solute) 1. บทนำ 2. กระบวนการเกิดสารละลาย 3. สภาพการละลายได้ 4. ความสามารถในการละลายของน้ำ 5. อนั ตรายจากการใชส้ ารทำละลาย 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายเรอื่ งกระบวนการเกดิ การละลายได้ 2. อธบิ ายสภาพการละลายได้ 3. อธบิ ายคุณสมบัตทิ ่ีเก่ยี วขอ้ งกับความสามารถในการละลายได้ 4. อธิบายถงึ อนั ตรายจากการใช้สารทำละลายได้ 5. มกี ารพฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผสู้ ำเร็จการศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ทคี่ รูสามารถสังเกตได้ขณะทำการสอนในเร่ือง 5.1 ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ 5.2 ความมวี ินัย 5.3 ความรับผดิ ชอบ 5.4 ความซอื่ สัตยส์ ุจริต 5.5 ความเชอื่ ม่ันในตนเอง 5.6 การประหยัด 5.7 ความสนใจใฝ่รู้ 5.8 การละเว้นสิ่งเสพติดและการพนนั 5.9 ความรักสามัคคี 5.10 ความกตัญญกู ตเวที

6 3.สมรรถนะประจำหนว่ ย 1. แสดงความรเู้ ก่ยี วกับ สารละลาย ปฏกิ ริ ิยาเคมี พอลิเมอร์ เสน้ ใย นาโนเทคโนโลยีในอตุ สาหกรรมเสน้ ใย สมบัติของเส้นใย สียอ้ ม สารเคมีในกระบวนการผลิตผ้า การถนอมรักษาเสน้ ใย และการจัดการสงิ่ แวดล้อมใน อตุ สาหกรรมสิง่ ทอ 2. คำนวณข้อมูลเกยี่ วกับสารถะลาย ปฏกิ ิริยาเคมีตามหลกั การและทฤษฎี 3. ทดลอง ตรวจสอบ และแก้ปญั หา เก่ียวกับ สารละลาย ปฏิกริ ิยาเคมี พอลเิ มอร์ เส้นใย นาโนเทคโนโลยี ในอุตสาหกรรมเส้นใย สมบตั ิของเส้นใย สีย้อม สารเคมีในกระบวนการผลิตผ้า การถนอมรักษาเสน้ ใย และการ จดั การสิ่งแวดลอ้ มในอตุ สาหกรรมส่งิ ทอตามกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 4. ประยุกตใ์ ชค้ วามรเู้ รอื่ งวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยสี ิง่ ทอในงานอาชีพ 4.เนอื้ หาสาระ 1. บทนำ 2. กระบวนการเกิดสารละลาย 3. สภาพการละลายได้ 4. ความสามารถในการละลายของนำ้ 5. อันตรายจากการใช้สารทำละลาย 5.กิจกรรมการเรียนรู้ ขัน้ นำเข้าสบู่ ทเรยี น ผูส้ อนสนทนากับผูเ้ รียนถงึ ประสบการณใ์ นชีวิตประจำวันเกี่ยวกบั สารละลายในชวี ิตประจำวัน และเกี่ยว ของกับเทคโนโลยีสิง่ ทอ แล้วดำเนนิ กจิ กรรมตามขน้ั ตอนดงั นี้ ขัน้ สอน ขั้นท่ี 1 ข้นั รวบรวมข้อมูล (Gathering) 1. แบง่ กล่มุ ผ้เู รียนเลอื กประธานและกำหนดหน้าที่สมาชิกคนอ่ืนๆ ให้ปฏบิ ัตงิ านในกลุ่ม ร่วมกันศึกษา เอกสารหนังสือเรียนเร่อื งสารละลาย การประยกุ ต์ใช้สารละลายทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับงานเทคโนโลยีส่ิงทอ 2. ตงั้ คำถามให้ผเู้ รียนเสนอข้อมูลจากประสบการณ์ทร่ี บั รูด้ ังตัวอย่างนี้ 2.1 สารละลาย - ยกตวั อย่างสารละลายทีเ่ ราใช้ในชีวติ ประจำวัน - หากสารใดไม่สามารถละลายได้ในนำจะทำใหเ้ กดิ การละลายได้อยา่ งไร - สารทำละลายที่ใชใ้ นงานสงิ่ ทอมีอะไรบ้างใหย้ กตัวอยา่ งและอธิบายการใช้งาน - บอกความเข้มขน้ ของสารละลายในรูปแบบตา่ งๆ ได้

7 2.2 การประยุกต์ใช้ความรู้เกีย่ วกับการละลาย และสมบตั บิ างประการของสารละลาย - จุดเดือดของสารละลายมกี ารเปล่ยี นแปลงเมื่อสารละลายมีความเขม้ ขน้ เปล่ียน - จดุ หลอมเหลวและความดันไอของสารละลายมีความแตกต่างจากตวั ทำละลายบริสทุ ธิ์ อย่างไร อะไรบ้าง - สมบตั คิ อลลเิ กทฟี มีความหมายอย่างไร 2.3 ความเขม้ ข้นของการละลาย - ความหมายของความเข้มขน้ ของสารละลาย - สารละลายมีองประกอบ อะไรบา้ ง - มีวธิ ีการบอกความเข้มขน้ สารละลายได้ด้วยวิธีใด และสามารถคำนวณไดอ้ ยา่ งไร 2.4 กระบวนการละลาย - พลงั งานที่เขา้ มาเก่ียวข้องกับการละลายเปน็ อยา่ งไรบา้ ง - บอกประเภทการละลายแบบดดู และคายพลงั งานความร้อน พรอ้ มท้งั ยกตวั อยา่ ง 2.5 อนั ตรายจากตัวทำละลายอินทรีย์ - ยกตวั อย่างตัวทำละลายอินทรยี ์ วา่ มอี ะไรบา้ ง - บอกขอ้ ควรระวังสำหรับการใชง้ านตัวทำละลายอินทรีย์ - ในงานเทคโนโลยสี ิง่ ทอมีการใช้งานตวั ทำละลายอนิ ทรยี ช์ นดิ ใดบ้างและในกระบวนการ 3. สมาชิกกลุ่มช่วยกันบันทึกผลการศึกษาตามหัวข้อที่กำหนดลงผังกราฟิก (เลือกออกแบบและใช้ผัง กราฟิกให้เหมาะสมกับลักษณะของขอ้ มูล) ดงั ตัวอยา่ ง (ระหว่างผเู้ รยี นศกึ ษาเอกสาร คน้ ควา้ และบนั ทกึ ผล ผสู้ อนคอยให้คำแนะนำต่อเนอื่ งรายกล่มุ ) ข้ันที่ 2 ขนั้ คิดวเิ คราะหแ์ ละสรปุ ความรู้ (Processing) 4. ให้สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายเรื่องสารละลาย การประยุกต์ใช้ความรู้เก่ียวกับกระบวนการ ละลาย ความเข้มขน้ ของการละลาย พลังงานกบั การละลาย สมบตั ิคอลลเิ กตีฟ และตัวทำละลายอินทรีย์ 5. เช่ือมโยงความคลา้ ยคลงึ ของข้อมลู ทนี่ ำมาอภปิ ราย และร่วมกนั สรุปความรูต้ ามหัวขอ้ อภิปราย 6. บนั ทกึ ผลการอภปิ รายสรปุ เป็นความเข้าใจของกลมุ่ และรายบุคคล

8 ขัน้ ที่ 3 ขน้ั ปฏบิ ัตแิ ละสรปุ ความรหู้ ลังการปฏิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge) 7. ผู้เรียนเข้ากลุ่มเดิมสรุปความรู้ความเข้าใจมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างกลุ่มในช้ันเรียนมา วเิ คราะห์เรอ่ื งสารละลาย การประยกุ ต์ใช้สารละลายในงานเทคโนโลยสี ิ่งทอ 8. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปเป็นแนวคิดเก่ียวกับสารละลาย การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับตัวทำ ละลายอินทรีย์ ร่วมกันทำกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ตามเอกสารประกอบการเรียน และร่วมกันทำกิจกรรม ตรวจสอบความเข้าใจ แลกเปลยี่ นกนั ตรวจให้คะแนน ขนั้ ที่ 4 ขน้ั สื่อสารและนำเสนอ (Applying the Communication Skill) 9. สุ่มกลุ่มผู้เรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอเกี่ยวกับสารละลาย การประยุกต์ใช้ความสามารถในการละลาย กระบวนการละลาย ความเข้มข้นของสารละลาย สมบัติคอลลิเกตีฟ และประโยชน์โทษและการใช้งาน ตัวทำ ละลายอนิ ทรีย์ โดยเลอื กใช้ผงั กราฟิก เทคนิควิธกี ารนำเสนอท่ีคิดวา่ เหมาะสมและสือ่ สารไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ บูรณาการคำศัพท์/การใชส้ อื่ /เทคโนโลยี/เพม่ิ เตมิ ในการนำเสนอให้มากที่สุดเท่าทีจ่ ะทำได้ แตล่ ะกลมุ่ แลกเปลีย่ น ผลงานกบั กลุ่มอืน่ เพ่อื เปิดโอกาสให้ผเู้ รียนได้แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ซงึ่ กันและกัน 10. ร่วมกันสรุปเป็นข้อคิดเห็นเก่ียวกับสารละลาย การประยุกต์ใช้ความสามารถในการละลาย กระบวนการละลาย ความเข้มข้นของสารละลาย สมบัติคอลลิเกตีฟ และประโยชน์โทษและการใช้งาน ตัวทำ ละลายอินทรีย์ และสมุ่ กลุ่มผเู้ รียนนำเสนอผลการสรุปความรู้ความเข้าใจ ขั้นท่ี 5 ขน้ั ประเมินเพ่ือเพ่มิ คณุ ค่าบรกิ ารสงั คมและจิตสาธารณะ (Self – Regulating) 11. ผู้เรียนแต่ละกล่มุ และรายบคุ คลตรวจสอบความรคู้ วามเขา้ ใจของตนเองหลังจากรับฟังการนำเสนอ ของสมาชิกกลุม่ อื่น ปรับปรงุ ชน้ิ งานของกลมุ่ ตนเองให้สมบูรณ์และบนั ทกึ เพ่ิมเตมิ 12. นำผลงานแสดงในป้ายนิเทศหรือเผยแพร่สู่ชั้นเรยี นเรียนอน่ื โดยติดการติดบอร์ดในหอ้ งเรียน 13. ผู้เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน จากนั้นประเมินสรุปผลการทำกิจกรรม ทำแบบประเมินตนเอง และกำหนดแนวทางการพัฒนา 6.สือ่ และแหล่งการเรยี นรู้ 1. เอกสารประกอบการเรียน วชิ าวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยสี ่งิ ทอ 2. รปู ภาพ 3. แผ่นใส 4. ส่อื PowerPoint , วิดที ัศน์ 5. แบบบนั ทึกผังกราฟิกแบบตา่ งๆ 6. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ 7. กิจกรรมการเรียนการสอน

9 7.หลกั ฐาน 1. บันทึกการสอนของผ้สู อน 2. ใบเชค็ รายชอื่ 3. แผนจดั การเรยี นรู้ 4. การตรวจประเมินผลงาน 8.การวดั ผลและการประเมนิ ผล วธิ ีวัดผล 1. สงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล 2. ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 3. สังเกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุม่ 4. ตรวจกจิ กรรมส่งเสรมิ คณุ ธรรมนำความรู้ 5. ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรู้ แบบฝึกปฏบิ ตั ิ 6. ตรวจกิจกรรมใบงาน 7. การสังเกตและประเมนิ พฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เครอื่ งมอื วัดผล 1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล 2. แบบประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุ่ม (โดยครู) 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุม่ (โดยผู้เรียน) 4. แบบประเมินผลการเรียนรู้ และแบบฝึกปฏิบตั ิ 5. แบบประเมนิ กิจกรรมใบงาน 6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและผู้เรยี นรว่ มกัน ประเมิน เกณฑก์ ารประเมนิ ผล 1. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรบั ปรงุ 2. เกณฑ์ผา่ นการประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุม่ คือ ปานกลาง (50 % ข้นึ ไป) 3. เกณฑ์ผ่านการสงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ข้นึ ไป) 4. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้มีเกณฑ์ผา่ น และแบบฝึกปฏิบัติ 50% 5. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงานมเี กณฑ์ผ่าน 50% 6. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ คะแนนข้ึนอยู่ กบั การประเมนิ ตามสภาพจริง

10 9.บันทึกหลงั การสอน ขอ้ สรุปหลังการสอน ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................. ..................................... ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ปญั หาที่พบ ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................. ..................................................... ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .............................................................................................................................................. .... ............................................................................................................................. ..................... แนวทางแก้ปญั หา ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. .....................

แผนการจดั การเรียนร้แู บบฐานสมรถนะ 11 รหสั 30000-1307 วิทยาศาสตร์เทคโนโลยสี งิ่ ทอ(2-2-3) ช่อื หน่วย/เรอื่ ง ปฏกิ ิริยาเคมี หน่วยท่ี 2 สอนครั้งที่ 4-5 (13-20) จำนวน 8 ช.ม. 1.สาระสำคัญ ปฏิกิริยาเคมีต่างๆ อาจจะเกิดข้ึนได้เร็วหรอื ชา้ ต่างกัน ซึ่งขึ้นอยกู่ ับชนิดของปฏกิ ิริยา เช่น การระเบิดของ ดินปืน จัดว่าเป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นได้เร็วมาก เพราะใช้เวลาไม่ถึงนาที การลุกไหม้ของเช้ือเพลิง เช่น ก๊าซหุงต้ม และน้ำมันเบนซิน ก็จัดว่าเป็นปฏิกิริยาท่ีเกิดได้เร็ว การลุกไหม้ของถ่านหรือของไม้ จัดว่าเป็นปฏิกิริยาท่ีเกิดข้ึน เร็วปานกลาง การเน่าเป่ือยของผัก ผลไม้ จัดว่าเป็นปฏิกิริยาท่ีเกิดข้ึนค่อนข้างช้า การเกิดสนิมของเหล็กจัดว่า เปน็ ปฏิกริ ยิ าท่ีเกิดข้ึนช้ามาก เป็นต้น ปฏิกิริยาเคมีท่ีมีความสำคัญทางด้านอุตสาหกรรมก็เกี่ยวข้องกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเช่นเดียวกัน ปฏิกิริยาเหล่านี้ให้ผลผลิตที่มีผลต่อสภาวะเศรษฐกิจของประเทศ จึงจำเป็นท่ีจะต้องผลิตให้ได้จำนวนมากและ ตน้ ทุนต่ำ ซึง่ กค็ ือต้องได้ผลผลิตมากที่สุดในเวลาน้อยที่สุดน่ันเอง ในการนี้จงึ จำเป็นที่จะต้องเรียนรู้เกยี่ วกบั อัตรา การเกิดปฏิกิริยา เรียนรสู้ ภาวะต่างๆ ท่ีใช้ในการควบคมุ การผลิต หรือสภาวะต่างๆ ทใ่ี ชค้ วบคุมการเกิดปฏิกิริยา ตอ้ งทราบว่าปจั จยั อะไรบา้ งท่มี ีผลต่ออตั ราการเกิดปฏิกิริยา จะทำให้ปฏกิ ิรยิ าเกิดเรว็ หรือช้าได้อย่างไร เปน็ ต้น 2.จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธิบายหลักการเร่ืองการผสมแสงสไี ด้ 2. อธบิ ายการนำหลักการผสมแสงสไี ปใช้ประโยชน์ในงานศิลปะและการออกแบบได้ 5. มกี ารพัฒนาคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผสู้ ำเร็จการศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ทค่ี รูสามารถสังเกตได้ขณะทำการสอนในเร่ือง 5.1 ความมีมนุษยสมั พนั ธ์ 5.2 ความมวี นิ ยั 5.3 ความรับผดิ ชอบ 5.4 ความซอื่ สัตยส์ จุ ริต 5.5 ความเชื่อมัน่ ในตนเอง 5.6 การประหยัด 5.7 ความสนใจใฝ่รู้ 5.8 การละเวน้ ส่งิ เสพติดและการพนัน 5.9 ความรักสามคั คี 5.10 ความกตัญญูกตเวที

12 3.สมรรถนะประจำหนว่ ย 1. แสดงความรู้เกย่ี วกับ สารละลาย ปฏกิ ริ ิยาเคมี พอลิเมอร์ เสน้ ใย นาโนเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมเส้นใย สมบตั ขิ องเสน้ ใย สีย้อม สารเคมีในกระบวนการผลิตผ้า การถนอมรักษาเสน้ ใย และการจัดการสง่ิ แวดลอ้ มใน อุตสาหกรรมส่งิ ทอ 2. คำนวณขอ้ มูลเก่ยี วกับสารถะลาย ปฏกิ ิรยิ าเคมีตามหลกั การและทฤษฎี 3. ทดลอง ตรวจสอบ และแก้ปญั หา เกย่ี วกับ สารละลาย ปฏิกริ ิยาเคมี พอลิเมอร์ เส้นใย นาโนเทคโนโลยี ในอุตสาหกรรมเสน้ ใย สมบตั ิของเส้นใย สยี ้อม สารเคมีในกระบวนการผลติ ผา้ การถนอมรักษาเส้นใย และการ จดั การส่ิงแวดล้อมในอุตสาหกรรมสิ่งทอตามกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 4. ประยุกตใ์ ชค้ วามรู้เรือ่ งวิทยาศาสตร์เทคโนโลยสี ่งิ ทอในงานอาชพี 4.เน้ือหาสาระ 1.การเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี 2.ความหมายของปฏิริยาเคมี 3.ชนิดของปฏิกิรยิ าเคมี 4.พลังงานกบั การเกิดปฏิกิรยิ าเคมี 5.ปจั จยั ท่ีมผี ลตอ่ อัตราการเกิดปฏกิ ิรยิ าและกลไกของปฏิกิรยิ า 6. ปฏิกิริยาเคมที ่ีพบในชีวิตประจำวนั 5.กิจกรรมการเรยี นรู้ ข้นั นำเข้าสู่บทเรยี น 1.ครใู ช้เทคนคิ การสอนแบบซิปปาโมเดล (CIPPA MODEL) โดยการทบทวนความรูเ้ ดิมจากสปั ดาห์ที่ผ่าน มา โดยดงึ ความรู้เดิมของผู้เรียนในเรอื่ งทจ่ี ะเรียน เพ่ือชว่ ยให้ผู้เรยี นมคี วามพรอ้ มในการเชอื่ มโยงความรู้ใหม่กบั ความรเู้ ดิมของตน ผสู้ อนใช้การสนทนาซักถามใหผ้ เู้ รียนเล่าประสบการณ์เดมิ 2.ผู้เรยี นบอกความรู้พ้ืนฐานที่ตนรู้เกยี่ วกับปฏกิ ิรยิ าเคมี 3.ครูบอกปฏิกริ ยิ าเคมีทพ่ี บในชวี ติ ประจำวนั ขัน้ สอน 4.ครใู ช้สื่อ Power Point ประกอบการอธิบายเรื่องปฏกิ ริ ิยาเคมี 5.ผู้เรียนบอกประโยชน์และโทษของปฏิกริ ิยาเคมีว่าสามารถมีการนำมาประยุกตใ์ ช้ได้อย่างไร 8.ครใู ช้เทคนคิ วิธีการจดั การเรยี นรู้แบบรว่ มมือ (Cooperative Learning) เพ่ือให้ผ้เู รียนได้ร่วมมือและ ชว่ ยเหลอื กนั ในการเรยี นรโู้ ดยปฏิบตั ิกิจกรรมดงั นี้ 1) แบง่ กลุ่มผเู้ รียนออกเปน็ 4 กล่มุ 2) แตล่ ะกลมุ่ สบื ค้นข้อมูลและภาพประกอบทีน่ า่ สนใจ ในหัวขอ้ ปฏิกริ ยิ าเคมชี นดิ ตา่ งๆ 3) ส่งตวั แทนรว่ มกนั อธบิ ายหนา้ ชัน้ เรยี น

13 9.ครูใช้สือ่ Power Point อธิบายเร่ืองอตั ราการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี 10.ครยู กตวั อย่างปฏิกริ ิยาเคมีท่เี กิดรวดเรว็ และเกดิ อยา่ งช้าๆ 11.ครูอธบิ ายแสดงภาพตวั อย่างการนำไปใช้งานเกี่ยวกบั ปฏิกริ ิยา ซ่ึงมีองคป์ ระกอบอ่ืน ๆ 12.ผูเ้ รยี นนำหลักการเกิดปฏิกริ ิยาเคมีไปประยุกตใ์ ชใ้ นงานอาชพี 1). พจิ ารณาองค์ประกอบต่างๆ ของการเขยี นสมการเคมี 2). ผู้เรยี นรว่ มกันอธิบายค่าต่างๆ ในสมการเคมีท่ีใหเ้ ป็นตวั อย่างเขียนเปน็ แผนภาพ 3). แบ่งกลุ่มเพอ่ื อภปิ รายร่วมกัน โดยสงั เกตสมการเคมีของกล่มุ เพ่ือนแตล่ ะคนว่า มีการทำให้สมดุล แล้วหรือไม่ และเหมือนหรอื แตกตา่ งกันอยา่ งไร 13.ครูอภปิ รายเพม่ิ เติมเกย่ี วกับพลังงานท่เี กีย่ วข้องกับปฏิกิริยาเคมี และกลไกการเกดิ 14.ครสู อนเพ่ิมเตมิ เกย่ี วกับปฏกิ ิริยาเคมที ี่อาจพบเห็นในเทคโนโลยสี ่ิงทอ สรปุ และการประยุกต์ 15.ครแู ละผู้เรยี นช่วยกนั สรุปเนอื้ หาทเ่ี รยี น 16.ผเู้ รยี นทำกิจกรรมใบงาน และแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 17.ผูเ้ รยี นวิเคราะห์เน้อื หาการเรียนการสอนและหาข้อสรุปเปน็ ความคิดรวบยอดเพ่ือนำไปประยุกต์ใช้ ต่อไป พร้อมข้อเสนอแนะตนเอง 18.ประเมนิ ธรรมชาตขิ องผเู้ รียน ช่ือผเู้ รยี น ธรรมชาตขิ องผ้เู รยี น วิธกี ารเรยี นรู้ ความสนใจ สตปิ ญั ญา วฒุ ภิ าวะ 1. 2. 3. 6.สอ่ื และแหลง่ การเรยี นรู้ 1.เอกสารประกอบการเรียน วิชาวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยสี ง่ิ ทอ 2.รูปภาพ 3.กิจกรรมการเรยี นการสอน 4.สือ่ PowerPoint 5.แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ 6.แบบประเมินกจิ กรรมใบงาน

14 7.หลักฐาน 1.บนั ทึกการสอน 2.ใบเชค็ รายชือ่ 3.แผนจัดการเรียนรู้ 4.การตรวจประเมนิ ผลงาน 8. การวดั ผลและการประเมินผล วธิ วี ัดผล 1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 2. ประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ 3. สังเกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุ่ม 4. ตรวจใบงาน 5. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ แบบฝึกปฏิบตั ิ 6. การสงั เกตและประเมนิ พฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ เครอ่ื งมอื วดั ผล 1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล 2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยครู) 3. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยผู้เรยี น) 4. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน 5. แบบประเมินผลการเรยี นรู้ แบบฝึกปฏิบัติ 6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยครแู ละผเู้ รยี น ร่วมกนั ประเมนิ เกณฑ์การประเมนิ ผล 1. เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ต้องไม่มีชอ่ งปรับปรงุ 2. เกณฑ์ผ่านการประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป) 3. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ข้นึ ไป) เกณฑ์การประเมิน มีเกณฑ์ 4 ระดับ คือ 4= ดีมาก, 3 = ด,ี 2 = พอใช้ , 1= ควรปรับปรุง 4. กิจกรรมใบงาน เกณฑ์ผ่าน คือ 50% 5. แบบประเมนิ ผลการเรียนรมู้ เี กณฑ์ แบบฝึกปฏิบตั ผิ า่ น 50% 6 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนนขนึ้ อยู่กับ การประเมินตามสภาพจรงิ

15 9.บันทึกหลงั การสอน ขอ้ สรุปหลังการสอน ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................. ..................................... ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................. ..................................... ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ปญั หาท่ีพบ ............................................................................................................................................ ...... ............................................................................................................................ ...................... ............................................................................................................................. ..................... ...................................................................................... ............................................................ ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ....................................................................................................................................... ........... แนวทางแก้ปัญหา ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................. ..................................... ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................. ..................................... ............................................................................................................................. ..................... ..................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรียนรู้แบบฐานสมรถนะ 16 รหสั 30000-1307 วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีส่งิ ทอ(2-2-3) หน่วยท่ี 3 สอนครัง้ ท่ี 4 (13-16) ชือ่ หน่วย/เร่อื ง พอลิเมอร์ เส้นใย นาโนเทคโนโลยใี นอตุ สาหกรรมเสน้ ใย จำนวน 8 ช.ม. 1.สาระสำคัญ พอลิเมอร์ คอื สารประกอบที่มโี มเลกลุ ใหญ่ เกดิ จากโมเลกลุ เดย่ี วมาเชอื่ มต่อด้วยพันธะเคมี แตล่ ะโมเลกุล เด่ียวหรอื หน่วยยอ่ ย เรยี กวา่ มอนอเมอร์ พอลิเมอร์ มีท้งั แบบท่เี ป็นธรรมชาตแิ ละสังเคราะห์ข้ึน พอลิเมอร์ธรรมชาติ เชน่ เซลลโู ลส ใยธรรมชาติ สว่ นพอลิเมอร์สังเคราะห์สามารถสงั เคราะหข์ น้ึ ได้ โดยนำสารประกอบท่เี ปน็ มอนอเมอร์มาทำปฏิกริ ิยาเคมีภายใต้ สภาวะทีเ่ หมาะสม มอนอเมอร์เหล่านีจ้ ะเชอ่ื มต่อเป็นโมเลกุลขนาดใหญ่ เกิดเป็นพอลเิ มอร์สงั เคราะห์ เช่น ยาง สังเคราะห์ เส้นใยสงั เคราะห์ พลาสตกิ เปน็ ต้น 2.จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกความหมายและองค์ประกอบของพอลิเมอร์ได้ 2. อธบิ ายการเกิดพอลเิ มอร์และเส้นใยพร้อมท้ังยกตวั อย่างได้ 3. บอกประเภทของการเกดิ ปฏิกิรยิ าพอลิเมอรไรเซชันพร้อมท้งั อธบิ ายความแตกตา่ งและยกตวั อย่างสาร ที่เกดิ ขึ้นได้ 4. มีการพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของผูส้ ำเร็จการศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ทค่ี รูสามารถสงั เกตได้ขณะทำการสอนในเรื่อง 4.1 ความมมี นุษยสัมพนั ธ์ 4.2 ความมีวนิ ัย 4.3 ความรบั ผิดชอบ 4.4 ความซื่อสัตยส์ ุจริต 4.5 ความเชอื่ มนั่ ในตนเอง 4.6 การประหยดั 4.7 ความสนใจใฝ่รู้ 4.8 การละเว้นสง่ิ เสพตดิ และการพนัน 4.9 ความรกั สามัคคี 4.10 ความกตัญญกู ตเวที

17 3.สมรรถนะประจำหน่วย 1. แสดงความรูเ้ กย่ี วกบั สารละลาย ปฏิกริ ิยาเคมี พอลเิ มอร์ เส้นใย นาโนเทคโนโลยใี นอุตสาหกรรมเส้นใย สมบัตขิ องเสน้ ใย สยี อ้ ม สารเคมีในกระบวนการผลิตผ้า การถนอมรกั ษาเส้นใย และการจดั การสิ่งแวดล้อมใน อุตสาหกรรมสง่ิ ทอ 2. คำนวณข้อมลู เกี่ยวกบั สารถะลาย ปฏิกิริยาเคมตี ามหลกั การและทฤษฎี 3. ทดลอง ตรวจสอบ และแก้ปญั หา เกย่ี วกับ สารละลาย ปฏิกิริยาเคมี พอลเิ มอร์ เส้นใย นาโนเทคโนโลยี ในอุตสาหกรรมเส้นใย สมบตั ิของเส้นใย สยี ้อม สารเคมีในกระบวนการผลติ ผ้า การถนอมรักษาเส้นใย และการ จัดการส่งิ แวดล้อมในอตุ สาหกรรมสง่ิ ทอตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4. ประยกุ ตใ์ ช้ความร้เู ร่ืองวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยสี งิ่ ทอในงานอาชพี 4.เนือ้ หาสาระ 1.ความหมายของพอลเิ มอร์ 2.ประเภทของพอลิเมอร์ 3.โครงสร้างและสมบัติของพอลเิ มอร์ 4. พอลิเมอรใ์ นชีวิตประจำวัน 5. เส้นใยสงั เคราะห์ 6. ส่ิงทอกับนาโนเทคโนโลยี 7. การผลิตเสน้ ใยนาโน 5.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสบู่ ทเรียน 1. ครูแสดงรูปภาพ และใหผ้ ู้เรยี นบอกว่าสารใดเป็นพอลเิ มอร์ 2. ผ้เู รียนยกตัวอยา่ งพอลเิ มอร์ท่พี บในชีวิตประจำวนั 3. ผเู้ รยี นทำแบบประเมินผลกอ่ นเรยี น 4. ครนู ำอภปิ รายความหมายของพอลเิ มอรด์ ้วยการนำเสนอสร้อยทร่ี ้อยด้วยลูกปัด เม่ือลูกปดั เปรยี บเทยี บได้กบั มอนอเมอร์ การนำลกู ปดั มาร้อยเปน็ สรอ้ ยเสน้ ยาวเปรยี บได้กับเปน็ สารพอลิเมอร์ 5. ครใู ช้คำถามเพ่ือใหน้ กั เรียนอภปิ รายร่วมกนั เก่ยี วกบั ความหมายของสารประเภทพอลเิ มอร์ ดงั น้ี 1. พอลิเมอร์ส่วนใหญ่เป็นสารประเภทใด มลี ักษณะของโมเลกุลเป็นอยา่ งไร 2. มอนอเมอรท์ ม่ี ารวมกันสร้างแรงยดึ เหนี่ยวต่อกนั ดว้ ยพนั ธะเคมชี นดิ ใด 3. จงบอกชื่อสารพอลเิ มอร์ท่พี บในชวี ติ ประจำวันมา 7 ชนิด 6. ครนู ำอภิปรายเก่ียวกบั สารพอลเิ มอร์ท่ีพบในชวี ติ ประจำวนั และการระมัดระวังการใชไ้ ม่ให้ เกดิ ผลกระทบต่อสิง่ มชี วี ิตและสิ่งแวดลอ้ ม นักเรยี นสรุปสรา้ งองค์ความรู้

18 ข้นั สอน 7.ครูใชเ้ ทคนิควธิ สี อนแบบบรรยาย ด้วยการเล่าอธิบายแสดงสาธติ ใหผ้ ู้เรยี นเป็นผู้ฟังและเปดิ โอกาสให้ ผ้เู รยี นซกั ถามปัญหาได้ในตอนท้ายของการบรรยายเก่ยี วกับความหมายของพอลเิ มอร์ 8. จดั กจิ กรรมโดยที่ใหผ้ ู้เรียนจบั คู่ สืบค้นข้อมลู เกี่ยวกบั ประเภทของสารพอลิเมอร์ที่พบในธรรมชาตแิ ละ พอลิเมอรส์ ังเคราะห์ด้วยการอา่ นแบบกระตือรือรน้ ในเวลา 7 นาที 9. เพื่อนคู่คิดสลบั กันอธบิ ายคนละ 5 นาที ขณะที่ฝ่ายหนงึ่ อธิบายอีกฝ่ายหนึง่ ฟังอย่างใช้สมาธิ จดข้อ สงสยั ไวซ้ ักถามเม่ือเพ่ือนอธิบายจบแลว้ 10. ผู้เรยี นสรปุ ประเภทของพอลเิ มอรด์ ว้ ยการเขียนแบบใยแมงมมุ (web) และเปรียบเทียบชนิดของ พอลิเมอรด์ ว้ ยการเขยี นไดอะแกรม ครนู ำอภปิ รายเกี่ยวกับประเภทของพอลเิ มอรแ์ ละ 11. ผู้เรยี นสืบค้นขอ้ มลู การเกิดพอลเิ มอรด์ ว้ ยการอ่านคนเดียวแบบกระตือรือร้น 12. สรปุ เปรยี บเทยี บผลการศกึ ษาการเกดิ ปฏกิ ริ ิยา พอลิเมอไรเซชนั แบบเตมิ กับปฏิกิรยิ าพอลเิ มอ ไรเซชันแบบควบแนน่ ด้วยการเขียนไดอะแกรม 13. ครนู ำอภิปรายการเกิดปฏิกริ ิยาพอลเิ มอไรเซชันนำเสนอตวั อย่างด้วยสอ่ื power point นกั เรียน สรปุ สร้างองค์ความรู้ 14. ผู้เรยี นทำกิจกรรมเพื่อทดสอบความรู้เก่ียวกับการเกิดพอลิเมอร์ สลบั กนั ตรวจสอบความถกู ต้องกบั เพ่อื นคคู่ ิด 15. ครอู ภิปรายเฉลยกิจกรรม เพื่อนประเมินผลเพ่ือนแล้วสรุปผลสง่ ครูเพอื่ เก็บข้อมูล 16. ครนู ำอภปิ รายเกี่ยวกับโครงสร้างของพอลเิ มอร์ แบ่งกล่มุ ผู้เรยี น 3 คน จบั สลากศึกษาเร่ืองตอ่ ไปนี้ 1. โครงสร้างแบบเสน้ 2. โครงสรา้ งแบบก่ิง 3. โครงสร้างแบบร่างแห 17. ครนู ำอภิปรายเกยี่ วกับโครงสรา้ งของพอลเิ มอร์ ผู้เรียนเขยี นสรุปเปรยี บเทยี บความแตกตา่ ง ระหว่างโครงสรา้ งของพอลิเมอรท์ งั้ 3 แบบ 18. ครนู ำอภปิ รายเร่ืองประเภทของพลาสติกตามรายละเอยี ดในหนังสอื เรยี น 19. นกั เรยี นสรปุ ความแตกต่างระหวา่ งเทอร์มอพลาสติกกับเทอร์มอเซตพลาสติกดว้ ยการเขียน ไดอะแกรม 20. นกั เรียนใช้กระบวนการกลุม่ 5 คน ทำกิจกรรม การเตรยี มเรซินจากยูเรียฟอร์มาลดไี ฮด์ 21 ครูนำอภปิ รายก่อนการทดลอง สารละลายฟอร์มาลดไี ฮดห์ รอื ฟอรม์ าลนี เป็นสารระเหยง่าย เปน็ อันตรายต่อระบบหายใจ ระวังอันตรายจากการสูดดมและระวงั อย่าให้กรดซัลฟวิ รกิ สัมผสั กับ ผวิ หนัง ขณะ เกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมีเปน็ ปฏกิ ริ ิยาคายความร้อนทร่ี ุนแรงใหร้ ะมัดระวงั ขณะปฏิบตั กิ ารทดลอง

19 22. ประธานกลมุ่ แบ่งงานให้สมาชิกในกลมุ่ เตรยี มอุปกรณ์ ปฏบิ ัติการทดลอง บันทึกผลการทดลอง ตอบคำถามเพื่อวิเคราะห์ผลการทดลอง และเขียนรายงานการทดลอง 23. ครสู ุม่ ตัวแทนนักเรยี นนำเสนอวธิ ีทดลองและผลการทดลอง 1 กลุ่ม นำเสนอผลการตอบคำถามเพ่ือ วิเคราะห์ผลการทดลองอีก 1 กลุ่ม 24. ครูนำอภิปรายผลการทำกิจกรรม นักเรยี นสรุปสร้างองค์ความรู้ นักเรียนทำกิจกรรม ทดสอบความร้เู กย่ี วกบั โครงสร้างของพอลเิ มอร์ เสรจ็ แล้วสง่ ครเู พ่ือประเมนิ ผล 25. ครูแบ่งกล่มุ นักเรียน 3 คน จับสลากเรื่องท่สี ืบค้นข้อมูลเกย่ี วกับพอลิเมอร์ในชวี ติ ประจำวันใน หัวข้อเรื่องต่อไปน้ี 1. พอลเิ มอร์ธรรมชาตทิ ่ีนำมาใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ประจำวัน 2. พอลเิ มอร์สังเคราะห์ท่ีนำมาใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจำวนั 3. พอลิเมอร์กับคุณภาพชวี ิต 26. นักเรยี นใชก้ ระบวนการกลุ่มสืบค้นข้อมลู พร้อมรปู ตวั อยา่ งของพอลเิ มอร์ 27. ทุกกลุ่มนำเสนอผลงานจากการทำกิจกรรมทกี่ ลมุ่ ของตนเองอย่างสรา้ งสรรค์ นักเรยี นสลับกนั แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ด้วยการซักถาม อธบิ าย และอภิปรายระหว่างกลุ่ม 28. ครนู ำอภปิ รายเกีย่ วกับพอลเิ มอร์ในชีวติ ประจำวนั นกั เรียนสรปุ สร้างองค์ความรู้ 29. นกั เรียนทำกจิ กรรมที่ 8.5 ทดสอบความรเู้ ก่ยี วกบั พอลิเมอร์ 30. นักเรียนสลับกนั ตรวจกบั เพือ่ นคูค่ ดิ ครูเฉลย เพือ่ นประเมินผลเพื่อนแลว้ สรปุ ผลส่งครู 31. ครูนำอภปิ รายเกีย่ วกบั พอลเิ มอร์กบั คุณภาพชวี ติ และความปลอดภยั ด้วยสือ่ power point นกั เรยี นรว่ ม อภิปรายเกิดความตระหนกั ถงึ อันตรายจากการใช้พอลเิ มอรส์ ังเคราะห์ในชีวิตประจำวนั 32. นกั เรยี นสรุปด้วยการเขียนแบบใยแมงมุม (web) 33. นกั เรียนทำกิจกรรม ทดสอบความรเู้ กีย่ วกบั พลาสติก 34. ครสู ุม่ เลขท่ีนักเรยี นเฉลยผลการทำกิจกรรมคนละ 1 ขอ้ จนครบทกุ ข้อ นักเรยี นตรวจสอบความ ถูกต้องแลว้ ประเมนิ ตนเองสรปุ สง่ ครู 35. นกั เรยี นตอบคำถามแบบทดสอบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนประจำหน่วย จำนวน 10 ข้อ ส่งครเู พ่ือ ประเมินผล 36.ครอู ธิบายเพมิ่ เติมเกยี่ วกบั เส้นใย ประเภทของเส้นใย และการผลิตเสน้ ใย 37.ครใู ชส้ ือ่ Power Point ประกอบการอธบิ ายเรื่องเสน้ ใยกับนาโนเทคโนโลยีจากน้นั ให้ผเู้ รยี นสืบคน้ และยกตวั อยา่ งโดยฝกึ ปฏิบัติงานดว้ ยการสืบค้นและลงมือทำในใบงาน

20 ขั้นสรุปและการประยุกต์ 38. นกั เรยี นซกั ถามปัญหาท่ียังไมเ่ ข้าใจเกย่ี วกบั เรื่องพอลเิ มอร์ ครูและเพื่อนร่วมอภปิ รายเพอื่ ตอบ ปัญหา 39. นักเรียนเขียนสรุปลำดับความคดิ สำคัญเรื่องพอลเิ มอร์ด้วยการเขยี นแผนผังมโนทศั น์แสดง ลำดับขั้นตอนของเนื้อหาสำคัญของหนว่ ย ขน้ั ตอนใดเขียนไมไ่ ด้ให้เปดิ หนังสือเรียนอา่ นทบทวนความรู้ 40. ในกรณที ่สี รุปไม่ไดใ้ นบางข้ันตอนใหใ้ ช้วธิ เี พื่อนชว่ ยเพ่ือนแก้ปัญหาก่อนประเมนิ ผลสัมฤทธิ์ 41. นกั เรยี นทำแบบทดสอบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนทา้ ยแผนการจัดการเรียนรู้ 42. ครแู ละผเู้ รยี นสรุปเน้อื หาท่ีเรยี น 43. ครูสุ่มถามผู้เรียนรายบคุ คล เพ่ือทดสอบความเข้าใจของผู้เรียนเปน็ การทบทวนสรปุ ความรู้ 6.สอื่ และแหล่งการเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการเรียน วชิ าวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยสี ่งิ ทอ 2. รปู ภาพ 3. กิจกรรมการเรยี นการสอน 4. สอื่ PowerPoint 5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 7.หลักฐาน 1.บันทกึ การสอน 2.ใบเชค็ รายช่ือ 3.แผนจดั การเรยี นรู้ 4.การตรวจประเมนิ ผลงาน 8.การวดั ผลและการประเมนิ ผล วธิ ีวดั ผล 1. สังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล 2. ประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุ่ม 3. สงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ 4. ตรวจใบงาน 5. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ และแบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ

21 6. การสังเกตและประเมนิ พฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ เคร่ืองมือวดั ผล 1. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล 2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ (โดยครู) 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยผูเ้ รียน) 4. แบบประเมนิ กิจกรรมใบงาน 5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ 6. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครแู ละผเู้ รยี น รว่ มกนั ประเมิน เกณฑ์การประเมินผล 1. เกณฑ์ผา่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ต้องไมม่ ชี ่องปรบั ปรงุ 2. เกณฑผ์ ่านการประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50 % ข้นึ ไป) 3. เกณฑ์ผา่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50% ขนึ้ ไป) 4. กิจกรรมใบงาน เกณฑ์ผ่าน คือ 50% 5. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ และแบบฝึกปฏบิ ัตมิ ีเกณฑ์ผา่ น 50% 6 แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับ การประเมินตามสภาพจรงิ

22 9. บันทึกหลงั การสอน ข้อสรุปหลังการสอน ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................. ..................................... ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ปัญหาที่พบ ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................. ..................................... ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... แนวทางแกป้ ญั หา ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................. ..................................... ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .....................

แผนการจัดการเรยี นรแู้ บบฐานสมรถนะ 23 รหัส 30000-1307 วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีส่ิงทอ(2-2-3) ชอ่ื หน่วย/เรอ่ื ง สมบัติของเส้นใย หนว่ ยท่ี 4 สอนครั้งที่ 8-9 (29-32) จำนวน 8 ช.ม. 1. สาระสำคัญ สมบัติของเส้นใยมีผลโดยตรงตอ่ สมบัติของผ้าท่ีทำข้นึ จากเสน้ ใยนัน้ ๆ ผ้าที่ทำจากเสน้ ใยท่แี ขง็ แรงก็ จะมคี วามแข็งแรงทนทานด้วย หรอื เสน้ ใยทส่ี ามารถดูดซับน้ำได้ดีจะส่งผลใหผ้ า้ สามารถดดู ซบั น้ำและความชื้นได้ ดี เหมาะสำหรับการนำไปใชใ้ นสว่ นท่มี กี ารสัมผัสกบั ผวิ และดดู ซับนำ้ เชน่ ผ้าเชด็ ตวั ผ้าออ้ ม เป็นตน้ ดงั นน้ั การ ที่เราเขา้ ใจสมบัตขิ องเส้นใย จะชว่ ยทำให้สามารถทำนายสมบตั ขิ องผา้ ท่มี ีเส้นใยนั้นๆ เป็นองคป์ ระกอบ รวมไป ถงึ ผลติ ภณั ฑ์สุดท้ายได้ ซง่ึ จะชว่ ยให้สามารถเลอื กชนดิ ของผลติ ภัณฑใ์ นเบือ้ งต้น ได้ถกู ต้องตามความต้องการของ การนำไปใช้งาน ความแตกต่างของเส้นใยขึน้ อยกู่ ับโครงสร้างทางกายภาพ องค์ประกอบทางเคมี และการเรียง ตวั ของโมเลกุล ซง่ึ สว่ นผสมและความแตกต่างในปจั จัยทงั้ สามน้ี ทำให้เส้นใยมีสมบัติทหี่ ลากหลายและแตกต่าง กนั ซงึ่ สมบตั ขิ องเส้นใยกจ็ ะมีผลต่อสมบัติของผา้ หรอื ผลิตภัณฑท์ ่ีผลติ จากเสน้ ใยนั้น ทง้ั ในส่วนท่เี ปน็ ที่ต้องการ และไม่ต้องการต่อการนำไปใช้งาน 2.จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธิบายบทบาทของเส้นใยชนดิ ต่างๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับเทคโนโลยีสิ่งทอ ได้ 2. เข้าใจและแยกประเภทของเส้นใยได้ 3. ยกตวั อย่างและอธิบายคุณสมบัตติ า่ งๆ เก่ียวกบั เสน้ ใยผา้ ได้ 4. มกี ารพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของผสู้ ำเร็จการศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทคี่ รสู ามารถสังเกตได้ขณะทำการสอนในเร่ือง 4.1 ความมมี นษุ ยสัมพนั ธ์ 4.2 ความมวี ินยั 4.3 ความรบั ผดิ ชอบ 4.4 ความซ่ือสัตยส์ ุจริต 4.5 ความเชือ่ ม่ันในตนเอง 4.6 การประหยดั 4.7 ความสนใจใฝร่ ู้ 4.8 การละเวน้ ส่งิ เสพติดและการพนนั 4.9 ความรักสามัคคี

24 4.10 ความกตัญญกู ตเวที 3.สมรรถนะประจำหน่วย 1. แสดงความร้เู กยี่ วกับ สารละลาย ปฏกิ ริ ยิ าเคมี พอลิเมอร์ เสน้ ใย นาโนเทคโนโลยใี นอุตสาหกรรมเสน้ ใย สมบัติของเส้นใย สยี อ้ ม สารเคมใี นกระบวนการผลิตผ้า การถนอมรักษาเส้นใย และการจัดการส่งิ แวดลอ้ มใน อุตสาหกรรมสิ่งทอ 2. คำนวณข้อมลู เกย่ี วกบั สารสละลาย ปฏิกริ ิยาเคมตี ามหลกั การและทฤษฎี 3. ทดลอง ตรวจสอบ และแก้ปญั หา เกี่ยวกับ สารละลาย ปฏิกิริยาเคมี พอลิเมอร์ เส้นใย นาโนเทคโนโลยี ในอุตสาหกรรมเสน้ ใย สมบตั ิของเสน้ ใย สีย้อม สารเคมีในกระบวนการผลิตผ้า การถนอมรักษาเส้นใย และการ จดั การสิ่งแวดลอ้ มในอุตสาหกรรมสงิ่ ทอตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4. ประยุกตใ์ ชค้ วามรเู้ รือ่ งวิทยาศาสตร์เทคโนโลยสี ง่ิ ทอในงานอาชพี 4.เนอ้ื หาสาระ 1. ประเภทของเส้นใย 2. สมบัตขิ องเสน้ ใย 3. สมบัตขิ องเสน้ ใยทีม่ ผี ลตอ่ สมบตั ิของผ้า 5.กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ข้นั สร างความสนใจ ( Engagement : E1 ) ผู สอนให ผู เรยี นศกึ ษาเส้นใยของผ้าเป นชนดิ ต่างๆ โดยใชส้ ่ือของจรงิ 2. ขั้นสํารวจและค นหา ( Exploration : E2 ) 2.1 เส้นใยผ้าชนดิ ต างๆ - ให ผู เรียนทดสอบเสน้ ใยชนดิ ตา่ งๆตามวิธีการในการวิเคราะห์เส้นใย 2.2 เขยี นบรรยายลกั ษณะพร้อมท้ังวาดรูปภาพขยายของเส้นใยชนิดต่างๆ (ทีเ่ หน็ จากการวิเคราะห์ ด้วยวธิ กี ารต่างๆ 2.3 ผู สอนให ผู เรียนทสี่ รุปกจิ กรรมทำได้ทำการวเิ คราะหเ์ สน้ ใยชนิดตา่ งๆ 3. ข้ันอธิบายและลงข อสรปุ ( Explanation : E3 ) 3.1 ผู สอนและผู เรียนนาํ ผลที่ได จากการสํารวจค นหา วเิ คราะห์ทดลองคณุ สมบตั ิ มาร วม กนั อภิปราย ถึงลกั ษณะของเส้นใยของผ้าชนิดตา่ งๆ โดยจำแนกประเภท ซ่ึงผู สอนจะให ความรู เพมิ่ เสริม ในการอภปิ รายว า ผา้ แต่ละชนิดมคี ุณสมบัติพเิ ศษอยา่ งไร สําหรบั สาเหตทุ ที่ ําใหการใชง้ านผา้ และเสน้ ใยแต่ ละชนดิ มคี วามเหมาะสมแตกต่างกนั การวิเคราะห สรปุ สามารถทําได จากลักษณะทางกายภาพภายนอก และจากคณุ ภาพของเสน้ ใย 3.2 นกั เรยี นสรุปผลการศกึ ษาสมบัติของเส้นใยชนดิ ตา่ ง ๆ 4. ข้นั ขยายความรู ( Elaboration : E4 ) ผู สอนให ความรู เก่ียวกับการนำมาผลติ เป็นของ ใชป้ ระเภทตา่ งๆ เช่นวัสดทุ ำความสะอาด สิง่ ของเครือ่ งเรือนอ่นื ๆ ทน่ี อกเหนอื จากผ้าและเครื่องนุ่งห่ม

25 5. ขนั้ ประเมิน ( Evaluation : E5 ) 5.1 ให ผู เรียนนำเสนอ เกี่ยวกับการออกแบบการนำไปใชง้ าน ของผลิตภัณฑเ์ สน้ ใย ประเภทตา่ งๆ ได้อย่างเหมาะสม โดยนำความรู้ตามทไ่ี ด้ขอ้ มลู จากการวเิ คราะห์คณุ สมบัตเิ ส้นใยทำได้ทำ กจิ กรรม 5.2 ให ผู เรียนร วมกนั อภปิ รายการใช ประโยชน จากการศกึ ษาคุณสมบัติและคุณภาพ ส้นใย การวดั และประเมินผล 1. สงั เกตความร วมมือในการทํากจิ กรรม การตอบคาํ ถาม การอภิปรายแสดงความ คดิ เหน็ 2. ประเมนิ ความร วมมือในการทํากจิ กรรมกลุ มและผลจากการทํากิจกรรม 3. ประเมินเจตคติ คุณธรรม ท่ผี ู เรียนแสดงออกในขณะที่มีการเรียนรู 6. สอื่ และแหลง่ การเรียนรู้ 1.เอกสารประกอบการเรยี น วิชาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยสี ิ่งทอ 2.รูปภาพ ผา้ ตัวอย่าง และเส้นใยชนิดตา่ งๆ 3.กจิ กรรมการเรียนการสอน 4.แผน่ ใส 5.ส่ือ PowerPoint , วดี ทิ ศั น์ 6.แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ 7.หลกั ฐาน 1.บันทกึ การสอน 2.ใบเชค็ รายชอื่ 3.แผนจดั การเรียนรู้ 4.การตรวจประเมินผลงาน 8.การวัดผลและการประเมินผล วธิ ีวดั ผล 1. สังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล 2. ประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกล่มุ

26 3. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ 4. ตรวจใบงาน 5. ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรู้ 6. การสงั เกตและประเมนิ พฤติกรรมด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ เครือ่ งมอื วดั ผล 1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. แบบประเมินพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุม่ (โดยครู) 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยผู้เรียน) 4. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน 5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏิบัติ 6. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครแู ละผเู้ รียน ร่วมกันประเมนิ เกณฑก์ ารประเมินผล 1. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ต้องไม่มชี ่องปรบั ปรุง 2. เกณฑ์ผ่านการประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป) 3. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขนึ้ ไป) 4. กจิ กรรมใบงาน เกณฑผ์ า่ น คือ 50% 5. แบบประเมินผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏิบตั มิ เี กณฑผ์ ่าน 50% 6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับ การประเมินตามสภาพจรงิ

27 9. บันทึกหลงั การสอน ข้อสรุปหลังการสอน ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................. ..................................... ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ปญั หาที่พบ ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................. ..................................................... ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... แนวทางแก้ปญั หา .............................................................................................................................. .................... .............................................................................................................. .................................... ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................. ..................................... ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................. ..................................... ............................................................................................................................. .....................

28 แผนการจัดการเรยี นรแู้ บบฐานสมรถนะ หนว่ ยที่ 5 รหสั 30000-1307 วิทยาศาสตร์เทคโนโลยสี ง่ิ ทอ(2-2-3) ช่อื หน่วย/เรื่อง สียอ้ ม สารเคมีในกระบวนการผลติ ผา้ สอนครงั้ ที่ 10-11 (37-44) จำนวน 8 ช.ม. 1.สาระสำคญั สารเคมีมีบทบาทสำคัญตอ่ การดำรงชีวิตประจำวนั ของมนษุ ย์ในปจั จบุ นั หลายๆ ดา้ น ไม่ว่าจะใชเ้ ปน็ สาร ทำความสะอาด สารปรุงแตง่ อาหาร ยารักษาโรค การป้องกันกำจดั ศัตรพู ชื และสารเคมีท่ใี ชใ้ นสำนักงาน การนำ สารเคมีมาใชป้ ระโยชนอ์ าจทำให้เกิดผลกระทบต่อสงิ่ มชี ีวิตและส่งิ แวดล้อม ถ้าใชไ้ มถ่ ูกต้อง จึงควรระมัดระวงั มี การอา่ นฉลากก่อนใช้ ใชใ้ นปริมาณทเี่ หมาะสม และศึกษาผลกระทบทจ่ี ะเกิดขึ้น ทั้งนี้เพื่อใหเ้ กิดประโยชน์สูงสดุ ต่อผู้ใช้ 2.จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3. ยกตัวอย่างและอธบิ ายเก่ยี วกบั สารเคมที ่ใี ชใ้ นการเกษตร และสารเคมที ่ีใช้ในสำนักงานได้ 4. บอกหลกั การใช้สารเคมีอย่างถกู ต้องและปลอดภัยตลอดจนสามารถนำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้ 5. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของผสู้ ำเรจ็ การศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ที่ครูสามารถสังเกตได้ขณะทำการสอนในเร่ือง 5.1 ความมีมนษุ ยสัมพนั ธ์ 5.2 ความมีวนิ ยั 5.3 ความรับผิดชอบ 5.4 ความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ 5.5 ความเชอื่ ม่ันในตนเอง 5.6 การประหยัด 5.7 ความสนใจใฝร่ ู้ 5.8 การละเว้นสิง่ เสพติดและการพนนั 5.9 ความรกั สามัคคี 5.10 ความกตัญญูกตเวที

29 3.สมรรถนะประจำหนว่ ย 1.แสดงความรเู้ กยี่ วกับ สารละลาย ปฏกิ ริ ยิ าเคมี พอลเิ มอร์ เสน้ ใย นาโนเทคโนโลยใี นอุตสาหกรรมเสน้ ใย สมบัตขิ องเส้นใย สยี ้อม สารเคมีในกระบวนการผลติ ผ้า การถนอมรกั ษาเส้นใย และการจดั การส่ิงแวดล้อมใน อุตสาหกรรมส่ิงทอ 2. คำนวณขอ้ มูลเก่ยี วกับสารถะลาย ปฏิกิรยิ าเคมตี ามหลกั การและทฤษฎี 3. ทดลอง ตรวจสอบ และแก้ปัญหา เก่ยี วกับ สารละลาย ปฏิกิริยาเคมี พอลเิ มอร์ เส้นใย นาโนเทคโนโลยี ในอุตสาหกรรมเสน้ ใย สมบัติของเสน้ ใย สีย้อม สารเคมีในกระบวนการผลติ ผา้ การถนอมรักษาเส้นใย และการ จัดการสง่ิ แวดล้อมในอุตสาหกรรมส่ิงทอตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4. ประยุกต์ใชค้ วามรเู้ ร่อื งวิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยสี ง่ิ ทอในงานอาชีพ 4.เน้ือหาสาระ 1.สียอ้ ม 2.สารเคมี 3.หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกตอ้ งและปลอดภัย 5.กิจกรรมการเรียนรู้ ขัน้ นำเข้าสบู่ ทเรยี น 1.ครใู ชเ้ ทคนิคการสอนแบบซิปปาโมเดล (CIPPA MODEL) โดยการทบทวนความรเู้ ดิมจากสัปดาห์ท่ี ผ่านมา โดยดงึ ความร้เู ดมิ ของผู้เรียนในเร่ืองทจ่ี ะเรยี น เพ่ือชว่ ยใหผ้ ้เู รยี นมีความพรอ้ มในการเช่ือมโยงความรใู้ หม่ กับความรู้เดิมของตน ผสู้ อนใชก้ ารสนทนาซกั ถามให้ผูเ้ รียนเล่าประสบการณ์เดมิ 2.ผ้เู รียนแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกับกระบวนการผลิตสิ่งทอว่าสิ่งทสี่ ำคัญเข้ามาเกยี่ วขอ้ งอกี ประการหนึ่ง คือการใชส้ ารเคมีในอุตสาหกรรมส่งิ ทอ เส้นใยประเภทต่างๆ ในแต่ละข้นั ตอนของการผลิต ขนั้ สอน 3.ครูใชส้ ื่อ Power Point อธิบายขั้นตอนและกระบวนการผลติ เสน้ ใย บอกถงึ สารเคมที ่ีมสี ว่ นเขา้ มา เก่ยี วขอ้ งในแต่ละข้ันตอน ดังนี้

30 ประเภทของสารเคมีและลักษณะการใช้งานแบ่งตามข้ันตอนการผลิตได้ดงั นี้ สารเคมใี นขน้ั ตอนการผลิตเสน้ ใย เสน้ ใยสิ่งทอ แบ่งออกเปน็ ประเภทใหญ่ได้ 2 ประเภท คือ เส้นใยธรรมชาติและเส้นใยประดิษฐ์ เสน้ ใยธรรมชาตทิ ่ีสำคญั ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ ไดแ้ ก่ ฝ้าย ขนสตั ว์ และไหม เส้นใยเหลา่ นี้ไดม้ าจากการเพาะปลกู และได้มาจากสัตว์ สารเคมีที่ใชจ้ ึงเป็นสารเคมที ่ีเกี่ยวขอ้ งกับการเพาะปลูกพืช การเล้ยี งสตั ว์ มีการใชส้ ารฆา่ แมลงและปยุ๋ เคมีในการเพาะปลกู ฝ้ายปริมาณคอ่ นข้างมากและสง่ ผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม ปัจจบุ ันจึงหนั มา ผลิตฝ้ายอนิ ทรีย์ (Organic cotton) ท่ไี ม่ใชส้ ารเคมใี นการเพาะปลูกเลยมากข้ึน เพื่อความเป็นมติ รต่อ สิง่ แวดล้อม สว่ นขนสตั วก์ ็มีการใช้สารฆา่ แมลงที่รบกวนเชน่ กัน สำหรบั กระบวนการผลิตเสน้ ใยประดษิ ฐซ์ ึ่งแบ่งเปน็ ประเภทยอ่ ยได้ 2 ประเภท คือ เส้นใยปรับ รูปใหม่ (Regenerated fibers) และเสน้ ใยสงั เคราะห์ การใชส้ ารเคมีจะขึน้ อย่กู บั ประเภทของเส้นใยที่ผลติ เสน้ ใยปรบั รปู ใหมส่ ่วนใหญ่เป็นเส้นใยจากเซลลูโลสทถ่ี ูกนำมาละลายในตัวทำละลายทเ่ี หมาะสม แลว้ ผ่าน กระบวนการปั่นออกมาเป็นเส้นใย ตัวทำละลายทใี่ ช้สว่ นใหญ่ค่อนขา้ งอนั ตราย อยา่ งไรก็ตาม ในการผลิตเชิง อุตสาหกรรมสามารถใชก้ ระบวนการทเ่ี ป็นระบบปิดและใช้เทคโนโลยีการนำตัวทำละลายกลับมาใชใ้ หม่ (Solvent recovery) เพื่อหลกี เลยี่ งผลกระทบต่อมนษุ ยแ์ ละสิ่งแวดล้อมได้ กระบวนการผลติ เสน้ ใยสังเคราะห์ เปน็ การขนึ้ รปู พอลเิ มอร์ออกมาเป็นเส้นใยโดยเทคนิคการปน่ั เสน้ ใยแบบหลอมเป็นหลัก มีการใช้สารเคมีท้ังทเี่ ป็น สารตง้ั ต้นและสารช่วยในกระบวนการ ตั้งแตข่ ้ันการผลิตพอลิเมอร์ทใี่ ชเ้ ป็นวตั ถดุ ิบในการผลติ ซ่งึ สารบางตวั มี ความเปน็ พิษและไม่เปน็ มติ รตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม นอกจากนย้ี งั มีตัวเร่งปฏกิ ิริยา (catalyst) ประเภท antimony oxide ทีใ่ ชใ้ นการผลิตพอลิเอสเตอร์ poly(ethylene terephthalate) จดั เปน็ สารทีค่ วรหลีกเลย่ี งเน่อื งจากมผี ล ก่อมะเรง็ สารเคมใี นขั้นตอนการผลิตเสน้ ดา้ ย สารเคมที ่ใี ชใ้ นขน้ั ตอนนี้ คอื สารหล่อล่ืน (Lubricants) ทชี่ ่วยลดแรงเสยี ดทานทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั เส้น ใยระหว่างการปัน่ ดา้ ย สารหลอ่ ลน่ื ท่ใี ชส้ ่วนใหญเ่ ปน็ นำ้ มนั mineral oil สารหล่อลน่ื กล่มุ polyaromatic

31 hydrocarbons (PAHs) มผี ลเป็นสารกอ่ มะเรง็ และเปน็ พิษต่อส่งิ แวดล้อม จงึ ควรหลีกเล่ียง และปัจจุบนั ถกู หา้ มใชส้ ำหรบั ผลติ ภัณฑส์ ่งิ ทอทจ่ี ะนำเขา้ สหภาพยโุ รป นอกจากนำ้ มันหลอ่ ล่นื แล้วยงั มีสารเคมที ่ใี ช้ใน กระบวนการน้ีอีกคือ สารลดแรงตงึ ผวิ (Surfactants) ที่ใชใ้ นการเตรยี มอมิ ลั ช่ันกับนำ้ มัน สารลดแรงตงึ ผิว ประเภท Alcohol ethoxylates (AEOs) และ Alkyl phenol ethoxylates (APEOs) เปน็ สารกลุ่มทหี่ า้ มใช้ เปน็ สว่ นผสมในปรมิ าณท่เี กินกวา่ 0.1% ตามข้อกำหนดของสหภาพยุโรป Directive 2003/53/EG สาร APEOs มผี ลตอ่ ระบบฮอร์โมนและเป็นสารท่มี สี มบัตติ กค้างยาวนาน (persistent) เนือ่ งจากสลายตัวช้า สามารถสะสมได้ ในสิง่ มชี วี ิต (Bio-accumulative) โดยส่วนใหญ่มกั สะสมในเน้ือเยอื่ ไขมนั และเปน็ พษิ นอกจากนี้ยังเปน็ พิษ ต่อสัตวน์ ้ำหากเจือปนในน้ำท้ิงจากกระบวนการท่ีระบายออกส่แู หล่งนำ้ ธรรมชาติ สารเคมใี นขั้นตอนการผลติ ผ้าผืน กระบวนการผลติ ผา้ ผืน ไดแ้ ก่ กระบวนการทอและกระบวนการถัก สารเคมที ่ีใชเ้ ปน็ สารทที่ ำ หนา้ ทหี่ ลอ่ ลน่ื ลดแรงเสยี ดทานระหวา่ งกระบวนการทอ และถกั สำหรบั กระบวนการทอจำเป็นตอ้ งมกี ารเคลือบ เส้นด้ายยืนดว้ ยสาร Sizing (Sizing agent) สาร sizing ทสี่ ำคัญน้มี ีท้ังสารจากธรรมชาติและสารสังเคราะห์ ได้แก่ แปง้ (Starch) poly(vinyl alcohol) (PVA) และ carboxymethyl cellulose เป็นตน้ การเลือกใช้สารเหล่านค้ี วรคำนงึ ถึง ความยาก ความง่ายในการกำจดั ออกจากผ้าด้วย การใชแ้ ป้งเป็นสาร sizing เม่อื ต้องการกำจัดออกมักจะตอ้ งใช้ สารเคมชี ว่ ย ในขณะท่กี ารใช้ PVA ซึ่งมีคณุ สมบัติละลายนำ้ ได้ สามารถกำจัดออกไดง้ ่ายกวา่ และสามารถนำ กลับมาใชใ้ หม่ได้ ขน้ั ตอนการเตรียมผ้า กระบวนการเตรยี มผา้ ก่อนเขา้ สูก่ ระบวนการยอ้ ม ประกอบด้วยกระบวนการที่ สำคญั คอื - การลอกแปง้ (Desizing) ประเภทของสารเคมีท่ใี ช้ในกระบวนการลอกแป้งขนึ้ อย่กู ับชนิด ของสาร sizing ทีใ่ ช้ในข้นั ตอนการลงแป้ง (Sizing) เชน่ หากใชแ้ ปง้ (starch) เคลือบเสน้ ดา้ ย แป้งมสี มบัติไม่ ละลายนำ้ เม่ือจะกำจดั ออกจึงตอ้ งใชส้ ารออกซิไดซิง (Oxidizing agent) หรอื เอมไซมอ์ ะไมเลสยอ่ ยแปง้ ออก ถา้ เปน็ PVA กส็ ามารถกำจดั ออกได้ง่ายโดยการต้มในนำ้ รอ้ นเนือ่ งจาก PVA ละลายนำ้ ได้ - การทำความสะอาด (Scouring) การทำความสะอาดโดยท่วั ไปใช้สารลดแรงตึงผวิ (น้ำสบู่) และด่างในการกำจดั สิ่งสกปรกออกจากผ้า สารลดแรงตึงผิวที่ใช้เป็นประเภทประจุลบและไม่มีประจุ ส่วนด่างที่ ใช้คอื โซเดยี มคาร์บอเนต นอกจากน้ยี งั มีการใช้สารลดแรงตงึ ผิวเปน็ สารช่วยเปยี กดว้ ย การทำความสะอาดผ้า สามารถทำไดโ้ ดยใช้เอนไซม์เช่นกัน เพ่อื ลดการใช้สารเคมี - การฟอกขาว (Bleaching) กระบวนการฟอกขาวเปน็ กระบวนการท่ีทำให้วสั ดุสิ่งทอมีความ ขาวเพ่ิมข้ึนโดยการใช้สารเคมีชว่ ย การฟอกขาวถือว่ามคี วามสำคญั ต่อประสิทธิภาพในการยอ้ มสวี ัสดสุ ง่ิ ทอ

32 โดยเฉพาะการย้อมในเฉดสีอ่อนและการผลิตผา้ ขาว สารฟอกขาวท่ใี ชม้ ดี ว้ ยกันหลายประเภท สารฟอกขาว ประเภทออกซิเดทีฟ ทสี่ ำคญั ไดแ้ ก่ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (Hydrogen peroxide) โซเดยี มไฮโปคลอไรต์ (Sodium hypochlorite) โซเดยี มคลอไรต์ (Sodium chlorite) สว่ นสารฟอกขาวประเภทรดี กั ทฟี ทีส่ ำคญั ได้แก่ Sodium hydrosulphite สารฟอกขาวประเภทท่ีมคี ลอรนี โดยเฉพาะ Sodium hypochorite มกั ก่อใหเ้ กิดสารประกอบ AOX (absorbable organic halogens) ท่ปี ลดปลอ่ ยออกมาสงู สว่ น Sodium chlorite แม้วา่ จะปลดปล่อยสาร AOX ปริมาณตำ่ กว่าแตใ่ นการฟอกขาวเกิดสาร chlorine dioxide ท่เี ปน็ พิษ ดังน้นั การฟอกขาวจึงนยิ มใชไ้ ฮโดรเจนเปอร์ออกไซดซ์ ่ึงไม่มีคลอรีนเปน็ องคป์ ระกอบ สว่ น sodium hydrosulphite เป็นสารที่กอ่ ใหเ้ กิดการระคายเคืองและเป็นพษิ - การชบุ มัน (Mercerization) สำหรับเส้นใยฝา้ ยในการชบุ มนั ทำเพ่ือเพ่ิมความมันเงาและ ความสามารถในการดดู ซบั สยี ้อมให้กบั เส้นใยฝ้าย มกี ารใชโ้ ซเดยี มไฮดรอกไซดห์ รอื โซดาไฟที่มคี วามเข้มขน้ สงู (20 - 30%) โซดาไฟน้จี ะเขา้ ไปทำใหฝ้ า้ ยเกิดการบวมตัวขึ้น แม้ว่าโซดาไฟจะเป็นสารที่ไม่เป็นอันตรายร้ายแรง แต่ด้วยความเข้มข้นท่ีสงู ทำให้น้ำท้ิงหลังกระบวนการมีความเป็นด่างสงู ดงั นนั้ ปจั จบุ ันจงึ มกี ารพฒั นา กระบวนการใหส้ ามารถนำโซดาไฟกลับมาใช้ใหมไ่ ด้หรือนำโซดาไฟท่ีเหลือไปใช้ในกระบวนการอน่ื แทน เพื่อลด ปญั หาในการบำบัดน้ำเสยี สารเคมใี นขั้นตอนการย้อม และพิมพ์ ปัจจบุ นั สีอนิ ทรีย์สังเคราะห์ (เชน่ สีย้อมอะโซ) ถกู ใช้อย่างแพร่หลายในกระบวนการ ผลติ ของโรงงานอตุ สาหกรรมสารเคมีทีเ่ กย่ี วกับสี รวมท้ังกระบวนการผลติ สยี ้อม โดยกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมได้ จำแนกสียอ้ มตามวิธีใชอ้ อกเป็น 11 ประเภท คือ (1) สีเอซดิ (2) สีไดเร็กท์ (3) สีเบสิก (4) สดี สิ เพอรส์ (5) สรี ี แอกทฟี (6) สีอะโซอิค (7) สแี วต็ (8) สีมอรแ์ ดนท์ (9) สีอินเกรน (10) สีออกซเิ ดช่ัน และ (11) สซี ลั เฟอร์ ซงึ่ สยี อ้ มแตล่ ะประเภทจะมสี ตู รโครงสร้างทางเคมี สมบตั ิของสียอ้ ม ตลอดจนวิธีใชต้ า่ งกันและจากกระบวนการผลติ พบวา่ ประมาณ 10-15% ของสีย้อมจะถกู ปล่อยไปส่สู ิง่ แวดล้อมในระหวา่ งกระบวนการย้อมสสี ารต้ังต้นต่าง ๆ เชน่ เสน้ ใยส่ิงทอที่ไดจ้ ากธรรมชาตแิ ละจากการสังเคราะห์ พลาสตกิ หนงั กระดาษ นำ้ มันถ่านหิน ขี้ผงึ้ และท่ี สำคัญคือ อาหารและเคร่ืองสำอาง สีย้อมบางชนิดพบวา่ เป็นสารพษิ หรือสารกดั กร่อน เป็นตน้ เหตขุ องโรคภมู แิ พ้ และเม่ือได้รับสะสมไปเปน็ เวลานานจะก่อใหเ้ กดิ โรคมะเร็ง สารเคมหี ลักทใี่ ช้ในการยอ้ ม คือ สีย้อม (Dyes) และสารชว่ ยยอ้ ม (Auxiliaries) เสน้ ใยสิ่งทอแต่ ละชนิดมสี มบัติการยอ้ มติดสแี ตกตา่ งกนั และในการยอ้ มสแี ต่ละประเภทจำเป็นต้องใช้สารชว่ ยท่ีแตกต่างกันดว้ ย สยี อ้ มในอุตสาหกรรมสงิ่ ทอมีด้วยกนั หลายประเภท หลกั ๆ ได้แก่ สีไดเร็กต์ สีรีแอคทฟี สแี ว็ต สีซัลเฟอร์ สี เอโซอคิ สดี สี เพริ ์ส สเี บสคิ และสีแอซิด ดงั ตาราง ตารางแสดงประเภทและสมบัติของสยี ้อม ประเภทของสยี ้อม สมบตั ิ

33 1. สีเอซิด (acid dye) เกิดจากสารประกอบอนิ ทรยี ์ มปี ระจุลบ ละลายนำ้ ไดด้ ี ส่วนใหญเ่ ปน็ เกลือของกรดกำมะถัน กลไกในการติดสเี กิดเป็นพันธะไอออนกิ ใช้ย้อมเสน้ ใยโปรตีน 2. สีไดเร็กท์หรอื สยี ้อมฝ้าย (direct dye) เปน็ สารประกอบอะโซทีม่ นี ้ำหนักโมเลกลุ สงู มหี มูก่ รดซัลโฟนิคท่ีทำใหต้ วั สีสามารถ ละลายนำ้ ได้ มีประจุลบ นยิ มใชย้ ้อมเสน้ ใยเซลลูโลส 3. สเี บสิค (basic or cationic dye) เปน็ เกลอื ของเบสอินทรีย์ ให้ประจุลบ ละลายน้ำได้ดี นยิ มใช้ยอ้ มเส้นใย โปรตนี ไนลอนและใยอะครลิ ิกได้ดี 4. สดี ิสเพอร์ส (disperse dye) ไม่ละลายน้ำแตม่ สี มบตั ิการกระจายไดด้ ี สามารถย้อมเสน้ ใยโพลีเอสเตอร์ ไนลอน และอะคริลิกไดด้ ี สดี สิ เพอรส์ แบง่ ออกเป็น 2 กลุม่ โดยพิจารณากลมุ่ เคมีในตวั สยี อ้ ม ไดแ้ ก่ สีย้อมอะโซ และสี ย้อมแอมมโิ น แอนทราควิ โนน 5. สีรแี อกทีฟ (reactive dye) ละลายนำ้ ได้ มีประจลุ บ เมื่ออยใู่ นน้ำจะมีสมบัติเป็นดา่ ง เหมาะกบั การย้อมเส้นใย เซลลโู ลสมากท่สี ดุ สรี แี อกทีฟมี 2 กลุ่ม คือ กล่มุ ท่ยี ้อมติดที่อณุ หภูมิสงู 70-75 องศาเซลเซยี ส และกล่มุ ที่ย้อมตดิ ที่อณุ หภูมปิ กติ 6. สีเอโซอคิ (azoic acid) ไมส่ ามารถละลายน้ำได้ การที่สีจะก่ออรูปเป็นเส้นใยไดต้ ้องย้อมด้วยสารประกอบ ฟีนอลซง่ึ ละลายนำ้ ไดก้ ่อน แล้วยอ้ มทบั ด้วยสารไดอะโซคอมโพแนนท์ จึงจะเกิดเป็นสไี ด้ ใชย้ ้อมเสน้ ใยได้ ทั้งเซลลโู ลส ไนลอน หรอื อะซิเตท 7. สีแวต็ (cat dye) ไม่สามารถละลายนำ้ ได้ เม่ือทำการยอ้ มต้องเตรียมน้ำย้อมให้สีแวต็ ละลายนำ้ โดยให้ ทำปฏิกริ ิยากับสารรดี ิวซแ์ ละโซเดียมไฮดรอกไซด์ สีแว็ตมีส่วนประกอบทางเคมที สี่ ำคญั 2 ชนดิ 8. สมี อร์แดนท์ หรอื โครม (mordant or chrome dye) เป็นสที มี่ โี มเลกลุ ใหญ่ ซง่ึ เกิดจากสีมอรแ์ ดนทห์ ลายโมเลกลุ จบั กบั โลหะ แล้วละลายน้ำได้ จงึ ทำให้ย้อมได้งา่ ย ใชย้ ้อมเสน้ ใยโปรตีนและเส้นใยพอลีเอไมดไ์ ดด้ ี 9. สีอนิ เกรน (Ingrain dye) ไม่ละลายนำ้ โดยเกิดเปน็ คอลลอยด์หลงั จากเกดิ ปฏกิ ริ ยิ ากับนำ้ ใชส้ ำหรับย้อมฝ้าย 10. สอี อกซเิ ดชนั (oxidation dye) ไมล่ ะลายน้ำ อาศยั ปฏิกริ ิยาการตกตะกอนผลึกภายในเสน้ ใย ใชย้ ้อมฝ้ายและขนสตั ว์ 11. สซี ัลเฟอร์

34 (sulfer dye) ไม่ละลายนำ้ เม่ือทำการย้อมต้องรดี วิ ซ์สี เพื่อให้โมเลกลุ อยใู่ นสภาพที่ละลายน้ำได้ นิยม นำมาย้อมฝา้ ย สียอ้ มที่มีโครงสร้างพนื้ ฐานเปน็ เอโซอิกเปน็ กล่มุ ที่ใชม้ ากที่สดุ ในอตุ สาหกรรมการย้อมสสี ิง่ ทอ แต่พบว่าเป็นกลุ่มสที ่มี แี นวโน้มทจี่ ะก่อการระคายเคืองต่อเนอื้ เยือ่ มนษุ ย์ สยี ้อมประเภทเอโซบางชนดิ ที่แตกตัว ให้อะโรมาติกเอมีนต้องห้าม สหภาพยุโรปกำหนดห้ามใชส้ ีย้อมท่ีใหส้ ารตอ้ งห้าม (ท่ีแสดงใน Directive 76/769/EWG) ในปรมิ าณทีม่ ากกวา่ 30 ppm สำหรับผลติ ภัณฑส์ ิ่งทอทสี่ ัมผัสกับรา่ งกายโดยตรง สีย้อม ประเภททีป่ ระกอบด้วยสารฮาโลเจนในโครงสร้าง ก่อให้เกิดการปลดปล่อยสาร AOX สว่ นสที ่ีมโี ลหะหนักเป็น องค์ประกอบในโครงสร้าง โลหะหนักเหล่านอ้ี าจเจอื ปนออกมากบั น้ำทงิ้ ไดจ้ ะมากหรือน้อยขึน้ อยู่กับระดับการ ผนึกของสบี นเส้นใย นอกจากสยี อ้ มแลว้ ในกระบวนการย้อมยังประกอบดว้ ยสารชว่ ยย้อม ซึ่งข้นึ อยู่กบั ชนดิ ของสี ยอ้ มท่ีใช้ แลว้ แตก่ ลไกการย้อมท่ีแตกต่างกัน สยี ้อมหลายประเภทจำเปน็ ต้องใชเ้ กลือชว่ ยในการยอ้ มเพือ่ ให้สี ดดู ซบั เขา้ ไปในเสน้ ใยไดด้ ขี น้ึ เชน่ สไี ดเรก็ ต์ สรี แี อคทีฟสำหรบั ยอ้ มเสน้ ใยเซลลโู ลส เปน็ ตน้ เกลอื ทใ่ี ชท้ ว่ั ไปใน การย้อมคอื เกลอื โซเดยี มคลอไรด์ และโซเดยี มซัลเฟต แมเ้ กลือจะมรี ะดบั ความเป็นพิษตอ่ ส่ิงมชี วี ติ ต่ำ แต่หากใช้ ในปริมาณมากความเขม้ ขน้ ของเกลืออาจสูงจนกอ่ ให้เกิดมลภาวะตอ่ ส่ิงแวดล้อมได้ นอกจากการเติมเกลือแลว้ การย้อมสีรแี อคทฟี ยังจำเปน็ ต้องใชด้ ่างเปน็ สารช่วยในการผนึกสดี ้วย ด่างท่ีใช้ ไดแ้ ก่ โซเดียมคารบ์ อเนต และ โซเดียมไฮดรอกไซด์ สำหรบั สยี ้อมเซลลูโลสกล่มุ ที่ไมล่ ะลายนำ้ ได้แก่ สแี วต็ และสซี ลั เฟอร์ เมอื่ จะทำการย้อม บนเสน้ ใยจำเป็นต้องเปลย่ี นโมเลกลุ สีให้อยู่ในรูปที่ละลายน้ำได้ โดยรดี ิวซโ์ มเลกุลสีด้วยสารรีดิวซิง เพือ่ ใหส้ ี สามารถแทรกซึมเข้าไปยอ้ มติดเส้นใยได้ การย้อมเซลลโู ลสดว้ ยสซี ัลเฟอรใ์ ชโ้ ซเดียมซัลไฟด์เปน็ สารรดี วิ ซงิ หลงั การย้อมซัลไฟด์จะเจือปนในน้ำท้งิ ซ่ึงเป็นพิษต่อสตั ว์นำ้ และทำให้ค่า COD ของนำ้ สูงขนึ้ สารรดี ิวซิงอีกตวั หน่งึ ที่ ใชใ้ นกระบวนการยอ้ ม คอื โซเดยี มไฮโดรซลั ไฟต์ แตไ่ มร่ ุนแรงเท่าซลั ไฟด์ สแี อสิดเป็นสที ีใ่ ช้ย้อมเส้นใยโปรตนี เชน่ ไหม สีชนิดนี้จะแตกตัวเปน็ ประจุลบและเกาะกบั ประจุ บวกบนเสน้ ใยด้วยพันธะไอออนิก ส่วนสีเบสกิ เป็นสีที่ใช้ยอ้ มเสน้ ใยอะคริลคิ สีเบสิกมีประจุบวกและยึดเกาะกับ ประจุลบบนเส้นใยดว้ ยพนั ธะไอออนิกเชน่ กัน มกี ารใชส้ ารช่วยย้อมประเภทกรด เช่น กรดอะซิตกิ เพ่ือชว่ ยปรับ pH ของน้ำย้อม และสาร leveling ลงไปชว่ ยใหก้ ารย้อมสมำ่ เสมอ สดี สี เพริ ส์ เปน็ สยี อ้ มสำหรับเส้นใยสงั เคราะหเ์ ปน็ สีย้อมท่ีละลายน้ำได้ต่ำ ดังนนั้ จึงต้องเตรียมให้ อยูใ่ นรปู สารที่กระจายอยู่ในน้ำ (Dispersion) เพ่ือใหย้ ้อมติดเสน้ ใยได้อยา่ งสมำ่ เสมอโดยใชส้ ารช่วยกระจายหรือ dispersing agent สำหรบั การย้อมเสน้ ใยพอลเิ อสเตอร์ดว้ ยสดี ีสเพิร์สท่อี ุณหภมู นิ ้ำเดือด มกี ารใชส้ าร Carrier ชว่ ยให้สดี ูดซับเข้าสเู่ ส้นใยไดด้ ีขน้ึ สาร Carrier ส่วนใหญ่เปน็ สารทีย่ อ่ ยสลายในธรรมชาติไดย้ ากและเป็นพษิ ต่อ มนษุ ยแ์ ละสัตว์น้ำ นอกจากน้ียงั มีกล่ินเหม็นและมีผลต่อความคงทนของสีบนเสน้ ใย การยอ้ มแบบน้ีจงึ ถกู แทนที่ ด้วยการยอ้ มโดยใช้อณุ หภมู สิ ูงภายใต้ความดันแทนซึง่ ไม่จำเป็นต้องใชส้ าร Carrier

35 การให้สีผลิตภณั ฑส์ ง่ิ ทอโดยเทคนิคการพิมพ์ สามารถทำได้ 2 วธิ ี คือ การพิมพ์สยี ้อม และการ พมิ พพ์ ิกเมนต์ การพมิ พส์ ีย้อมมีเทคนิคกระบวนการท่ีขึน้ กับชนดิ ของสีย้อมน้ันๆ ซง่ึ สารชว่ ยท่ีเติมลงไปหลักๆ ก็ จะคล้ายคลงึ กบั สารชว่ ยในการย้อม แต่จะมีสารเพมิ่ เติมทส่ี ำคัญคือสารขน้ หรือ Thickener ซ่ึงเปน็ สารข้นหนดื ท่ีใชใ้ นการเตรยี มแปง้ พมิ พ์ สว่ นการพิมพส์ ีพิกเมนต์บนผ้า สจี ะถกู ยดึ ติดกับผ้าดว้ ยสาร Binder การพิมพส์ ีพกิ เมนตด์ ้วยเทคนิค Plastisol เป็นการพิมพ์ลายที่มักทำบนเส้ือยดื การพิมพล์ ายแบบนีใ้ ชผ้ งสีพิกเมนต์ผสมกบั สาร PVC และ plasticizer แลว้ พิมพต์ ดิ ไปบนผิวผ้าโดย PVC ทำหนา้ ท่ียดึ สใี หเ้ กาะติดกบั ผ้า สาร Plasticizer ทใ่ี ช้ ทว่ั ไปเป็นสารกลุ่ม พทาเลท (Phthalate) ซงึ่ คอื สารเคมีอันตรายทพ่ี บในหมึกพมิ พ์ประเภทพลาสตซิ อล (Plastisol) หรอื พลาสติกซึ่งมักใชใ้ นการพมิ พล์ วดลายลงบนผา้ ซ่งึ พทาเลทเปน็ สารอนั ตรายท่ีอาจสง่ ผลกระทบ ต่อสุขภาพ โดยพทาเลทกำลงั ถกู เลิกใชใ้ นหลายประเทศ เช่น อเมรกิ า แคนาดา และสหภาพยุโรป ซงึ่ พบว่ามี อนั ตรายต่อระบบสืบพนั ธุ์ของมนุษย์ อีกท้งั ยังส่งผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดลอ้ มดว้ ย สารกลุ่มน้ีจึงเป็นสารต้องห้ามตาม ขอ้ กำหนดของสหภาพยุโรป (Directive 2005/84/EC 1) สำหรับผลติ ภัณฑส์ งิ่ ทอและของเลน่ เด็ก ข้นั ตอนการตกแต่งสำเร็จ การตกแต่งสำเรจ็ เป็นกระบวนการปรับสมบัตขิ องวัสดสุ งิ่ ทอ โดยใช้สารเคมหี รอื กระบวนการ เชิงกลเพอ่ื ใหว้ ัสดุมีสมบัติท่ีพงึ ประสงค์ตามลกั ษณะการใชง้ าน เช่น การตกแตง่ เพื่อทำใหน้ ุ่ม การกันยับ การกนั นำ้ การหนว่ งไฟ การตา้ นรงั สียวู ี และการตา้ นจุลนิ ทรยี ์ เปน็ ตน้ การตกแต่งสำเร็จเชงิ เคมเี ปน็ กระบวนการปรบั สมบัตขิ อง ผา้ ส่วนใหญเ่ ป็นผ้าทย่ี อ้ มแล้ว โดยอาศัยสารเคมีและความรอ้ นเขา้ มาชว่ ย สารตกแต่งสำเร็จทใ่ี ช้มหี น้าท่ตี ่าง ๆ กันไป เช่น เขา้ ไปช่วยเพิม่ สมบตั ิตามธรรมชาติบางอย่างของผา้ ใหส้ งู ขน้ึ สร้างสมบัติใหมใ่ ห้กับผ้า เพ่มิ อายุการใช้ งานของผา้ หรอื ทำให้ผ้าคงขนาด เปน็ ตน้ ประเภทของสารเคมีที่ใช้ในการตกแต่งสำเร็จจึงมีด้วยกันหลาย ประเภทตามลักษณะสมบัติที่ต้องการหลังการตกแต่ง ตวั อยา่ งการตกแต่งสำเร็จและสารเคมีทีใ่ ชม้ ีดงั นี้ การตกแต่งสำเร็จผ้าเพือ่ ใหด้ ูแลรักษาง่ายสำหรับเส้นใยฝ้าย ท่พี บบ่อยคือการตกแต่งเพือ่ กันยบั สารตกแต่งเพือ่ กนั ยบั (Anti-crease agent) สว่ นใหญ่เปน็ สารสังเคราะหท์ ่ีได้จากยูเรีย เมลามนี และฟอรม์ ลั ดี ไฮด์ สารกันยับจะเขา้ ไปทำหนา้ ทเี่ ช่ือมขวางระหวา่ งสายโซ่เซลลโู ลสทำใหผ้ า้ ตา้ นทานต่อการยับได้ดีขน้ึ สาร ตกแตง่ เพื่อกนั ยบั บางกลุ่มจะปลดปลอ่ ยฟอร์มัลดีไฮด์ออกมาระหว่างอายุการใช้งานของผ้า ฟอร์มัลดีไฮดน์ ้เี ปน็ สารท่อี นั ตรายต่อสขุ ภาพ ดังน้ัน จึงมกี ารจำกัดปริมาณของฟอร์มัลดีไฮดใ์ นผลติ ภัณฑส์ ิง่ ทอ โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ เสือ้ ผา้ เดก็ ซ่ึงควรปราศจากฟอร์มัลดีไฮด์ ดังนน้ั จึงควรเลือกใชส้ ารเช่อื มขวางประเภทปราศจากฟอร์มลั ดไี ฮดห์ รือประเภทปรมิ าณฟอรม์ ัลดีไฮดต์ ่ำ (ปรมิ าณฟอร์มัลดีไฮด์ในสตู รนอ้ ยกวา่ 0.1 %) แตส่ ารเชอื่ มขวางประเภทปราศจากฟอร์มลั ดีไฮดห์ รอื ปรมิ าณฟอร์ มัลดีไฮดต์ ่ำก็มกั มีราคาแพงกว่าและต้องใช้ปริมาณสารในการตกแต่งสำเร็จมากกวา่

36 การตกแต่งสำเร็จเพ่อื ปรับนุ่มวัสดุสง่ิ ทอ สารปรับนมุ่ เป็นสารลดแรงตึงผวิ ทใ่ี ช้เคลอื บผิวเส้น ใย และทำให้เส้นใยมสี มบัติด้านผิวสมั ผัส ซ่งึ ไดแ้ กค่ วามนมุ่ และทงิ้ ตวั ดีขนึ้ สารปรับนมุ่ มีด้วยกันหลายประเภท ได้แก่ ประเภทประจุบวก (Cationic softener) ประจลุ บ (Anionic softener) ประเภทมีท้งั ประจุบวกและลบ (Amphoteric softener) และประเภทไม่มีประจุ (Nonionic softener) แตก่ ลุ่มท่ใี ชส้ ่วนใหญเ่ ปน็ สารประเภท ประจบุ วก ซ่ึงให้ผลการปรบั นุ่มที่ดที ีส่ ดุ และมีความคงทนต่อการซักดี การตกแต่งเพ่ือหนว่ งไฟ มจี ุดประสงค์เพื่อลดความสามารถในการติดไฟและความรนุ แรงในการ เผาไหม้ของผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ตามข้อกำหนดของสหภาพยุโรปไม่อนุญาตให้ใช้สารหน่วงไฟ (Flame retardant) ประเภท Tris (2,3-dibromopropyl)-Phosphate(TRIS, CAS No. 126-72-7), Tris (aziridinyl)- Phosphinoxide (TEPA, CAS No. 5455-55-1) และ Polybrominated biphenyls (PBB, CAS No. 59536- 65-1) เนื่องจากเป็นสารอนั ตราย [3] การตกแตง่ เพ่ือประโยชน์ใช้สอย 1. การตกแต่งกนั หด (Shrink - Resistant Finish, Shrinkage Control) ผา้ ฝ้าย ลินนิ และเรยอน เมื่อ ผ่านการกนั หดแลว้ เมื่อนำไปซกั จะหดไม่เกินร้อยละ 1 ผา้ ขนสตั ว์จำเป็นอย่างมากท่ีต้องผ่านการกันหดอยา่ ง ถาวร การซกั รดี ควรทำตามคำแนะนำของป้ายท่ีตดิ มากับเสื้อขนสตั วน์ ้นั ๆ 2. การตกแต่งกันยับ (Wrinkle Resistant, Mini - Care, Wash and Wear, Resin Finish) ผ้าใย ธรรมชาตสิ ว่ นใหญจ่ ะยับง่าย การใช้ Resin ตกแต่งชว่ ยให้ผ้าไมใ่ คร่ยบั รีดเรยี บได้ง่าย 3. การตกแต่งกันนำ้ (Water Proof)ใชย้ างธรรมชาติ ยางสงั เคราะห์ หรือพลาสติกเคลือบกนั น้ำผา่ น 4. การตกแตง่ ให้สะท้อนน้ำ (Water Repellant) ถา้ นำ้ ตกใสแ่ รงๆ จะซมึ ผ่านได้ แตถ่ ้าตกใส่เบา ๆ น้ำ จะกล้งิ หลุดไป ผา้ ตกแตง่ สะท้อนนำ้ มชี ่องวา่ งระหวา่ งดา้ ยให้น้ำ อากาศและเหงอื่ ซึมผ่านได้ สังเกตการตกแต่งได้ ยากตอ้ งอาศัยคำบอกจากป้ายทต่ี ิดกบั ตวั เส้อื 5. การตกแตง่ กนั แบคทีเรีย (Anti-Bacteria Finish) มีวตั ถุประสงค์เพื่อควบคุมการแพร่ของเชอ้ื โรค และลดอันตรายจากการตดิ เชื้อหลังบาดเจบ็ ดบั กลิน่ เหงื่อและความสกปรก ลดการเกดิ เชื้อรา และแบคทเี รยี ทำ ให้ผา้ ไม่เป่ือยเรว็ 6. การตกแต่งให้ผา้ ดูดซับความชืน้ (Absorbency Finish) ใช้ตกแตง่ ใยสงั เคราะหจ์ ากสารเคมีเพ่ือให้ สวมใสส่ บาย ไมร่ สู้ ึกเหนอะตัว 7. การตกแตง่ กนั ไฟและหดหนีไฟ (Fire Proof and Fire Retardant Finish) ทำให้ผา้ ไม่ตดิ ไฟหรือติด ไฟอยา่ งชา้ และดับไดเ้ องเมื่อเอาออกจากเปลวไฟ 8. การตกแต่งกันไฟฟ้าสถิตย์ (Anti Static Finish) อากาศทช่ี น้ื และแหง้ เชน่ ในฤดูหนาว ใยสงั เคราะหจ์ ากสารเคมี และอซเิ ตทมักเกิดไฟฟ้าสถิตย์ 9. การตกแตง่ กันสตี ก (Color Fastness, Permanent of Color) สำคัญมากกับผ้าย้อมสี และผา้ พมิ พ์ ทุกชนดิ

37 10. การปรับผา้ ให้นมุ่ (Fabric Oftener) ทำให้เส้นใยพองตวั ผ้านมุ่ นา่ ใช้ นา่ สมั ผัส และยังชว่ ยให้ ผ้ารีดเรยี บได้งา่ ย ชว่ ยป้องกนั การเกิดไฟฟา้ สถติ ย์ แต่มขี ้อเสียท่วี า่ ถา้ ใช้ตดิ กันบ่อยครั้งประสิทธภิ าพใน การดูดซบั น้ำของผ้าจะลดลง 11. ตกแต่งสะท้อนแสง (Light Reflction) มักนยิ มตกแตง่ ตามจุดตา่ ง ๆ บนเครอ่ื งแต่งกาย เช่น รองเทา้ หลังข้อมือ ไหล่เส้ือ หมวกกนั น๊อต เหมาะสำหรับผูท้ ่ีวิ่งจ๊อคก๊ิง หรือขจ่ี ักรยานในเวลาเช้ามดื หรอื เย็นค่ำ เป็นการชว่ ยลดอุบัตเิ หตุท่ีอาจเกดิ จากยวดยานบนทอ้ งถนนได้ จากแต่ละกระบวนการที่กลา่ วมาขา้ งตน้ จะเหน็ ไดว้ ่าในการผลติ ผลติ ภัณฑ์สง่ิ ทอน้นั จำเปน็ ต้อง ใช้สารเคมดี ้วยกันหลายประเภท อย่างไรก็ตาม ในปจั จบุ ันมีการพัฒนาการผลิตสารเคมีท่ีเป็นมิตรต่อส่งิ แวดล้อม และเป็นพิษตำ่ เพอ่ื ใชท้ ดแทนสารเคมีกล่มุ ท่เี ปน็ อนั ตราย สารเคมีทดแทนเหล่านี้ถือเป็นทางเลือกหนึง่ สำหรับ ผู้ผลติ ที่ต้องการปรบั กระบวนการผลิตส่ิงทอให้สอดรบั กับกฎระเบยี บด้านความปลอดภยั ตอ่ มนุษย์และ ส่ิงแวดล้อมในปัจจุบัน 4.ครแู ละผู้เรียนอภปิ รายเร่ืองข้อควรปฏิบัตใิ นการใช้สารเคมีปราบศตั รูพืช ซง่ึ ข้อปฏิบัตดิ ังกลา่ วไดแ้ ก่ 1). ก่อนใช้สารเคมีปราบศัตรูพืช ตอ้ งอา่ นฉลากกำกับทุกครัง้ ให้เขา้ ใจก่อนใช้ และต้องปฏบิ ตั ิตามคำ เตอื นและข้อควรระวังโดยเคร่งครัด 2). การผสมสารเคมีปราบศตั รูพืช อย่าใช้มือผสม ใหใ้ ชไ้ ม้กวนหรอื คลกุ ยาใหเ้ ข้ากัน ควรสวมถุงมอื และ ผ้าปิดปากทุกครง้ั อย่าใหเ้ ด็กหรอื ผู้ทไ่ี ม่เกี่ยวข้องเข้าใกลข้ ณะผสมยา 3). ถา้ หวั ฉีดอุดตนั ห้ามใช้ปากเปา่ หรือดดู ใหใ้ ชล้ วดเลก็ ๆ เข่ียสิ่งอุดตนั ออกหรือเปลีย่ นหวั ฉดี ใหม่ 4). ก่อนฉดี พ่นสารเคมีปราบศัตรูพืชควรแต่งตัวให้มิดชิดเพื่อปอ้ งกนั การสมั ผสั ละอองยา 5). ขณะฉดี พ่นสารเคมีกำจดั ศตั รูพืช ควรสวมหน้ากาก หรอื ใชผ้ ้าขาวมา้ สะอาดคาดจมูกและปากไว้ ควรอยูเ่ หนอื ลม และหยดุ ฉีดพ่นเมื่อลมแรง 6). อย่าสูบบุหร่หี รือรบั ประทานอาหารขณะผสมยาหรือฉดี พน่ ยา 7). อยา่ ล้างภาชนะบรรจหุ รืออปุ กรณ์เครื่องพ่นยาลงในแหล่งน้าํ และอยา่ ทง้ิ ยาทเี่ หลือไว้ในไร่ เน่ืองจากเด็กหรือสัตว์เลีย้ งอาจสัมผัสหรือได้รับอันตรายจากยาเหล่านไี้ ด้ 8). เมือ่ เสร็จจากการฉดี พ่นยาแลว้ ให้เปล่ยี นเส้ือผ้าท่ีใส่นำไปซักและอาบนาํ้ ใหส้ ะอาด 9). เก็บวตั ถุมีพษิ ไวใ้ นภาชนะเดมิ เท่าน้ัน อย่าถ่ายภาชนะโดยเดด็ ขาด 10). เกบ็ วัตถมุ ีพษิ ไว้ในทปี่ ลอดภยั ห่างจากเดก็ สตั วเ์ ล้ยี ง อาหาร และเปลวไฟ 5.ครูใชส้ ่ือ Power Point ประกอบการสอนเรือ่ งสารเคมีทใ่ี ช้ในกระบวนการผลิตเสน้ ใย ซ่ึงมีสาระสำคัญ ดังนี้ กระบวนการผลิตเส้นใย (Fiber manufacturing) ตวั อยา่ งกระบวนการผลติ เส้นใยธรรมชาติและเส้นใย ประดษิ ฐบ์ างประเภท เสน้ ใยธรรมชาติ

38 ฝ้าย (cotton) ดอกฝ้ายทีแ่ ก่เต็มทจ่ี ะถูกเกบ็ เกีย่ วแลว้ นำมาแยกส่ิงปลอมปนที่ไมต่ ้องการ (trash) ออก แล้วทำ การแยกเมล็ดออกจากเส้นใยฝา้ ยดงั แสดงในรูปข้างลา่ ง จากนั้นทำการสางใยและหวเี ส้นใย (combing) เพือ่ แยก เส้นใยทีส่ ัน้ เกนิ ไปออก ขนสัตว์ (wool) กระบวนการผลิตเส้นใยขนสตั ว์ เรมิ่ จากการนำขนที่ได้จากการเล็มจากแกะ มาทำการแบง่ เกรดตาม คณุ ภาพของเส้นใย จากน้ันนำขนสัตว์เกรดเดียวกนั ท่ีคดั ไดม้ าผสมให้ทัว่ (uniform) นำไปลา้ งไขมนั และส่ิง สกปรกดว้ ยสบู่ แลว้ ทำการสางเส้นใย เส้นใยทไ่ี ด้จะถูกนำไปขึ้นรูปเป็นเส้นด้ายต่อไปเรยี กวา่ woolen yarn แต่ ถา้ ภายหลงั การสางเสน้ ใยยังมีกระบวนการหวี (combing) เพอื่ กำจัดเส้นใยส้ันออก แล้วทำการรดี ปยุ ก่อนนำไป ขึ้นรูป เป็นเสน้ ดา้ ย เสน้ ด้ายท่ีได้นเี้ รียกว่า worst yarn ซงึ่ จะมคี ุณภาพดีกว่า woolen yarn เนอื่ งจากมปี ริมาณ เสน้ ใยสั้นนอ้ ยกวา่ เส้นใยประดษิ ฐ์ (man-made fibers) กระบวนการผลติ เสน้ ใยประดษิ ฐ์แบ่งไดเ้ ป็นสองส่วนใหญ่ๆ คอื การเตรียม โพลิเมอร์ตั้งตน้ และการขนึ้ รูปเปน็ เสน้ ใย 1. การเตรียมโพลิเมอรต์ ง้ั ตน้ ในการผลิตเส้นใยจากวัตถุธรรมชาตทิ ี่มโี ครงสรา้ งโมเลกลุ โพลเิ มอร์อยแู่ ล้ว เชน่ เส้นใยเรยอน ขน้ั ตอนการเตรียมโพลิเมอรต์ ั้งตน้ จะประกอบด้วยการย่อยวัตถดุ ิบ เช่น ไม้ ให้เป็นชน้ิ เล็ก ๆ โดยใชแ้ รงกลและ สารเคมี แลว้ ทำให้อยูใ่ นรปู ของสารละลายเข้มขน้ (polymer viscous) ส่วนในกรณีท่ีเป็นเส้นใยสังเคราะห์ ขน้ั ตอนการเตรยี มโพลิเมอร์ก็จะเริ่มจากการสงั เคราะหโ์ พลิเมอร์จากโมโนเมอร์ ซ่ึงอาจเป็นแบบการรวมตัว (addition polymerization) หรือแบบกลั่น (condensation polymerization) ข้ึนอยู่กับชนดิ ของโมโนเมอรท์ ี่ สงั เคราะห์ 2. การขึ้นรปู เป็นเสน้ ใย (fiber spinning) กระบวนการขนึ้ รูปเป็นเสน้ ใยสามารถทำได้หลายวธิ ขี ึ้นอยูก่ ับชนดิ ของโพลเิ มอร์ตั้งต้น กระบวนการ ขึ้นรูปพ้ืนฐานมี 3 แบบ คอื แบบปั่นแหง้ (dry spinning) แบบปัน่ เปียก (wet spinning) และแบบปั่นหลอม (melt spinning) การผลติ เส้นใยแบบปนั่ แห้ง (dry spinning) เรมิ่ ตน้ โดยการเตรียมโพลิเมอรใ์ ห้อย่ใู นรปู สารละลาย แล้วฉีดผ่านหวั ฉีด (spinnerets) ทำการ ระเหยตวั ทำลายสว่ นท่เี หลือในเสน้ ใยท่ฉี ดี ออกมาโดยการใชล้ มร้อน (hot air) เปา่ จากน้ันทำการดึงยืดเพื่อเพ่ิม ความแข็งแรงของเส้นใย ตวั อย่างเสน้ ใยทขี่ ึ้นรปู โดยวธิ นี ไี้ ด้แก่ โพลอิ ะซิเทต โพลีไตรอะซิเทต และโพลีอะไครลคิ การผลติ เส้นใยแบบปน่ั เปยี ก (wet spinning)

39 เร่มิ จากการเตรียมสารละลายโพลิเมอร์แล้วฉดี ผา่ นหัวฉดี (spinnerets) ที่จุ่มอยใู่ นอา่ งของ สารละลายตกตะกอน (coagulation bath) เส้นใยทต่ี กตะกอนออกมาจากสารละลาย จะถูกดึงยดื เพอื่ เพิม่ ความ แข็งแรง แล้วทำให้แห้งโดยการใชล้ มรอ้ นเป่า ตัวอยา่ งเส้นใยที่ผลิตโดยวธิ นี ีค้ ือ เรยอน การผลติ เสน้ ใยแบบปัน่ หลอม (melt spinning) เร่มิ จากการหลอมโพลิเมอร์ในเคร่ืองป่ันหลอม (melt extruder) แล้วทำการฉีดผ่านหัวฉีด (spinnerets) เสน้ ใยทไ่ี ดท้ ีเ่ ร่ิมแข็งตัวจะถูกดึงยดื เพื่อเพม่ิ ความแขง็ แรง เสน้ ใยสงั เคราะหส์ ่วนใหญ่ผลติ โดยวิธนี ้ี เชน่ ไนลอน โพลีเอสเทอร์ โพลเิ อทิลีน เปน็ ตน้ 6.ผเู้ รยี นบอกการป้องกนั อนั ตรายจากการใช้สารเคมที ีใ่ ช้ในการผลิตเส้นใย 7.ครแู สดงวิดที ศั น์ เพอ่ื อธิบายหลักการใช้สารเคมีอยา่ งถกู ต้องและปลอดภยั ซ่งึ การใชส้ ารเคมีใหป้ ลอดภยั มีขอ้ ควรรู้ดังตอ่ ไปน้ี 1). ควรเลอื กใช้สารเคมใี หเ้ หมาะกับงาน เชน่ ไมน่ ำผงซักฟอกมาทำความสะอาดภาชนะใส่อาหาร เพราะอาจมีสารเคมีตกคา้ งทเ่ี ป็นอนั ตราย 2). กอ่ นใช้สารเคมตี ้องอ่านสมบตั ขิ องสารและข้อควรระวงั บนฉลาก รวมถงึ วธิ กี ารใช้ เพื่อใหม้ ีความ เขา้ ใจงา่ ย 3). ใชสารเคมีในปรมิ าณท่เี หมาะสม และไมท่ ิง้ สารเคมีในท่ีสาธารณะ ควรแยกทิง้ เพื่อให้เจ้าหน้าทีเ่ กบ็ ไปทำลายได้อยา่ งถูกต้อง 4). ไม่สัมผสั ชมิ หรอื ดมกลนิ่ สารเคมีทเ่ี ป็นอนั ตรายโดยตรง 8.ผเู้ รียนสบื คน้ สัญลกั ษณป์ ระเภทของอนั ตรายจากสารเคมี และเขยี นอธบิ ายความหมายของสัญลักษณ์ โดยละเอยี ด นำข้อมูลมาอภิปรายรว่ มกบั เพื่อนในชัน้ เรยี น 9.ครแู นะนำใหผ้ เู้ รียนรู้จักการนำเอาความพอเพียงไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ ซง่ึ เปน็ ความพอประมาณ ความมี เหตผุ ล รวมถงึ ความจำเป็นที่ตอ้ งมีระบบภมู คิ ุ้มกนั ในตัวทด่ี ีพอสมควรต่อผลกระทบใดๆ อนั เกิดจากการ เปล่ยี นแปลงทงั้ ภายนอกและภายใน การตดั สนิ ใจและการดำเนนิ กจิ กรรมต่างๆให้อยู่ในระดับพอเพียงนัน้ ต้อง อาศัยท้ังความรู้และคุณธรรมเปน็ พื้นฐาน ข้นั สรุปและการประยกุ ต์ 10.ครสู รปุ บทเรยี น โดยใช้ PowerPoint และอภปิ รายซกั ถามขอ้ สงสัย 11.ผู้เรยี นทำแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ 6.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1.เอกสารประกอบการเรียน วิชาวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยสี ่ิงทอ 2.รูปภาพ 3.กจิ กรรมการเรียนการสอน 4.สื่อ PowerPoint , วีดทิ ัศน์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook