Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 1 การประมวลผลข้อมูล

บทที่ 1 การประมวลผลข้อมูล

Published by ประทวน ทองโสภา, 2022-07-02 08:30:20

Description: บทที่ 1 การประมวลผลข้อมูล

Search

Read the Text Version

วทิ ยาการคานวณ ม.3 บทท่ี 1 การประมวลผลข้อมลู

1 ข้อมลู ดมี ชี ยั ไปกว่าคร่งึ

2 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. นั กเรียนสามารถอธิบายขั้นตอนการนา ข้อมูลไปใชใ้ นการแก้ปัญหาได้ 2. นั กเรียนสา มารถนากา รประมวลผ ล ข้อมูลไปใชแ้ ก้ปัญหาในชีวิตประจาวันได้

3 ทบทวนความรูก้ ่อนเรยี น เมื่อเข้าชมเว็บไซต์ เครือข่ายสั งคม หรือแอป พลิเคชันสั่ งซ้ือสิ นค้า จะมีข้อมูลโฆษณาสิ นค้า หรือ ข้อมูลเก่ียวกับส่ิ งที่สนใจปรากฏอยู่เสมอ เน่ื องด้วย เทคโนโลยีในปัจจุบัน เว็บไซต์หรือระบบผู้ให้บริการ ต่างๆ มีการเก็บพฤติกรรมการใช้งานของผู้ใช้ แล้ว นามาวิเคราะห์ส่ิงทม่ี คี วามสัมพันธก์ บั พฤตกิ รรมผใู้ ช้

4 ทบทวนความรูก้ ่อนเรยี น เทคโนโลยีด้านข้อมูลมีประโยชน์ และมีคุณค่า กว่าท่ีคิด ข้อมูลมีความหลากหลายและมีปริมาณมาก สามารถเข้าถึงได้สะดวก รวดเร็ว และตลอดเวลา ข้อมูล ถูกนามาใช้ประโยชน์ เพ่ือตัดสิ นใจ หาคาตอบของปัญหา กาหนดแนวทางการดาเนิ นการ ตลอดจนนโยบายต่างๆ ในทกุ ระดบั ของสังคมตัง้ แตบ่ คุ คล ครอบครวั กลุ่มเพื่อน ชุมชน องค์กร และประเทศ จนกล่าวไดว้ ่าชีวิตประจาวัน ของเราขับเคลอื่ นโดยมขี ้อมลู เป็นฐาน

5 ทบทวนความรูก้ ่อนเรยี น ข้ อมูลคือข้ อเท็จจริงหรือ ส่ิงที่สนใจถูกตอ้ งหรอื ไม่ ?

6 ทบทวนความรูก้ อ่ นเรยี น ก่อนการ ประม ว ลผลต้อ ง ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล แ ล ะ ท า ใ ห้ ข้ อ มู ล อ ยู่ใ น รู ป แ บ บ เดยี วกนั ถูกตอ้ งหรอื ไม่ ?

7 ทบทวนความรูก้ ่อนเรยี น ก า ร ค า น ว ณ เ ป็ น ก า ร ป ร ะ ม ว ล ผ ล อ ย่ า ง ห น่ึ ง ถูกต้องหรอื ไม่ ?

8 ข้อมูลดีมีชัยไปกวา่ คร่งึ ถ้ า ห า ก น า ข้ อ มู ล จ า น ว น ม า ก ม า ทาการวิเคราะห์ในเชิงลึก จะค้นพบ คุณค่าของข้อมูล ช่วยสร้างมูลค่าใน เชิงธุ รกิจ หรือส่ งผลทางบวกให้กับ ผู้ใช้ข้อมลู เป็นอยา่ งมาก

9 ตวั อยา่ งท่ีเกิดข้ึนจรงิ ของ การนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ ประธานาธบิ ดกี ับข้อมลู ขนาดใหญ่ ผู้ลงสมัครตาแหน่ งประธานธิบดีของสหรัฐอเมริกาท่ีผ่าน มา ทั้งบารัค โอบามา และ โดนั ลด์ ทรัมป์ อาศั ยข้อมูลขนาดใหญ่ท่ี วิเคราะห์โดยผู้เช่ียวชาญ ซ่ึงเป็นข้อมูลความชอบส่ วนบุคคล อุปนิ สั ย ข อ ง ผู้ มี สิ ท ธ์ิ เ ลื อ ก ต้ั ง ม า ก า ห น ด แ น ว ท า ง ก า ร ห า เ สี ย ง ท่ี มี ลักษณะเฉพาะสาหรับกลุ่มบุคคล จนสามารถสร้างรู ปแบบการ ส่ื อสารข้อมูลท่ีเก่ียวกับการเลือกต้ังท่ีเข้าถึงผู้มีสิ ทธ์ิเลือกตั้งด้วย วธิ กี าร เวลา และสถานท่ีตรงกบั กลุ่มเป้าหมายมากท่สี ุด

1 การนาข้อมลู มาใชแ้ ก้ปัญหา

2 การนาข้อมูลมาใช้แกป้ ัญหา การวิเคราะห์ข้อมูลท่ีรวบรวมได้ น้ั น จ า เ ป็ น อ ย่ า ง ย่ิ ง ท่ี ต้ อ ง อ ยู่ บ น พ้ื น ฐ า น ข อ ง จ ริ ย ธ ร ร ม เ พื่ อ ค ว า ม ถูกต้องและเกิดประโยชน์ กับทุกฝ่ายท่ี เก่ยี วข้อง

3 การนาข้อมูลมาใช้แกป้ ัญหา กา รน าข้ อ มูล มา ใช้ แ ก้ ปั ญห า ท่ี การนิ ยามปัญหา สนใจอย่างมีประสิ ทธิภาพ มีข้ันตอน การวเิ คราะห์ปัญหา ดงั น้ี การรวบรวมข้อมูล การเตรยี มข้อมลู การประมวลผลข้อมูล การนาเสนอข้อมูล

4 การนาข้อมูลมาใชแ้ กป้ ัญหา การนิ ยามปัญหา โดยแต่ละขั้นตอนมี การวิเคราะห์ปัญหา ความสัมพันธก์ บั ขั้นตอนใน การรวบรวมข้อมลู ลาดับก่อนหน้ า อย่างไรก็ดี ส า ม า ร ถ ย้ อ น ก ลั บ ไ ป ใ น การเตรยี มข้อมูล ขั้นตอนในลาดับต่างๆ ท่ีอยู่ การประมวลผลข้อมูล ก่อนหน้ าได้ เพ่ือปรับปรุ ง ใ ห้ ก ร ะ บ ว น ก า ร มี ค ว า ม สมบรู ณ์มากข้ึน การนาเสนอข้อมูล

5 การนาข้อมูลมาใช้แกป้ ัญหา การนิ ยามปัญหา (Problem Definition) เป็นการตั้งคาถามที่สนใจและต้องการ หาคาตอบ ซ่ึงควรมีความกระชับและชัดเจน ระบุผลลัพธ์ท่ีต้องการจากกระบวนการแก้ไข ปัญหาพร้อมรายละเอียด เงื่อนไข สถานการณ์ เฉพาะทเ่ี กย่ี วข้องกบั ปัญหาอยา่ งครบถ้วน ตัวอย่างเช่น โรงเรียนมีขยะจานวนมาก ล้นถัง ขยะ และมีการท้งิ ขยะไม่เป็นท่ี

6 การนาข้อมูลมาใชแ้ กป้ ัญหา การวเิ คราะห์ปัญหา (Problem Analysis) เ ป็ น ก า ร ท า ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ปั ญ ห า เ พ่ื อ กาหนดสาระสาคั ญของปั ญหาและข้ อมูลท่ี เกยี่ วข้อง โดยมกี ารทาความเข้าใจปัญหา ค้นหา สาระสาคัญของปัญหา พิจารณาว่าส่ิ งใดเป็น ผลลัพธ์จากการแก้ปัญหาและข้อมูลต่างๆ ท่ี จาเป็นในการหาผลลัพธ์ โดยมีรายละเอียดการ ดาเนิ นการทเี่ กย่ี วข้อง คือ

7 การวิเคราะห์ปัญหา (Problem Analysis) • กาหนดข้อมูลหลักทใ่ี ช้ในการประมวลผลเพ่ือหา คาตอบ • กาหนดปรมิ าณข้อมลู ทต่ี ้องรวบรวม ให้มีปรมิ าณ ทเี่ พียงพอและเหมาะสมกบั การนาไปหาข้อสรุป • กาหนดกรอบเวลาในการรวบรวมข้อมูล • กาหนดชนิ ดของข้อมูล รูปแบบข้อมูล หน่ วยของ ข้อมลู

8 การวิเคราะห์ปัญหา (Problem Analysis) ตัวอย่างเช่น โรงเรียนมีขยะจานวนมาก โดย วเิ คราะห์ข้อมลู ทเ่ี กย่ี วข้องทงั้ หมด • มีจานวนถังขยะกถี่ ัง ตัง้ ไว้ทใ่ี ดบา้ ง • มีการท้ิงขยะในแต่ละถั งในช่วงเวลาใด มาก-น้ อยเทา่ ใด • ความถี่ในการเกบ็ ขยะ • พบขยะที่บริเวณอื่นท่ีไม่ใช่ถังขยะที่ใดบ้าง และปรมิ าณมากเทา่ ใด • ขยะทพี่ บเป็นประเภทใด

9 การนาข้อมูลมาใช้แกป้ ัญหา การรวบรวมข้อมูล (Data Collection) การรวบรวมข้อมูล (Data Collection)เป็นการได้มา ซ่ึงข้อมูลท่ีถูกต้อง ครบถ้วน และจาเป็นต่อการแก้ปัญหา โดยข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหาอาจมีจานวน ลักษณะ และ ประเภททแี่ ตกตา่ งกนั ไป ตามผลจากการวเิ คราะห์ปัญหา ซ่งึ ขั้นตอนการรวบรวมข้อมลู ประกอบดว้ ย 1. กาหนด 2. กาหนดวิธกี าร 3. กาหนดวิธกี าร แหลง่ ข้อมลู รวบรวมข้อมลู จัดเก็บข้อมูลท่ี รวบรวมได้

10 การรวบรวมข้อมูล (Data Collection) 1. กาหนดแหลง่ ข้อมลู คือ ทาการรวบรวมจากแหล่งกาเนิ ด ข้อมูล (ข้อมูลปฐมภมู ิ) หรอื รวบรวมจากแหล่ง อื่นท่ีมีการเก็บข้อมูลไว้ (ข้อมูลทุติยภูมิ) หาก แหล่งข้อมูลมีความน่ าเช่ือถือ สอดคล้องกับ เวลา และสถานการณ์ จะช่วยเพ่ิมความมั่นใจ ในความถูกตอ้ งของข้อมลู มากย่งิ ข้ึน

11 การรวบรวมข้อมลู (Data Collection) 2. กาหนดวิธกี ารรวบรวมข้อมลู ข้ึนกับลักษณะข้อมูล แหล่งข้อมูล และ ปรมิ าณข้อมูล 3. กาหนดวิธกี ารจดั เกบ็ ข้อมูลทรี่ วบรวมได้ คานึ งถึงการนาข้อมูลไปใช้ในขั้นตอน การประมวลผลข้อมลู

12 การรวบรวมข้อมลู (Data Collection) วิธกี ารรวบรวมข้อมลู ประกอบดว้ ย 1.การสั งเกต เฝ้าดูแล้วจดบันทึกสถานะ ตา่ งๆ ท่เี ก่ียวกับปัญหาท่ีสนใจ

13 การรวบรวมข้อมูล (Data Collection) 2. การสารวจ/สอบถาม ทาแบบสารวจหรือ แบบสอบถามท่ีระบุรายละเอยี ดของข้อมลู ท่ตี ้องการให้ ครบถ้วน โดยกาหนดลักษณะคาถามและรูปแบบการ ตอบคาถามให้ผู้ตอบแบบสอบถามให้ข้อมูลได้งา่ ยและ ถูกตอ้ ง

14 การรวบรวมข้อมูล (Data Collection) 3. การสั มภาษณ์ ใช้คาถามกับผู้รับการ สั มภาษณ์ ทาให้ได้คาอธิบายเพ่ิมเติม แต่ใช้เวลา และค่าใชจ้ ่ายค่อนข้างสูง

15 การรวบรวมข้อมลู (Data Collection) 4. การสนทนากลุ่ม เก็บรวบรวมข้อมูลจาก กลมุ่ เป้าหมายท่คี ัดเลือกไว้โดยจัดให้มสี นทนากล่มุ มี ผู้ดาเนิ นการสนทนาเป็นผู้ซกั ถามประเด็นท่ีสนใจ

16 การรวบรวมข้อมูล (Data Collection) ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูลดงั กล่าว สามารถนาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ใน การรวบรวมข้อมูลได้แบบอัตโนมัติ เพ่ือ ช่วยลดข้อผิดพลาดในการจดบันทึก อีก ทงั้ ยงั สะดวกรวดเรว็ ในการรวบรวมข้อมลู ปริมาณมาก รวมถึงสามารถเข้าถึงผู้ให้ ข้อมูลไดอ้ ยา่ งไรพ้ รมแดน

17 การรวบรวมข้อมลู (Data Collection) การสืบค้นเพ่ือหาแหลง่ ข้อมูล การสื บค้นข้อมูลด้วยมือ เป็นการ การสื บค้นข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ สืบค้นตามเอกสาร หนังสือ ตารา เ ป็ น ก า ร สื บ ค้ น ผ่ า น เ ท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศหรอื คอมพิวเตอรต์ า่ ง ๆ

18 การรวบรวมข้อมูล (Data Collection) ประเมนิ ระดับเนื้ อหาของข้อมลู โดยข้อมูลสามารถแบ่งได้ 3 ระดับ ไดแ้ ก่ ข้อมูลปฐมภูมิ เป็นข้อมูลท่ีได้จาก การค้นคว้าโดยตรงของผู้เขี ยน เชน่ รายงาน วิจยั วิทยานิ พนธ์

19 การรวบรวมข้อมูล (Data Collection) ข้อมูลทุติยภูมิ เป็นการนาข้อมูล ปฐมภมู ิมาเขียนเรยี บเรยี งใหม่โดย ระบแุ หล่งทม่ี าอยา่ งชดั เจน

20 การรวบรวมข้อมลู (Data Collection) ข้อมูลตติยภูมิ เป็นการช้ีแนะ แ ห ล่ ง ข้ อ มู ล ป ฐ ม ภู มิ แ ล ะ ทุ ติ ย ภู มิ เ ช่ น บ ร ร ณ า นุ ก ร ม เอกสารอา้ งองิ

21 การนาข้อมูลมาใช้แกป้ ัญหา การเตรยี มข้อมูล (Data Preparation) เป็นการดาเนินการกับข้อมลู ท่รี วบรวมมา เพ่ือให้ เป็นข้อมูลท่ีมีคุณภาพ พร้อมนาไปประมวลผล อย่างไรก็ ตาม ข้อมูลบางส่ วนท่ีได้จากการรวบรวมอาจจะยังไม่ สามารถนาไปประมวลผลได้ในทันที จาเป็นต้องทาความ สะอาดข้อมลู (Data Cleansing) ก่อน เช่น ข้อมูลท่ีมีความ ซ า้ ซ้อ น มี ค่ า ห รื อ ลั ก ษ ณ ะ ท่ี ผิ ด จ า ก ข้ อ มู ล อื่ น ห รือ มี รายการข้อมลู ท่ีขาดหายไป

22 การเตรยี มข้อมลู (Data Preparation) แนวทางในการตรวจสอบความผิดปกติของข้อมูล เพ่ือทาความสะอาดข้อมูล ประกอบด้วย ความสมบูรณ์ (Validity) รูปแบบเดยี วกัน (Uniformity) ความครบถ้วน (Completeness) ความทันสมยั (Timeliness)

23 การเตรยี มข้อมูล (Data Preparation) ความสมบูรณ์ (Validity) • ข้อมูลและชนิ ดข้อมูลมีความสอดคล้องกัน เช่น อายุเป็น ข้อมลู ชนิดตัวเลข ชอื่ เป็นข้อมลู ชนิดข้อความ • ข้อมูลมคี ่าสอดคล้องกับความเป็นจรงิ เช่น นา้หนั กต้องไม่ เป็นจานวนลบ วันท่ี 30 ต้องไมใ่ ช่วันในเดอื นกุมภาพันธ์ • ข้ อ มูล บา งอ ย่ า ง จ ะ มีค่ า ไ ม่ ซ า้ กัน เ ช่น รหั สป ระ จ า ตั ว นักเรยี นในโรงเรยี นเดยี วกัน เลขทะเบียนรถ • ข้ อ มู ล บ า ง อ ย่ า ง ต้ อ ง ไ ม่ เ ป็ น ค่ า ว่ า ง เ ช่ น ช่ื อ นั ก เ รีย น วันเดอื นปีเกดิ • ข้อมูลมีค่าผิดปกติจากข้อมูลค่าอื่น เช่น ข้อมูลอายุของ นักเรยี น ท่ีมีนักเรยี นอายุ 150 ปี

24 การเตรยี มข้อมูล (Data Preparation) รูปแบบเดยี วกัน (Uniformity) • เก็บในรู ปแบบเดียวกัน เช่น นา้หนั กหน่ วยเป็นกิโลกรัม รู ปแบบปีท่ีเป็นปีพุทธศั กราช ความครบถ้วน (Completeness) • มีการรวบรวมข้อมูลท่ีเก่ยี วข้องอย่างครบถ้วน ความทันสมัย (Timeliness) • มคี วามสอดคล้องกับเวลา หรอื สถานการณ์

25 การนาข้อมูลมาใช้แกป้ ัญหา การประมวลผลข้อมูล (Data Processing) เป็นการดาเนิ นการกับข้อมูลเพ่ือให้ ได้สารสนเทศตามวัตถุประสงค์ โดยอาจได้ข้อ ค้ น พ บ อื่ น ท่ี มี ค ว า ม ห ม า ย ซ่อ น อ ยู่ น า ไ ป สู่ ข้อสรุ ปท่ีสอดคล้องกับปัญหาท่ีกาหนด หรือ นาไปใช้ประโยชน์ ได้

26 การประมวลผลข้อมูล (Data Processing) การวิเคราะห์ข้อมูล นอกจากวิเคราะห์ตาม วัตถุประสงค์แล้ว อาจวิเคราะห์เพื่อค้นหาความหมาย อื่นท่ีซ่อนอยู่ รวมถึงสาระสาคัญท่ีจะเป็นประโยชน์ จากข้อมูล เช่น ความสั มพันธ์ระหว่างข้อมูล ความ เชื่อมโยงของข้อมูล รูปแบบท่ีปรากฏในข้อมูล ท้ังน้ี เพ่ือให้ส่ิ งท่ีค้นหามีความชัดเจน ต้องรวบรวมข้อมูล ปรมิ าณท่มี ากพอจากแหล่งข้อมูลท่เี ช่ือถือได้

27 การประมวลผลข้อมลู (Data Processing) สาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลมีหลายวิธีแต่ในท่ีน้ี จะ กล่าวถึงเฉพาะการวิเคราะห์ เชิงพรรณนา ซ่ึงเป็นการ ดาเนิ นการกับข้ อมูลเชิงปริมาณ เช่น จานวนเต็มหรือ จานวนจริง โดยการวิเคราะห์เชิงพรรณนา (Descriptive Analysis) เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ืออธิบายคุณลักษณะ ข อ ง ชุ ด ข้ อ มู ล ท่ี ส น ใ จ โ ด ย ใ ช้ ค่ า ส ถิ ติ เ ช่ น ค่ า เ ฉ ล ่ีย (Mean), มัธยฐาน (Median), ฐานนิ ยม (Mode), ร้อยละ (Percentage), ความถ่ี (Frequency), พิสัย (Range)

28 การนาข้อมูลมาใช้แกป้ ัญหา การนาเสนอข้อมูล (Data Presentation) เป็นการนาเสนอข้อสรุ ปจากการประมวลผลใน รูปแบบท่ีสื่ อความหมายอย่างชัดเจน โดยในท่ีน้ี กล่าวถึง การสื่ อความหมายข้อมูลในรูปแบบ การทาข้อมูลให้เป็น ภาพ (Data Visualization) ซ่งึ เป็นการนาเสนอผลลัพธ์ ของข้อมูลในรู ปแบบท่ีช่วยให้ผู้รับสารเข้าใจตรงตาม วัตถุประสงค์ของผู้ส่ งสาร เช่น การนาเสนอในรู ป แผนภมู ิ แผนภาพ กราฟ และอินโฟกราฟฟิก

29 การนาเสนอข้อมลู (Data Presentation) แผนภูมแิ ท่ง

30 การนาเสนอข้อมูล (Data Presentation) แผนภมู ิวงกลม

31 การนาเสนอข้อมูล (Data Presentation) ฮิสโทแกรม

32 การนาเสนอข้อมลู (Data Presentation) แผนภาพการกระจาย

33 การนาเสนอข้อมูล (Data Presentation) แผนภมู พิ ้ืนท่ี

34 การนาเสนอข้อมูล (Data Presentation) แผนภมู แิ บบฟอง

35 กจิ กรรม 1. ถ้านั กเรียนเป็นเจ้าของธุรกิจการผลิตกระดาษชาระ จะ เ ก็บข้ อมู ล อ ะ ไ รบ้า ง แ ล ะ จะ ป ร ะ ม วล ผ ล ข้ อ มู ล อย่างไรเพื่อให้สามารถผลิตกระดาษตรงตามการใช้ งานของผใู้ ช้ 2. ธุรกิจรถรับ-ส่ งนั กเรียน จะเก็บข้อมูลอะไรบ้างและ จะประมวลผลข้อมูลอย่างไร เพื่อสามารถให้บริการ ไดเ้ พียงพอและทนั เวลา

36 กิจกรรม 3. ถ้านั กเรียนเป็ นกรรมการสหกรณ์ โรงเรียน ต้องการให้สหกรณ์ มีสิ นค้าท่ีน่ าสนใจและตรง กับความต้องการของลูกค้าส่ วนใหญ่ ต้องเก็บ ข้อมูลอะไรบา้ งและจะประมวลผลข้อมูลอยา่ งไร 4. ถ้านั กเรียนต้องการให้ โรงเรียนเปิดรายวิชา เพ่ิมเติมท่ีตรงกับความสนใจและความต้องการ ของนั กเรียนทั้งโรงเรียนมากที่สุด ต้องเก็บ ข้อมูลอะไรบา้ งและจะประมวลผลข้อมูลอยา่ งไร

37 กจิ กรรม 5. นั ก เ รี ย น จ ะ น า ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล ไ ป ใ ช้ แ ก้ ปั ญ ห า ใ น ชีวิตประจาวันอยา่ งไร

38 สรุปทา้ ยบท ปัญหาหรือส่ิ งท่ีสนใจล้วนมีข้ อมูลเป็นองค์ประกอบ สาคัญ เมอ่ื ไดม้ ีการนิ ยามปัญหาและวิเคราะห์ปัญหาเรยี บร้อยแล้ว การนาข้อมูลมาช่วยแก้ปัญหาจะเร่มิ ต้นจากการรวบรวมข้อมูลให้ ได้ข้อมูลท่ีถูกต้องครบถ้วน การเตรียมข้อมูลให้เป็นข้อมูลท่ีมี คุณภาพอยู่ในรู ปแบบท่ีสอดคล้องกับวิธีการประมวลผลข้อมูล โด ย เ ลื อก วิ ธีก าร วิ เ ค รา ะ ห์ ข้ อ มูล ท่ี จ ะ นา ไ ป ส่ ู คา ต อ บ ขอ ง ปั ญ ห า หรือเป็นประโยชน์ ในการแก้ปัญหาและการนาเสนอข้อมูลใน รูปแบบท่นี ่ าสนใจ ส่ือความหมายชดั เจน เข้าใจงา่ ย

39 สรุ ปท้ายบท จ ะ เ ห็ น ไ ด้ ว่ า ข้ อ มู ล เ ป็ น ส่ิ ง ท่ี มี คุ ณ ค่ า มี ค ว า ม ห ม า ย ซ่อ น อ ยู่ ภ า ย ใ น ด้ ว ย ตั ว ข อ ง ข้ อ มู ล เ อ ง ห รื อ เมื่อมีการสรา้ งความสั มพันธ์กับข้อมูลอ่ืนๆ ข้อมูลเป็น พ้ื น ฐาน สาคั ญในก ารตั ดสิ น ใจ ขอ ง บุ ค คล สั ง ค ม อ ง ค์ ก ร แ ล ะ ป ร ะ เ ท ศ โ ด ย ค า นึ ง ถึ ง จ ริ ย ธ ร ร ม แ ล ะ ประโยชน์ท่จี ะเกิดข้ึนกับทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้อง

ผจู้ ดั ทำ นำยประทวน ทองโสภำ ตำแหน่ง ครู โรงเรยี นเทพมงคลรงั ษี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook