Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สินไหมและค่าชดเชย

สินไหมและค่าชดเชย

Published by znkrpt, 2020-08-23 22:15:46

Description: สินไหมและค่าชดเชย

Keywords: ค่าสินไหม,ค่าชดเชย

Search

Read the Text Version

อดั ดิยะฮฺ )‫(الدية‬ การชดใช้คา่ สนิ ไหมทดแทน เสนอ อาจารย์อาพนั ดี หะซนั จัดทาโดย นางสาวสวุ นันท์ การะพิทกั ษ์ 602427006 นางสาวซยั ยาณี อีปง 60242700 สาขาวิชาบริหารธุรกิจ รายงานน้ีเปน็ ส่วนหนึ่งของรายวิชาศาสนบญั ญตั ิอสิ ลามสาหรบั นักธรุ กจิ 2 มหาวิทยาลยั ฟาฏอนี ภาคการศึกษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562

คานา รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหน่ึงของวิชา BA 2206-701 ศาสนบัญญัติอิสลามเก่ียวกับธุรกิจ 2 เพ่ือให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่องการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน และได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพ่ือเป็น ประโยชน์กับการเรยี น ผู้จัดทาหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่านที่กาลังหาข้อมูลเร่ืองน้ีอยู่หากมี ข้อแนะนาหรอื ข้อผดิ พลาด ประการใดผจู้ ดั ทาขอน้อมรบั ไวแ้ ละขออภยั มา ณ ท่นี ้ีดว้ ย คณะผจู้ ดั ทา

สารบัญ คานยิ ามของคาว่า “อัดดยิ ะฮฺ”..............................................................................................................................................................................1 เคล็ดลับในเรื่องกาหนดคา่ สินไหม..........................................................................................................................................................................1 ปรมิ าณหรือจานวนค่าสินไหม.................................................................................................................................................................................1 สินไหมนนั้ จะจาเป็นแกใคร......................................................................................................................................................................................2 ค่าสินไหมของสตรี......................................................................................................................................................................................................3 คา่ สินไหมของเด็กทอ่ี ย่ใู นครรภ์ ..............................................................................................................................................................................3 คา่ ชดเชยน้ันจาเป็นแกใคร .......................................................................................................................................................................................4 ค่าชดเชยนั้นจาเป็นสาหรับใคร ...............................................................................................................................................................................4 จาเปน็ ต้องเสียค่าชดเชย...........................................................................................................................................................................................4 ผขู้ ีม่ า้ สองคนว่งิ ชนกัน ...............................................................................................................................................................................................5 เจา้ ของสัตว์ทเี่ ป็นพาหนะจะต้องเป็นผู้รบั ผิดชอบ .............................................................................................................................................5 ผคู้ วบคุม ผู้ข่ี และผ้ขู ับขจ่ี ะต้องรับผดิ ชอบ..........................................................................................................................................................6 การชดใช้ในเรอ่ื งพืช ผล ผลไม้ และอ่ืนๆ ท่ีสัตว์ได้ทาความเสียหาย.............................................................................................................6 การชดใชส้ ิ่งท่ีนกทาเสียหาย....................................................................................................................................................................................8 การชดเชยสง่ิ ท่ถี ูกไฟเผาผลาญ ...............................................................................................................................................................................8 การทาพืชพันธัญญาหารของคนอ่ืนเสียหาย ........................................................................................................................................................8 ปญั หาเรอื จม................................................................................................................................................................................................................8

1 เรือ่ ง อดั ดิยะฮฺ)‫(الدية‬ การชดใชค้ า่ สินไหมทดแทน คานยิ ามของคาว่า “อัดดิยะฮฺ” อัดดิยะฮฺ คือ ทรัพย์ที่จาเป็น (วาญบิ ) จะดว้ ยสาเหตกุ ารก่ออาชญากรรม ซ่ึงจะจ่ายให้ผู้ท่ีได้รับความ เสียหาย หรือถกู ทาร้าย หรือผู้ปกครอง หรอื ทายาทของเขา ซงึ่ เราเรยี กเป็นภาษาไทยวา่ “สนิ ไหม” มคี ากลา่ วว่า ‫( وديت القتيل‬วะดัยตุลก้อตีล) หมายความว่า ‫( أعطيت ديته‬ฉันได้ให้ค่าสินไหม ของเขาไป) อัดดิยะฮฺ นน้ั จะถกู ให้มีขนึ้ ในเร่ืองกิศอ๊ ศ หรือในเร่อื งทไี่ ม่มีการกศิ ๊อศ อัดดิยะฮฺ ถูกเรยี กอกี ชอ่ื หนึง่ วา่ “อลั อุกลุ” พื้นฐานในเรื่องนี้ก็คือ ฆาตกรนั้น เม่ือปรากฏว่า เขาได้ฆ่าคนหนึ่งตาย สินไหมท่ีถูกรวบรวมมาก็คือ อฐู ซ่ึงจะถกู ตอ้ นไปรวมไปที่สนาม หรอื ทุ่งของทายาทของผูต้ าย คอื จะถกู รวมเอาไว้ด้วยอิกอล (เชือกล่ามอูฐ เพือ่ นาไปมอบใหก้ บั ทายาทของผตู้ าย) มีคากลา่ วว่า ‫ عقلت عن فلان‬คือ เม่อื สนิ ไหมอันเน่ืองจากการกอ่ อาชญากรรมถูกปรับมาจากฆาตกร ระบบสนิ ไหม ได้ถูกนามาใช้แก่ชาวอาหรบั และเมือ่ อิสอามได้อบุ ัติแลว้ จงึ ได้ใหค้ งไว้ และถูกนามาใช้ เคล็ดลับในเรือ่ งกาหนดค่าสนิ ไหม จุดม่งุ หมายทไ่ี ด้มกี ารกาหนดคา่ สินไหมก็เพอ่ื เปน็ การลงโทษผกู้ ระทาผดิ ปกปอ้ งคนถูกอธรรมและเปน็ การปกป้องชวี ติ ดว้ ยเหตุน้ี จึงจาเปน็ (วาญิบ) ทจ่ี ะตอ้ งใหม้ ขี ้นึ และมีผลใช้บังคับ ซ่ึงจะทาให้เกิดความลาบาก ยาก เขน็ แกผ่ ู้ทาผิด ส่วนผู้ที่ที่มีทรัพย์มาก ก็จะต้องรู้สึกเจ็บปวด ทรัพย์สินของเขาจะต้องลดน้อยลง เกิดความ เสยี ดาย น้ันเปน็ การตอบแทน และลงโทษผู้กระทาผดิ ซ่งึ ก็มีทั้งการลงโทษ และการเสียค่าสินไหม หรือเป็น คา่ ชดเชยนัน่ เอง ปรมิ าณหรอื จานวนค่าสนิ ไหม ปริมาณค่าสินไหมที่ท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้กาหนดโดยให้เป็นค่าสินไหมให้แก่ ผ้ชู ายทม่ี ีอิสระ เป็นจานวนอูฐ 100 ตวั แก่ผทู้ ีเ่ ป็นเจ้าของอูฐ และเปน็ ววั 200 ตัว แก่เจา้ ของววั และแกะ 2,000 ตวั แกเ่ จา้ ของแกะ และ 1,000 ดนิ าร (เหรียญทอง) แกเ่ จา้ ของทองคา และ 12,000 ดิรฮัม (เหรยี ญเงนิ )แกเ่ จา้ ของเงนิ

2 และ 200 ฮุลละฮฺ และเจ้าของเสื้อผา้ ดงั นนั้ ผ้ใู ดท่ีกระทาการทีจ่ าเป็นทจ่ี ะต้องเสยี คา่ สนิ ไหม ก็จาเป็นแก่ผ้ปู กครองของเขาจะต้องยอมรบั ไม่ ว่าผู้ปกครอง พร้อมทายาทที่เกี่ยวข้องกับผู้ก่ออาชญากรรมนั้น จะเป็นเจ้าของเช่นอย่างนั้นหรือไม่ ก็ตาม เพราะดงั กลา่ วน้นั ได้ถูกนามาด้วยพื้นฐานทจ่ี าเป็น สินไหมนัน้ จะจาเปน็ แกใคร สินไหมนั้นจาเปน็ แกฆ่ าตรกรด้วย 2 ประเภท ดว้ ยกนั คอื 1.ประเภทหน่งึ จาเปน็ แกฆ่ าตกร หรือผู้ก่ออาชญากรรม จากทรัพย์สินของเขา นั่นก็คือ การ ฆ่าโดย เจตนา เมอ่ื การกิคอื ศได้หลุดพ้นไป อิบนุ อับบาส กลา่ วว่า ทายาทจะไม่รับผิดชอบในกรณที ีก่ ระทาโดยเจตนา และโดยสารภาพ ผิด และ โดยขอ้ ตกลงกัน โดยไม่มีสาวก (ศอฮาบะฮ)ฺ คนใดมคี วามเห็นขดั แย้ง ได้มีรายงานจากมาลกิ จากอิบนิชหิ าบ วา่ “หลกั ปฏิบตั ิ ได้ดาเนินไปในเรอื่ งฆาตกรรมโดยเจตนา เม่ือ ทายาทของผู้ทีถ่ กู ฆ่าได้อภยั ให้ ค่าสินไหมนั้นจะตกอยู่แก่ฆาตรกรในทรัพย์สินของเขาโดยเฉพาะ นอกจากว่า บรรดาทายาทมใี จเผอ่ื แผ่อนุโลมให้ แต่จะไม่ผอ่ นผันให้จากทายาทคนหน่งึ ในสามคน คือ จะไม่มีการผ่อนผันให้เสียค่าสินไหม เม่ือ ได้ทา ฆาตกรรมโดยเจตนา และในกรณที ่ไี ด้มกี ารสารภาพ และในกรณที ่มี ขี ้อตกลง เพราะการเจตนา นั้นจาเป็นจะ ถูกลงโทษ ไม่มีสทิ ธิไ์ ด้รบั การผ่อนผนั แก่ทายาทของผู้ตายเปน็ ผู้จา่ ยสนิ ไหมแตป่ ระการ ใด และจะไม่มีการผอ่ น ผันให้ในเม่ือได้รับสารภาพ เพราะการสารภาพนั้นเป็นหลักฐานที่จากัดเฉพาะ เจาะจงต่อผู้ท่ีสารภาพไม่ไป เก่ียวขอ้ งกบั ทายาทแต่ประการใด ทายาทจะไม่ได้รับการผ่อนผัน ด้วยการสารภาพ เพราะข้อทดแทนในข้อตกลงน้ัน จะไม่จาเป็น แก่ ทายาท แตจ่ าเปน็ ดว้ ยกับข้อสญั ญาตกลงกนั และเพราะว่าฆาตกรน้ันจะต้องรบั ผดิ ชอบตอ่ การกอ่ อาชญาการม ของเขา และข้อชดใช้คา่ เสยี หายน้ัน จาเป็นแก่สง่ิ ที่เสียหายไป 2. ประเภทท่ีสอง จาเป็นแก่ฆาตรกร แต่ทายาทจะเป็นผู้รับผิดชอบ ถ้าปรากฏว่ามีทายาทโดย วิธี ร่วมกัน นน่ั กค็ ือ การฆา่ ถึงเจตนา และฆ่าผิด สว่ นผ้ฆู ่าน้ัน กเ็ ปน็ เสมอื นคนหนึ่งในสมาชิกของทายาท เพราะเขาเปน็ ผฆู้ ่า แตก่ ็ไม่ได้หาว่าเขาจะต้อง เป็นคนออกค่าสินไหมคนเดยี ว อิมามชาฟอี ี กลา่ วว่า ไมจ่ าเป็น (วาญบิ ) แกผ่ ฆู้ ่าจะต้องออกคา่ สินไหมแตป่ ระการใด เพราะเขาเป็นผู้ท่ี มีอปุ สรรค์ และไดร้ บั การผ่อนผันในการดาเนนิ การ คาวา่ อัลอากิละฮฺ เอามาจากคาวา่ อลั อักลุ เพราะอลั อากลิ ะฮ นัน้ เป็นผูท้ มี่ สี ตสิ ัมปชัญญะ ในการทจี่ ะ หยุดการส่ังการหลง่ั เลอื ดได้ อลั อากิละฮฺ คือ คนกลุม่ หนง่ึ ท่ีจะมคี วามเกยี่ วพันกบั สนิ ไหม มคี ากลา่ ว อกั ก็อลตลั ก่อตีล คือ ฉันได้เสีย สินไหมให้แก่ผู้ท่ีถูกฆ่า

3 และคากลา่ วที่ว่า อลั กอ็ ลตุอะนิกอตลิ มีความ ว่า ฉันไดจ้ า่ ยสิง่ ที่จาเป็น เก่ยี วกับค่าสินไหมแลว้ อลั อากลิ ะฮ คือ ผู้ชายกลุม่ หนงึ่ ซึง่ เป็นพ่นี อ้ ง หรือญาติที่ใกล้ชิด เป็นผู้ชาย ท่ีบรรลุศาสนภาวะ แล้ว จากตระกลู ทางพ่อ หรือญาตทิ ีร่ า่ รวย ซึ่งในจานวนนั้นก็รวมถึงคนตาบอด และคนชราภาพดว้ ย ถา้ เขาเปน็ ผทู้ มี่ ี ฐานะดี และไม่เขา้ อยู่ในอัลอากลิ ะฮ กค็ อื ผูห้ ญงิ คนจน เด็กๆ และคนบ้า และคนที่อยู่คนละศาสนา กับผู้ฆ่า หรือ ฆาตกร เพราะในเรื่องนี้มนั ขึน้ อยกู่ บั พ้นื ฐานแห่งการช่วยเหลือกนั แต่คนต่างศาสนิก จึงไม่อยู่บนพ้ืนฐาน อันนัน้ หลกั ฐานในการท่ีจาเป็น (วาญบิ ) ต้องจา่ ยค่าสนิ ไหม แก่อัลอากิละฮ ก็คือ เร่ืองท่ีปรากฏว่ามี สตรี 2 คน จากเผ่าหเุ ซล ได้ตอ่ สกู้ ัน หญิงคนหนง่ึ ไดเ้ อากอ้ นหนิ ทุ่มใส่หญิงอีกคนหนง่ึ เป็นเหตทุ าให้ นางเสยี ชวี ิตพร้อม ท้งั ลกู ที่อยู่ในท้องของนาง ท่านรอซลู คือลลลั อฮุอะลยั ฮิวะซัลลมั จึงได้ตัดสินให้ ทายาทหรือวงศ์ญาติของผู้ที่ ฆา่ ใหจ้ ่ายค่าสินไหมใหแ้ กท่ ายาทผู้ตาย บนั ทึกโดย อัลบคุ อรีย และมสุ ลิมจากหะดีษท่ีรายงานโดยอบหู รุ ็อยเราะฮฺ ค่าสนิ ไหมของสตรี คา่ สินไหมเมอื่ สตรีถูกฆา่ โดยผดิ พลาด ต้องจ่าย1/ 2ของผชู้ าย และเช่นเดียวกับค่าสินไหมของอวัยวะ และบาดแผลต่างๆ ตอ้ งจ่ายครึง่ หนง่ึ ของผชู้ าย ได้มีรายงานจากคอลีฟะฮอุมัร และบุคคลหลายท่านโดยพวกเขากล่าวถึงค่าสินไหมของสตรีว่าเป็น จานวนครง่ึ หนึง่ ของบรุ ุษ โดยไมม่ ีรายงานวา่ มผี ูใ้ ดคัดค้านแต่ประการใด ดังน้ัน จงึ ถือว่าเป็นมติของบรรดาศอ ฮาบะฮ และเปน็ พยานของสตรีกถ็ อื เป็นครง่ึ หน่ึงของบุรุษ ค่าสินไหมของเดก็ ทอี่ ยใู่ นครรภ์ เม่ือเดก็ ในทอ้ งได้ตายไป อันเนือ่ งจากอาชญากรรมท่ีไดก้ ระทาแกแ่ ม่ของเด็กโดยเจตนา หรอื ผดิ พลาด แตแ่ ม่ไม่ตาย ก็จาเปน็ จะต้องเสยี ฆรุ เราะฮฺ (ค่าชดเชย) เท่านั้น ไม่ว่าจะแยกออกจากมารดา และออกมาตาย หรอื ตายอยู่ในครรภข์ องมารดา และไม่วา่ เป็นผูช้ ายหรอื ผหู้ ญิง ในกรณีท่ีออกมายงั มชี วี ิตอยู่แล้วหรือเสียชีวิตในภายหลังจะต้องเสียค่าสินไหมเต็มอัตรา ถ้าเป็นเพศ ชาย จะตอ้ งจา่ ยเป็นอฐู 100 ตัว ถา้ เป็นผหู้ ญงิ จะต้องจ่ายเป็นอูฐ 00 ตัว และจะรู้ว่ายังมีชีวิตอยู่หรือไม่ก็ด้วย การหายใจ ร้องไห้ สง่ เสียงออกมา การขยับเขย้ือน หรอื อย่างอื่นที่คลา้ ยๆ กัน อีมามชาฟอี ยี ์ ไดว้ ่างเงอ่ื นไขในกรณที เ่ี ดก็ ไดต้ ายในครรภ์มารดา โดยจะต้องทราบว่าได้เกิดเป็นรูปร่าง แลว้ และมวี ญิ ญาณแล้ว ซง่ึ ไดอ้ ธิบายวา่ ตอ้ งปรากฏเป็นรูปรา่ งแลว้ เช่น มนี ้วิ มีมอื สว่ นอีมามมาลกิ นน้ั ทา่ นไมไ่ ด้วางเงือ่ นไขในดา้ นน้ีเอาไว้ โดยท่านได้กล่าวว่า ทุกส่ิงที่เกิดข้ึนในครรภ์ สตรี เชน่ เป็นกอ้ นเลอื ดเปน็ กอ้ นเนอื้ โดยท่รี ูว้ า่ เปน็ เดก็ แน่ๆ กจ็ ะตอ้ งเสยี คา่ ชดเชย

4 แตท่ ศั นะอีมามชาฟีอยี ์มีนา้ หนกั กวา่ โดยถือวา่ เปน็ หลักเดมิ น้นั ไม่ต้องรับผิดชอบ ใต้องเสียค่าชดเชย เม่อื ยังไม่ทราบว่า จะเป็นตวั เปน็ ตนหรือยัง ก็ไมจ่ าเปน็ ต้องจา่ ยส่ิงหน่ึงส่งิ ใด ค่าชดเชยนนั้ จาเปน็ แกใคร อิมามมาลิก และบรรดาสานุศิษย์ของเขา อัลหะซัน อัลบัสรี และชาวเมืองบัศเราะฮฺ กล่าวว่า คา่ ชดเชยน้ัน จาเป็นแก่ทรพั ย์ของฆาตกร ส่วนมัซหับหะนะฟียะฮฺ และชาฟีอียะฮฺ และชาวเมืองกูฟะฮฺ ถือว่าจาเป็นแก่ทายาท เพราะมันป็น อาชญากรรมท่ผี ดิ พลาดไมไ่ ด้เจตนา ดังน้นั จงึ จาเป็นแกท่ ายาท ไดม้ ีรายงานจากญาบิร ร่อฎิยัลลอฮอุ ันฮุ วา่ ท่านนบี ศอ็ ลลลั ลอฮฺ อุ ะลยั ฮิวะซลั ลมั ได้กาหนดค่าชดเชย แกเ่ ด็กทีอ่ ยใู่ นครรภ์แก่ทายาทของผก็ ่ออาชญากรรม โดยเรม่ิ จากสามีของนาง และลูกๆ ของนาง ส่วนอิมามมาลิก และอัลหะซัน ได้เปรยี บดงั กล่าว เชน่ เดยี วกับสนิ ไหมที่กระทาโดยเจตนา ถ้าการตีที่ ทอ้ งน้ันจงใจตี ทัศนะแรกน้ันถอื ว่าถูกต้องกว่า ค่าชดเชยน้นั จาเป็นสาหรบั ใคร มซั หบั มาลกิ ียะฮฺ ชาฟีอยี ะฮฺ และคนอ่ืน มีความเหน็ ว่า คา่ ชดเชยเดก็ ในทอ้ งน้นั จะเป็นของทายาทผู้มี สทิ ธิร์ ับมรดกตามศาสนบญั ญัติ ข้อชีข้ าดของมนั กค็ อื ข้อช้ีขาดคา่ สินไหมในกรณที ี่เป็นผู้รับมรดก บางท่านกล่าวว่า มนั เป็นของแม่เดก็ เพราะลกู ทอี่ ยใู๋ นครรภ์นนั้ เปรียบเสมอื นอวัยวะของแม่ ดังนั้นค่า สินไหมจึงเปน็ ของนางโดยเฉพาะ จาเปน็ ตอ้ งเสยี คา่ ชดเชย บรรดานักปราชญ์มีความเห็นตรงกันว่า เด็กที่อยู่ในครรภ์นั้น เม่ือคลอดออกมายังมีชีวิตอยู่ หลัง จากนัน้ ก็ตาย กจ็ าเป็นจะตอ้ งเสยี คา่ ชดเชย (กฟั ฟาเราะฮฺ) พรอ้ มกับคา่ สินไหมด้วย และจาเป็นจะต้องเสียค่าชดเชยพร้อมกับค่าทาขวัญด้วยหรือไม่ เมื่อคลอดออกมาตาย หรือไม่ จาเป็นต้องเสีย?1 อิมามชาฟีอี และคนอน่ื ๆ กลา่ ววา่ ไมจ่ าเป็น เพราะค่าชดเชยสาหรับเขาน้ัน จะจาเป็นในเร่ือง ความ ผดิ พลาด และเจตนาเทา่ น้นั อิมามอบุหะนีฟะฮฺ กล่าวว่า ไม่จาเป็น เพราะมันถูกพิพากษาตัดสินว่ากระทาโดยเจตนา ส่วนค่า ชดเชยนน้ั ไม่ถือวา่ จาเปน็ ตามทัศนะของเขา ส่วนอิมามาลิก ถอื ว่าเปน็ การชอบใหก้ ระทา เพราะมันสับสนระหว่างผดิ พลาด และเจตนา 1 แต่พวกเขามีความขดั แยง้ กนั ถา้ แม่ตายอนั เนื่องมาจากถกู ตีท่ีทอ้ ง แลว้ เด็กทอี่ อกมาตาย หลงั ท่ีแมไ่ ดต้ าย บรรดานิติศาสตร์อิสลามส่วน ใหญ่มีความเห็นวา่ ไมม่ ีอะไรตอ้ งจ่ายสาหรับเด็ก แต่อลั ลยั ษ์ อบิ นุ สะอดั และดาวดู๊ กลา่ ววา่ ตอ้ งจา่ ยค่าชดใช้ แลพการพิจารณาน้นั คือ พจิ ารณาขณะแม่อยอู่ ยใู่ นเวลาท่ีถกู ตี โดยไมถ่ ืออยา่ ง

5 ผู้ขมี่ า้ สองคนวิ่งชนกนั อบูหะนฟี ะฮฺ และมาลิกมีความเห็นวา่ ถ้าผ้ขู ี่ม้า 2 คน เกดิ วิ่งชนกนั เป็นเหตุทาใหแ้ ต่ละคนตกมาตาย กจ็ าเป็นแก่ทายาทของทง้ั สองจะตอ้ งรบั ผดิ ชอบตอ่ คา่ สนิ ไหมของท้งั สองคน ชาฟอี ี กลา่ ววา่ จาเป็นแต่ละคนเสยี ค่าสนิ ไหมคนละครง่ึ เพราะแต่ละคนได้เสียชวี ิตอนั เน่อื งจากการ กระทาของตนเอง และเพอื่ นๆ ของเขา เจ้าของสัตวท์ เ่ี ปน็ พาหนะจะตอ้ งเปน็ ผรู้ ับผิดชอบ เม่ือสัตว์พาหนะทาให้มือ เท้า หรือปากของผู้โดยสารเกิดความเสียหาย เจ้าของสัตว์จะต้องเป็น ผู้รบั ผิดชอบ น่ีเปน็ ทศั นะของชาฟีอี อบิ นอุ บลี ยั ลาและอบิ นุ ชบุ ร่อมะฮฺ มาลกิ อลั ลัยษฺ และอัลเอาซาอี ไดก้ ลา่ วว่า ไมต่ ้องรับผิดชอบ ถ้าไม่เกิดขึ้นกับผู้ที่ข่ี หรือผู้บังคับสัตว์ หรอื ผ้ขู ับข่ี อันเนือ่ งจากไปทาความราคาญ หรอื ตีมนั ถ้าหากปรากฎว่ามีสาเหตุโดยเฉพาะเช่นมีคนหนึ่งไปทา สง่ิ หนง่ึ สง่ิ ใดตอ่ มัน แลว้ มันก็กอ่ ความเสียหาย ก็จาเปน็ แก่ผู้น้ันท่ีจะต้องรับผิดชอบในฐานะเป็นต้นเหตุให้เกิด ความเสียหาย แตถ่ า้ ปรากฏว่า อาชญากรรมที่ได้ก่อขึ้นน้ัน มีความจงใจ ซ่ึงทาให้ต้องมีการกิศ๊อศด้วย ก็ต้องมีการ กศิ ๊อศตอ่ ผทู้ ่เี ป็นตน้ เหตุ สว่ นสัตว์ในกรณีนี้ ถอื เป็นเครอื่ งใช้ หรือพาหนะนัน่ เอง ในกรณีที่การกระทาต่อสัตว์ที่เกิดขึ้นน้ัน ไม่ได้ตั้งใจ หรือไม่ได้จงใจ ค่าสินไหมน้ันก็เป็นภาระความ รบั ผิดชอบของทายาท หรอื ผู้ปกครอง แตถ่ า้ ผทู้ าความเสียหายนั้นมีทรัพย์มากมายเป็นคนร่ารวยค่าปรับก็ให้ เอาจากทรัพยข์ องผ้กู อ่ อาชญากรรมน้ัน อบูหะนีฟะฮฺ กล่าวว่า เม่ือสัตว์ของคนๆ หนึ่ง ซ่ึงเขาเป็นผู้ขี่อยู่ได้ได้เตะหอกไปถูกคนหน่ึง และ ปรากฏว่าหอกไปถูกที่ขา ก็ถือวา่ สญู เปล่า แต่ถ้าไปถูกทีม่ ือ เจ้าของจะตอ้ งรบั ผิดชอบน่นั ก็เพราะเขารบั ผิดชอบ สง่ิ ท่ีอยขู่ า้ งหน้าเขา โดยไม่ตอ้ งรบั ผดิ ชอบต่อสิ่งท่อี ย่ขู ้างหลงั ขา มกี ล่าวอกี วา่ ถา้ เขาจูงสัตว์ไป อานหรือบังเหียนของสตั ว์ หรอื สง่ิ หน่งึ สงิ่ ใดที่อยบู่ นหลังมัน ไดต้ กลงมา ถกู คนหนึ่งเปน็ อนั ตราย เจา้ ของหรือผ้จู งู จะตอ้ งรบั ผิดชอบดังกล่าว และถ้าสัตว์หลุดหนีไป ซ่ึงเป็นเหตุทาให้ทรัพย์สิน หรือคนเสียหาย ไม่ว่าจะเป็นเวลากลางวัน หรือ กลางคนื ในกรณนี เ้ี จา้ ของไมต่ อ้ งรบั ผิดชอบ เพราะไมไ่ ดจ้ งใจ หรอื มีเจตนาเป็นอย่างนน้ั ผู้ใดขสี่ ัตว์ แล้วมชี ายอีกคนหนง่ึ ตีสัตว์ หรือทารา้ ยมัน เป็นเหตทุ าให้เกิดบาดแผลแก่ผู้คน หรือขาหน้า ของมนั ทาอนั ตรายต่อผูค้ น หรือมนั ว่งิ หนีไปชนคนอน่ื ทาให้คนอน่ื ตาย หรอื ผูท้ ี่ตีมนั ตายโดยไม่ใชผ่ ้ขู ่ี ถา้ มันชนผทู้ ารา้ ยมัน เลือดของผู้ทารา้ ยมันกจ็ ะสูญเปล่า เพราะเขาเปน็ ตน้ เหตุให้มนั เป็นอย่างนัน้ แต่ถ้ามันสลัดผูข้ ีต่ กลงมาตาย ค่าสนิ ไหมกจ็ ะต้องรับผิดชอบโดยทายาท หรือผู้ปกครองของผทู้ าร้ายมนั ในกรณีที่สัตว์เยี่ยว หรือช่ีลงตามถนนหนทางที่มันเดินไปเป็นเหตุทาให้เปรอะเปื้อนผู้คน ก็ไม่มีการ รบั ผิดชอบแต่ประการใด

6 ผคู้ วบคมุ ผขู้ ี่ และผขู้ บั ข่ีจะต้องรบั ผิดชอบ ถ้าสตั วน์ นั้ มผี ู้ควบคุม หรอื ผขู้ ี่ หรือผู้ขับขี่ แลว้ สตั ว์ตวั นั้นไปถกู ส่ิงหนึ่งสงิ่ ใดเสียหาย หรือทาสิ่งหน่ึงส่ิง ใดเสียหาย ผูท้ ่คี วบคมุ หรอื ผูข้ ี่ หรือผขู้ บั ข่จี ะตอ้ งรบั ผดิ ชอบตอ่ สิง่ เสียหายทเี่ กิดขึ้น ทา่ นอุมัร รอยัลลอฮุอนั ฮุ เคยตัดสนิ ใหเ้ สยี คา่ สินไหมแกผ่ ูท้ เี่ อามนั ออกมาวิ่ง และเหยียบคนอืน่ กลมุ่ ซอหริ ยี ะฮฺ มีความเห็นว่า คนดังกลา่ วนัน้ ไมต่ อ้ งรับผดิ ชอบแต่ประการใด เพราะทา่ นรอซลู ศอ็ ลลลั ลอฮอุ ะลยั ฮวิ ะซลั ลมั ได้กลา่ วว่า ความว่า “แผลจากสัตว์เดรัจฉานสูญเปล่า บ่อนั้นสูญเปล่า แร่น้ันสูญเปล่า และในทรัพย์ของคน โบราณทฝ่ี งั ไวน้ ้ันต้องออก 1/5” “หลักฐานทก่ี ลมุ่ ซอหิรียะฮอ้างมาน้นั จะใช้กบั สตั ว์ทีไ่ ม่มคี นข่ี ไม่มีคนขับข่ี และไม่มีผคู้ วบคมุ ซ่งึ จะไม่ มีการรับผิดชอบต่อสงิ่ ทีส่ ัตว์ได้ทาความเสียหาย ในกรณนี ้ี ถอื เป็นมิตขิ องนกั วิชาการ” การชดใช้ในเรือ่ งพืช ผล ผลไม้ และอน่ื ๆ ทีส่ ัตวไ์ ด้ทาความเสียหาย นักปราชญ์ส่วนใหญ่ ในจานวนนั้นมีอิมามาลบิก ชาฟีอี และนักนิติศาสตร์อิสลามส่วนใหญ่ มี ความเห็นวา่ สง่ิ ทีส่ ัตวส์ ่ีเท้าทาเสยี หายในเวลากลางวัน ไม่วา่ จะเปน็ ชีวติ หรอื ทรพั ย์สินของคนอ่ืน เจ้าของสัตว์ ไมต่ อ้ งรบั ผดิ ชอบในการชดใช้ เพราะประเพณปี ฏบิ ตั ิของผู้คนน้นั คอื เจ้าของบา้ น เจา้ ของ สวนจะต้องเฝ้าดูแล ในช่วงกลางวนั เจา้ ของสัตวน์ ัน้ จะต้องใส่บังเหียนสตั ว์ คือดแู ลในตอนกลางวนั และจะนามันกลับไปยังท่ีพักใน เวลากลางคืน ใครท่ที าผดิ จากประเพณีปฏบิ ตั ิน้ี ถือว่าออกนอกหลกั ในการดแู ลรกั ษาจนทาใหเ้ กดิ ความเสยี หาย ซ่ึงก็ต้องมกี ารชดเชย กรณนี ้ี ถ้าสัตว์นั้นไมม่ เี จ้าของ แต่ถา้ สตั วน์ ้นั มเี จ้าของกจ็ ะต้องมีการรบั ผิดชอบในการชดเชย ไป ว่าจะ เปน็ ผมู้ ี ผขู้ ับข่ี หรอื ควบคุม หรือโดยท่ีมันยืนอยู่ท่ีเขา และไม่ว่าสิ่งนั้น จะเสียหายโดยเท้าหน้า หรือเท้าหลัง หรอื ปากของมนั ก็ตาม พวกเขาได้อ้างหลักฐานตามแนวความคดิ ของพวกเขาด้วยหะดษี ทบ่ี ันทกึ โดยอิมามมาลิก จาก อิบนิ ชิ หาบ จากหะรอม อิบนิ สะอีด อบิ นลุ มฮุ ัยเศาะฮฺ วา่ อูฐของบะรออุ อิบนุ อาซิบ ได้เข้าไป ในสวนของชายคน หนงึ่ แล้วไปสร้างความเสยี หายในสวนนั้น แล้วท่านรอซลู ศ์อลลัลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม จึงได้ตัดสินว่า เจ้าของ สวนนน้ั จะต้องดแู ลสวนของเขาในช่วงกลางวัน และสงิ่ ทีส่ ัตวส์ ีเ่ ทา้ ได้ ทาความเสียหาย ในเวลากลางคืนเจ้าของจะตอ้ งรบั ผดิ ชอบในการชดใช้ อบอมุ ัร อบิ นุ อับดุลบัร ไดก้ ล่าววา่ หะดษี นแ้ี มว้ า่ จะเปน็ หะดีษมรุ ซลั (สายรายงานสุดแค่ตาบิอีน) แต่ มันก็เป็นหะดีษท่ีเป็นท่ีทราบกันดี ซึ่งบรรดาอิมามท้ังหลายถือว่าเป็นหะดีษมุรซัล ผู้รายงาน เป็นท่ีเชื่อได้ บรรดานกั นติ ิศาสตร์อิสลามชาวหญิ าซใช้มนั และเป็นท่ียอมรับโดยทัว่ ไป และชาวมะดี นะฮกฺ ย็ ดึ ถือปฏิบัติดังน้ี การกระทาของชาวมะดนี ะฮฺ จึงถือวา่ เป็นการพอเพยี งแล้ว และชาวหญิ าซทั้งมวล ก็ถือปฏิบัติกับหะดีษนี้ด้วย ซะฮุนฯ จากมัซหบั มาลิกียะฮฺ มคี วามเห็นว่า หะดีษบทนี้เป็นที่ใช้ได้กับเมืองที่มีกาแพงแข็งแรง ส่วน

7 เมืองที่มีพืชผลติดต่อกันโดยไม่มีร้ัวกั้น หรือสวนท่ีไม่มีร้ัวเป็นขอบเขต เจ้าของสัตว์จะต้องเป็นผู้ รับผิดชอบ ชดใชส้ ิ่งที่สัตวไ์ ด้ทาเสยี หายไมว่ ่าจะเปน็ กลางวนั หรือกลางคืน กลุ่มอัลอะฮฺนาฟ ถือว่า ถ้าสัตว์น้ันไม่มีเจ้าของก็ไม่มีการชดใช้แต่ประการใด ไม่ว่าจะเป็นเวลา กลางวนั หรอื กลางคืน เพราะทา่ นรอซูล ศ็อลลัลอฮอุ ลยั ฮวิ ะซลั ลมั ไดก้ ล่าวไว้ว่า ‫جرح الجماء جبار‬ ความวา่ “บาดแผลจากสตั ว์เดรัจฉานนนั้ สญู เปล่า” กลุ่มอลั อะฮนฺ าฟ ถือว่าจะเปรียบผลงานท้ังหมดท่ี เกิดขนึ้ ตามขนาดของบาดแผลของมัน ถา้ สตั วน์ ั้นมีเจา้ ของคอยบังคับควบคุมก็จะต้องชดใช้สิ่งที่เสียหายไปไม่ว่าในกรณีใด แต่ถ้ามีผู้ควบคุม หรือผขู้ ี่ก็จาเปน็ จะต้องชดเชย สงิ่ ท่มี นั ทาให้เสียหายด้วยปาก หรอื เท้าหนา้ ของมัน แต่ไม่ วาญิบ (จาเป็น) ต้อง ชดใชส้ ่ิงท่มี นั ทาใหเ้ สียหายดว้ ยเทา้ หลังของมัน นักปราชญ์ส่วนใหญ่ได้ตอบว่า หะดีษดังกล่าวที่กลุ่มอะฮฺนาฟได้อ้างหลักฐานมาน้ัน เป็นหะดีษ ที่มี ความหมายกวา้ ง ซง่ึ หะดีษท่ีรายงานโดยอัลบะรออุ ไดม้ าจากัดความ กรณีนี้เป็นเรื่องที่เก่ียวข้อง กับพืช และ ผลไม้ สว่ นในเร่อื งอ่ืนๆ จากน้ัน อบิ นุกุดามะฮฺ ไดก้ ล่าวไว้ในหนังสืออลั มุฆนีย โดยอิบนุกุดามะฮฺว่า “และถา้ สัตวไ์ ดท้ าใหอ้ นื่ จากพชื เสียหาย เจ้าของก็ไม่ต้องรับผดิ ชอบต่อส่ิงที่ทาให้เสียหายไป ไม่ว่าจะ เปน็ กลางวัน และกลางคนื ในเมอื่ มือของเจ้าของไม่ได้ไปเกี่ยวข้องกบั มนั ” ไดม้ เี รือ่ งเล่ามาจากชุรอ็ ยฮฺ วา่ เขาไดต้ ดั สินเก่ียวกับแกะตัวหน่งึ ท่ตี กจากกาแพงลงไปทาความเสียหาย ในตอนกลางคืนใหเ้ จ้าของรับผิดชอบในการชดใช้ และชรุ อ็ ยฮฺ ได้อา่ นโองการท่ีว่า ‫إذ تقشت فيه لختم القوم‬ ความว่า “เมือ่ ฝงู แกะของกลุม่ ชนไดห้ ลบเข้าไปกินพชื ในเวลากลางคนื ” (บทอัลอัมบยิ าอุ โองการที่ 78) ชรุ ็อยฮฺ ได้กล่าววา่ คาวา่ “อันนะฟชั ” (การหลบเขา้ ไป) นั้นจะไม่เกดิ ขนึ้ นอกจากเปน็ เวลา กลางคนื จากทัศนะของอัษเษารี กล่าววา่ “จะต้องรับผิดชอบชดเชย แม้จะเป็นกลางวนั ก็ตาม เพราะถือว่าเป็น การเลินเล่อทีป่ ลอ่ ยมนั เขา้ ไป สาหรับพวกเรา ตามคากลา่ วของทา่ นนบี ศอ็ ลลลั อฮุอะลยั ฮิวะซัลลมั ทกี่ ล่าววา่ ‫العجماء ژڅها جبار‬ ความวา่ “สัตวเ์ ดรัจฉานน้ัน บาดแผลที่เกิดจากมนั สญู เปล่า” บนั ทกึ โดย อัลบคุ อรยี และมสุ ลิม สว่ นโองการอัลกรุ อานน้ัน การหลบเข้าไป คือ การเข้าไปกินหญ้าในตอนกลางคืน และปรากฏว่า ใน เร่อื งนี้เก่ียวกันในเรือ่ งพืชผลท่สี ตั วท์ าเสยี หาย ซง่ึ จะเรยี กว่า มนั กนิ เขา้ ไป ซึง่ ตา่ งกับสิง่ อ่ืน จึงไมถ่ กู ตอ้ งทจ่ี ะเอา ไปเทียบกบั อยา่ งอ่ืน...จบคาพดู

8 การชดใชส้ ่งิ ทีน่ กทาเสยี หาย นกั ปราชญ์บางทา่ นมีความเหน็ ว่า ผ้งึ นกพิราบ ห่าน ไก่ และนก ก็เช่นเดียวกับสัตว์สี่เท้า คือ ถ้าเขา เล้ียง และปล่อยมันตอนกลางวัน มันก็ไปหาอาหารกิน ไปกินพืชผลต่างๆ ก็ไม่ต้องมีการชดเชย เพราะว่า ประเพณีของมนั จะต้องปล่อยมันออกไปหากนิ คนอ่ืนบางคนเห็นว่า ดังกล่าวนั้นจะต้องมีการชดเชย ผู้ใดได้ปล่อยมันไป แล้วทาให้ส่ิงหน่ึงส่ิงใด เสยี หาย กต็ อ้ งชดเชย เช่นเดยี วกนั ถ้ามันเปน็ นกท่ีดรุ ้าย เชน่ เหยีย่ ว แร้ง แล้วนกก็ทารา้ ยมนุษย์ และสัตว์เลี้ยงของพวกเขา ก็จะตอ้ งชดใช้ ซ่ึงทัศนะน้ี ถือว่าเป็นทัศนะที่ถูกต้องทีส่ ดุ การชดเชยส่ิงทถ่ี กู ไฟเผาผลาญ ผใู้ ดจดุ ไฟในบ้านเชน่ ปกติ ลมพดั กระโชกเข้ามาทาใหเ้ ปลวไฟลุก ไฟไหม้เผาผลาญชีวิตหรือทรัพย์สิน ในกรณนี ้ี ไมม่ กี ารชดใช้แตป่ ระการใด วะเก๊ียะอฺ ได้เลา่ มาจาก อับดิลอะซีซ อบิ นุ หศุ อ็ ยนฺ จากยะฮฺยา อบิ นุ ยะฮยฺ า อลั ฆ็อซซานี ได้กล่าวว่า “ชายคนหนึง่ ได้จุดไฟเพอ่ื ตัวของเขาเอง เปลวไฟได้ลุกออกไป จนกระทั่งไปเผาไหม้สิ่งของของเพื่อนบ้านของ เขา เขาไดเ้ ลา่ วา่ เขาไดเ้ ขยี นสารเกี่ยวกบั เรอื่ งนี้ไปถึง อับดิลอะซีซ อิบนุ หุศ็อยนฺ แล้วเขาได้เขียนตอบมา ว่า ท่านรอ่ ซูล ศ็อลลัลลอฮฺอะลยั ฮวิ ะซัลลัม ไดก้ ลา่ ววา่ สตั วเ์ ดรจั ฉานน้ันสญู เปลา่ และฉันกเ็ หน็ ว่าไฟก็สูญเปลา่ การทาพืชพนั ธญั ญาหารของคนอ่ืนเสียหาย ถ้าคนหนึง่ ไดร้ ดนา้ แผ่นดินของเขาเกินปกติ ไดเ้ ปน็ เหตุทาใหพ้ ชื พนั ธัญญาหารของคนอ่ืนเสียหาย เขา ตอ้ งรับผิดชอบชดเชย ถา้ หากนา้ มันไหลมาจากท่ีหนง่ึ โดยทเี่ ขาไม่ทราบว่ามาจากไหนกไ็ ม่ตอ้ งรับผิดชอบในการ ชดใช้ โดยท่ีในกรณีนจ้ี ะตอ้ งไม่เกิดขน้ึ ซ้าซ้อน ปัญหาเรือจม ผ้ทู มี่ เี รอื บรรทุกผู้คน และสตั ว์ขา้ มแม่น้า แล้วเรือได้จมลง โดยไม่ทราบสาเหตุ ก็ไม่มีการรับผิดชอบ ชดใช้ในสงิ่ ทเ่ี สียหายไป แตถ่ ้าสาเหตุมาจากเขากจ็ ะตอ้ งรบั ผดิ ชอบ

9 อา้ งองิ อซั ซัยยดิ ซาบกิ . ฟิกฮซุ ซุนนะฮฺ เลม่ 4. พิมพค์ รั้งท่ี 2. กรงุ เทพฯ : ออฟเซ็ท จากดั , 2058.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook