Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 5 บทโครงการSmart Farmers

5 บทโครงการSmart Farmers

Published by angrymin.error, 2020-06-07 22:46:23

Description: 5 บทโครงการSmart Farmers

Search

Read the Text Version

รายงานผล โครงการจัดกระบวนการเรยี นรเู พอ่ื พัฒนาเกษตรกรสูการเปน Smart Farmers วันที่ 25 มิถนุ ายน 2560 ณ หองประชุม สํานักงานเทศบาลตาํ บลนาปา บรเิ วณอาคารปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย ตําบลนาปา อําเภอเมืองชลบรุ ี จงั หวัดชลบรุ ี กศน.ตาํ บลนาปา ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอเมอื งชลบรุ ี 1

คํานาํ จากนโยบายของรฐั บาลในการพฒั นาเกษตรกรสู Smart Farmers เพอ่ื เสริมสรางความเขมแข็งใหกบั เกษตรกรใหพ ่ึงพาตนเองไดอ ยา งย่ังยืน เกษตรกรแตละสาขาตองการเทคนิคในการทําการเกษตรเพิ่มเติม และยังมี เกษตรกรท่ีรายไดไมเ พยี งพอตอการประกอบอาชีพ ดงั นนั้ เพือ่ ใหเกิดการพฒั นาสูความยั่งยืนอยางเปนรปู ธรรม เกิด การบริหารจดั การพ้นื ที่เกษตรกรรมอยา งเหมาะสม เกิดการบรหิ ารจดั การทางดานการเกษตรดว ยตัวเกษตรกรเองได อยางมปี ระสิทธิภาพ โดยการอาศัยขอ มูลขาวสาร ประกอบการตดั สินใจ เพ่ือการแกไขปญหาดานการเกษตรท่ีประสบ อยู ดานปจจัยการผลิต รวมตลอดถงึ ดานการตลาด กอ ใหเกดิ รายไดเพม่ิ ข้นึ และเกษตรกรสามารถผานคุณสมบตั ิ พฒั นาสูการเปน Smart Farmers เพอื่ เปนการสนองตามนโยบายของรัฐบาลดังกลาว กศน.ตาํ บลนาปา จึงจัดทาํ โครงการจัดกระบวนการเรียนรูเ พอ่ื พฒั นาเกษตรกรสูการเปน Smart Farmers ขนึ้ กศน.ตาํ บลนาปา 2

สารบัญ หน้า บทที่ 1 บทนาํ 1 บทที่ 2 เอกสารท่เี กีย่ วของ 5 บทที่ 3 วธิ ีการดําเนนิ งาน 10 บทที่ 4 ผลการดําเนนิ งาน 12 บทท่ี 5 สรปุ และขอเสนอแนะ 22 ภาคผนวก 3

สวนท่ี 1 โครงการจดั กระบวนการเรียนรูเพ่ือพฒั นาเกษตรกรสกู ารเปน Smart Farmers 2. สอดคลองยทุ ธศาสตรและจดุ เนนการดาํ เนนิ งาน สํานกั งาน กศน. ประจําปง บประมาณ 2560 ขอที่ 5. สง เสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจทิ ัลเพ่ือการศกึ ษา จดุ เนนการดําเนินงาน 5.2 พัฒนาระบบชองทางแหลง เรยี นรูอ อนไลน (Portal Web) และสงเสรมิ ใหป ระชาชนนํา เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารมาประยุกตใชในการเรียนรู/กิจกรรมตาง ๆ เพื่อเพ่ิมโอกาสการเรยี นรู และการ พัฒนาอาชีพ เชน การแสวงหาความรเู พื่อการดาํ รงชวี ิต การพฒั นาตอ ยอดอาชพี เพ่ือสรางรายได โดยผานกลไกของ ศนู ยดจิ ิทัลชุมชน เพื่อใหผูเรยี นสามารถนําความรูความสามารถ เจตคติท่ดี ีตอ การประกอบอาชีพและทักษะท่ี พัฒนาข้ึนไปใชประโยชนในการประกอบอาชีพทสี่ รา งรายไดไ ดจ ริงและการพฒั นาสูเศรษฐกจิ เชิงสรา งสรรคตอไป 3. หลักการและเหตผุ ล จากนโยบายของรัฐบาลในการพฒั นาเกษตรกรสู Smart Farmers เพอ่ื เสริมสรา งความเขม แข็งใหกบั เกษตรกรใหพึ่งพาตนเองไดอ ยา งยัง่ ยนื เกษตรกรแตล ะสาขาตอ งการเทคนคิ ในการทําการเกษตรเพ่มิ เติม และยงั มี เกษตรกรทร่ี ายไดไมเ พียงพอตอ การประกอบอาชีพ ดังนั้น เพื่อใหเกิดการพัฒนาสูความย่ังยนื อยางเปน รูปธรรม เกิด การบริหารจัดการพื้นทีเ่ กษตรกรรมอยา งเหมาะสม เกดิ การบรหิ ารจดั การทางดานการเกษตรดวยตวั เกษตรกรเองได อยา งมปี ระสิทธิภาพ โดยการอาศยั ขอ มูลขาวสาร ประกอบการตดั สินใจ เพ่ือการแกไขปญหาดา นการเกษตรที่ประสบ อยู ดา นปจ จัยการผลติ รวมตลอดถึงดานการตลาด กอ ใหเกดิ รายไดเพ่ิมขึน้ และเกษตรกรสามารถผา นคุณสมบตั ิ พัฒนาสูการเปน Smart Farmers เพอ่ื เปนการสนองตามนโยบายของรฐั บาลดงั กลาว กศน.ตาํ บลนาปา จงึ จัดทาํ โครงการจัดกระบวนการเรียนรู เพ่อื พัฒนาเกษตรกรสูการเปน Smart Farmers ขนึ้ 4. วัตถปุ ระสงค 1. เพอ่ื ใหเกษตรกรสามารถใชเ ทคโนโลยดี จิ ิทัลอยา งปลอดภยั และสรา งสรรค 2. เพอ่ื ใหเ กษตรกรสามารถใชส อ่ื Social Network ในการโฆษณา และประชาสัมพนั ธสินคาผา น Application 3. เพ่ือใหผ ูเขารับการอบรมมที ักษะการใชส ่อื Social Media ใชใ นชวี ิตประจาํ วันไดอ ยาง เหมาะสม และถูกตอ ง 5. เปา หมาย เชิงปริมาณ ประชาชนตําบลนาปา จาํ นวน 30 คน เชงิ คุณภาพ - ผูเขารวมโครงการฯ สามารถนําความรูเกย่ี วกบั การใชสื่อ Social Network ในการโฆษณา และประชาสมั พนั ธสินคา ผาน Application ได 4

6. วิธีดาํ เนนิ การ กจิ กรรมหลัก วตั ถปุ ระสงค กลมุ เปาหมาย เปา หมาย พน้ื ทดี่ าํ เนินการ ระยะเวลา งบประมาณ 1. สาํ รวจความตอ งการ 1. เพอ่ื ให ประชาชน 30 หองประชมุ 25 งบการศึกษาเพอ่ื ของกลมุ เปา หมาย เกษตรกร ตําบลนาปา คน 2. ตดิ ตอ ประสานงาน สามารถใช สาํ นกั งานเทศบาล มถิ ุนายน พฒั นาสงั คมและ กับกลุมเปา หมายและ เทคโนโลยีดจิ ทิ ัล ตําบลนาปา 2560 ชมุ ชน เครือขาย อยางปลอดภัย บรเิ วณ 8,000.- บาท อาคารปองกันและ 3. จัดทาํ แผนการ และสรา งสรรค บรรเทาสาธารณภยั ดาํ เนนิ โครงการเสนอ 2. เพื่อให ผบู รหิ าร เกษตรกร ตาํ บลนาปา 4. เขียนโครงการเสนอ สามารถใชส่ือ อําเภอเมืองชลบุรี ขออนมุ ัติ Social จงั หวัดชลบุรี 5. ติดตอประสานงาน Network ใน สถานที่ การโฆษณา และ 6. ปฏบิ ตั ิตามโครงการ ประชาสัมพันธ - อบรม สินคาผาน - ฝกปฏิบัติ Application ได 7. สรปุ ผลการอบรม/ ฝกปฏิบัติ 7. งบประมาณ งบประมาณป 2560 งบการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชมุ ชน จํานวนเงิน 8,000.- บาท (แปดพนั บาทถวน) ตามรายละเอยี ดดังน้ี 1. คาปา ยไวนิล (1 × 2 เมตร) เปนเงิน 300.- บาท 2. คาวัสดุ เปนเงนิ 2,100.- บาท 3. คา เชา เครื่องเสียง เปนเงิน 1,000.- บาท 4. คา วทิ ยากร (1 คน × 200 บาท × 5 ชวั่ โมง) เปนเงิน 1,000.- บาท 5. คาอาหารกลางวัน (30 คน × 70 บาท × 1 ม้อื ) เปน เงิน 2,100.- บาท 6. คาอาหารวา งและเครื่องดมื่ (30 คน × 25 บาท × 2 มื้อ) เปนเงนิ 1,500.- บาท รวมเปนเงินทั้งสิ้น 8,000.- บาท (แปดพันบาทถวน) หมายเหตุ ถวั เฉลยี่ เทาที่จายจรงิ 5

8. แผนการใชจายงบประมาณ กจิ กรรมหลกั ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 โครงการจัดกระบวนการเรียนรู (ต.ค. – ธ.ค. 59) (ม.ค. – ม.ี ค. 60) (เม.ย. – ม.ิ ย. 60) (ต.ค. – ก.ย. 60) เพอื่ พฒั นาเกษตรกรสูการเปน 8,000 บาท - Smart Farmers - - 9. ผูรับผิดชอบโครงการ ตาํ แหนง ครู กศน.ตาํ บล นางสาวศศิวณั ย ออนศรที อง 10. เครอื ขา ย - เทศบาลตาํ บลนาปา 11. โครงการท่เี กย่ี วขอ ง - 12. ผลลพั ธ - ผเู ขา รว มโครงการฯ มีความรูเก่ยี วกบั การใชส ื่อ Social Network ในการโฆษณา และประชาสัมพนั ธ สนิ คา ผา น Application ได /13. ดัชน.ี .. 13. ดัชนชี ้ีวดั ผลสาํ เร็จของโครงการ 13.1 ตัวชี้วดั ผลผลิต - เกษตรกรและประชาชนที่เขา รว มโครงการไมนอยกวารอยละ 85 มคี วามรคู วามเขาใจเกี่ยวกบั การใช สอ่ื Social Network ในการโฆษณา และประชาสมั พนั ธสินคา ผาน Application พรอมทั้งมที กั ษะการใชส ือ่ Social Media ใชในชวี ติ ประจาํ วันไดอยา งเหมาะสม และถูกตอง 13.2 ตัวชี้วดั ผลลัพธ 1. ผูเขารวมโครงการจดั กระบวนการเรยี นรเู พ่ือพฒั นาเกษตรกรสูการเปน Smart Farmers ไมต ํา่ กวารอ ยละ 85 ของกลมุ เปา หมาย มคี วามรูความเขา ใจเก่ยี วกับการใชสื่อ Social Network ในการโฆษณา และประชาสัมพันธส ินคา ผาน Application พรอมทัง้ มที ักษะการใชสื่อ Social Media ใชใ นชีวติ ประจาํ วนั ไดอ ยา ง เหมาะสม และถูกตอง 2. หลงั จากจบโครงการจดั กระบวนการเรยี นรูเพ่ือพัฒนาเกษตรกรสูก ารเปน Smart Farmers ผูท่ีเขารว มโครงการไมนอยกวารอยละ 85 เกิดการแลกเปล่ียนเรยี นรแู นวคิดประสบการณอ ันเปนประโยชนซ่งึ กันและ กัน 6

Smart Farmer เกษตรกรไทย 4.0 สมารทฟารม คืออะไร สมารท ฟารม (Smart farm) เปนนวตั กรรมที่เกิดจากแนวพระราชดาํ รใิ นพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิ พลอดลุ ยเดช (พระบิดาแหง นวตั กรรมไทย) เก่ยี วกับการสง เสรมิ สนับสนนุ ใหเกษตรกรและผปู ระกอบการใชน วัตกรรม ดา นการเกษตรมากขึน้ เพ่อื นําไปสกู ารเพิม่ ผลผลติ และพฒั นาภาคการเกษตรใหย่งั ยืนในอนาคต โดยรายละเอียดท่ี นาสนใจเกย่ี วกบั สมารทฟารม มดี งั น้ี สมารฟารม หรือ เกษตรอัจฉริยะ เปนรปู แบบการทําเกษตรแบบใหมท ี่จะทําใหก ารทําไรทาํ นามีภูมิคุมกนั ตอ สภาพภมู ิอากาศทีเ่ ปล่ยี นแปลงไป โดยการนําขอมูลของภมู ิอากาศท้งั ในระดับพ้ืนที่ยอย (Microclimate) ระดบั ไร (Mesoclimate) และระดับมหภาค (Macroclimate) มาใชในการบรหิ ารจดั การ ดูแลพื้นทเ่ี พาะปลกู เพ่อื ให สอดคลองกบั สภาพอากาศทเี่ กิดข้ึน รวมถงึ การเตรียมพรอมรบั มอื กับสภาพอากาศที่จะเปลี่ยนแปลงไปในอนาคต โดย ไดร ับการขนานนามวา เกษตรกรรมความแมนยาํ สงู หรือ เกษตรแมนยาํ สงู (Precision Agriculture) ซึ่งเปน ที่นยิ มกัน มากในประเทศสหรัฐอเมรกิ า ออสเตรเลีย และเริ่มแพรห ลายเขา ไปในหลายประเทศ ทงั้ ยุโรป ญป่ี นุ มาเลเซีย และ อินเดีย 7

(ทมี่ า : http://smartfarmthailand.com/precisionfarming/) แนวคดิ หลักของสมารท ฟารม คือ การประยกุ ตใชเทคโนโลยีอเิ ลก็ ทรอนิกสแ ละคอมพวิ เตอร รวมถึงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสอ่ื สาร ในการพัฒนาทัง้ หวงโซอุปทาน (Supply chain) ของกระบวนการผลิตสนิ คาเกษตรไป จนถงึ ผูบรโิ ภค เพื่อยกระดบั คุณภาพการผลิต ลดตนทุน รวมท้งั พฒั นามาตรฐานสนิ คา สมารทฟารมเปน ความพยายาม ยกระดบั การพฒั นาเกษตรกรรม 4 ดานทีส่ าํ คญั ไดแก (1) การลดตน ทนุ ในกระบวนการผลิต (2) การเพ่ิมคุณภาพ มาตรฐานการผลติ และมาตรฐานสินคา (3) การลดความเส่ยี งในภาคเกษตร ซ่ึงเกิดจากการระบาดของศัตรพู ืชและจาก ภัยธรรมชาติ (4) การจัดการและสงผานความรู โดยนําเทคโนโลยสี ารสนเทศจากการวจิ ัยไปประยกุ ตสูการพัฒนา 8

ในทางปฏิบตั ิ และใหความสาํ คัญตอการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศของเกษตรกร ซ่ึงเทคโนโลยที ่นี ํามาใชใ นการทํา สมารทฟารม ไดแก • Global Positioning System (GPS) เปนเทคโนโลยใี นการระบุพิกดั หรือตําแหนง บนพ้ืนผิวโลกโดยใชกลุมข องดาวเทียมจํานวน 24 ดวง ซง่ึ โคจรรอบโลกในวงโคจร 6 วง ท่คี วามสงู 20,200 กิโลเมตรเหนอื พ้ืนโลก • Geographic Information System (GIS) เปน เทคโนโลยใี นการรวบรวมและวเิ คราะหข อมลู เชงิ พ้ืนที่ แลวนาํ มาแสดงผลในรูปแบบตา งๆ สามารถเก็บขอมลู ไดหลากหลายมิติ ซง่ึ ระบบ GIS ที่รูจ ักกันดีคอื Google Earth • Remote Sensing หรือเทคโนโลยีการรบั รูร ะยะไกล เปนเครือ่ งมือที่ใชใ นการเกบ็ ขอมูลพืน้ ที่ โดยอาศยั คลนื่ แสงในชว งความยาวคล่ืนตา งๆ และคลื่นแมเหลก็ ไฟฟา เชน เรดาห ไมโครเวฟ วทิ ยุ เปน ตน อุปกรณร บั รู เหลานม้ี ักจะติดตง้ั บนอากาศยาน หรือดาวเทยี ม • Proximal Sensing หรือเทคโนโลยีการรับรูระยะใกล อาศัยเซน็ เซอรว ัดขอมลู ตา งๆ ไดโ ดยตรงในจดุ ทีส่ นใจ เชน เซ็นเซอรต รวจอากาศ (Weather Station) เซ็นเซอรว ัดดิน (Soil Sensor) เซ็นเซอรต รวจโรคพชื (Plant Disease Sensor) เซ็นเซอรต รวจวดั ผลผลิต (Yield Monitoring Sensor) เปน ตน เซ็นเซอรเ หลานสี้ ามารถนํามา วางเปน ระบบเครือขา ยไรส าย (Wireless Sensor Network) โดยนาํ ไปตดิ ต้งั หรือปลอยในพนื้ ท่ีไรน า เพ่ือเกบ็ ข อมลู ตา งๆ ไดแ ก ความชนื้ ในดิน อณุ หภูมิ ปริมาณแสง และสารเคมี • Variable Rate Technology (VRT) หรือเทคโนโลยกี ารใหปยุ น้ํา ยาฆาแมลง ตามสภาพความแตกตางของ พน้ื ท่ี โดยมกั จะใชรวมกับเทคโนโลยี GPS • Crop Models and Decision Support System (DSS) เปนเทคโนโลยีทบ่ี ูรณาการเทคโนโลยที ัง้ หมดท่ีกล าวมาขางตน เขา ไวดวยกัน เพ่ือใชใ นการตัดสนิ ใจวา จะทาํ อะไรกับฟารม เมอ่ื ไร อยางไร รวมถึงยงั สามารถทํานาย ผลผลิตไดดว ย การทําสมารท ฟารม ในประเทศไทยอาจมีขอ จํากดั เนือ่ งจากระบบเทคโนโลยีบางชนิดยังมีประสิทธภิ าพไมด ี เชน ระบบ GPS และ GIS ตองใชเงนิ ในการลงทนุ สงู รวมถงึ เกษตรกรขาดความชํานาญในการใชเ ครอ่ื งมือ แตเม่อื โลกเขาสกู ารเปลี่ยนแปลงท้ังทางกายภาพ สังคม ตลอดจนองคค วามรู ขอมลู ขา วสาร ทีม่ ีการแลกเปลยี่ น สง ผา นกันอยา งรวดเรว็ ไปท่ัวทกุ ภูมิภาค เกษตรกรไทยจงึ จําเปนตองมกี ารปรบั เปล่ยี นตัวเองตามสภาพการดําเนินชวี ิต การเปด รบั เรยี นรู ขอมูลขาวสาร เพ่อื พาตัวเองกาวสูการเปน เกษตรกรคณุ ภาพ (Smart farmer) ตามนโยบายและ แนวทางปฏบิ ัตงิ านของกระทรวงเกษตรและสหกรณทว่ี า การพฒั นาเกษตรกรใหเ ปน Smart farmer โดยมี Smart officer เปน เพ่อื นคคู ดิ 9

(ทม่ี า : http://www.clinictech.most.go.th/online/filemanager/fileclinic/F1/files/SmartAG-roiet.pdf) ซง่ึ คุณสมบัตพิ ้นื ฐานของ Smart farmer มี 6 ประการ คือ ประการท่ี 1 เปน ผมู ีความรูในเรอื่ งท่ที าํ อยู สามารถเปน วิทยากรถา ยทอดเทคโนโลยที างการเกษตร หรือให คําแนะนําปรกึ ษากับผูอืน่ ทส่ี นใจในเรื่องท่ีทาํ อยูได ประการที่ 2 มขี อ มูลประกอบการตัดสินใจ สามารถเขา ถงึ แหลงขอมลู ทงั้ จากเจาหนาท่ขี องรฐั และผา นทาง ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารอนื่ ๆ เชน Internet, Mobile smart phone เปน ตน ประการท่ี 3 มกี ารบรหิ ารจัดการผลผลติ และการตลาด มีความสามารถในการบรหิ ารจดั การปจ จัยการผลิต แรงงาน และทุน สามารถเชอื่ มโยงการผลิตและการตลาดเพือ่ ใหขายผลผลิตได ตลอดจนสามารถจดั การของเหลือจาก การผลิตท่มี ีประสทิ ธิภาพ (Zero waste management) ประการท่ี 4 เปน ผมู คี วามตระหนักถึงคณุ ภาพสนิ คาและความปลอดภัยของผูบรโิ ภค มีความรูหรอื ไดร บั การ อบรมเกี่ยวกบั มาตรฐาน GAP/GMP เกษตรอินทรยี  หรือมาตรฐานอน่ื ๆ ประการที่ 5 มีความรับผิดชอบตอสง่ิ แวดลอม/สังคม มีกระบวนการผลติ ทีไ่ มกอใหเกดิ มลภาวะและไมทาํ ลาย สง่ิ แวดลอ ม (Green economy) มกี จิ กรรมชวยเหลอื ชุมชนและสงั คมอยางตอ เน่ือง ประการท่ี 6 มีความภมู ิใจในความเปน เกษตรกร มีความมุงมนั่ ในการประกอบอาชีพการเกษตร รกั และหวงแหน พื้นทแ่ี ละอาชีพทางการเกษตรไวใหค นรนุ ตอไป มีความสขุ และพงึ พอใจในการประกอบอาชพี การเกษตร กระบวนการสรา ง Smart farmer เปนการพฒั นา Smart Officer หรอื เจาหนา ที่รัฐ ซงึ่ มอี งคความรทู างวชิ าการ และนโยบาย สามารถนําเทคโนโลยีมาใชส นับสนุนเกษตรกร โดยช้นี าํ เกษตรกรตามแนวทางการพฒั นาท่เี ปนมิตรตอ สง่ิ แวดลอ ม สวนการกาวสกู ารเปน Smart Officer คอื การปรบั กระบวนการทํางาน ซ่งึ เรมิ่ จากการทาํ ความเขาใจ อยา งลึกซ้ึงถึงชนดิ และปริมาณผลผลติ สนิ คา เกษตรของแตละพน้ื ท่ี รวมท้ังปญ หาของสนิ คา แตล ะชนิด และตอ ง สามารถเช่อื มโยงกับศนู ยวิจัยของเครือขา ยหนว ยงานในกระทรวงเกษตรฯ และขอ มลู จากสํานกั งานเศรษฐกิจ การเกษตร โดยนํามาวางแผนดานการผลิตใหกบั เกษตรกรไดอ ยา งมีประสทิ ธภิ าพ 10

(ท่ีมา : http://www.tpso.moc.go.th/sites/default/files/1074-img.pdf) นอกจากการพัฒนาใหเ กษตรกรไทยเปน Smart farmer โดยมี Smart Officer เปน เพอ่ื นคูค ดิ แลว ยงั มกี าร ปฏิรูปภาคการเกษตรของประเทศดวย ตามกรอบแนวคิดในการขบั เคลื่อนการพฒั นา คือ Zoning = Area + Commodity + Human Resource มสี าระสําคัญ คอื การขับเคลื่อนนโยบายการบริหารจัดการพื้นทเ่ี กษตรกรรม (Zoning) ในพื้นทห่ี น่งึ ใหป ระสบ ความสําเร็จตอ งอาศัยความพรอ มของปจจัยหลัก 3 ดา นในการขบั เคลื่อน ไดแก การบริหารจดั การพน้ื ท่แี ละทรัพยากร ท่ีเหมาะสม (Area) ผลติ สินคาไดต รงตามความตองการของตลาด (Commodity) รวมทัง้ การมีบคุ ลากรดา น การเกษตรทง้ั เกษตรกรและเจาหนาที่ (Human :Smart farmer & Smart officer) ทจ่ี ะทําหนาท่ีบรหิ ารจัดการการ ผลติ ทางการเกษตร ตลอดจนหว งโซคณุ คา (Value chain) ไดอยางมปี ระสิทธิภาพ สมารทฟารม เปน เทคโนโลยสี มยั ใหมทมี่ ีความสอดคลองกับหลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง เน่ืองจากมหี ลกั การที่ คลายคลงึ กันคอื การใชทรพั ยากรอยางคุมคาและเกิดประโยชนส งู สดุ ดว ยเหตุน้ี สมารท ฟารม จึงเปนอีกนวัตกรรมหนึ่ง ทีน่ าสนใจในการชวยจดั ระบบการเกษตรใหมศี ักยภาพมากขึ้น เพอ่ื นําไปสกู ารพัฒนาระบบการเกษตรของประเทศให ย่งั ยนื ในอนาคต 11

สวนที่ 3 วธิ ดี าํ เนินการ 1. จัดทาํ โครงการเพ่ืออนุมัติ 2. ประสานงานกบั หนว ยงานเครือขายท่ีเก่ียวของ 3. จดั อบรมตามโครงการฯ 4. สรุปและรายงานผลการจดั โครงการฯ การจดั อบรมครั้งน้มี ผี เู ขารวมอบรมท้ังสิ้นจาํ นวน 35 คน เปน ชาย 14 คน เปนหญิง 21 คน การจดั กิจกรรมโครงการฯ น้ีใชร ะยะเวลา 1 วัน ในที่ 25 มถิ ุนายน 2560 ณ น. ณ หองประชมุ สํานักงาน เทศบาลตําบลนาปา บรเิ วณอาคารปองกนั และบรรเทาสาธารณภยั ตาํ บลนาปา อาํ เภอเมืองชลบรุ ี จงั หวดั ชลบุรี กาํ หนดการโครงการฯ ดังนี้ 12

โครงการจดั กระบวนการเรยี นรูเพื่อพัฒนาเกษตรกรสูก ารเปน Smart Farmers วันที่ 25 มิถนุ ายน 2560 08.30 – 09.00 น. ผเู ขา รบั การอบรมลงทะเบียน 09.00 – 10.00 น. บรรยายใหค วามรูเรือ่ ง ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกบั เทคโนโลยีดจิ ิทลั ความหมาย ความสําคญั และแนวทางการปฏบิ ตั ิ การใชงานอยา งปลอดภยั รกู ฎ กติกามารยาทและ พ.ร.บ.คอมพิวเตอรในการติดตอส่ือสาร โดยวทิ ยากร นายยุทธนา ยินดสี ขุ 10.00 – 10.15 น. พักรับประทานอาหารวาง 10.15 – 11.15 น. บรรยายใหค วามรเู รอื่ ง การใช Smart Phone การใชงานอปุ กรณตาง ๆ บน Smart Phone เชน กลองถา ยรปู กลองวดิ โี อ การบันทกึ เสยี ง โดยวทิ ยากร นายยทุ ธนา ยินดีสขุ 11.15 – 12.15 น. บรรยายใหค วามรเู ร่อื ง การติดตัง้ Application บนมอื ถือ การโพสตร ปู ภาพ การโพสตขอ ความ การโพสตวดิ ีโอ การใช Application เพ่ือประชาสัมพันธแ ละการขายสนิ คา การเผยแพรสนิ คาชมุ ชนใน Smart Phone โดยวิทยากร นายยุทธนา ยินดีสขุ 12.15 – 13.00 น. พกั รบั ประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 14.00 น. บรรยายใหค วามรเู ร่อื ง การใชส ่ือ Social Media ในการติดตอ สอื่ สาร การใชส ื่อ Social Media ใชใ นชวี ิตประจําวนั ไดอ ยางเหมาะสม และถูกตอง ผลกระทบจากการใชส อ่ื Social media โดยวิทยากร นายยุทธนา ยินดีสขุ 14.00 – 14.15 น. พกั รับประทานอาหารวา ง 14.15 – 15.15 น. บรรยายใหค วามรูเรอื่ ง ประโยชนของการใชสอ่ื Social Media ตอ ตนเอง สงั คม และประเทศชาติ กฎหมายที่เกี่ยวของกับ Social Media โดยวิทยากร นายยุทธนา ยินดีสุข 15.15 – 15.30 น. สรุปการเรยี นรู โดยวทิ ยากร นายยุทธนา ยินดสี ขุ - แลกเปลย่ี นเรยี นรู - ซักถามขอสงสยั หมายเหตุ ระยะเวลาอาจเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม 13

สรุปผลการดาํ เนนิ งาน สรุปผลการดําเนนิ งานโครงการจัดกระบวนการเรียนรเู พ่ือพัฒนาเกษตรกรสูการเปน Smart Farmers ประจําปก ารศกึ ษา 2560 กศน. ตําบลนาปา ดังตอไปนี้ คือ 1. ดานปริมาณ ประชาชนในตําบลนาปา จาํ นวน 35 คน เขา รวมโครงการจัดกระบวนการเรยี นรเู พ่ือพัฒนาเกษตรกรสู การเปน Smart Farmers คิดเปน 117 % 2. ดานบุคลากรผูรับผิดชอบโครงการ 1. นายประสทิ ธ์ิ ปญ ญโภคินทร พนักงานราชการ 2. นางสาวศศิวณั ย ออ นศรที อง หัวหนา กศน. ตําบลนาปา 3. ดานงบประมาณ งบการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาสงั คมและชมุ ชน จาํ นวน 8,000 บาท 4. ดานคุณภาพ ผูเขา รวมโครงการฯ สามารถนําความรเู กี่ยวกับการใชสอื่ Social Network ในการโฆษณา และประชาสัมพนั ธสินคา ผาน Application ได 14

สรุป การประเมินผล โครงการจัดกระบวนการเรียนรเู พ่อื พฒั นาเกษตรกรสูการเปน Smart Farmers ดังน้ี จํานวนผูเ ขา รบั การอบรมโครงการฯ มีทง้ั สิน้ 35 คน วันท่ี 25 มิถนุ ายน 2560 ณ หองประชมุ สาํ นักงานเทศบาลตาํ บลนาปา บรเิ วณอาคารปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย ตําบลนาปา อําเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบรุ ี 1. เพศ ชาย 14 คน หญิง 21 คน 2. อายุ ตํ่ากวา 15 ป มีจํานวน 0 คน 15-39 ป มีจาํ นวน 28 คน 40-59 ป มจี าํ นวน 5 คน 60 ปข้ึนไป มีจาํ นวน 2 คน 3. การศึกษา ไมร หู นงั สือ มจี ํานวน 0 คน ไมจ บประถมศกึ ษา มจี ํานวน 1 คน จบประถมศกึ ษา มีจาํ นวน 2 คน จบมธั ยมศึกษาตอนตน มีจํานวน 13 คน จบมธั ยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. มจี าํ นวน 19 คน จบ ปวส. มจี าํ นวน 0 คน จบปรญิ ญาตรี มีจาํ นวน 0 คน อืน่ ๆ มีจํานวน 0 คน 4. อาชีพ ไมป ระกอบอาชีพ มีจํานวน 0 คน ธรุ กจิ สว นตวั มีจํานวน 0 คน คา ขาย มีจํานวน 1 คน ขาราชการบาํ นาญ มจี ํานวน 0 คน พนักงานเอกชน มจี ํานวน 0 คน เกษตรกร มีจาํ นวน 2 คน รบั จางทว่ั ไป มจี าํ นวน 17 คน อ่ืนๆ มจี าํ นวน 15 คน 15

สรุป การประเมนิ ผล โครงการจดั กระบวนการเรียนรูเ พื่อพัฒนาเกษตรกรสกู ารเปน Smart Farmers จํานวนผูเ ขา รบั การอบรมโครงการฯ มีทง้ั ส้นิ 35 คน วนั ท่ี 25 มถิ นุ ายน 2560 ณ หอ งประชมุ สํานกั งานเทศบาลตาํ บลนาปา บริเวณอาคารปองกนั และบรรเทาสาธารณภยั ตาํ บลนาปา อําเภอเมอื งชลบุรี จงั หวัดชลบุรี ที่ รายการ มากทีส่ ุด ระดบั ความพอใจ นอยท่สี ดุ 1 ความรูค วามเขาใจในเนื้อหา 30 มาก ปานกลาง นอ ย - 2 เนือ้ หาสาระตรงตามวตั ถุประสงค 30 5-- - 3 ความรู ความสามารถของวิทยากร 28 5-- - 4 ระยะเวลาในการจัดกจิ กรรม 30 7-- - 5 สถานที่จดั กจิ กรรม 35 5-- - 6 การนําความรทู ่ีไดรับมาปรับใชใ นชวี ิตประจําวนั 28 - -- - 7-- 16

สรุป การประเมินผล (คดิ เปนรอยละ) โครงการจดั กระบวนการเรียนรูเพอื่ พัฒนาเกษตรกรสูการเปน Smart Farmers จาํ นวนผูเขารับการอบรมโครงการฯ มที ั้งสิ้น 35 คน วนั ท่ี 25 มถิ ุนายน 2560 ณ หอ งประชมุ สาํ นกั งานเทศบาลตาํ บลนาปา บรเิ วณอาคารปองกนั และบรรเทาสาธารณภยั ตําบลนาปา อําเภอเมืองชลบุรี จงั หวดั ชลบุรี ที่ รายการ มากทีส่ ุด ระดบั ความพอใจ นอ ยทส่ี ดุ มาก ปานกลาง นอย - 1 ความรูค วามเขาใจในเนื้อหา 86 14 - - - 2 เนอื้ หาสาระตรงตามวัตถุประสงค 86 14 - - - 3 ความรู ความสามารถของวทิ ยากร 80 20 - - - 4 ระยะเวลาในการจดั กิจกรรม 86 14 - - - 5 สถานท่ีจัดกจิ กรรม 100 - -- - 6 การนําความรูที่ไดร ับมาปรับใชในชวี ติ ประจําวนั 80 20 - - 17

รายงานผลการดาํ เนนิ งานโครงการจดั กระบวนการเรยี นรูเพ่อื พฒั นาเกษตรกรสูการเปน Smart Farmers ประจําปง บประมาณ 2560 งบการศกึ ษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชุมชน ผรู บั ผดิ ชอบโครงการ นางสาวศศิวณั ย ออนศรที อง ครู กศน.ตําบลนาปา **************************************************************** 1. หลกั การและเหตผุ ล จากนโยบายของรฐั บาลในการพัฒนาเกษตรกรสู Smart Farmers เพือ่ เสรมิ สรา งความเขมแข็งใหกบั เกษตรกรใหพ่ึงพาตนเองไดอยางยงั่ ยืน เกษตรกรแตละสาขาตอ งการเทคนิคในการทําการเกษตรเพม่ิ เติม และยงั มี เกษตรกรทรี่ ายไดไมเ พียงพอตอ การประกอบอาชพี ดังนน้ั เพอื่ ใหเ กดิ การพฒั นาสูความยั่งยนื อยา งเปน รูปธรรม เกดิ การบริหารจัดการพ้ืนที่เกษตรกรรมอยางเหมาะสม เกิดการบริหารจัดการทางดานการเกษตรดวยตัวเกษตรกรเองได อยางมปี ระสิทธภิ าพ โดยการอาศัยขอ มูลขาวสาร ประกอบการตดั สนิ ใจ เพ่ือการแกไขปญหาดานการเกษตรท่ีประสบ อยู ดา นปจ จยั การผลิต รวมตลอดถึงดานการตลาด กอใหเกดิ รายไดเ พ่ิมข้ึน และเกษตรกรสามารถผานคณุ สมบัติ พัฒนาสกู ารเปน Smart Farmers เพอื่ เปน การสนองตามนโยบายของรฐั บาลดังกลา ว กศน.ตําบลนาปา จงึ จดั ทําโครงการจัดกระบวนการเรยี นรู เพ่อื พฒั นาเกษตรกรสูการเปน Smart Farmers ขึ้น 2. วตั ถุประสงค 1. เพอ่ื ใหเ กษตรกรสามารถใชเ ทคโนโลยีดิจทิ ัลอยางปลอดภัยและสรางสรรค 2. เพอ่ื ใหเ กษตรกรสามารถใชส่อื Social Network ในการโฆษณา และประชาสัมพนั ธสนิ คา ผา น Application 3. เพ่ือใหผ เู ขา รับการอบรมมที ักษะการใชส ื่อ Social Media ใชใ นชีวติ ประจําวันไดอ ยา ง เหมาะสม และถูกตอ ง 3. เปาหมาย เชิงปรมิ าณ ประชาชนตําบลนาปา จํานวน 30 คน เชงิ คุณภาพ - ผเู ขา รวมโครงการฯ สามารถนาํ ความรูเ กีย่ วกบั การใชส ื่อ Social Network ในการโฆษณา และประชาสัมพันธส นิ คาผาน Application ได 18

4. ตวั ช้ีวัดความสําเร็จของโครงการ 13.1 ตัวช้ีวัดผลผลิต - เกษตรกรและประชาชนที่เขารว มโครงการไมน อยกวา รอ ยละ 85 มีความรคู วามเขาใจ เกีย่ วกบั การใชส่ือ Social Network ในการโฆษณา และประชาสัมพันธสินคาผาน Application พรอมท้ังมที ักษะการ ใชส่ือ Social Media ใชในชีวติ ประจาํ วันไดอยางเหมาะสม และถูกตอง 13.2 ตัวช้ีวดั ผลลัพธ 1. ผูเขารวมโครงการจดั กระบวนการเรยี นรเู พ่ือพฒั นาเกษตรกรสกู ารเปน Smart Farmers ไมต่ํากวา รอยละ 85 ของกลุมเปา หมาย มีความรูความเขา ใจเก่ียวกบั การใชส่ือ Social Network ในการโฆษณา และประชาสมั พันธสินคา ผา น Application พรอ มทงั้ มีทักษะการใชสือ่ Social Media ใชใ นชวี ติ ประจาํ วนั ไดอ ยา ง เหมาะสม และถูกตอง 2. หลงั จากจบโครงการจดั กระบวนการเรียนรูเ พ่ือพัฒนาเกษตรกรสูการเปน Smart Farmers ผทู เ่ี ขารว มโครงการไมน อยกวารอยละ 85 เกดิ การแลกเปล่ียนเรยี นรูแนวคิดประสบการณอ นั เปน ประโยชนซ ่ึงกนั และ กนั 5. ตัวชี้วัดความสาํ เรจ็ โครงการ การดําเนนิ งาน รายการ ประชุมคณะกรรมการดําเนินงาน .ประสานสานงานกับนกั ศึกษา เครือขา ย จัดทาํ แผน/ การวางแผน โครงการเสนอเพอื่ ขออนุมัติจาก ผูอาํ นวยการ การปฏิบัติ ประสานสานงานกบั นักศึกษา เครอื ขาย เพ่อื นําประชาชนเขา รวม การตรวจสอบ/ประเมนิ ผล โครงการ ดาํ เนินการตามโครงการโครงการจดั กระบวนการเรยี นรู เพ่อื พัฒนาเกษตรกรสูการเปน Smart Farmers แนวทางการนําผลการประเมินไปปรับปรุง สงั เกตจากพฤติกรรม จากการสังเกต การสมั ภาษณ ชมนิทรรศการและลงมือปฏิบัตแิ ละแบบสอบถาม ของผูเขารวมโครงการฯ มกี ารปฏิบัติตามวิทยากร เปนอยา งดี และเปนท่ีพึงพอใจของผูเขารวมโครงการฯ ผเู ขา รว มโครงการฯ นําความรูที่ไดรับไปปฏบิ ัตใิ ชในชีวิตประจาํ วนั และเผยแพรความรใู หกับผอู ่นื ได 6. ระยะเวลาดาํ เนนิ งาน วนั ท่ี 25 มิถนุ ายน 2560 7. สถานทใี่ นการจัดโครงการ หองประชุม สํานักงานเทศบาลตําบลนาปา บริเวณอาคารปองกนั และบรรเทาสาธารณภยั ตําบลนาปา อําเภอเมืองชลบรุ ี จงั หวดั ชลบรุ ี 19

8. ผลการดาํ เนนิ โครงการ 8.1 ผลการประเมนิ ขอมูลพ้ืนฐานของผเู ขารวมโครงการ - จํานวนผูเขา รว มโครงการ 35 คน ชาย 14 คน หญิง 21 คน 8.2 ความพึงพอใจของผูเขารวมโครงการ ตอ ภาพรวมของโครงการ - ผูเขารว มโครงการ ความพึงพอใจ รอยละ 90 8.3 บรรลุตามวตั ถุประสงค 1. ผเู ขารวมโครงการจดั กระบวนการเรียนรูเพ่ือพฒั นาเกษตรกรสูการเปน Smart Farmers ไมต าํ่ กวา รอยละ 85 ของกลมุ เปา หมาย มีความรูความเขา ใจเก่ียวกบั การใชสื่อ Social Network ในการโฆษณา และประชาสมั พันธส นิ คาผา น Application พรอ มทงั้ มที ักษะการใชสอ่ื Social Media ใชใ นชีวิตประจาํ วันไดอยา ง เหมาะสม และถูกตอง 2. หลังจากจบโครงการจัดกระบวนการเรยี นรูเ พ่ือพัฒนาเกษตรกรสูการเปน Smart Farmers ผทู ี่เขารวมโครงการไมน อยกวารอยละ 85 เกดิ การแลกเปล่ียนเรียนรูแนวคดิ ประสบการณอนั เปนประโยชนซ งึ่ กันและ กนั 9. ปญหาและอุปสรรคท่เี กดิ ข้นึ ระหวา งการดาํ เนินงาน - สวนใหญประชาชนมคี วามพงึ พอใจในระดบั ดี 10. ขอเสนอแนะในการจดั กจิ กรรมโครงการในครั้งตอไป - 20

11. ภาพกจิ กรรม 21

นายยุทธนา ยนิ ดสี ุข บรรยาย/สาธติ /ปฏิบตั ิ โครงการจดั กระบวนการเรยี นรูเ พอื่ พัฒนาเกษตรกรสูการเปน Smart Farmers ผูเขา รวมโครงการฯ สามารถนาํ ความรเู ก่ยี วกบั การใชสื่อ Social Network ในการโฆษณา และประชาสมั พันธสนิ คา ผา น Application ได ........ศศวิ ณั ย ออนศรีทอง........ผรู ายงาน (นางสาวศศิวณั ย ออนศรีทอง) ครู กศน.ตําบล 22

รายงานผลการจดั กิจกรรม กศน. ปงบประมาณ 2560 กศน. ตําบลนาปา ประจาํ เดอื น มิถุนายน 1.กจิ กรรม โครงการจัดกระบวนการเรยี นรูเพื่อพฒั นาเกษตรกรสูก ารเปน Smart Farmers 2. ผลการดําเนินงาน เชิงคณุ ภาพ เพอ่ื ใหผูเขา รว มโครงการฯ สามารถนําความรูเกีย่ วกบั การใชส อื่ Social Network ในการโฆษณา และประชาสมั พันธสนิ คา ผาน Application ได เปาหมาย ประชาชนตาํ บลนาปา จาํ นวน 30 คน ผลท่ีได โครงการจดั กระบวนการเรียนรูเพอื่ พฒั นาเกษตรกรสูการเปน Smart Farmers วนั ท่ี 25 มถิ ุนายน 2560 เวลา 08.30 – 15.30 น. ณ หองประชุม สาํ นกั งานเทศบาลตําบลนาปา บรเิ วณอาคารปองกัน และบรรเทาสาธารณภัย ตําบลนาปา อาํ เภอเมืองชลบรุ ี จังหวัดชลบรุ ี จํานวนผูรว มโครงการฯ 35 คน (ชาย = 14 หญงิ = 21) โดยมีนายยทุ ธนา ยินดสี ุข เปน วทิ ยากรใหความรู งบประมาณทไี่ ด 8,000 บาท งบประมาณทใ่ี ช 8,000 บาท (เปน คา วทิ ยากร 1,000 บาท คาวัสดุ 7,000 บาท ) 3.ภาพกจิ กรรม 23

ปญหา อุปสรรค ขอเสนอแนะ กิจกรรมโครงการจัดกระบวนการเรียนรูเ พื่อพฒั นาเกษตรกรสูก ารเปน Smart Farmers ประจาํ ป การศึกษา 2560 มีปญ หาและอุปสรรค ดงั น้ี ปญหาและอุปสรรค 1. ที่ กศน.ตําบลนาปาไมม โี ปรเจคเตอรฺเปนสื่อในการเรียนการสอน จึงตอ งใชส ถานที่อ่นื ในการอบรม ขอเสนอแนะ 1. จัดหาส่ือการเรยี นการสอนใหมคี วามหลากหลาย เพ่อื เอ้อื ตอการเรียนรูไดอ ยางเหมาะสม ลงชอื่ …..…ศศิวัณย ออนศรีทอง……..…ผรู บั ผดิ ชอบโครงการ ( นางสาวศศวิ ัณย ออ นศรีทอง ) หวั หนา กศน. ตาํ บลนาปา 24

คณะผจู ดั ทํา รายงานผลโครงการจัดกระบวนการเรยี นรเู พอ่ื พฒั นาเกษตรกรสูการเปน Smart Farmers ประจาํ ปงบประมาณ 2560 จดั ทําข้นึ จาํ นวน 2 เลม โดยมีคณะผูจ ดั ทาํ ดังน้ี 1. นายศักดาพงศ ระพิพันธุ ประธานที่ปรกึ ษา 2. นายประสิทธ์ิ ปญ ญโภคินทร กรรมการ 3. นางสาวศศิวัณย ออ นศรีทอง กรรมการและเลขานุการ 25


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook