Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการส่งเสริมผู้สูงวัย ใส่ใจรักสุขภาพ

โครงการส่งเสริมผู้สูงวัย ใส่ใจรักสุขภาพ

Published by angrymin.error, 2020-06-08 22:09:27

Description: โครงการส่งเสริมผู้สูงวัย ใส่ใจรักสุขภาพ

Search

Read the Text Version

3 โครงการสง เสรมิ ผูสูงวัยใสใจรกั สขุ ภาพ วันที่ 6 ธนั วาคม 2561 ณ โรงพยาบาลสง เสรมิ สุขภาพตาํ บลบานทองคุง หมทู ี่ 2 ตาํ บลนาปา อําเภอเมืองชลบุรี จงั หวดั ชลบรุ ี กศน.ตาํ บลนาปา ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาํ เภอเมืองชลบรุ ี

4 คาํ นาํ ผูสูงอายุถือไดวาเปนทรัพยากรของชาติท่ีมีคุณคาทุกคนควรใหความรักเคารพ และ ดูแลเอาใจใส เนื่องจากเปนผูที่สรางประโยชนแกประเทศชาติมากอน สามารถถายทอดความรู ประสบการณ และวัฒนธรรมอันดีไปสูลูกหลาน แตปจจุบันผูสูงอายุถูกทอดทิ้งจากบุตรหลาน มากข้ึน ทํากิจวัตรและดูแลตัวเองในเร่ืองของความเปนอยูในชีวิตประจําวันมากขึ้น ฉะน้ันผูสูงอายุ ควรตองไดรับความรใู นเรื่อง การรับประทานอาหารใหค รบ 5 หมู การออกกําลังกาย การดแู ลสุขภาพ ปากและฟน การปองกันอุบัติเหตุเหลานี้ เปนตน เพื่อที่จะสามารถดแู ลสุขภาพรางกายของตัวเองได ทําใหเกิดปญหาไดนอยที่สุด และสงผลใหจิตใจสดช่ืน แจมใส ชวยใหคนรอบขางหรือครอบครัวท้ัง สังคมมีความสุขดวยและครอบครัวเปนสถาบันท่ีเล็กที่สุดแตมีความสําคัญท่ีสุด ถาครอบครัวให ความสําคัญและเล็งเห็นความสาํ คัญของผสู ูงอายุดวยแลว ครอบครัวและสังคมไทยจะมีความสุข และ ทุกคนมีสุขภาพจิตที่ดีสงผลใหรางกายดีตามมาเพ่ือเปนการสงเสริมสุขภาพผูสูงอายุและสงเสริม สถาบนั ครอบครวั ดังกลา ว กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ในฐานะหนว ยงานทร่ี บั ผิดชอบดานการ สง เสรมิ สุขภาพและการจดั การอนามัยสิ่งแวดลอมใหเ อื้อตอการมีสุขภาพดีของประชาชน และเพ่ือให เกิดการปฏิบัติในระดบั ครัวเรือนอยา งเปน รปู ธรรม จึงไดจ ัดทําโครงการ “สงเสริมผสู งู วยั ใสใจรกั สุขภาพ” ข้ึน เพอื่ ใหประชาชนสงเสรมิ ใหผสู งู อายมุ สี ุขภาพกายและจิตทดี่ ี มคี วามรูในการปฏิบตั ิตน สามารถดูแลตนเองไดถูกตอ งตามสมรรถนะ และเพื่อใหผ ดู ูแลผสู งู อายมุ ีความรูความเขาใจในการดแู ล ผูส ูงอายไุ ดอยางถกู ตอง ทายน้ี กศน.ตําบลนาปา ตองขอขอบคุณ กศน.อําเภอเมืองชลบุรีและผูที่เก่ียวของที่ให คําปรึกษาแนะนําการจัดทําโครงการฯหากมีขอบกพรองผูจัดตอ งขออภัยมาไว ณ ท่นี ้ี และจะปรับปรุง ใหด ยี งิ่ ขึน้ ในโอกาสตอ ไป กศน.ตาํ บลนาปา ธนั วาคม 2561

5 สารบญั หนา บทท่ี 1 บทนํา ความเปนมา………………………………………………………………………………………….1 วัตถุประสงค…………………………………………………………………………………………1 เปา หมาย……………………………………………………………………………………………..1 ผลลัพธ………………………………………………………………………………………………..2 ดชั นตี วั ช้ีวัดผลสาํ เร็จของโครงการ………………………………………………….……….2 2 เอกสารการศึกษาและรายงานทเ่ี ก่ยี วของ………………………………………………….……..3 ยทุ ธศาสตรและจดุ เนน การดําเนนิ งาน สํานักงาน กศน. ประจาํ ปง บประมาณ 2562 …………………………………………………………………3 แนวทาง/กลยุทธก ารดาํ เนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั ของกศน.อําเภอเมืองชลบรุ …ี …………………………………………….10 แนวทางหรอื วิธกี ารจดั กจิ กรรมการศึกษาตอเน่ือง..........................................18 เอกสารงานทเี่ กีย่ วของ.....................................................................................21 3 วิธดี ําเนนิ งาน…………………………………………………………………………………………………32 ประชุมปรกึ ษาหารอื การจดั โครงการ กศน.ตําบลนาปา……………………………..32 แตงตง้ั คณะทาํ งาน……………………………………………………………………………….32 ประสานงาน/เครือขา ยทเ่ี ก่ียวของ………………………………………………………….33 ดําเนินการตามแผนงานโครงการ……………………………………………………………33 สรปุ ผลและรายงาน………………………………………………………………………………33 4 ผลการดาํ เนนิ งานและการวิเคราะหขอมูล…………………………………………………………34 ตอนที่ 1 ขอมลู สว นตัวผูแบบสอบถามของผเู ขา รับการอบรมใน โครงการสง เสริมผสู งู วัยใสใ จรกั สขุ ภาพ…………………………………………………..34 ตอนที่ 2 ขอมลู เกีย่ วกบั ความคิดเหน็ ทมี่ ีตอ โครงการสง เสรมิ ผูสงู วยั ใสใจรกั สขุ ภาพ…………………………………………………..35

6 สารบญั (ตอ ) หนา บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และขอ เสนอแนะ………………………………………………………………….38 ผลทป่ี รากฏ…………………………………………………………………………………………38 สรปุ ผลการดาํ เนินงาน………………………………………………………………………….39 ปญหาและอุปสรรค……………………………………………………………………………..39 ขอ เสนอแนะ………………………………………………………………………………………39 บรรณานกุ รม ภาคผนวก

7 สารบญั ตาราง ตารางท่ี หนา 1 แสดงคา รอยละของผูตอบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามเพศ………………..34 2 แสดงคารอยละของผูต อบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามอายุ……………….34 3 แสดงคา รอยละของผตู อบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามอาชีพ…………….35 4 ผลการประเมินโครงการสงเสริมผสู ูงวัยใสใจรักสขุ ภาพ………………………..36

8 บทท่ี 1 บทนํา ความเปนมา ผสู ูงอายุถือไดว า เปนทรพั ยากรของชาตทิ ี่มีคุณคา ทุกคนควรใหความรักเคารพ และดแู ล เอาใจใส เนอื่ งจากเปน ผูท่ีสรางประโยชนแ กประเทศชาติมากอน สามารถถายทอดความรู ประสบการณ และวัฒนธรรมอนั ดีไปสลู กู หลาน แตป จ จุบันผูสงู อายถุ กู ทอดทงิ้ จากบุตรหลานมากข้นึ ทํากจิ วตั รและดูแลตัวเองในเร่อื งของความเปน อยูในชีวิตประจาํ วนั มากขึ้น ฉะนั้นผสู งู อายุควรตอง ไดร ับความรูใ นเรื่อง การรบั ประทานอาหารใหค รบ 5 หมู การออกกาํ ลงั กาย การดูแลสขุ ภาพปากและ ฟน การปองกนั อุบตั ิเหตเุ หลา น้ี เปนตน เพือ่ ทจี่ ะสามารถดแู ลสขุ ภาพรางกายของตัวเองได ทาํ ให เกิดปญ หาไดนอยที่สดุ และสงผลใหจติ ใจสดชื่น แจมใส ชว ยใหค นรอบขางหรือครอบครัวทัง้ สงั คมมี ความสขุ ดวยและครอบครวั เปนสถาบันที่เล็กท่ีสุดแตมีความสําคัญที่สุด ถา ครอบครัวใหความสาํ คัญ และเลง็ เหน็ ความสําคญั ของผูสงู อายุดวยแลว ครอบครัวและสงั คมไทยจะมีความสขุ และทกุ คนมี สขุ ภาพจติ ท่ีดสี ง ผลใหรา งกายดีตามมาเพอื่ เปนการสง เสริมสุขภาพผสู งู อายุและสงเสริมสถาบัน ครอบครวั ดังกลา ว กศน.ตําบลนาปา สังกัดศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอ เมืองชลบุรี ไดเล็งเห็นความสําคัญของของการดูแลผูสูงอายุ จึงไดจัดโครงการสงเสริมผูสูงวัยใสใจรกั สุขภาพ ขน้ึ วัตถุประสงค 1. เพื่อสงเสริมใหผูส งู อายมุ สี ุขภาพกายและจิตทด่ี ถี ูกตองตามสมรรถนะ 2. เพ่อื ใหผูดแู ลผสู ูงอายมุ ีความรูค วามเขาใจในการดูแลผูสงู อายไุ ดอยา งถูกตอง 3. เพ่ือใหผ สู งู อายุมีความรูในการปฏบิ ัตติ นและสามารถดูแลตนเองได เปาหมาย เชิงปริมาณ ประชาชนตาํ บลนาปา จํานวน 25 คน เชงิ คุณภาพ สง เสรมิ ใหผ ูส งู อายมุ สี ุขภาพกายและจติ ท่ดี ี มีความรใู นการปฏบิ ัติตน สามารถดแู ล ตนเองไดถูกตอ งตามสมรรถนะ และเพอ่ื ใหผูด ูแลผูสูงอายุมีความรคู วามเขาใจในการดแู ลผสู ูงอายไุ ด อยา งถูกตอง

9 ผลลพั ธ ผูเขา รว มโครงการฯ ตําบลนาปา รอ ยละ 80 สงเสรมิ ใหผ ูสูงอายุมสี ุขภาพกายและจติ ท่ดี ี มคี วามรูใ นการปฏบิ ัตติ น สามารถดูแลตนเองไดถูกตองตามสมรรถนะ และเพื่อใหผดู ูแลผูสูงอายุมี ความรคู วามเขาใจในการดแู ลผูสูงอายไุ ดอยางถกู ตอง ดัชนตี วั ชว้ี ัดผลสาํ เร็จของโครงการ ตวั ช้ีวัดผลผลิต - ผเู ขารวมโครงการฯ ไมน อยกวารอยละ 80 - ผูเขารวมโครงการฯ มคี วามพงึ พอใจอยใู นระดับดีข้ึนไป ไมนอยกวา รอยละ 80 ตวั ชว้ี ดั ผลลัพธ - ผเู ขารวมโครงการฯ ไมน อยกวารอ ยละ 50 สามารถนาํ ความรูไปประยกุ ตใ ชใ น ชวี ติ ประจาํ วันได - ผูเขา รว มโครงการฯ ไมนอยกวา รอยละ 10 สามารถนาํ ความรทู ไ่ี ดรบั ไปขยายผลได

10 บทที่ 2 เอกสารการศกึ ษาและรายงานทเ่ี กี่ยวของ ในการจัดทํารายงานโครงการสง เสรมิ ผสู ูงวัยใสใจรักสขุ ภาพ ครัง้ น้ี ผูจัดทําโครงการได ทําการคนควาเน้ือหาเอกสารการศกึ ษาและงานวจิ ัยทเ่ี กีย่ วของ ดังนี้ 1. ยุทธศาสตรและจดุ เนนการดาํ เนินงาน สํานกั งาน กศน. ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562 2. แนวทาง/กลยทุ ธก ารดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ของ กศน.อาํ เภอเมืองชลบุรี 3. กรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาทกั ษะชีวติ 4. การดแู ลผสู ูงอายุ อาหารโภชนาการสําหรับผูส ูงอายุ 1. ยุทธศาสตรและจุดเนน การดาํ เนนิ งาน สํานักงาน กศน.ประจําปงบประมาณ 2562 วสิ ัยทัศน คนไทยไดรับโอกาสการศกึ ษาและการเรยี นรูตลอดชีวติ อยา งมคี ุณภาพ สามารถ ดํารงชีวิตท่เี หมาะสมกบั ชวงวยั สอดคลอ งกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมที ักษะที่จําเปน ในโลกศตวรรษที่ 21 บทบาทหนาที่ สาํ นักงาน กศน. มบี ทบาทหนา ทต่ี ามบทบัญญตั แิ หง พระราชบัญญัตสิ งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย พ.ศ. 2551 1. เปนหนว ยงานกลางในการดําเนินการ สง เสรมิ สนับสนุน และประสานงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย และรับผดิ ชอบงานธุรการของคณะกรรมการ* 2. จดั ทําขอ เสนอแนะ นโยบาย ยทุ ธศาสตร แผน และมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั ตอคณะกรรมการสงเสรมิ สนบั สนนุ และประสานความรว มมือการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 3. สง เสรมิ สนบั สนนุ และดําเนินการพฒั นาคุณภาพทางวิชาการ การวิจยั การพฒั นา หลักสูตรและนวตั กรรมทางการศกึ ษา บุคลากร และระบบขอ มูลสารสนเทศท่เี ก่ียวของกับการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 4. สงเสรมิ สนับสนนุ และดําเนินการเทยี บโอนผลการเรียน การเทียบโอนความรูแ ละ ประสบการณและการเทยี บระดบั การศึกษา 5. สง เสรมิ สนับสนนุ และประสานงานใหบุคคล ครอบครวั ชมุ ชน องคกรชุมชน องคกร ปกครองสวนทองถ่ิน องคกรเอกชน องคกรวชิ าชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และองคกรอืน่ รวมตัวกันเปนภาคีเครือขา ยเพ่อื เสรมิ สรางความเขมแข็งในการดําเนนิ งานการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 6. จดั ทาํ ขอเสนอแนะเกย่ี วกับการใชประโยชนเ ครอื ขายเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ สอ่ื สาร สถานวี ิทยุโทรทัศนเ พ่ือการศกึ ษา วิทยชุ ุมชน ศูนยว ิทยาศาสตรเ พื่อการศึกษา หองสมดุ

11 ประชาชน พิพธิ ภัณฑศนู ยก ารเรียนชุมชนและแหลงการเรียนรอู ่ืน เพื่อสง เสรมิ การเรยี นรูแ ละการพฒั นา คุณภาพชวี ติ อยา งตอ เนื่องของประชาชน 7. ดําเนินการเกย่ี วกบั การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนนิ งานการศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 8. ปฏบิ ตั ิงานอ่ืนใดตามพระราชบัญญตั ินหี้ รอื กฎหมายอน่ื ทบี่ ัญญตั ใิ หเ ปนอํานาจหนาท่ี ของสาํ นักงานหรอื ตามที่รฐั มนตรีมอบหมาย เปา ประสงค กกกกกก 1. ประชาชนผูดอ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทงั้ ประชาชนทัว่ ไปไดร ับ โอกาสทางการศึกษาในรูปแบบการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน การศึกษาตอเนื่องและ การศึกษาตามอธั ยาศัยทม่ี ีคุณภาพ อยา งเทาเทยี มและท่ัวถึง เปน ไปตามสภาพ ปญ หา และความ ตองการของแตล ะกลมุ เปาหมาย กกกกกก 2. ประชาชนไดรบั การยกระดับการศกึ ษา สรางเสริมและปลูกฝงคุณธรรม จรยิ ธรรม และความเปนพลเมืองอันนําไปสกู ารยกระดบั คณุ ภาพชีวติ และเสรมิ สรางความเขมแข็งใหชมุ ชนเพอ่ื พฒั นาไปสูความมั่นคงและยงั่ ยนื ทางดา นเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร และส่งิ แวดลอ ม กกกกกก 3. ประชาชนไดรบั โอกาสในการเรียนรแู ละมเี จตคตทิ างวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยที ี่ เหมาะสมสามารถคิด วิเคราะห และประยุกตใ ชในชวี ิตประจําวัน รวมทัง้ แกป ญ หาและพัฒนาคุณภาพ ชวี ติ ไดอยางสรางสรรค กกกกกก 4. ประชาชนไดร บั การสรา งและสง เสริมใหม นี สิ ัยรักการอา นเพอื่ การแสวงหาความรู ดวยตนเอง กกกกกก 5. ชุมชนและภาคเี ครือขา ยทุกภาคสว น รว มจดั สง เสรมิ และสนบั สนุนการดําเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย รวมทัง้ การขับเคล่อื นกิจกรรมการเรียนรขู องชมุ ชน กกกกกก 6. หนว ยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยที างการศึกษา เทคโนโลยดี ิจิทลั มาใชใ น การยกระดับคุณภาพในการจัดการเรียนรแู ละเพ่มิ โอกาสการเรยี นรใู หก บั ประชาชน กกกกกก 7. หนว ยงานและสถานศึกษาพัฒนาสอ่ื และการจัดกระบวนการเรยี นรูเพ่ือแกป ญหา และพฒั นาคุณภาพชีวิต ทีต่ อบสนองกับการเปล่ียนแปลงบรบิ ทดานเศรษฐกจิ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร และส่งิ แวดลอม รวมทั้งตามความตองการของประชาชน และชุมชนใน รปู แบบทห่ี ลากหลาย กกกกกก 8. บุคลากรของหนว ยงานและสถานศกึ ษาไดรบั การพัฒนาเพ่ือเพิ่มสมรรถนะในการ ปฏิบตั งิ านการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อยางมปี ระสิทธิภาพ กกกกกก 9. หนว ยงานและสถานศึกษามรี ะบบการบริหารจดั การตามหลักธรรมาภิบาล

12 นโยบายและจดุ เนน การดําเนินงาน สํานักงาน กศน 1.ยุทธศาสตรด านความมั่นคง 1.1 สงเสริมการจัดการเรียนรูที่ปลูกฝงคุณธรรม สรางวินัย การมีจิตอาสา และ อุดมการณค วามยดึ มั่นในสถาบันหลักของชาติ 1) เสริมสรางความรูความเขาใจท่ีถูกตองในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีความเปนพลเมืองดี เคารพความคิดของผูอื่น ยอมรับความแตกตางและ หลากหลายทางความคิดและอดุ มการณ รวมท้งั สังคมพหุวฒั นธรรม 2) สงเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีปลูกฝงคุณธรรม สรางวินัย จิตสาธารณะ และอุดมการณความยึดมั่นในสถาบันหลักของชาติ รวมท้ังการมีจิตอาสา ผานกิจกรรมลูกเสือ กศน. และกิจกรรมอื่นๆ ตลอดจนสนับสนุนใหมีการจัดกิจกรรมเพ่ือปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมใหกับ บุคลากรในองคกร 1.2 รวมขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ย่ังยืน โดยบูรณาการ ขับเคลื่อนการทํางานตามแนวทางประชารัฐ ดําเนินโครงการ/กิจกรรมในพื้นที่ท้ังในระดับตําบล หมูบาน โดยใชทีมขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ย่ังยืน ระดับตําบลเปนแกน หลัก และสนับสนุนกลไกการขบั เคลอ่ื นในพื้นท่ที ุกระดับตัง้ แตจ ังหวัด อาํ เภอ ตําบล และหมบู าน 1.3 พฒั นาการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ในเขตพฒั นาพิเศษ เฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนภาคใต และพน้ื ทชี่ ายแดน 1) พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหมีความ สอดคลองกับบรบิ ทของสงั คม วัฒนธรรม และพนื้ ที่ เพ่อื สนับสนุนการแกไขปญหาและพัฒนาพ้นื ที่ 2) เรงจัดทําแผนและมาตรการดานความปลอดภัยที่ชัดเจนสําหรับหนวยงานและ สถานศึกษารวมทัง้ บุคลากรทปี่ ฏิบตั ิงานในพน้ื ทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนภาคใต โดย บูรณาการแผนและปฏิบัตงิ านรว มกับหนวยงานความมัน่ คงในพนื้ ที่ 3) สงเสริมและสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรูในสถาบันศึกษาปอเนาะ ใน รูปแบบตางๆที่หลากหลายตรงกับความตองการของผูเรียน อาทิ การเพ่ิมพูนประสบการณ การเปด โลกทศั น การยึดม่ันในหลักคณุ ธรรมและสถาบันหลักของชาติ 4) สนับสนุนใหมีการพัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทใหมีสมรรถนะท่ีสูงขึ้น เพือ่ ใหสามารถปฏบิ ตั งิ านไดอ ยางมีประสิทธภิ าพ 1.4 สงเสริมการจัดกระบวนการเรียนรูท่ีตอบสนองกับการเปล่ียนแปลงบริบทดาน สังคมการเมือง รวมทั้งความตองการของประชาชน และชุมชนในรูปแบบท่ีหลากหลาย ใหประชาชน คิดเปน วิเคราะหไ ดตดั สินใจภายใตขอ มลู ทถ่ี ูกตอง เชน ความรเู รอ่ื งการปกครองระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมขุ /การเลือกตง้ั

13 2. ยุทธศาสตรดานการพัฒนากําลงั คน การวิจยั และนวัตกรรมเพื่อสรางขดี ความสามารถในการแขง ขันของประเทศ 2.1 ขบั เคลื่อนการดําเนินงานภายใตแผนพฒั นาการศึกษาระดับภาค 1) สรางความรูความเขาใจใหกับบุคลากรของสํานักงาน กศน. เก่ียวกับการ ดําเนินงานภายใตแผนพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค เพื่อรวมขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตรก ารพฒั นาภาค 2) เรงจัดทํายุทธศาสตรและแผนพัฒนาการศึกษาระดับภาค ของสํานักงาน กศน. ใหส อดคลองกับแผนพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค 2.2 พฒั นากําลงั คนใหม ที กั ษะความเขาใจและใชเทคโนโลยีดจิ ิทลั (Digital Literacy) 1) พัฒนาความรูและทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือใหสามารถ ใชSocial Media และ Application ตางๆ ในการพัฒนารูปแบบการจดั การเรียนการ สอน 2) สงเสริมการจัดการเรียนรูดานเทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือใหประชาชนมีทักษะความ เขาใจและใชเทคโนโลยีดิจิทัล ที่สามารถนําไปใชประโยชนในชีวติ ประจําวัน รวมทั้งสรางรายไดใหกบั ตนเองได 3) พัฒนาทักษะและสงเสริมใหประชาชนประกอบธุรกิจการคาออนไลน (พาณิชย อิเล็กทรอนิกส)มีการใชความคิดสรางสรรคเชิงนวัตกรรมในการประกอบอาชีพ สรางทักษะอาชีพท่ี สูงขน้ึ ใหก ับประชาชนเพอ่ื รว มขบั เคลอื่ นเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั 2.3 พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารใหกับประชาชนเพื่อรองรับการพัฒนา ประเทศ 1) พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารของประชาชนในรูปแบบตางๆ อยาง เปนรูปธรรมโดยเนน ทกั ษะภาษาเพ่อื อาชพี ท้งั ในภาคธรุ กจิ การบรกิ าร และการทอ งเทีย่ ว 2) พัฒนาความรูและทักษะเทคโนโลยีดิจิทัล การใช Social Media และ Application ตางๆ เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ของครูและบุคลากร ทางการศึกษา 3) พัฒนาสื่อการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ เพ่ือสง เสริมการใชภาษาเพอื่ การส่ือสาร และการพฒั นาอาชีพ 3. ยทุ ธศาสตรดา นการพฒั นาและเสรมิ สรางศักยภาพคนใหม ีคุณภาพ กกกกกกกก 3.1 เรงรัดดาํ เนนิ การจดั การศึกษาอาชพี เพ่ือยกระดับทกั ษะอาชีพของประชาชนสฝู มือ แรงงาน 1) จัดการศึกษาอาชพี เพ่ือการมีงานทําทส่ี อดคลอ งกบั ศักยภาพของชมุ ชน และความ ตองการของตลาด ใหประชาชนสามารถนําไปประกอบอาชีพไดจริง โดยใหเนนหลักสูตรการศึกษา อาชพี ชา งพน้ื ฐาน โดยประยุกตใ ชเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนดานอาชีพ เชน การเรยี นผาน YouTube การเรียนผานFacebook Live ระบบการเรียนรูในระบบเปดสําหรับมหาชน (Massive Open Online Courses : MOOCs) คอมพิวเตอรชวยสอน (Computer Assisted Instruction :

14 CAI) เปน ตน รวมถึงสนบั สนนุ ใหเกิดระบบการผลิตท่ี ครบวงจร และเปดพืน้ ที่สวนราชการเปน ที่แสดง สนิ คา ของชุมชนเพ่อื เปน การสรางรายไดใ หก ับชมุ ชน 2) บูรณาการความรวมมอื ในการพฒั นาฝมือแรงงานกบั สํานกั งานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษาผานศูนยประสานงานการผลิตและพัฒนากําลังคนอาชีวศึกษาภาคท่ัวประเทศ เพื่อมุง พัฒนาทักษะของประชาชนโดยใชประโยชนจากศักยภาพและภูมิสังคมเฉพาะของพ้ืนท่ี และ ดําเนินการเชิงรุกเพื่อเสริมจดุ เดนในระดับภาคในการเปนฐานการผลิตและการบริการที่สาํ คัญ รวมถึง มุงเนนสรางโอกาสในการสรางรายได เพ่ือตอบสนองตอความตองการของตลาดแรงงานทั้ง ภาคอตุ สาหกรรมและการบริการ 3) พัฒนากลุมอาชีพพื้นฐานที่รองรับพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ทีส่ ามารถพัฒนาศักยภาพไปสรู ะดับฝม ือแรงงาน โดยศกึ ษาตอในสถาบันการอาชีวศึกษา 3.2 สงเสริมใหประชาชนใชเทคโนโลยีในการสรางมูลคาเพ่ิมใหกับสินคา การทํา ชองทางเผยแพรและจําหนายผลิตภัณฑของวิสาหกิจชุมชนใหเปนระบบครบวงจร และสนับสนุนการ จําหนายสินคาและผลิตภัณฑผานศูนยจําหนายสินคาและผลิตภัณฑออนไลน กศน. (ONIE Online Commerce Center : OOCC) เพือ่ จําหนา ยสนิ คาออนไลนระดับตาํ บล 3.3 สงเสริมการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนทุกวัย โดยการสรางความรูความเขาใจ การสนับสนุนกิจกรรมสุขภาวะ และสรางเครือขายภาคประชาชน ในการเฝาระวัง ปองกัน และ ควบคมุ โรค ใหก บั ประชาชนทุกชวงวัย โดยเฉพาะในพ้ืนท่หี างไกล พ้นื ทีช่ ายแดน และชายแดนภาคใต โดยประสานงานรวมกับโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล และเจาหนาที่ อสม. ในการใหความรู เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะอนามัยใหกับประชาชน รวมทั้งผลิตชุดความรูเก่ียวกับสุขภาวะ สุขอนามัย เพื่อใชประกอบการเรียนรูในหลักสูตรการศกึ ษาของ กศน. 3.4 เพิ่มอัตราการอานของประชาชน โดยการจัดกิจกรรมสงเสริมการอานในรูปแบบ ตางๆ เชน อาสาสมัครสงเสริมการอาน หองสมุดประชาชน บานหนังสือชุมชน หองสมุดเคลื่อนที่ ผลกั ดนั ใหเ กิดหองสมุด สกู ารเปน หองสมุดเสมือนจรงิ ตน แบบ เพ่ือพฒั นาใหประชาชนมีความสามารถ ในระดบั อา นคลอง เขาใจ ความคิด วิเคราะหพ้ืนฐาน และสามารถรับรูขอมลู ขาวสารทถ่ี ูกตองและทัน เหตกุ ารณ รวมทัง้ นาํ ความรูที่ไดรับไปใชป ฏบิ ัติจรงิ ในชีวิตประจาํ วนั 3.5 เตรยี มความพรอมการเขา สูสังคมผสู ูงอายทุ เ่ี หมาะสมและมีคุณภาพ 1) สงเสริมการจัดกิจกรรมใหกับประชาชนเพื่อสรางความตระหนักถึงการ เตรียมพรอมเขาสูสังคมผูสูงอายุ (Aging Society) มีความเขาใจในพัฒนาการของชวงวัย รวมทั้ง เรยี นรูแ ละมีสวนรวมในการดูแลรบั ผิดชอบผูสูงอายใุ นครอบครวั และชมุ ชน 2) พัฒนาการจัดบริการการศึกษาและการเรียนรูสําหรับประชาชนในการเตรียม ความพรอมเขา สวู ัยสูงอายทุ ี่เหมาะสมและมีคณุ ภาพ 3) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตสําหรับผูสูงอายุภายใตแนวคิด “Active Aging” การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาทักษะชีวิต ใหสามารถดูแลตนเองทั้งสุขภาพ กายและสุขภาพจิต และ รูจ กั ใชป ระโยชนจ ากเทคโนโลยี

15 4) สรางความตระหนกั ถึงคณุ คา และศกั ดิศ์ รีของผูสูงอายุ เปด โอกาสใหมีการเผยแพร ภมู ิปญ ญาของผูสูงอายุ และใหมีสวนรวมในกิจกรรมดานตางๆ ในชมุ ชน เชน ดานอาชพี กีฬา ศาสนา และวัฒนธรรม 5) จัดการศึกษาอาชีพเพ่ือรองรับสังคมผูสูงอายุ โดยบูรณาการความรวมมือกับ หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ ง ในทกุ ระดบั 3.6 พัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยใชกระบวนการ “สะเต็มศึกษา” (STEM Education) 4. ยทุ ธศาสตรดา นการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา กกกก 4.1 สงเสริมการรูภาษาไทย เพ่ิมอัตราการรูหนังสือ และยกระดับการรูหนังสือของ ประชาชน 1) สงเสริมการรูภาษาไทยใหกับประชาชนในรูปแบบตางๆ โดยเฉพาะประชาชนใน เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต ใหสามารถฟง พูด อาน และเขียนภาษาไทย เพ่ือ ประโยชนในการใชช ีวติ ประจาํ วนั ได 2) เรงจัดการศึกษาเพ่ือเพ่ิมอัตราการรูหนังสือ และคงสภาพการรูหนังสือ ให ประชาชนสามารถอานออก เขียนได และคิดเลขเปน โดยมีการวัดระดับการรูหนังสือ การใชส่ือ กระบวนการ และกิจกรรมพัฒนาทักษะในรูปแบบตางๆ ที่เหมาะสม และสอดคลองกับสภาพพ้ืนที่ และกลุม เปา หมาย 3) ยกระดบั การรหู นงั สือของประชาชน โดยจัดกิจกรรมพฒั นาทักษะการรูหนังสือใน รูปแบบตางๆ รวมท้ังพัฒนาใหประชาชนมีทักษะท่ีจําเปนในศตวรรษที่ 21 เพื่อเปนเครื่องมือในการ เรียนรูตลอดชีวิตของประชาชน 4.2 เพ่ิมโอกาสทางการศกึ ษาใหกับประชากรวยั เรียนท่อี ยูนอกระบบการศึกษา 1) เรงดําเนินการหาตัวตนของประชากรวัยเรียนที่อยูนอกระบบการศึกษา ใหกลับ เขาสูระบบการศึกษา โดยใชกลวิธี “เคาะประตูบาน รุกถึงที่ ลุยถึงถ่ิน” โดยประสานกับสํานักงาน ศึกษาธกิ ารจงั หวัด เพื่อดําเนินการตรวจสอบขอ มูลทะเบยี นราษฎรเ ทยี บกับขอมลู การลงทะเบยี นเรียน ของทุกหนวยงาน คนหาผูที่ไมไดอยูในระบบการศึกษาเปนรายบุคคล และรวบรวมจัดทําเปน ฐานขอ มูล และลงพนื้ ท่ตี ดิ ตามหาตวั ตนของกลุมเปา หมายหาสาเหตุของการไมเขาเรียน และสอบถาม ความตองการในการศึกษาตอ พรอมท้ังจําแนกขอมูลตามประเภทของสาเหตุ และประเภทความ ตองการในการศึกษาตอ และสงตอกลุมเปาหมายเพื่อใหรับการศึกษาตอตามความตองการของ กลุมเปาหมายไดอ ยา งมปี ระสทิ ธิภาพ 2) ติดตามผลของกลุมเปาหมายประชากรวัยเรียนที่อยูนอกระบบการศึกษาที่ไดรับ การจัดหาท่ีเรียน และทง้ั จดั ทําฐานขอ มูลผสู ําเรจ็ การศึกษาของกลุมเปาหมาย รวมท้งั พฒั นาระบบเพ่ือ การตดิ ตามกลุม เปา หมายทไี่ ดรบั การชว ยเหลอื ใหกลบั เขา สรู ะบบการศึกษาแบบครบวงจร โดยตดิ ตาม ต้งั แตก ารเขา ศึกษาตอจนจบการศกึ ษา

16 4.3 สงเสริม และพัฒนาระบบการสะสมและเทียบโอนหนวยการเรียน (Credit Bank System) ของสถานศึกษา ใหมีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตองการของ กลุมเปาหมาย เพื่อประโยชนในการดําเนินการเทียบโอนความรูและประสบการณไดอยางมี ประสทิ ธิภาพ 4.4 สงเสรมิ และสนบั สนุนใหเกิดตนแบบเมืองแหงการเรียนรูเพื่อสง เสริมการเรียนรูอยาง ตอเนื่องใหกับประชาชนในชุมชน โดยกําหนดพ้ืนที่นํารองท่ีผานมาตรฐานเทียบวัด (Benchmark) ของสํานกั งาน กศน. 4.5 พัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพระยะส้ัน ใหมีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกับบรบิ ทของพ้นื ท่ี และตอบสนองความตองการของประชาชนผูร ับบริการ 4.6 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกล ใหมีความทันสมัย มีหลักสูตรและสาระการ เรียนรูที่หลากหลาย และสถานศึกษา กศน. สามารถนําไปใชในการจัดการเรียนรูใหกับกลมุ เปาหมาย ไดอยางเหมาะสม 4.7 สรางกระบวนการเรียนรูในรูปแบบ E-learning ที่ใชระบบเทคโนโลยีเขามาบริหาร จัดการเรียนรู เพื่อเปนการสรางและขยายโอกาสในการเรียนรูใหกับกลุมเปาหมายไดสะดวก รวดเร็ว ตรงตามความตองการของประชาชนผูรับบริการ เชน ระบบการเรียนรูในระบบเปดสําหรับมหาชน ( Massive Open Online Courses :MOOCs) ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ช ว ย ส อ น ( Computer Assisted Instruction : CAI) 4.8 ยกระดับการศึกษาใหกับกลุมเปาหมายทหารกองประจําการ รวมท้ังกลุมเปาหมาย พิเศษอ่ืนๆ เชน ผูตองขัง คนพิการ เด็กออกกลางคัน ใหจบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน สามารถนาํ ความรทู ีไ่ ดรบั ไปพัฒนาตนเองไดอยา งตอ เน่ือง 5. ยทุ ธศาสตรด านสง เสริมและจดั การศกึ ษาเพ่อื เสริมสรางคุณภาพชีวติ ทเ่ี ปน มิตรกบั สง่ิ แวดลอ ม กกกกกก 5.1. สงเสริมใหมีการใหความรูก บั ประชาชนเก่ยี วกบั การปอ งกนั ผลกระทบและปรบั ตวั ตอ การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศและภยั พบิ ัตธิ รรมชาติ กกกกกก 5.2. สรางความตระหนักถึงความสําคัญของการสรางสังคมสีเขียว การกาํ จัดขยะและ มลพิษในเขตชุมชน กกกกกก 5.3. สงเสริมใหหนวยงานและสถานศกึ ษาใชพลังงานทีเ่ ปนมติ รกบั ส่ิงแวดลอมรวมทั้งลด การใชท รัพยากรทสี่ งผลกระทบตอสิ่งแวดลอม 6. ยุทธศาสตรดา นการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบรหิ ารจัดการ กกกกกก 6.1 พัฒนาระบบฐานขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาเพ่ือการบริหารจดั การอยางเปน ระบบ และเช่อื มโยงกับระบบฐานขอ มูลกลางของกระทรวงศึกษาธกิ าร 6.2 สงเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับอยางตอเน่ือง ใหมีความรูและทักษะตาม มาตรฐานตาํ แหนง ใหต รงกบั สายงาน ความชาํ นาญ และความตองการของบุคลากร 6.3 สง เสริมความเขาใจเก่ียวกบั หลักเกณฑแ ละวิธีการใหขาราชการครแู ละบคุ ลากร ทางการศึกษา ตาํ แหนงครู มีวทิ ยฐานะและเลือ่ นวทิ ยฐานะ (ว21/2560)

17 2. แนวทาง/กลยทุ ธก ารดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ของ กศน.อาํ เภอเมืองชลบุรี ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอเมอื งชลบุรี ไดกําหนดทิศ ทางการดําเนินงาน ตามแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา และแผนปฏิบัตกิ ารประจาํ ป โดยมรี ายละเอยี ด ดังนี้ ทิศทางการดําเนนิ งานของสถานศึกษา ✍ ปรชั ญา “คดิ เปน ทําเปน เนน ICT” ✍ วสิ ัยทศั น “จัดการศกึ ษาตลอดชีวติ ผูกมิตรกบั เครอื ขาย กระจายความรูสูชมุ ชน ทุกทที่ ุกเวลาดว ย ICT มีอาชีพและแขงขันในประชาคมอาเซยี นอยางยั่งยนื ” ✍ อัตลักษณ “กาวไปในยคุ ดจิ ิทัล” ✍ เอกลกั ษณ “องคกรออนไลน” ✍ พนั ธกิจ 1. จดั และสงเสรมิ ใหผ เู รียน มีความรกู ารศึกษาขัน้ พน้ื ฐานอยางมคี ณุ ภาพ 2. จัดการศกึ ษาอาชีพใหผเู รียนมอี าชีพทําได ขายเปน และมที กั ษะชีวิตทเี่ หมาะสมทุก ชว งวัย 3. จัดและสง เสรมิ ใหป ระชาชนนําเทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพอ่ื พัฒนาตนเองและสรา งชอ ง ทางการจําหนา ยสินคา 4. จดั และสง เสริมการศกึ ษาตามอธั ยาศัยท่ีมงุ ใหผูรบั บริการมนี ิสยั รกั การอาน และ พัฒนาแหลงเรียนรใู นชุมชน 5. จัดและสงเสรมิ สนบั สนนุ พฒั นาแหลงเรยี นรู ส่ือ และภูมิปญ ญาทองถ่ิน 6. จัดและสง เสริมการศกึ ษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพ่ือพัฒนาสังคม และชุมชนใหมคี วามเขมแข็งอยางย่ังยนื 7. จดั และสง เสรมิ ประชาชนใหเ ปน พลเมอื งดีตามวิถปี ระชาธปิ ไตย 8. สงเสรมิ สนบั สนนุ ภาคีเครือขา ย ใหม ีสวนรว มในการจัดการศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั เพือ่ ใหเกิดการเรยี นรูตลอดชีวิต 9. พฒั นารูปแบบการจดั กิจกรรมการเรียนรใู หสอดคลองกับพน้ื ท่ีระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก (EEC) และความตองการของกลุมเปา หมาย 10. พัฒนาบุคลากรใหม สี มรรถนะในการปฏบิ ัตงิ านตามบทบาทหนาที่อยางมี ประสิทธิภาพและตอ เนื่องโดยเนนการนําเทคโนโลยีดจิ ิทัลมาใชในการบริหารจัดการ

18 11. สถานศึกษามรี ะบบการบรหิ ารจัดการตามหลักธรรมมาภิบาล 12. ปฏบิ ัติงานอ่นื ๆ ท่ีไดร บั มอบหมาย ✍ เปา ประสงค และตวั ช้ีวดั ความสําเร็จ เปาประสงค ตวั ชี้วัดความสําเรจ็ ประชาชนไดรบั โอกาสทางการศกึ ษาในรูปแบบ รอยละของประชากรกลุมตา งๆ (กลุม ประชากรวัย ของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม แรงงานปกติท่วั ไป กลมุ ประชากรวัยแรงงานท่เี ปนผู อธั ยาศัยทม่ี ีคณุ ภาพอยางท่วั ถึงและเปน ธรรม ยากไร ผดู อ ยโอกาส ผูพ ิการ และกลมุ ผูสูงอาย)ุ ท่ี ไดรับบริการการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศัยอยางท่วั ถงึ ครอบคลุมและเปนธรรม ผูเรยี นที่เขารบั การฝกอาชีพมีสมรรถนะในการ รอ ยละของผูเรยี นทเ่ี ขารบั การศกึ ษาอาชีพเพ่ือการมี ประกอบอาชีพ สามารถประกอบอาชีพทสี่ รา ง งานทําท่มี ีสมรรถนะในการประกอบอาชีพท่เี พ่ิมขึ้น รายไดใหก บั ตนเองและครอบครัวได องคกรภาคสว นตางๆรวมเปน ภาคเี ครอื ขายใน จํานวนของภาคเี ครอื ขายในการดําเนนิ งานการศึกษา การดําเนินงานการศึกษานอกระบบและ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพ่ิมมากข้นึ การศกึ ษาตามอธั ยาศัยอยางกวางขวาง สถานศึกษานาํ เทคโนโลยดี ิจิทลั มาใชใ นการ รอยละของของผูเรียนท่ีมคี วามพงึ พอใจตอการใช เพมิ่ ประสิทธภิ าพการจัดการศกึ ษานอกระบบ เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลของสถานศึกษา และการศกึ ษาตามอัธยาศัยอยางทัว่ ถึง รอยละของบุคลากรของสถานศึกษาทไี่ ดรับการพฒั นา บคุ ลากรของสถานศึกษาไดรับการพัฒนาเพ่ือ เพื่อเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงานการศึกษานอก เพมิ่ สมรรถนะในการปฏิบตั งิ านการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั โดยเนน การนาํ ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอยางทัว่ ถงึ เทคโนโลยดี ิจทิ ลั มาใชในการบรหิ ารจัดการ สถานศกึ ษามีการพัฒนาระบบการบรหิ าร รอ ยละของสถานศึกษามีการพัฒนาระบบการบริหาร จดั การเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพโดยเนน การนาํ จัดการเพ่ือเพิ่มประสทิ ธิภาพโดยเนน การนําเทคโนโลยี เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลในการดําเนินงานการศึกษา ดจิ ทิ ัลในการดาํ เนินงานการศึกษานอกระบบและ นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั การศึกษาตามอัธยาศยั บคุ ลากรของหนวยงานปฏบิ ตั ิงานตามท่ีไดรับ รอ ยละของบุคลากรของสถานศึกษาปฏิบตั ิงานไดเ ต็ม มอบหมายอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธิภาพ ✍ กลยุทธ กลยทุ ธท ี่ 1 สงเสรมิ และพฒั นาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ใหเ ปน ไปตามนโยบายและมาตรฐานการศึกษาอยางตอเน่อื ง กลยทุ ธที่ 2 สง เสรมิ ใหผรู บั บริการไดรับการพฒั นาคุณภาพชวี ิตโดยใชก ระบวนการคิด เปนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

19 กลยุทธท่ี 3 สง เสริม สนับสนุนใหภ าคเี ครอื ขายมสี วนรว มในการจดั การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือใหเกดิ การเรยี นรตู ลอดชีวิต กลยทุ ธท ี่ 4 พัฒนาหลักสตู รและรปู แบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู ใหส อดคลอ งกับ พ้นื ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (EEC) และความตองการของกลุมเปาหมาย โดยการมสี วนรว ม ของภูมิปญ ญาทองถน่ิ และแหลง เรียนรูทั้งภาครัฐและเอกชน กลยุทธท ่ี 5 สง เสริมใหมีการประชาสมั พันธ ในรปู แบบท่ีหลากหลาย กลยทุ ธที่ 6 พัฒนาระบบการนิเทศภายในสถานศกึ ษาโดยใชก ระบวนการมสี ว นรวมจาก ทุกภาคสวน กลยทุ ธท่ี 7 พฒั นาระบบคุณภาพการศึกษาโดยใชว งจรการพัฒนาคณุ ภาพ (PDCA) เปนหลกั ในการจัดการศึกษา กลยทุ ธท ่ี 8 พัฒนาบุคลากรของสถานศกึ ษาใหมีความสามารถใชเทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพ่ือ การจัดกระบวนการเรยี นรู การบริหารจัดการ และสง เสริมการทํางานเปน ทีม ✍เข็มมุง สูความสาํ เรจ็ 1. มี กศน.ตาํ บลเปน หลักแหลง 2. มีคอมฯ/อปุ กรณครบทกุ กศน.ตาํ บล 3. ใหทุกคนมีความรู ICT 4. มรี ะบบจัดเก็บ/รายงานผานออนไลน 5. ภายใน1-2 ปตอ งเปน 1 ใน กศน.จังหวัด 6. ภายใน 3 ปตอ งเปน 1-5 ของสาํ นักงาน กศน. ✍การบรหิ ารนํา ICT สกู ารปฏบิ ัติ 1. การจัดหาคอมฯ/อุปกรณ 2. ขั้นการพฒั นา 3. การประเมินผล/รายงาน 1. การจดั หาคอมฯ/อุปกรณ 1.1 การเปด ตัว กศน.ตําบล โดย 1) เชญิ สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎร (ส.ส.),สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) เปนตน 2) นํานกั ศึกษา กศน. หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ปจจบุ ันมีทั้งสิ้น 4,621 คน 3) เชญิ ภาคีเครือขา ย อาทเิ ชน โรงเรยี น, อบต., เทศบาล, อบจ. , อําเภอ เปน ตน 4) เสนอโครงการพัฒนา กศน.ตาํ บล ใหเปนแหลงเรียนรูด านดจิ ทิ ัล 1.2 เชิญ ส.ส./ส.ว. เขารวมทุกกิจกรรม 1) โครงการเขาคา ยตาง ๆของนักศึกษา กศน. 2) โครงการวันวิชาการ ของนักศึกษา กศน. 3) โครงการ อื่น ๆ

20 2. ข้นั การพฒั นา 2.1 พัฒนาระบบ จะพัฒนาระบบการจัดเกบ็ /รายงานตา งๆผา นออนไลน 2.2 พฒั นาคน 1) ครู กศน./จนท.ทุกคน 2) นักศึกษา กศน.หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551ท้ัง 2 กลุมเปา หมาย ตองมคี วามรู ดา น ICT และสามารถนาํ ไปประยุกตใชได สาํ หรับในสว นของนักศึกษา กศน. หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กศน.อําเภอเมืองชลบุรี จะตองประกาศเปนคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค พรอ มท้งั ใช งบอุดหนนุ (กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผูเรยี น) ในการขับเคลื่อน โดยจดั โครงการพฒั นาคุณภาพผูเรียน ดาน ICT พรอ มทัง้ จดั ทําสรปุ เปนรปู เลม (5 บท) 3.การประเมนิ ผล/รายงาน 3.1 รายงานผานออนไลน โดยผานทางเครอื ขายอนิ เทอรเนต็ http://118.172.227.194:7003/choncity/ และจดั ทาํ Application รายงานผา นทางสมารทโฟน 3.2 รายงานสรุปผลเปน รปู เลม (5 บท) จดั ทําสรปุ ผลโครงการ/กจิ กรรม เปน รปู เลม (5บท) เพ่ือรองรับการประเมนิ คุณภาพโดย ตนสงั กดั และภายนอก

21 ✍ แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา (เฉพาะป 2562) เปา ประสงค กลยทุ ธ โครงการ/กจิ กรรม เปาหมาย ตวั ชีว้ ดั เกณฑค วามสําเร็จ ความสําเร็จ (รอยละ) 1. กลุมเปา หมาย กลยุทธที่ 1 1. โครงการ 8,000 คน 1. กลมุ เปาหมาย 1. รอ ยละของ ไดร บั โอกาสทาง สง เสริม และ ยกระดับจัด ไดรบั โอกาสทาง กลุมเปาหมาย การศึกษาขัน้ พฒั นา การศกึ ษานอก การศึกษาแตละ ไดร ับโอกาสทาง พน้ื ฐาน การศกึ ษา คณุ ภาพ ระบบระดบั ประเภทของ กศน. การศึกษาแตละ ตอเนื่องและ การศึกษา การศึกษาขั้น 2. ผจู บหลักสูตร ประเภทของ กศน. การศึกษาตาม นอกระบบ พน้ื ฐานใหม ี การศึกษาข้ัน 2. รอ ยละของผูจบ อธั ยาศัยท่ีมี และ คณุ ภาพ พืน้ ฐานแตละระดบั หลกั สตู รการศกึ ษา คุณภาพใหเ ปน ไป การศกึ ษา 2. โครงการพัฒนา 8,000 คน มผี ลสัมฤทธิ์ ขัน้ พื้นฐานแตละ ตามความตองการ ตามอัธยาศยั คุณภาพผเู รยี น ทางการเรียนเฉล่ีย ระดับมผี ลสัมฤทธิ์ และสอดคลองกับ ใหเ ปน ไปตาม กศน.ตามหลกั สูตร > 2.00 ทางการเรยี นเฉล่ีย สภาพปญ หาของ นโยบายและ การศึกษานอก 3. กลมุ เปา หมาย > 2.00 กลุมเปาหมาย 5. มาตรฐาน ระบบระดบั รว มกจิ กรรม 3. รอ ยละของ กลมุ เปา หมาย การศกึ ษา การศกึ ษาข้นั พฒั นาคุณภาพ กลมุ เปา หมายรว ม ไดร บั การสงเสรมิ อยา งตอ เนือ่ ง พ้ืนฐาน ผเู รียน กจิ กรรมพฒั นา และสนบั สนุนการ พทุ ธศกั ราช 2551 4. กลุม เปา หมาย คุณภาพผเู รยี น พัฒนาคณุ ภาพชวี ิต 3. โครงการสงเสรมิ 27 คน เขารว มกจิ กรรม 4.รอ ยละของ ตามหลกั ปรัชญา การรูหนงั สอื สงเสริมการรู กลมุ เปา หมายเขา ของเศรษฐกิจ สาํ หรบั ประชาชน หนงั สอื รว มกิจกรรม พอเพยี งเพือ่ พฒั นา อําเภอเมืองชลบรุ ี 5. กลุมเปา หมาย สง เสรมิ การรู สงั คมและชมุ ชนให 4. โครงการจัด 1,020 คน ทกุ ประเภท หนงั สือ มคี วามเขม แขง็ การศกึ ษาเพอื่ สามารถนาํ ความรู 5. รอยละของ อยา งยั่งยืน พัฒนาอาชีพ (ศูนย ไปใชในการพัฒนา กลุม เปา หมายทกุ 3.กลมุ เปาหมาย ฝกอาชพี ชุมชน) อาชีพหรือคณุ ภาพ ประเภทสามารถ ไดรบั การสรางและ ชวี ิตได นาํ ความรไู ปใชใ น สงเสริมใหเปน ผูรกั 6. กลมุ เปาหมายมี การพฒั นาอาชพี การอานและใฝรูใฝ คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ หรือคุณภาพชวี ิต เรียนอยางตอ เนื่อง ประสงคต าม ได ตลอดชีวติ จุดมงุ หมายของ หลักสูตร

22 เปาประสงค กลยุทธ โครงการ/กิจกรรม เปาหมาย ตัวช้ีวดั เกณฑความสําเร็จ ความสาํ เร็จ (รอ ยละ) กลยทุ ธท่ี 3 1. โครงการเรียนรู 285 คน 7. กลุมเปา หมายมี 6. รอยละของ สงเสริม ปรชั ญาของ สว นรว มในการจัด กลมุ เปาหมายมี สนบั สนนุ ให เศรษฐกจิ พอเพียง การศึกษานอก คุณลกั ษณะท่ีพึง ภาคีเครือขาย และเกษตรทฤษฎี ระบบและการจดั ประสงคตาม มีสวนรวมใน ใหม การศึกษาตาม จดุ มงุ หมายของ การจดั 2.โครงการ อธั ยาศยั หลกั สตู ร การศกึ ษา เสรมิ สรางคณุ ภาพ 2. มีบา นหนงั สอื 7. รอ ยละของ นอกระบบ ชีวิตทเี่ ปน มติ รกับ ชมุ ชนที่เปนไปตาม กลุมเปา หมายมี และ ส่งิ แวดลอม เกณฑค รบทุก ความพึงพอใจตอ การศึกษา 3.โครงการเกษตร ตําบลอยา งนอ ย การรวมกิจกรรม ตามอธั ยาศยั ยคุ ใหมตามวิถี ตําบลละ 1 แหง การเรียนรทู ุก เพ่อื ใหเกิด ความพอเพยี ง 3. มีมุมหนังสอื เพอื่ ประเภท การเรียนรู 4.โครงการอบรม ชุมชนอยา งนอ ย 1. รอยละ 80 ตลอดชีวติ เชิงปฏิบัติการ ตําบลละ 1 ของกลุม เปาหมาย ดานเศรษฐกจิ ความพึงพอใจตอ ไดรบั การสงเสริม พอเพยี ง การรว มกิจกรรม การเรียนรูทางดาน 5.โครงการปรชั ญา 11,500 คน การเรียนรูท ุก หลกั ปรชั ญาของ ของเศรษฐกิจ ประเภท เศรษฐกิจพอเพียง พอเพยี ง 1. กลมุ เปาหมาย 2. รอยละ 80 นาํ วิถพี อเพียงสู ไดร บั การสง เสริม ของกลมุ เปา หมาย ชมุ ชน การเรียนรทู างดาน นําความรไู ปใชใ น 6.โครงการอบรม หลกั ปรชั ญาของ การพฒั นาอาชีพ และเรียนรตู ามรอย เศรษฐกิจพอเพียง และพฒั นา พระยคุ ลบาทดว ย 2. กลุมเปา หมาย คุณภาพชวี ติ ได หลักปรชั ญาของ นาํ ความรไู ปใชใน 3. รอยละ 90 ของ เศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาอาชพี กลุมเปา หมายมี 7.โครงการเรียนรู และพัฒนา ความพึงพอใจใน เศรษฐกิจพอเพียง คณุ ภาพชวี ิตได ระดบั ดขี น้ึ ไป และการพัฒนาท่ี 3. กลมุ เปาหมายมี ยั่งยนื \"วิถีไทย วิถี ความพึงพอใจใน พอเพียง\" ระดับดขี ึ้นไป

23 เปาประสงค กลยทุ ธ โครงการ/กิจกรรม เปา หมาย ตัวชีว้ ดั เกณฑความสําเรจ็ 1. โครงการสง เสริม 800 คน ความสาํ เร็จ (รอ ยละ) 9.สถานศกึ ษา กลยุทธท่ี 4 การอา นเพื่อพัฒนา 1. กลมุ เปาหมาย พัฒนาสอื่ แหลง พัฒนา บา นหนงั สอื ชุมชน ภาคเี ครอื ขายมี 1. รอยละ 80 ของ เรยี นรูและภมู ิ หลักสตู รและ 2. โครงการ แหง 4 เปาหมายภาคี ปญญาทอ งถนิ่ รปู แบบการ หอ งสมุดเคลือ่ นท่ี กลมุ เปาหมายมี เครือขา ยมสี วน ดว ยการจดั จดั กิจกรรม สาํ หรบั ชาวตลาด 17 ตําบล ความพงึ พอใจใน รวมในการจดั กระบวนการเรยี นรู การเรยี นรู 3.โครงการเมืองนกั ระดับดีข้นึ ไป การศึกษานอก ท่ตี อบสนองกับ ใหส อดคลอ ง อา น 1.กลุมเปา หมาย ระบบและการจดั การเปลย่ี นแปลง กบั พื้นทเ่ี ขต 4.โครงการอา น ไดรับการพฒั นา การศกึ ษาตาม บรบิ ทดา น พฒั นาพิเศษ สรางงานผา น ชวี ิตใหส อดคลอ ง อธั ยาศัย เศรษฐกิจ สังคม ภาค QRCode กบั พืน้ ท่เี ขตพัฒนา 2. มบี า นหนังสอื การเมือง ใน ตะวันออก พิเศษภาค ชุมชนท่ีเปนไปตาม รูปแบบท่ี (EEC) และ ตะวนั ออก (EEC) เกณฑครบทุก หลากหลาย ความ 4. กลุม เปาหมายมี ตาํ บลอยา งนอ ย ตอ งการของ ความพึงพอใจใน ตําบลละ 1 แหง กลมุ เปาหมา ระดบั ดขี ้ึนไป 3. มมี ุมหนงั สอื ย โดยการมี 1. กศน.อาํ เภอ เพื่อชุมชนอยา ง สว นรวมของ และกศน.ตําบลมี นอยตําบลละ 1 การอัพเดทขอมลู แหง การประชาสมั พนั ธ 4. รอ ยละ 80 ของ กจิ กรรมทางเวบ็ กลุมเปาหมายมี ไซดเปนประจําทุก ความพงึ พอใจใน เดือน ระดบั ดขี นึ้ ไป

24 เปาประสงค กลยทุ ธ โครงการ/กจิ กรรม เปา หมาย ตัวช้วี ดั เกณฑความสําเรจ็ 7.ชมุ ชนและ ภูมปิ ญ ญา ความสําเรจ็ (รอยละ) ภาคเี ครือขา ย ทองถ่ินและ 1. โครงการ 17 ตาํ บล 1. สถานศกึ ษามี รว มจัด สงเสรมิ แหลงเรยี นรทู งั้ English นา รู คู คมู ือระบบการ 1. รอ ยละ 75 และสนบั สนนุ ภาครัฐและ Service โรงแรม นิเทศภายใน ของกลมุ เปาหมาย การดําเนินงาน เอกชน 2.โครงการ Smart 2. ผูน เิ ทศมีการ ไดร ับการพฒั นา การศกึ ษานอก กลยทุ ธท ี่ 5 ONIE เพ่อื สราง นเิ ทศการจดั ชีวติ ใหสอดคลอ ง ระบบและ สง เสรมิ ใหม กี าร Smart farmers กจิ กรรมและ กบั พื้นทเี่ ขตพฒั นา การศกึ ษาตาม ประชาสมั พนั ธ 3.โครงการ Digtal รายงานผลเปน พเิ ศษภาค อัธยาศัย ในรูปแบบท่ี teracy (เพื่อสรา ง ประจําทุกเดอื น ตะวนั ออก (EEC) หลากหลาย สงั คมออนไลน) 2. รอยละ 80 ของ 4.โครงการการคา กลมุ เปาหมายมี กลยทุ ธที่ 6 ออนไลน สสู ังคม ความพึงพอใจใน พัฒนาระบบ Digital ระดบั ดีข้นึ ไป การนเิ ทศ 5.โครงการเพิม่ 1. รอ ยละ 100 ภายใน ประสทิ ธิภาพการ ของ กศน.อําเภอ สถานศึกษา บริหารจดั การขยะ และ กศน.ตาํ บลมี โดยใช มลู ฝอย การอพั เดทขอ มลู กระบวนการมี 1. โครงการพัฒนา การประชาสมั พนั ธ สวนรวมจากทุก ระบบ กิจกรรมทางเว็บ ภาคสวน ประชาสมั พนั ธข อง ไซด สถานศึกษา เปน ประจาํ ทุก 1. โครงการพฒั นา เดอื น บคุ ลากรการนิเทศ 1. รอยละ 100 ภายในสถานศึกษา ของสถานศกึ ษามี กศน.อําเภอเมือง คมู อื ระบบการ ชลบรุ ี นเิ ทศภายใน 2. รอ ยละ 80 ของ ผนู ิเทศมกี ารนิเทศ การจัดกจิ กรรม และรายงานผล เปนประจาํ ทกุ เดอื น

25 เปา ประสงค กลยทุ ธ โครงการ/กจิ กรรม เปา หมาย ตัวช้วี ดั เกณฑความสําเร็จ ความสาํ เรจ็ (รอ ยละ) 10.สถานศกึ ษา กลยทุ ธท ่ี 7 1. โครงการบริหาร 39 คน 1. สถานศกึ ษามี มรี ะบบการ พฒั นาระบบ ความเสี่ยงของ คูมอื การบริหาร 1. สถานศึกษามี บรหิ ารจัดการ คณุ ภาพ สถานศกึ ษา กศน. ความเส่ียง คมู ือการบรหิ าร ตามหลัก การศกึ ษาโดยใช อาํ เภอเมืองชลบรุ ี 2. รายงานสถานะ ความเสยี่ ง ธรรมาภบิ าล วงจรการพฒั นา 2. โครงการพฒั นา ทางการเงินเปน 2. รายงานสถานะ คุณภาพ ระบบประกนั ประจําทกุ เดือน ทางการเงินเปน (PDCA) เปน คณุ ภาพการศึกษา ประจาํ ทุกเดือน หลกั ในการจัด กศน.อําเภอเมือง การศกึ ษา ชลบุรี 8. บุคลากรของ กลยทุ ธท่ี 8 1.โครงการพัฒนา 39 คน 1.บุคลากรของ 1. รอยละ 80 ของ สถานศกึ ษา พฒั นาบุคลากร บคุ ลากรดา น สถานศึกษาทกุ คน บุคลากรของ ไดรับการพฒั นา ของสถานศึกษา วิชาการ:Google ไดร ับการพฒั นา สถานศึกษาทกุ คน เพือ่ เพิ่ม ใหม ี Form เพื่อเพ่ิมสมรรถนะ ไดร บั การพฒั นา สมรรถนะในการ ความสามารถใช 2.โครงการพัฒนา ในการปฏบิ ตั งิ าน เพื่อเพม่ิ สมรรถนะ ปฏิบตั ิงานตาม เทคโนโลยี บุคลากรดาน ตามบทบาทหนา ที่ ในการปฏบิ ตั งิ าน บทบาทหนา ที่ ดิจิทลั เพือ่ การ วิชาการ:การจัดทาํ อยา งมี ตามบทบาทหนา ท่ี อยางมี จัดกระบวนการ สื่อการเรียนการ ประสิทธภิ าพและ อยางมี ประสิทธิภาพ เรียนรู การ สอน Clip Video ตอ เนือ่ ง ประสทิ ธภิ าพและ และตอเนอ่ื ง บริหารจัดการ 3.โครงการบริหาร 2.บุคลากรของ ตอเน่อื ง และสงเสรมิ การ จดั การขอมูล สถานศกึ ษา 2. รอ ยละ 80 ทํางานเปน ทมี ขา วสาร กศน.ฝา สามารถนาํ ความรู ของบคุ ลากรของ กระแส Social ไปใชใ นการ สถานศกึ ษา Network พัฒนาการ สามารถนาํ ความรู 4.โครงการประชมุ ปฏิบตั ิงานตาม ไปใชในการ บุคลากรเพื่อเพม่ิ บทบาทหนา ท่ี พัฒนาการ ประสทิ ธิภาพใน อยา งมี ปฏิบตั ิงานตาม การปฏบิ ตั งิ าน ประสิทธภิ าพ บทบาทหนา ที่ 5.โครงการประชุม 3. บคุ ลากรของ อยางมี เชิงปฏิบัตกิ ารการ สถานศกึ ษามคี วาม ประสทิ ธภิ าพ จัดกระบวนการ พึงพอใจในระดับดี 3. รอ ยละ 90 เรียนการสอน ขนึ้ ไป ความพงึ พอใจใน ระดบั ดีขนึ้ ไป

26 3. แนวทางหรือวธิ ีการจดั กจิ กรรมการศกึ ษาตอ เนือ่ ง เพ่ือใหส ถานศกึ ษาไดจ ดั กิจกรรมพฒั นาทักษะชีวิต เปนไปในแนวทางเดียวกนั อยางมี ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เกิดความคมุ คา ประหยัด เกิดประโยชนต อ ผเู รยี นและทางราชการสูงสดุ สํานกั งาน กศน. จึงไดกําหนดกรอบการจดั กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน จํานวน 9 กิจกรรม ดงั น้ี 1. กิจกรรมพัฒนาวิชาการ เปนการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาใหผูเรียนมีพ้ืนฐานความรูเพียงพอกับการศึกษาในแตละ ระดับและพัฒนาผูเรียนใหมีความรู ความสามารถทางดานวิชาการเพิ่มมากข้ึนในรายวิชาตามหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ไดแก ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร วิทยาศาสตร หรือวิชาอื่น ๆ ตามความตองการของนักศึกษา กศน. ซ่ึงวิทยากรหรือผูสอน ควรเปนผูท่ีมีความรูหรือประสบการณในการสอนวิชาน้ัน ๆ โดยตรง อาจจะเปนบุคคลภายนอกหรือครู กศน. ไดตามความเหมาะสม สวนจํานวนนักศึกษา กศน. ท่ีรวมกิจกรรมใหอยูในดุลยพินิจของผูบริหาร สถานศกึ ษากกก 2. กจิ กรรมพฒั นาทกั ษะชวี ิต เปนการจัดกิจกรรมเสริมเพิ่มเติมจากการเรียนปกติในสาระทักษะการดําเนินชีวิต หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เนื่องจากสังคมปจจุบันมีการเปล่ียนแปลง อยางรวดเร็วทงั้ ดา นเศรษฐกิจ สังคมขาวสารขอมูล และเทคโนโลยี มีการแขงขนั และความขัดแยงมาก ขึ้น จึงมีความจําเปนที่สถานศึกษาตองจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตใหกับ นักศึกษา กศน. โดยมี วัตถุประสงคหลัก คือ เพ่ือใหมีความรู ความเขาใจ มีเจตคติ คานิยมท่ีถูกตอง และมีทักษะ หรือ ความสามารถพ้ืนฐานที่จําเปนในการเผชิญปญหาที่เกิดข้ึนในชีวิต เชน ปญหายาเสพติด การตั้งครรภ ไมพึงประสงค เพศสัมพันธ ทะเลาะวิวาท ครอบครัวแตกแยก ความรุนแรง ภัยพิบัติ ความเครียด ฯลฯ รวมทั้งมีคุณสมบัติท่ีพึงประสงคในการอยูรวมกับผูอ่ืนในสังคมไดอยางมีความสุข และสามารถ นาํ ความรจู ากการเขารว มกจิ กรรมไปปรับใชในชวี ิตประจาํ วันไดอยา งเหมาะสม กก 3. กจิ กรรมที่แสดงออกถงึ ความจงรกั ภักดีตอ สถาบันชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตรยิ  เปนการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาและสงเสริมสนับสนุนใหผูเรียน มีความรูความเขาใจ มี ทัศนคติท่ีดีมีความรักและภาคภูมิใจในชาติไทย และแสดงออกถึงความจงรักภักดีตอสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริยตลอดจนทะนุบํารุงและปฏิบัติตามหลักธรรมทางศาสนาท่ีนับถือ การ สงเสริมโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชด าริการเทิดทนู และปกปองสถาบนั พระมหากษัตรยิ และพระ บรมวงศานวุ งศ 4. กิจกรรมการเรียนรูตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เปนการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาผูเรียนใหมีความรู ความเขาใจตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงโดยสามารถนําไปประยุกตใหเกิดผลในทางปฏิบัติในการดํารงชีวิตประจําวันทั้งตอ ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคมและประเทศชาติ

27 5. กจิ กรรมลูกเสือ และกิจกรรมอาสายุวกาชาด เปนกิจกรรมเพื่อพัฒนาและสงเสริมสนับสนุนใหผูเรียนเปนผูที่มีระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรมมีจิตอาสา มีความเสียสละในการชวยเหลือผูอื่น บําเพ็ญประโยชนตอสังคมและชุมชน โดย ดําเนินการจัดกิจกรรมลูกเสือ กศน. และกิจกรรมอาสายุวกาชาด หรืออาจดําเนินการรวมกับ สํานักงานลูกเสือแหงชาติ สํานักการลูกเสือยุวกาชาดและกิจกรรมนักเรียน กระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานยวุ กาชาด สภากาชาดไทย เปนตน 6 . กจิ กรรมกีฬาและสง เสริมสุขภาพ เปนการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาผูเรียนไดมีโอกาสออกก าลังกายและเลนกีฬาเพ่ือสุขภาพ พลานามัยที่ดีสรางนิสัยความมีน้ําใจเปนนักกีฬาและใชเวลาวางใหเปนประโยชน เปนการสรางความ รัก ความสามัคคีในหมู คณะ ให รูจัก รูแพ รูชนะ รูอภัย และเปนการสรางสัมพันธภาพอันดี ระหวาง นกั ศกึ ษา กศน . 7. กิจกรรมเพ่ือพัฒนาความรูความสามารถดา นเทคโนโลยสี ารสนเทศ (ICT) เปนกจิ กรรมเพื่อพฒั นาผูเ รียนใหม ีความรูและทักษะใน ดา นเทคโนโลยสี ารสนเทศ (ICT) เชน การจัดอบรมความรูใ นดา นตา งๆ ทเ่ี กี่ยวกับ ICT เปนตน 8. กจิ กรรมเพ่ือพัฒนาความรสู ปู ระชาคมโลก เปนการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาความรูใหกับผูเรียน ในดานการศึกษา เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมความม่ันคง และการเมือง เพ่ือเขาสูประชาคมโลก เชน การเปล่ียนแปลงโครงสราง ประชากรไปสูสังคมสูงวัยทักษะของประชากรในศตวรรษที่ 21 ท่ีท่ัวโลกตางตองเผชิญกับความ ทา ทายและมุง พฒั นาประเทศไปสกู ารพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมยคุ 4.0 เปน ตน 9. กจิ กรรมจิตอาสา กศน. “เราทาํ ความดีดว ยหัวใจ” เปนกิจกรรมท่ีหนวยงาน/สถานศึกษาในสังกัดสํานักงาน กศน. จัดขึ้น หรือรวมกับ หนว ยงานอื่น ๆและรว มกับประชาชนทุกหมูเหลาที่มีจิตอาสาบําเพ็ญสาธารณประโยชนในพ้นื ท่ีตาง ๆ เพ่ือบรรเทาความเดือดรอน และแกไขปญหาใหแกประชาชน ไมวาจะเปนปญหานํ้าทวมในเขตชุมชน ปญหาการจราจรและอ่ืน ๆ เพ่ือสืบสานพระราชปณิธานพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช บรมนาถบพิตร ท่ีทรงหวงใยปญหาน้ําทวมและปญหาการจราจรในเขตพื้นที่ กรุงเทพมหานครและจังหวัดตาง ๆ และสอดคลองกับพระบรมราโชบายของสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 10 เปน การพฒั นาสภาพแวดลอ มและความเปนอยูในชมุ ชนใหม ีสภาพทดี่ ขี ึน้ 10. กจิ กรรมสง เสริมการอา น และพัฒนาทักษะการเรยี นรู เปนกิจกรรมท่ีสงเสริมใหผูเรียนมีทักษะการอาน การเรียนรู เสริมสรางนิสัยรักการอาน และการเรียนรูเพื่อนําไปใชในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสังคม อันจะนําไปสูสังคมแหง การเรียนรูตลอดชวี ติ 11. กจิ กรรมสง เสริมการเรยี นรเู พื่อพัฒนาทกั ษะอาชีพ เปนกิจกรรมที่สงเสริมใหผูเรียนไดศึกษา เรียนรูฝกทักษะและฝกปฏิบัติดานอาชีพท่ี ตนเองสนใจ เพอ่ื เปนทางเลือก และวางแผนการประกอบอาชพี และการศกึ ษาตอ ในอนาคต

28 12. กิจกรรมสง เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เปน กจิ กรรมที่สง เสริมใหผเู รียนไดเรียนรู ดวยการปลูกฝง คุณธรรม จริยธรรม วฒั นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และเอกลักษณของชาติ ใหเกิดความรักและความภาคภูมิใจ สืบสาน วฒั นธรรมและประเพณีทองถนิ่ อยูรวมกันในสงั คมไดอยางมีความสุข 13. กิจกรรมการเรียนรูการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรง เปน ประมขุ และกฎหมายที่เก่ยี วขอ งในชวี ติ ประจาํ วนั เปนกิจกรรมเพื่อพัฒนาผูเรียน ใหมีความรูความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขและกฎหมายท่ีเก่ียวของในชีวิตประจําวัน เชน กฎหมายรัฐธรรมนูญกฎหมายการเลือกตั้ง สิทธิหนาท่ีพลเมือง กฎหมายที่เกี่ยวของกับการ คมุ ครองผูบรโิ ภค เปนตน 14. กิจกรรมเสรมิ สรางความสามารถพิเศษ เปน กิจกรรมเพื่อพฒั นาผเู รียนที่มีความสามารถพิเศษ หรอื มีพรสวรรคใ นดานตาง ๆ ใหมี โอกาสและกลาแสดงออกถึงทักษะ ความรู ความสามารถ ความคิดสรางสรรค และจินตนาการ ใน แนวทางที่ถูกตองเหมาะสม และพัฒนาความสามารถพิเศษหรือพรสวรรคไปใชประโยชนตอการ ดํารงชีวิตของตนเอง เปนการสงเสริมสนับสนุนการศึกษาตลอดชีวิต โดยการจัดต้ังชมรมตาง ๆ เชน ชมรม TO BE NUMBER ONE การจดั ตั้งศูนยเพ่อื นใจวยั รนุ เปนตน 3. รปู แบบของกิจกรรม 3.1 แบบการจัดคา ยวิชาการ คา ยกจิ กรรม ทั้งคายไป – กลับ และคายคางคืน 3.2 แบบช้ันเรยี น โดยครู กศน. หรือวทิ ยากรที่มีความรหู รือประสบการณในการสอน วิชานนั้ ๆ เปนผูจ ัดกิจกรรมหรือรวมกับเครือขาย 3.3 แบบศึกษาดูงาน ในพืน้ ทใี่ กลเ คยี งหรือภายในจงั หวัด/ภาคเดียวกัน กรณีออกนอกพื้นที่ ใหข อความเห็นชอบจากผูอาํ นวยการสํานักงาน กศน.จังหวัด/กทม. 3.4 อนื่ ๆ ตามความเหมาะสม (โดยใหพิจารณารูปแบบของกิจกรรมขอที่ 3.1 – 3.3 กอน แลวจงึ ดําเนนิ การในขอ 3.4) 4. งบประมาณ การเบิกจายใหเปนไปตามระเบียบของทางราชการท่ีเกี่ยวของ โดยยึดหลักความถูกตอง โปรงใสตรวจสอบได 5. เงอ่ื นไขของการดาํ เนินงาน 5.1 ผรู บั บริการตองเปน นักศึกษา กศน. ที่ลงทะเบยี นเรียนในหลักสตู รการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ในภาคเรียนนน้ั ๆ 5.2 สถานศึกษาจัดทาํ แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน ตามกรอบการจดั กิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรียน 5.3 สถานศึกษาจัดสงแผนการจัดกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผูเรียน เพื่อขอความเหน็ ชอบ จากสํานักงาน กศน. จังหวดั /กทม.

29 5.4 สถานศกึ ษาดาํ เนนิ การตามแผนการจดั กจิ กรรมเพอ่ื พฒั นาคุณภาพผเู รยี น ตรวจสอบ ประเมนิ ผลการจัดกจิ กรรม พรอ มเบกิ จายเงนิ ตามระเบยี บท่ีกําหนดใหแ ลว เสร็จภายในแตละภาค เรียน และรายงานผลใหสํานักงาน กศน. จงั หวดั /กทม. ทราบ 5.5 สํานักงาน กศน. จงั หวดั /กทม. นิเทศติดตาม การจดั กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผูเรียน ของสถานศึกษา 5.6 ใหใ ช“ กรอบการจัดกจิ กรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรยี น ตามหลกั สูตรการศึกษานอก ระบบระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาํ นกั งาน กศน.” ตั้งแตภาคเรียนท่ี 2/2561 เปนตนไป หมายเหตุ : กิจกรรมเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพผเู รยี นท่ใี ชเ งนิ งบประมาณในการจัดกจิ กรรมไม นบั เปน ชว่ั โมงกิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวิต (กพช.) ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษา ขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 4. เอกสารงานทีเ่ กีย่ วของ เนื่องดวยภาวะที่เรงรีบจากกระแสการพัฒนาในยุคปจจุบัน ภาวะการเติบโตทาง เศรษฐกิจของลัทธิวัตถุนิยม ท่ีมุงใหความสําคัญกับการพัฒนาทางดานวัตถุ เอาเงินเปนตัวตั้ง การ ดําเนินธุรกิจที่ขาดความรับผิดชอบ ผูผลิตไมไดใหขอมูลเกี่ยวกับสวนประกอบและคุณคาทาง โภชนาการ ทําใหประชาชนมีวิถีการดาํ รงชีวิตท่เี รงรีบ เกดิ คานิยม วฒั นธรรม และวิถกี ารดาํ เนินชีวิตท่ี ไมเพียงพอ ขาดความสมดุล ทําใหประชาชนขาดการเอาใสใจดูแล ควบคุม และปองกันปจจัยเส่ียงที่ สงผลกระทบตอสุขภาพ ประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไมเหมาะสมและฟุมเฟอย นิยม บริโภคอาหารขยะหรือจ๊ังคฟูด (Junk Food) ที่มีสวนประกอบหลัก ซึ่งประกอบดวยแปง น้ําตาล น้ํามัน ไขมัน ผงชูรส และเกลือมากข้ึน แตมีสารอาหารที่จําเปนตอการเจริญเติบโตของรางกายและ สติปญญาอยูในปริมาณนอยมาก ไดแก อาหารประเภทฟาสตฟูด อาหารสําเร็จรูป อาหารจานดวน อาหารทอด อาหารขบเคี้ยว ลูกอม หมากฝรั่ง ขนมหวาน นํ้าอัดลม เคร่ืองดื่มรสหวาน เปนตน โดย สามารถหาซื้อไดงาย สะดวก มีการแขงขันทางการตลาดและมีการลงทุนโฆษณาสูงมาก (สํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, ๒๕๕๓) สวนการประกอบอาหารกินเองที่บาน และการปลกู ผักไวกินเองมีลดนอยลง ซึง่ พบวา ประชาชนสวนใหญรับประทานอาหารประเภทผักและ ผลไมนอยลง ขาดการออกกําลังกาย มีภาวะความเครียดเรื้อรัง ไมสามารถจัดการอารมณได มี พฤติกรรมการสูบบหุ รี่ และด่มื เครอื่ งด่มื ท่มี ีแอลกอฮอลม ากข้นึ จากพฤติกรรมการบริโภคที่เกินจําเปนขาดความสมดุลของพลังงานเขาและออกใน รางกาย จึงไมสามารถควบคุมนํ้าหนักท่ีเหมาะสมได ทําใหเกิดภาวะโภชนาการเกิน มีภาวะน้ําหนัก เกินมาตรฐาน หรอื เปน โรคอวนอนั มีสาเหตจุ ากความนิยมบรโิ ภคทเ่ี นน ความอรอยตามใจชอบมากกวา คุณภาพและคุณคาทางโภชนาการ กอใหเกิดการแพรระบาดของโรคไมติดตอเร้ือรังหรือท่ีเรียกวา “โรควิถีชีวิต” ท่ีสามารถปองกันได และมีแนวโนมทวีความรุนแรงมากย่ิงข้ึนเรื่อยๆ ไปทั่วโลก

30 โดยเฉพาะ 5 โรควถิ ีชวี ติ ทีส่ าํ คัญ ไดแ ก โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือด สมอง และโรคมะเรง็ การพัฒนาและทาํ ความสะอาดบา นตามหลกั สุขาภิบาล 1. การสุขาภบิ าลทีอ่ ยูอาศัย เปนการจดั การและควบคุมดูแลท่ีอยูอาศยั หรือสถาบันให สะอาดถูกสขุ ลักษณะ โดยจดั การใหไ ดตามความตอ งการขั้นมลู ฐานท้งั ทางรา งกาย ทางจิตใจ การ ปองกนั โรคติดตอ รวมท้ังกอ ใหเ กิดความปลอดภัยจากอุบตั ิเหตุแกผ พู ักอาศยั หรอื ผูใชบริการ 2. หลักการสขุ าภิบาลที่อยูอาศยั ควรจดั ใหเ ปน ไปตามความตอ งการขนั้ พืน้ ฐานของ บา นพกั อาศยั โดยจดั ใหมลี ักษณะเปนไปตามความตองการทางสรรี วทิ ยา ความตองการดานจิตใจ การปอ งกนั โรคตดิ ตอ ตลอดจนการปองกันอุบตั ิเหตุภายในบานพกั อาศัย ท่ีอยูอาศัยถือวาเปนหน่ึงในปจจัยส่ี ซ่ึงเปนพ้ืนฐานสําคัญตอการดํารงชีพของมนุษย เพราะชีวิตของมนุษยสวนใหญ เวลาสองในสามของแตละวัน มักจะใชชีวิตอยูที่บานพักอาศัย ท้ังการ พักผอนหลับนอน และการทํากิจกรรมตางๆ ภายในครอบครัว สวนเวลาท่ีเหลือเปนเวลาของการ ทํางานหรือทํากิจกรรมในสถานที่อ่ืนๆ ดังน้ัน จึงนับวาเปนส่ิงจําเปนที่จะขาดเสียมิได เพราะเปน สถานท่ีท่ีมีประโยชนในการปองกันความรอน ความหนาว แดด ลม ฝน ตลอดจน ปองกันสัตวและ แมลงมารบกวน แตการมีบานพักอาศัยน้ัน จําตองคํานึงถึงคุณภาพในหลายๆ ดาน ใหมีสภาพที่ เหมาะสมตอ การพักอาศัยดว ย คอื จะตองเปน บา นทถี่ ูกสุขลักษณะ ขอจาํ กัดในการจัดการสุขาภิบาลที่อยอู าศยั ใหมคี วามเหมาะสม 1. ขอจํากัดทางดานเศรษฐกิจ การสรางบานพักอาศัยใหถูกสุขลักษณะหรือถูกหลัก สุขาภิบาลไดมากนอยเพียงใดน้ัน ข้ึนกับเศรษฐานะของผูอยูอาศัยเปนสําคัญ หากมีฐานะดีก็สามารถ ซ้ือหรือสรางบานเปนของตนเอง โดยออกแบบการสรางตามท่ีใจตองการได ตรงกันขามกับบางกลุมท่ี ฐานะไมเอ้ืออํานวย อาจจําเปน ตองอยตู ามอตั ภาพ ตอ งเชาอาศยั อยหู รืออยูรว มกันกับคนอืน่ ๆ ในเนื้อ ที่ที่คอนขา งจาํ กดั สภาพแวดลอ มทไ่ี มเ หมาะสม เชน หองแถว หรอื ชุมชนแออดั เปนตน โดยเฉพาะใน เขตเมืองขนาดใหญ ท่ผี ูคนมาอาศัยอยูก ันอยางหนาแนน 2. ขอ จํากดั ท่เี กี่ยวของกบั สภาวะทางสังคม อัตราการเพิม่ ประชากรและการโยกยาย ถ่ินฐานโดยประชาชนในชนบทอพยพเขาสูเขตเมืองหลวง หรือเมืองขนาดใหญ เพื่อหางานทําหรือมุง เขาหาแหลงท่ีมีความเจริญ ไดกลายเปนปญหาทางสังคมของชุมชนเมืองในปจ จุบนั เนือ่ งดวยจาํ กัดใน พ้ืนที่ที่ดิน มีผูมาอยูอาศัยมากขึ้น กอใหเกิดปญหาอยูกันอยางหนาแนน การปรับตัวเพื่อการดํารงชีพ ในชุมชนเมือง หากชุมชนใด จัดการไมดี จะกลายเปนสังคมท่ีเสื่อมโทรม สงผลตอคุณภาพชีวิตให ตกตํ่ากวาทคี่ วรจะเปน 3. ขอจํากัดทางการศึกษา ปญหาการใหความรูผานระบบการศึกษาหรือผานส่ือ ตางๆ ซึ่งทําไดคอนขางนอย จึงทําใหประชาชนทั่วไปขาดความรู ความเขาใจ และความตระหนักถึง ความจําเปนที่จะตองทําที่อยูอาศัยใหถูกสุขลักษณะ โดยเฉพาะการจัดส่ิงแวดลอมตามความตองการ ทง้ั สีป่ ระการทีก่ ลา วมาขางตน 4. ขอจํากัดทางดานขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม ความแตกตางดาน ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม มีสวนในการกําหนดรูปทรงและการจัดสภาพแวดลอ มที่อยู

31 อาศัย บานในเขตชนบท อาจสรางเปนรูปแบบท่ีคลายคลึงกัน เปนบานไมยกพื้นสูง และอาจมีการทํา คอกสัตวใตถุนบานดวย ในขณะที่บานในเขตเมือง เอ้ือตอการสรางเปนอาคารคอนกรีตจะเหมาะสม กวา ซ่ึงบานแตละแบบก็มีขอดี - ขอดอยมากนอยตางกันไป หากเปนบานทรงไทย ภายในบานจะไม อบอาว เพราะมกี ารระบายอากาศไดด ี 5. ขอจํากัดทางดานนโยบาย การวางแผนทางเศรษฐกิจและสังคมของทองถ่ิน ภูมิภาค รัฐ และชาติ หากแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของทองถ่ินและชาติ ขาดความชัดเจน และไมแนนอน ขาดเสถียรภาพ อาจสงผลกระทบตอการจัดการสุขาภิบาลส่ิงแวดลอมที่ดี รวมถึง สุขาภิบาลท่ีอยูอาศัยดวย การขาดการวางแผนดานผังเมือง อาจทําใหเกิดการปะปนกันระหวาง บา นพกั อาศัย โรงงานอุตสาหกรรม หรอื สถานท่รี าชการได แนวทางการปรับเปล่ียนพฤติกรรมสขุ ภาพปองกันโรคไมติดตอเรอ้ื รงั การปรับเปลีย่ นพฤตกิ รรมสุขภาพรูปแบบท่ีเหมาะสมและมีประสทิ ธิภาพ ควรเปน รูปแบบชวี จิตสังคม (Biopsychosocial) ท่คี รอบคลุมทั้งพฤตกิ รรม อารมณ ความคิด และสงิ่ แวดลอ ม เพอื่ ชวยในการเปลย่ี นแปลง ซงึ่ การโคช ดา นสุขภาพ (Health Coaching) เปนการประยกุ ตหลกั การ ทางจติ วิทยาสขุ ภาพ (ขอมูลสุขภาพธรรมชาติของคน) และจติ วทิ ยาการโคช (การสอ่ื สาร การจูงใจ) มา ใชในการปรับเปลีย่ นความคดิ และพฤตกิ รรมของผูร ับบริการเพอ่ื ชว ยใหเขามสี ขุ ภาพดี และตอ งเขาใจ รูจักธรรมชาติของคนดวย รวู า จะจงู ใจใหค นเปลย่ี นความคิด ความเช่ือเดิมๆ เพื่อพฒั นาพฤตกิ รรมแบบ ใหมท ี่ดตี อสขุ ภาพไดอยางไร ซ่งึ ตองอาศยั วิธกี ารส่ือสารที่มีประสิทธิภาพ มรี ปู แบบการพูดคยุ ท่โี ดนใจ ไดใ จในการเปล่ยี นแปลงโดยใหก ารเปล่ยี นพฤตกิ รรมนนั้ มาจากตัวของเขาเอง เราเปนเพียงผูช วยเหลอื เทา น้นั Health Coachingจะเปนการดแู ลทย่ี ดึ ผูร บั บริการเปนศูนยก ลาง (patient-centered) สมั พนั ธภาพทีเ่ ทา เทียมกันจะทาํ ใหล ดการตอตา นและเพ่มิ โอกาสในการเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมของ ผรู บั บริการไดมีประสิทธภิ าพยง่ิ ข้ึน ซึง่ ผูโ คชดานสขุ ภาพ (Health Coach) ควรมีทักษะท่ีจาํ เปน ดงั นี้ • ทักษะความรูเชงิ วิชาชพี ดานสุขภาพ (Health professional qualification & skills) • ทกั ษะการปรึกษา (Basic counseling skills) • ทกั ษะการเสริมสรา งแรงจงู ใจ (Motivational interviewing skills) • ทักษะการจดั การปญหาโดยเนนทางออก (Solution-focused coaching skills) • ทกั ษะการจดั การอารมณ (Emotional management skills) • ทักษะการปรบั เปลี่ยนความคดิ (Cognitive change skills)

32 ขนั้ ตอนการใหค าํ ปรกึ ษาเพอ่ื ปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมสขุ ภาพ 1. ประเมินผรู ับบรกิ ารเพื่อแยกเปาหมายในการปรบั เปล่ียนพฤติกรรม (ไมเรง ดวน/ เรงดว น/เรง ดวนมาก) กลุมเสี่ยง - กลมุ ไมเรงดวน : กลุมสีเขียวออน1, ผูทม่ี ภี าวะอวน/พอ แม เปน DM-HT/สูบบุหร่ี-ดมื่ แอลกอฮอล/ มีรอยพบั ที่ คอ-รักแร - กลุม เรง ดวน : กลมุ สีเขียวออน2 - กลมุ เรงดว นมาก : กลมุ สีเขียวออน2 และประเมิน CVD Risk > 30% ***กรณกี ลมุ สีขาว ใหด ําเนนิ การใหค าํ แนะนําในการสง เสริมสขุ ภาพ*** กลมุ ปวย - กลุมไมเรงดวน : กลมุ Control ไดด ี (ผูปว ยเบาหวาน HbA1C<7/ ผปู วยความดนั โลหติ สงู BP <140/90 mmHg) - กลุม เรง ดวน : กลมุ Uncontrolled, ผปู วยรายใหม - กลมุ เรง ดวนทสี่ ดุ : กลุม Uncontrolled และเปนกลุม High risk จากการประเมินภาวะแทรกซอน ไต/ หลอดเลอื ด/ตา/เทา 2. ประเมินความพรอมการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (Stage of Change) ข้ันท่ี 1 ไมส นใจปญหา : เปน ขนั้ ท่บี คุ คลยังไมตัง้ ใจทจ่ี ะเปล่ยี นแปลงตนเอง ไมร บั รไู มใส ใจตอ พฤติกรรมท่เี ปน ปญหาของตน ถือวาเปน โอกาสทผ่ี ชู วยเหลอื จะหาวธิ กี ารตาง ๆ มาใชใ ห เหมาะสมกบั ความตองการของแตล ะบุคคล โดยใหขอ มลู สะทอนกลบั ใหค วามรคู วามเขา ใจโดย เนน ส่งิ ท่ีเปนขอเท็จจริง เปน เหตเุ ปนผล เปน กลาง ไมช นี้ าํ หรือขูใ หกลวั ข้ันที่ 2 ขน้ั ลังเลใจ : เปน ขั้นที่บคุ คลมีความตัง้ ใจท่ีจะเปล่ียนแปลงพฤติกรรมในระยะเวลา อันใกลน ้มี ีความตระหนักถึงขอดขี องการเปล่ียนแปลงพฤติกรรม แตก ็ยงั คงกังวลกับขอเสยี ในการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ในขน้ั นี้ควรมีการพูดคุยถึงขอดี-ขอเสยี ของพฤติกรรมเกาและใหม ใหค ําแนะนาํ เรื่องการดูแลสขุ ภาพ เปดโอกาสใหไ ดชัง่ นาํ้ หนัก และอาจมีการใหขอมลู ท่ีถกู ตอง ขัน้ ที่ 3 ขั้นตัดสินใจและเตรียมตัว : เปน ขั้นทบี่ คุ คลตั้งใจวา จะลงมือปฏิบตั ใิ นการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเรว็ ๆ นี้ (ภายใน 1 เดอื น) เมื่อตัดสินใจแลววาจะเปล่ยี นพฤติกรรมใดของตน โดยตองพูดคยุ เพื่อคน หาสาเหตุของปญหาท่ีอาจเปน ไปได เพอื่ วางแผนแกไขปญ หาวา ตองทาํ อะไร บุคคลท่ีอยูใ นขน้ั นี้ควรไดม ีทางเลือกในการเปล่ียนพฤติกรรม โดยใหเขาตดั สินใจเลือกเอง และ สงเสรมิ ศกั ยภาพในการกระทําของเขา ข้นั ท่ี 4 ลงมือปฏิบัติ : เปนขัน้ ทีบ่ ุคคลลงมือปฏบิ ัติหรือกระทําพฤติกรรมทพ่ี งึ ประสงค โดยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภายนอกตามท่ีไดต้งั เปาหมายไวเ ปนเวลาไมนอ ยกวา 6 เดอื น โดยสังเกต จากการกระทําทีป่ รากฏใหเหน็ และการเฝาระวงั การกลับซํ้า (relapse) ถือเปน เรอ่ื งสําคัญในขั้นลง

33 มือปฏิบัติน้ดี วย บุคคลในขน้ั น้ีควรไดรับการสงเสริมใหล งมือกระทาํ ตามวธิ ีการทเ่ี ขาเลือกอยา ง ตอเน่ือง โดยชวยหาทางขจดั อปุ สรรค และใหกําลงั ใจแกเขา ข้นั ท่ี 5 ขัน้ กระทําตอเนื่อง : เปนขัน้ ท่ีบุคคลกระทําพฤติกรรมใหมอยางตอเน่ืองเกนิ กวา 6 เดือน โดยทย่ี ังคงทํากิจกรรมทีเ่ ปน การปอ งกนั การกลับซํ้าของตนตอ ไป แมจ ะไมเขมขน เทากบั ในขน้ั ลงมือปฏบิ ัตกิ ต็ าม โดยทีบ่ คุ คลจะตองทาํ พฤติกรรมใหมท่ีพงึ ประสงคน ี้ไดอยางสม่ําเสมอ เหมอื นกบั วามนั เปน สวนหน่ึงของชวี ิตประจําวนั โดยไมจ ําเปนตอ งเตรยี มตวั ไวลวงหนาอีกแลว บุคคลท่ี อยใู นขัน้ นี้ควรมีการปองกันการกลับซํา้ ขั้นที่ 6 การกลับไปมีปญหาซ้ํา : การท่บี ุคคลนนั้ ถอยกลบั ไปมพี ฤตกิ รรมแบบเดมิ กอ นท่ี จะเปล่ยี นแปลงอีก โดยท่ีบคุ คลจะนาํ พาตนเองไปสูสถานการณเสีย่ ง การปลอ ยใหตนเองมภี าวะ อารมณจติ ใจทเ่ี ปราะบาง ไมสามารถจดั การกับความอยากได ประมาทเลินเลอ จนพลั้งพลาดกลับไป มีพฤติกรรมเดิมบางหรือกลบั ไปมีปญหาซ้าํ อยา งเต็มตวั 3. ใหบรกิ ารปรกึ ษาเพ่ือสรา งแรงจงู ใจในการปรับเปลยี่ นพฤติกรรม และดาํ เนินการ ปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมตามความเรง ดวนและภาวะสุขภาพแยกตามสปี งปองจราจรชวี ิต 7 สี 4. ตดิ ตามผลการใหคาํ ปรกึ ษาและประเมินผล แนวทางการใหค ําปรกึ ษาเพ่ือปรบั เปล่ียนพฤติกรรมสขุ ภาพ ตาม “ปงปองจราจรชีวิต 7 สี” ประเด็น กิจกรรม สขี าว อาหาร ปลูกผกั กินเอง งดนาํ้ อดั ลม รับประทานผลไมรสไมห วานจัด หลีกเลี่ยงหอยนางรม หมึก กุง ตัว ใหญ เนือ้ สตั วตดิ มนั ลดการบริโภคผงชูรส รสดี ซอสปรุงรส ลดดืม่ กาแฟสาํ เรจ็ รปู เครื่องดื่มชู กาํ ลงั มามา ลดการเติมน้าํ ปลา ออกกาํ ลงั กาย สัปดาหละ 3 ครง้ั ๆละ 30 นาที ควบคมุ นา้ํ หนักไมใหเ พ่ิมข้ึน อารมณ สวดมนตก อ นนอนทุกวันตามบริบทศาสนา อบายมุข ลด/เลกิ บุหรี่ และเครื่องด่มื แอลกอฮอลใ นวันสาํ คญั เชน วันเขาพรรษา ปใหม สงกรานต เปาหมาย/ ลดเสย่ี ง/ ผลลัพธ : สขี าว ผลลพั ธ การตดิ ตาม/ ตรวจสุขภาพอยา งนอยปล ะ 1 ครั้ง (ตามแนวทาง) พบแพทย

34 สเี ขยี วออน 1 อาหาร กินผกั 2-3 ม้ือ/วัน งดนาํ้ อัดลม ลดการกินผลไมก วน ทุเรียน ลําไย ลนิ้ จี่ ขนนุ องุน นอ ยหนา ลด การกินหอยนางรม หมึก กงุ ตัวใหญ เนอื้ สตั วตดิ มนั ปลาเค็ม ไขเ ค็ม ลดการบรโิ ภคผงชูรส รสดี ซอสปรงุ รส งดการเติมนา้ํ ปลา ลดด่ืมกาแฟสาํ เร็จรปู หรือเปลย่ี นเปนกาแฟดาํ (หากจําเปน) ลด เครื่องดื่มชูกาํ ลัง มามา ออกกําลังกาย สัปดาหล ะ 3 คร้งั ๆละ 30 นาที ควบคมุ นํา้ หนักไมใหเ พ่ิมขึ้น และเนน การลดนํ้าหนักโดยการ ตั้งเปาหมายรว มกัน อารมณ สวดมนตกอนนอนทุกวันตามบริบทศาสนา น่งั สมาธิ 10 นาที/วนั และเวลาเครยี ด อบายมุข ลด/เลกิ บุหร่ี และเคร่ืองดม่ื แอลกอฮอลในวนั สําคัญ เชน วันเขาพรรษา ปใ หม สงกรานต คดั กรองผตู อ งการเลกิ บหุ ร่ี-สุรา และสงเขา คลินกิ อดบุหรี่-สรุ า เปา หมาย/ ลดเสีย่ งและไมเปน โรค ผลลัพธ : สขี าว/สีเขียว1 ผลลัพธ การตดิ ตาม/ 3 – 6 เดือน พบแพทย สเี ขียวออน 2 อาหาร กนิ ผัก 2-3 ม้ือ/วัน งดน้าํ อดั ลม ลดการกนิ ผลไมกวน ทุเรียน ลาํ ไย ลิ้นจี่ ขนุน องุน นอ ยหนา ลด การกินหอยนางรม หมึก กงุ ตัวใหญ เน้อื สัตวต ดิ มนั ปลาเค็ม ไขเค็ม ลดการบริโภคผงชรู ส รสดี ซอสปรงุ รส งดการเติมนาํ้ ปลา ลดด่ืมกาแฟสาํ เรจ็ รูปหรอื เปลย่ี นเปน กาแฟดาํ (หากจําเปน) ลด เครื่องดื่มชูกําลัง มามา โดยจดั กิจกรรมการบนั ทึกการรบั ประทานอาหารเพ่ือรว มแลกเปลย่ี น เรียนรูและคนหาปญหารว มกับเจาหนาท่ี ออกกาํ ลังกาย สัปดาหละ 3 คร้ังๆละ 30 นาที ควบคุมน้ําหนักไมใหเพ่ิมข้ึน และเนนการลดนํ้าหนักโดยการ ตัง้ เปา หมายรวมกัน อารมณ สวดมนตกอนนอนทุกวันตามบริบทศาสนา นัง่ สมาธิ 10 นาท/ี วัน และเวลาเครยี ด อบายมุข ลด/เลกิ บุหรี่ และเครื่องดื่มแอลกอฮอลใ นวันสําคัญ เชน วนั เขาพรรษา ปใ หม สงกรานต คดั กรองผูตอ งการเลกิ บุหร่ี-สุรา และสง เขาคลนิ กิ อดบหุ รี่-สรุ า เปาหมาย/ ลดเสย่ี งและไมเ ปนโรค ผลลพั ธ : สขี าว/สเี ขียวออน 1 ผลลพั ธ การตดิ ตาม/ ติดตามภายใน 1 สัปดาห พบแพทย

35 ประเดน็ กจิ กรรม สีเขียวเขม รับประทานขาวไมขดั สี เชนขาวกลอง 5-8 ทัพพี/วัน อาหาร - รบั ประทานผกั วันละ 3 ทัพพี(กรณีของผักใบเขยี ว รบั ประทานไดไ มจ าํ กดั จาํ นวน เชน ผักกาด, ออกกาํ ลัง คะนา,ผักบุง ,ถ่วั ฝก ยาว) กาย - ผลไม(ควรหลีกเลยี่ งผลไมที่มรี สหวานจัด) อารมณ -ถวั่ ธญั พืช วันละประมาณครึ่งถงึ 1 ทัพพี อบายมุข - ควรหลีกเลี่ยงเนื้อสัตวที่ติดมัน,เครอ่ื งในสตั ว,อาหารทะเลยกเวนเนือ้ ปลา เปา หมาย/ สัปดาหละ 3 วนั อยางนอ ย 30 นาทีตอ วนั ผลลัพธ - ควรออกกาํ ลังกายอยางสม่ําเสมอ อยางนอ ยสปั ดาหล ะ 3 วัน วนั ละอยา งนอย 30 นาที เชน การ การตดิ ตาม/ เดนิ การวง่ิ เหยาะ ไทเก็ก ปน จักรยาน เปน ตน ผสู งู อายุควรหลกี เลย่ี งการเหวี่ยง การกระแทก การ พบแพทย แกวงแขน - ควบคมุ นาํ้ หนัก BMI <25 Kg/������������2 วัดรอบเอวในผูชายนอ ยกวา หรือเทากบั 90 เซนตเิ มตร,รอบเอวในผหู ญิงนอยกวาหรอื เทา กบั 80 เซนติเมตร สงบ เยอื กเยน็ - ทาํ จติ ใจใหแจม ใสอยเู สมอ หาวิธคี ลายเครยี ด หรอื ทํากจิ กรรมรวมกับครอบครวั เชน ปลูกตนไม เลนดนตรี วาดภาพ ทอ งเท่ียว หรือปฏิบัตศิ าสนกิจ เปน ตน รวมทัง้ ควรพักผอนใหเพียงพอ วันละ 6-8 ชวั่ โมง - ลดอวน ลดพงุ ใหไ ด - ลด/เลกิ บหุ ร่ี และเครื่องด่ืมแอลกอฮอล -รบั ประทานยาตอเนอ่ื ง - ลดการบรโิ ภคนาํ้ ตาลหรือเครือ่ งตา งๆท่มี นี าํ้ ตาลสําหรบั ผูป วยเบาหวาน - ลดการบริโภคอาหาร มนั เค็ม สาํ หรับผปู วยความดันโลหิตสงู FPG <130 mg% หรือ HbA1C <7 ระดบั ความดนั ใหอ ยูในเกณฑปกติโดยระดับความดันนอ ยกวา หรอื เทา กบั 140/๙0 มลิ ลิเมตรปรอท นดั พบแพทย 2-3 เดือน/คร้งั

36 สีเหลือง รบั ประทานผัก ผลไมครงึ่ หนึ่ง อยา งอ่ืนครึง่ หนง่ึ อาหาร รบั ประทานขาวไมขดั สี เชนขาวกลอ ง 5-8 ทัพพ/ี วนั - รบั ประทานผักวนั ละ 3 ทัพพี(กรณขี องผักใบเขยี ว รบั ประทานไดไ มจํากัดจาํ นวน เชน ผกั กาด, คะนา ,ผกั บงุ ,ถ่วั ฝกยาว) - ผลไม( ควรหลกี เล่ยี งผลไมที่มรี สหวานจัด) -ถั่ว ธัญพชื วันละประมาณครึ่งถงึ 1 ทัพพี - ควรหลกี เลีย่ งเนอื้ สัตวทตี่ ดิ มัน,เคร่อื งในสัตว,อาหารทะเลยกเวน เน้ือปลา ประเด็น กจิ กรรม ออกกําลงั สัปดาหละ 3 วนั อยางนอ ย 30 นาทตี อ วัน กาย - ควรออกกาํ ลงั กายอยา งสมา่ํ เสมอ อยา งนอ ยสัปดาหละ 3 วัน วนั ละอยางนอย 30 นาที เชน การ เดิน การว่งิ เหยาะ ไทเก็ก ปนจกั รยาน เปน ตน ผูสูงอายุควรหลกี เล่ียงการเหวยี่ ง การกระแทก การ อารมณ แกวงแขน อบายมุข - ควบคมุ น้ําหนกั BMI <25 Kg/������������2 เปาหมาย/ วดั รอบเอวในผชู ายนอ ยกวาหรอื เทา กับ 90 เซนติเมตร,รอบเอวในผูห ญิงนอ ยกวาหรอื เทา กับ 80 ผลลัพธ เซนติเมตร การตดิ ตาม/ สงบ เยือกเยน็ พบแพทย - ทําจติ ใจใหแ จม ใสอยูเ สมอ หาวิธคี ลายเครยี ด หรอื ทาํ กจิ กรรมรว มกับครอบครัว เชน ปลูกตน ไม เลนดนตรี วาดภาพ ทองเท่ยี ว หรอื ปฏิบัติศาสนกจิ เปน ตน รวมทงั้ ควรพักผอนใหเพยี งพอ วนั ละ 6-8 ชั่วโมง - ลดอวน ลดพงุ ใหไ ด - ลด/เลิกบหุ รี่ และเคร่อื งด่ืมแอลกอฮอลล FPG <130 mg% หรือ HbA1C <7 ระดบั ความดันใหอ ยูในเกณฑปกตโิ ดยระดับความดนั นอ ยกวาหรอื เทา กบั 140/๙0 มลิ ลิเมตรปรอท นัดพบแพทย 2-3 เดือน/ครงั้ (ตามวันคลินกิ ปง ปองสีเขียวเหลือง)

37 สีสม รับประทานขาวไมขัดสี เชนขาวกลอง 5-8 ทัพพี/มอื้ อาหาร - รบั ประทานผกั วนั ละ 3 ทัพพ(ี กรณขี องผักใบเขยี ว รับประทานไดไมจํากดั จํานวน เชน ผกั กาด, ออกกาํ ลัง คะนา ,ผกั บงุ ,ถว่ั ฝกยาว) กาย - รบั ประทานผลไมไมเกนิ 2-๓ สว น(จํากดั จํานวน)/วัน อารมณ - ด่ืมนมจืดพรองมนั เนยวันละ ๑ แกว และหลีกเล่ยี งเคร่ืองด่ืมท่ีมนี ้ําตาล ประเดน็ - ควรหลีกเล่ียงเนือ้ สัตวท ตี่ ิดมัน,เคร่ืองในสัตว, อาหารทะเลยกเวนเนื้อปลา อบายมุข สปั ดาหละ 3 วนั อยางนอย 30 นาทีตอ วัน - ควรออกกําลงั กายอยางสมํ่าเสมอ อยา งนอ ยสัปดาหล ะ 3 วนั วันละอยา งนอ ย 30 นาที เชน การ เปา หมาย/ เดนิ การว่ิงเหยาะ ไทเก็ก ปน จักรยาน เปน ตน ผสู งู อายคุ วรหลกี เล่ียงการเหว่ียง การกระแทก การ ผลลพั ธ แกวง แขน การตดิ ตาม/ - ควบคมุ น้ําหนกั BMI <25 Kg/������������2 พบแพทย วัดรอบเอวในผชู ายนอยกวาหรือเทา กบั 90 เซนติเมตร,รอบเอวในผูหญิงนอ ยกวาหรือเทากบั 80 เซนตเิ มตร สงบ เยอื กเยน็ - ทําจิตใจใหแจมใสอยูเ สมอ หาวธิ คี ลายเครยี ด หรอื ทํากจิ กรรมรว มกับครอบครัว เชน ปลูกตน ไม เลนดนตรี วาดภาพ ทอ งเทยี่ ว หรอื ปฏบิ ตั ิศาสนกิจ เปน ตน รวมท้งั ควรพักผอ นใหเพียงพอ วนั ละ 6-8 ชั่วโมง กจิ กรรม - ลดอวน ลดพงุ ใหได - ลด/เลิกบุหร่ี และเคร่ืองดื่มแอลกอฮอลล - วัดความดนั ทุกเดือน ตรวจวดั ระดบั นาํ้ ตาลทุก 1-3 เดือน - ลดการบริโภคนาํ้ ตาลหรือเคร่ืองตางๆทม่ี นี ํา้ ตาลสําหรับผปู วยเบาหวาน - ลดการบริโภคอาหาร มัน เค็ม สําหรับผปู ว ยความดันโลหติ สงู - ตรวจภาวะแทรกซอ น ตา เทา ในผปู วยเบาหวานและไต หวั ใจ สมองอยา งนอยปละ 1 คร้ังใน ผูปว ยเบาหวานและความดนั โลหิตสูง FPG <130 mg% หรอื HbA1C <7 ระดบั ความดนั ใหอยูในเกณฑปกติโดยระดบั ความดนั นอ ยกวาหรอื เทา กับ 140/๙0 มิลลิเมตรปรอท พบแพทยตามนัดทกุ 4-8 สปั ดาหห รอื เมื่อมีอาการผิดปกติและตดิ ตามเยี่ยมบา น

38 สีแดง รบั ประทานผัก ผลไมครึ่งหน่งึ อยา งอน่ื คร่ึงหน่ึง อาหาร รบั ประทานขาวไมขัดสี เชน ขาวกลอง 5-8 ทัพพี - ผักวันละ 3 ทัพพี(กรณขี องผกั ใบเขยี ว รับประทานไดไมจํากัดจาํ นวน เชน ผกั กาด,คะนา,ผักบุง ออกกาํ ลงั ,ถ่วั ฝกยาว) กาย - รับประทานผลไมไมเกนิ 2-3 สว น(จํากดั จํานวน)/วัน อารมณ - ดมื่ นมจืดพรองมันเนยวนั ละ 1 แกวและหลกี เลย่ี งเคร่อื งดื่มที่มีนาํ้ ตาล อบายมุข - ควรหลกี เลี่ยงเนือ้ สตั วท ี่ติดมัน,เครอื่ งในสตั ว,อาหารทะเลยกเวนเน้อื ปลา เปา หมาย/ สัปดาหล ะ 3 วนั อยางนอย 30 นาทตี อ วนั ผลลพั ธ - ควรออกกําลงั กายอยา งสมํ่าเสมอ อยางนอยสัปดาหละ 3 วนั วนั ละอยางนอย 30 นาที เชน การ เดนิ การวง่ิ เหยาะ ไทเก็ก ปนจักรยาน เปน ตน ผสู งู อายคุ วรหลีกเลย่ี งการเหวี่ยง การกระแทก การ ประเด็น แกวง แขน การตดิ ตาม/ - ควบคุมน้ําหนกั BMI <25 Kg/������������2 พบแพทย วดั รอบเอวในผูช ายนอยกวาหรือเทา กับ 90 เซนตเิ มตร,รอบเอวในผหู ญิงนอยกวาหรือเทา กับ 80 เซนติเมตร สงบ เยอื กเยน็ - ทําจติ ใจใหแ จมใสอยเู สมอ หาวธิ ีคลายเครียด หรือทํากจิ กรรมรว มกับครอบครัว เชน ปลูกตน ไม เลน ดนตรี วาดภาพ ทอ งเทยี่ ว หรือปฏิบัติศาสนกจิ เปนตน รวมทั้งควรพักผอนใหเพียงพอ วนั ละ 6-8 ช่ัวโมง - ลดอว น ลดพงุ ใหไ ด - ลด/เลิกบุหรี่ และเครื่องดื่มแอลกอฮอลล - วัดความดนั ทกุ เดือน ตรวจวัดระดับน้าํ ตาลทุก 1-3 เดือน - ลดการบรโิ ภคนา้ํ ตาลหรือเครือ่ งตา งๆท่มี ีนา้ํ ตาลสาํ หรับผูปวยเบาหวาน - ลดการบรโิ ภคอาหาร มัน เค็ม สําหรับผูปวยความดันโลหติ สูง FPG <130 mg% หรอื HbA1C <7 ระดับความดนั ใหอ ยูในเกณฑปกตโิ ดยระดบั ความดนั นอ ยกวาหรือเทา กบั 140/๙0 mmHg กจิ กรรม - พบแพทยตามนัดทุก๒- 4สัปดาหห รอื เม่ือมีอาการผดิ ปกติและไดร บั การโทร/ตดิ ตามเย่ียมบาน ปรบั ยา/ยาฉดี รายใหม/ HbA1C > 9

39 สีดาํ รับประทานผกั ผลไมค ร่ึงหนึง่ อยา งอ่ืนคร่งึ หนึง่ อาหาร รับประทานขาวแปง 5-8 ทัพพี/วนั - รับประทานผกั วันละ 3 ทัพพ(ี กรณขี องผักใบเขียว รบั ประทานไดไ มจํากดั จาํ นวน เชน ผกั กาด, ออกกําลงั คะนา ,ผักบุง ,ถ่ัวฝกยาว) กาย - รบั ประทานผลไมไมเ กนิ 2-3 สวน(จํากดั จาํ นวน)/วนั อารมณ - ด่มื นมจดื พรองมนั เนยวนั ละ 1 แกว และหลกี เลย่ี งเครอื่ งดื่มท่มี ีน้ําตาล อบายมุข - ควรหลีกเล่ียงเน้อื สตั วทต่ี ิดมัน,เครือ่ งในสตั ว,อาหารทะเลยกเวนเน้อื ปลา เปา หมาย/ - ควรออกกาํ ลงั กายอยา งสมํา่ เสมอ อยางนอ ยสปั ดาหล ะ 3 วัน วนั ละอยางนอย 30 นาที เชน การ ผลลัพธ เดนิ การแกวง แขน การติดตาม/ - ทาํ จติ ใจใหแ จม ใสอยูเ สมอ หาวิธีคลายเครียด หรอื ทาํ กิจกรรมรวมกับครอบครัว เชน ปลกู ตน ไม พบแพทย เลน ดนตรี วาดภาพ ทอ งเทย่ี ว หรือปฏบิ ัติศาสนกจิ เปนตน รวมทงั้ ควรพักผอนใหเพียงพอ วนั ละ 6-8 ชัว่ โมง - ลด/เลิกบหุ รี่ และเครื่องดืม่ แอลกอฮอลล FPG <130 mg% หรอื HbA1C <7 ระดบั ความดนั ใหอยูในเกณฑปกตโิ ดยระดบั ความดนั นอยกวา หรอื เทา กับ 140/๙0 มิลลเิ มตรปรอท นดั สัปดาหที่ 2,4 (ทุก 1 เดือน)

40 บทท่ี 3 วธิ ีการดาํ เนนิ งาน ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอเมืองชลบรุ ี ไดเ ลง็ เห็น ความสาํ คัญของเร่ืองเล็งเหน็ ความสําคญั ของของการดูแลผูสงู อายุ จงึ เขา มามสี วนรว มในการนําเสนอ แนวคดิ ผานกระบวนการอบรม อันเปนการสนองความรู ความเขาใจในเร่ืองการสง เสริมใหผ สู งู อายุมี สุขภาพกายและจิตท่ดี ี มีความรใู นการปฏิบตั ติ น สามารถดูแลตนเองไดถูกตอ งตามสมรรถนะ และ เพ่ือใหผ ดู แู ลผสู ูงอายุมีความรูความเขาใจในการดูแลผูสูงอายไุ ดอ ยา งถูกตอ ง ใหกับประชาชนใน โครงการสง เสริมผสู งู วยั ใสใ จรักสุขภาพ โดยมขี ้นั ตอนดังนี้ 1. ประชมุ บคุ ลากรกรรมการ กศน.อําเภอเมอื งชลบุรี 2. จัดต้งั คณะทํางาน 3. ประสานงาน/ประชาสมั พันธ 4. ดําเนนิ งานตามแผน 5. วัดผล/ประเมนิ ผล/สรปุ ผลและรายงาน 1. ประชมุ ปรึกษาหารอื การจดั โครงการฯ กศน.ตําบลนาปา กศน.ตาํ บลนาปา ไดวางแผนประชุมปรึกษาหารือเพื่อหาแนวทางในการดาํ เนนิ งานและ กาํ หนดวตั ถุประสงคร วมกัน 2. แตงตง้ั คณะทาํ งาน จดั ทําคาํ สงั่ แตงต้ังคณะทํางานโครงการเพื่อมอบหมอบหมายหนา ทใ่ี นการทํางานให ชดั เจน เชน 2.1 คณะกรรมการที่ปรกึ ษา/อํานวยการ มหี นาที่อาํ นวยความสะดวก และใหคําปรึกษา แกไขปญหาทเ่ี กิดขน้ึ 2.2 คณะกรรมการ กศน.ตาํ บลนาปา ในการจดั หาอปุ กรณ เตรยี มใชจัดโครงการฯ 2.3 คณะกรรมการฝา ยบันทึกภาพและประชาสมั พนั ธ มีหนา ที่บันทึกภาพกิจกรรมตลอด โครงการ และประชาสมั พนั ธกิจกรรมใหสาธารณชนไดทราบ 2.4 คณะกรรมการฝา ยรบั ลงทะเบยี นและประเมนิ ผลหนา ท่จี ัดทาํ หลักฐานการ ลงทะเบยี นผเู ขารวมโครงการ และรวบรวมการประเมินผล และรายงานผลการดําเนินการ 3. ประสานงาน/เครือขา ยทเ่ี กีย่ วของ ประสานงานกบั ผเู ขารวมโครงการ วทิ ยากร และคณะครู เชน ประสานเร่อื งสถานที่ใชทาํ กิจกรรม รูปแบบการจัดกิจกรรมโครงการ วนั เวลา สถานท่ี รายละเอียดการเขา รวมกิจกรรม พรอมทง้ั ประชาสัมพันธก ารจัดกจิ กรรม

41 4. ดาํ เนินการตามแผนงานโครงการ โครงการสงเสริมผสู ูงวยั ใสใ จรักสุขภาพ วันท่ี 6 ธันวาคม 2561 ณ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ตําบลบา นทองคุง หมูท ่ี 2 ตาํ บลนาปา อาํ เภอเมืองชลบุรี จงั หวดั ชลบรุ ี มีผเู ขา รวมโครงการเปน ประชาชน จํานวน 25 คน โดยจัดกจิ กรรมโดยใชก ระบวนการอบรม 5. สรุปผลและรายงาน โครงการสง เสริมผูส งู วยั ใสใจรักสขุ ภาพ วนั ที่ 6 ธันวาคม 2561 ณ โรงพยาบาลสง เสรมิ สขุ ภาพ ตําบลบานทองคุง หมูที่ 2 ตําบลนาปา อาํ เภอเมอื งชลบรุ ี จังหวัดชลบรุ ี มีผเู ขา รวมโครงการเปน ประชาชน จํานวน 25 คน โดยมวี ทิ ยากร คอื นางนันตพร ศักดิ์นทีธร โดยจดั กจิ กรรมโดยใชก ระบวนการกลุมจะนํา แนวทางไปใชขอมลู พจิ ารณารูปแบบการจดั กจิ กรรมตา ง ๆ เพื่อใหต อบสนองความตองการของผูเ ขา รว ม กจิ กรรมความรูค วามเขาใจในเรอ่ื งการสง เสรมิ ใหผ สู งู อายุมีสุขภาพกายและจิตที่ดี มคี วามรูใ นการปฏบิ ตั ติ น สามารถดแู ลตนเองไดถ ูกตองตามสมรรถนะ และเพื่อใหผดู ูแลผูสูงอายมุ ีความรูความเขา ใจในการดูแล ผูสงู อายุไดอยา งถูกตอง กศน.ตาํ บลนาปา ไดด าํ เนินการตามขน้ั ตอนและไดรวบรวมขอมูลจากแบบสาํ รวจสถิติท่ีใชใ นการ วิเคราะห คือโดยกําหนดคาลําดับความสําคญั ของการประเมินผลออกเปน 5 ระดับ ดังนี้ มากท่สี ดุ ใหคะแนน 5 มาก ใหค ะแนน 4 ปานกลาง ใหคะแนน 3 นอ ย ใหค ะแนน 2 นอ ยที่สุด ใหคะแนน 1 ในการแปลผล ผูจัดทําไดใชเกณฑก ารพิจารณาจากคะแนนเฉล่ียตามแนวคิดของ บุญชม ศรสี ะอาด และบุญสง นวิ แกว (2535, หนา 22-25) 4.51-5.00 หมายความวา ดีมาก 3.51-4.50 หมายความวา ดี 2.51-3.50 หมายความวา ปานกลาง 1.51-2.50 หมายความวา นอ ย 1.00-1.50 หมายความวา ตองปรับปรงุ ประชาชน จะตองกรอกขอ มลู ตามแบบสอบถาม เพื่อนาํ ไปใชใ นการประเมนิ ผลของการจัด กิจกรรมดังกลาว และจะไดนําไปเปนขอมลู ปรบั ปรุง และพัฒนา ตลอดจนใชในการจดั ทําแผนการ ดําเนินการในปต อไป

42 บทที่ 4 ผลการดําเนินงานและการวิเคราะหข อ มลู ในการจดั โครงการสง เสรมิ ผูส ูงวัยใสใจรกั สุขภาพ วันที่ 6 ธนั วาคม 2561 ณ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบานทองคงุ หมูท่ี 2 ตําบลนาปา อาํ เภอเมืองชลบรุ ี จงั หวัด ชลบุรี มีผูเ ขารว มโครงการเปนประชาชน จํานวน 25 คน ซึง่ ไดสรปุ ผลจากแบบสอบถามและ นาํ เสนอผลการวิเคราะหขอมูล จากผเู ขา รบั การอบรม จํานวน 25 ชดุ ตอนที่ 1 ขอมูลสวนตัวผูตอบแบบถามของผูเขารวมโครงการสงเสริมผูสูงวัยใสใจรัก สขุ ภาพ วันที่ 6 ธนั วาคม 2561 ณ โรงพยาบาลสง เสริมสุขภาพตําบลบานทองคุง หมทู ี่ 2 ตําบลนาปา อําเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ผูเขารวมกิจกรรมที่ตอบแบบสอบถามไดนํามาจําแนกตามเพศ อายุ และอาชีพ ผูจดั ทาํ ไดนําเสนอจาํ แนกตามขอ มลู ดงั กลา ว ดงั ปรากฏตามตารางท่ี 1 ดังตอไปน้ี ตารางที่ 1 แสดงคารอ ยละของผูตอบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามเพศ หญิง เพศ ชาย ความคดิ เหน็ จํานวน รอ ยละ จํานวน รอ ยละ ผเู ขารวมกจิ กรรมโครงการสง เสรมิ ผูสงู วยั ใสใ จรักสุขภาพ - - 25 100.00 จากตารางท่ี 1 แสดงวา ผูตอบแบบสอบถามของผูเขารวมโครงการสงเสรมิ ผูส งู วยั ใสใ จ รักสขุ ภาพ เปน หญิง 25 รอยละ 100.00 ตารางท่ี 2 แสดงคา รอยละของผูตอบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามอายุ 15 - 29 ป 30 - 39 ป 40 - 49 ป 50 - 59 ป 60 ป ขน้ึ ไป จาํ นวน รอยละ จาํ นวน รอยละ จาํ นวน รอ ยละ จาํ นวน รอยละ จาํ นวน รอยละ ความคดิ เห็น ผเู ขา รวมกิจกรรม - - 4 16.00 2 8.00 5 20.00 14 56.00 โครงการสงเสรมิ ผู สงู วัยใสใ จรัก สขุ ภาพ จากตารางท่ี 2 แสดงวา ผูตอบแบบสอบถามของผูเ ขารว มผเู ขารว มกจิ กรรมโครงการ สงเสริมผูส ูงวัยใสใจรักสขุ ภาพ ในชวงอายุ 60 ป ขึน้ ไป มจี ํานวนสงู สุด 14 คน คิดเปนรอยละ 56.00 ในชว งอายุ 50 - 59 ป มีจํานวน 5 คน คดิ เปน รอยละ 20.00 ในชวงอายุ 40 - 49 ป มีจาํ นวน 2 คน คิดเปนรอ ยละ 8.00 ในชวงอายุ 30 - 39 ป มจี าํ นวน 4 คน คดิ เปนรอ ยละ 16.00

43 ตารางที่ 3 แสดงคา รอ ยละของผูตอบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามอาชพี ประเภท รบั จา ง คา ขาย รบั ราชการ เกษตรกร อนื่ ๆ(วางงาน) ความคิดเห็น จาํ นวน รอยละ จาํ นวน รอยละ จํานวน รอยละ จาํ นวน รอ ยละ จาํ นวน รอยละ ผเู ขา รวมกิจกรรม โครงการสง เสรมิ 8 32.00 2 8.00 - - - - 15 60.00 ผสู ูงวยั ใสใจรกั สุขภาพ จากตารางที่ 3 แสดงวา ผูต อบแบบสอบถามของผเู ขา รวมผเู ขารว มกจิ กรรมโครงการ สง เสรมิ ผูสงู วัยใสใจรักสขุ ภาพ ประกอบอาชีพอืน่ ๆ มีจาํ นวนสงู สดุ 15 คน คิดเปน รอยละ 60.00 อาชีพรบั จา ง มีจํานวน 8 คน คิดเปน รอยละ 32.00 และอาชีพคาขาย จํานวน 2 คน คิดเปน รอยละ 8.00 ตามลาํ ดับ ตารางที่ 4 แสดงคารอยละของผตู อบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามระดบั การศึกษา สูงกวา การศกึ ษา ม.ปลาย ประถมศกึ ษา ม.ตน ม.ปลาย ความคิดเหน็ จาํ รอ ยละ จาํ รอยละ จํา รอ ยละ จาํ รอย นวน นวน นวน นวน ละ ผเู ขา รว มกจิ กรรมโครงการ 18 72.00 3 12.00 2 8.00 2 8.00 สง เสริมผูสงู วัยใสใจรัก สขุ ภาพ จากตารางท่ี 4 แสดงวา ผูตอบแบบสอบถามของผูเ ขารวมกิจกรรมโครงการสง เสริม ผูสงู วัยใสใจรกั สุขภาพ มีการศึกษาระดบั ประถมศกึ ษา จาํ นวน 18 คน คิดเปน รอยละ 72.00 ระดบั ม.ตน จํานวน 3 คน คิดเปน รอ ยละ 12.00 ระดบั ม.ปลาย จํานวน 2 คน คดิ เปน รอ ยละ 8.00 สูงกวา ระดบั ม.ปลาย จํานวน 2 คน คิดเปน รอยละ 8.00 ตอนท่ี 2 ขอมูลเกี่ยวกับความคดิ เห็นของผูเขา รวมโครงการสง เสริมผสู ูงวัยใสใจรกั สุขภาพ ความคิดเห็นของผเู ขารว มกิจกรรม จาํ นวน 25 คน จากแบบสอบถามทงั้ หมดท่มี ตี อ โครงการสงเสรมิ ผสู ูงวยั ใสใจรักสขุ ภาพ ณ โรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพตาํ บลบา นทองคุง หมทู ่ี 2 ตาํ บลนาปา อาํ เภอเมืองชลบุรี ดงั ปรากฏในตารางท่ี 5 ตอนที่ 2 ตารางที่ 5 ขอมูลเกี่ยวกบั ความคิดเห็นของผูเขารวมโครงการฯ/ผลการประเมินโครงการ สงเสริมผสู ูงวยั ใสใ จรักสขุ ภาพ

44 ตารางที่ 5 ผลการประเมินโครงการสง เสริมผสู ูงวัยใสใจรกั สุขภาพ เน้ือหาโครงการสงเสรมิ ผสู งู วัยใสใ จรกั สุขภาพ N = 25 ตอนที่ 1 ความพึงพอใจดา นเนอื้ หา X̄ S.D. อันดบั ที่ ระดับผลการประเมิน 1.เน้ือหาตรงตามความตองการ 4.76 0.44 4 ดมี าก 2.เนอ้ื หาเพียงพอตอความตอ งการ 4.72 0.46 5 ดมี าก 3.เน้ือหาเปนปจจุบันและทันสมยั 4.72 0.46 5 ดีมาก 4.เนื้อหามีประโยชนต อการนําไปใชในการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ 4.80 0.41 3 ดมี าก ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจดานกระบวนการจัดกิจกรรม 4.80 0.41 3 ดมี าก 5. การเตรยี มความพรอ มกอนจดั กจิ กรรม 4.84 0.37 2 ดีมาก 6. การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วัตถุประสงค 4.72 0.46 5 ดีมาก 7. การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับเวลา 4.76 0.44 4 ดีมาก 8. การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับกลมุ เปาหมาย 4.72 0.46 5 ดีมาก 9. วิธกี ารวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค 4.80 0.41 3 ดมี าก ตอนท่ี 3 ความพงึ พอใจตอวทิ ยากร 4.80 0.41 3 ดมี าก 10. วทิ ยากรมคี วามรคู วามสามารถในเรอื่ งท่ถี า ยทอด 11. วิทยากรมีเทคนิคการถา ยทอดใชส อื่ เหมาะสม 12. วิทยากรเปดโอกาสใหม ีสว นรว มและซักถาม 4.72 0.46 5 ดีมาก ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจดา นการอํานวยความสะดวก 13. สถานท่ี วสั ดุ อุปกรณและส่ิงอาํ นวยความสะดวก 4.76 0.44 4 ดมี าก 14. การสอื่ สาร การสรา งบรรยากาศเพื่อใหเกดิ การเรียนรู 4.88 0.33 1 ดีมาก 15. การบรกิ าร การชวยเหลอื และการแกป ญหา 4.72 0.46 5 ดีมาก คาเฉลยี่ 4.77 0.04 จากตารางที่ 5 พบวา โดยเฉลย่ี แลว ผเู ขา รบั การอบรมในโครงการสงเสรมิ ผูสงู วัยใสใจรกั สุขภาพ อยูในระดบั ดมี าก เมื่อวเิ คราะหเ ปน รายขอความพงึ พอใจในภาพรวมของผรู ับการอบรม (x=̄ 4.88) ลาํ ดบั ที่ 1 การสอื่ สาร การสรา งบรรยากาศเพ่ือใหเ กดิ การเรยี นรู (x=̄ 4.84) เปน ลําดับท่ี 2 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค (x̄ =4.80) เปนลาํ ดับท่ี 3 เน้ือหามีประโยชนตอ การ นําไปใชในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต, การเตรียมความพรอมกอนจัดกิจกรรม, วทิ ยากรมคี วามรู ความสามารถในเร่อื งที่ถา ยทอด, วทิ ยากรมีเทคนคิ การถายทอดใชสื่อเหมาะสม, วิทยากรมีเทคนิคการ ถายทอดใชส อื่ เหมาะสม (x̄=4.76) เปนลําดับท่ี 4 เน้ือหาตรงตามความตองการ, การจดั กจิ กรรม เหมาะสมกับกลุมเปาหมาย, สถานที่ วัสดุ อุปกรณและส่งิ อํานวยความสะดวก (x̄=4.72) เปนลําดบั ท่ี 5 เนือ้ หาเพยี งพอตอความตองการ, เน้ือหาเปน ปจจุบนั และทนั สมัย, การจัด กจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา, วทิ ยากรเปด โอกาสใหม สี วนรว มและซักถาม, การบรกิ าร การชวยเหลือ และการแกป ญหา ตามลาํ ดับ

45 ตารางที่ 6 ผานการฝกอบรมไดนาํ ความรูไ ปใชจริง ใชเวลาวางใหเ ปน ประเภท เพมิ่ รายได ลดรายจา ย นาํ ไปประกอบ พัฒนาคุณภาพชีวิต ประโยชน ความคดิ เห็น อาชีพ จํานวน รอ ยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จาํ นวน รอ ยละ จํานวน รอ ยละ ผเู ขา รว มโครงการ -- สงเสริมผูส ูงวยั ใส - - - - - - 25 100.00 ใจรักสขุ ภาพ จากตารางท่ี 6 แสดงวา ผูตอบแบบสอบถามของผูเขารวมผูเขารวมกิจกรรมโครงการ สงเสริมผูสูงวัยใสใจรักสุขภาพ ไดนําความรูไปใชจริง ดานพัฒนาคุณภาพชีวิต จํานวน 25 คน คดิ เปนรอ ยละ 100.00

46 บทที่ 5 สรปุ อภปิ รายผล และขอเสนอแนะ จากโครงการสงเสริมผูสูงวัยใสใจรักสุขภาพ โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือใหประชาชนได เล็งเห็นความสําคัญของเร่ืองของของการดูแลผูสูงอายุ จึงเขามามีสวนรวมในการนําเสนอแนวคิด ผานกระบวนการอบรม อันเปนการสนองความรู ความเขาใจในเรื่องการสงเสริมใหผูสูงอายุ มีสุขภาพกายและจิตที่ดี มีความรูในการปฏิบัติตน สามารถดูแลตนเองไดถูกตองตามสมรรถนะ และเพอื่ ใหผูด ูแลผูสงู อายุมคี วามรูความเขาใจในการดูแลผูส งู อายุไดอยา งถกู ตอง ในวันที่ 6 ธนั วาคม 2561 ณ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบานทองคุง หมูท่ี 2 ตําบลนาปา อําเภอเมืองชลบุรี จงั หวดั ชลบุรี ทัง้ นี้ขอสรปุ และอภิปรายผลและขอ เสนอแนะดังน้ี 1. สรุปผล 1.1 ผตู อบแบบสอบถามของโครงการสง เสริมผสู งู วยั ใสใจรักสขุ ภาพ จํานวนทงั้ หมด 25 คน เปนหญงิ 25 รอยละ 100.00 ในชว งอายุ 60 ป ขึ้นไป มีจาํ นวนสูงสุด 14 คน คิดเปน รอ ยละ 56.00 ในชว งอายุ 50 - 59 ป มีจาํ นวน 5 คน คิดเปนรอ ยละ 20.00 ในชวงอายุ 40 - 49 ป มี จํานวน 2 คน คิดเปน รอยละ 8.00 ในชว งอายุ 30 - 39 ป มีจาํ นวน 4 คน คดิ เปนรอยละ 16.00 มี อาชพี อื่น ๆ มีจํานวนสงู สดุ 15 คน คิดเปน รอ ยละ 60.00 อาชีพรับจาง มจี าํ นวน 8 คน คดิ เปนรอย ละ 32.00 และอาชพี คาขาย จํานวน 2 คน คดิ เปน รอยละ 8.00 การศึกษาระดบั ประถมศกึ ษา จํานวน 18 คน คิดเปนรอ ยละ 72.00 ระดบั ม.ตน จํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 12.00 ระดบั ม.ปลาย จาํ นวน 2 คน คิดเปน รอ ยละ 8.00 สงู กวา ระดับ ม.ปลาย จาํ นวน 2 คน คดิ เปน รอ ยละ 8.00 1.2 ขอ มูลเกี่ยวกับความคดิ เห็นของผูเ ขารบั การอบรมในโครงการสงเสริมผูสงู วยั ใส ใจรักสขุ ภาพ มีความพึงพอใจในภาพรวมอยใู นระดบั ดีมาก เมื่อวิเคราะหเปน รายขอความพงึ พอใจในภาพรวมของผูรบั การอบรม (x̄= 4.88) ลาํ ดบั ท่ี 1 การ สือ่ สาร การสรางบรรยากาศเพ่อื ใหเกิดการเรียนรู (x̄=4.84) เปนลาํ ดบั ที่ 2 การออกแบบกจิ กรรม เหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค (x̄ =4.80) เปน ลําดบั ท่ี 3 เนื้อหามีประโยชนต อ การนําไปใชในการพฒั นา คุณภาพชีวิต, การเตรียมความพรอมกอนจัดกจิ กรรม, วทิ ยากรมคี วามรูความสามารถในเรอ่ื งที่ ถา ยทอด, วทิ ยากรมเี ทคนคิ การถายทอดใชส อ่ื เหมาะสม, วิทยากรมเี ทคนคิ การถายทอดใชส ื่อ เหมาะสม (x̄=4.76) เปนลาํ ดับท่ี 4 เน้ือหาตรงตามความตองการ, การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั กลมุ เปาหมาย, สถานที่ วัสดุ อปุ กรณและส่งิ อํานวยความสะดวก (x̄=4.72) เปนลําดับที่ 5 เน้ือหา เพียงพอตอความตองการ, เนื้อหาเปน ปจจบุ ันและทนั สมัย, การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา, วิทยากรเปด โอกาสใหมสี วนรวมและซักถาม, การบรกิ าร การชวยเหลอื และการแกป ญหา ตามลาํ ดับ

47 2. อภิปรายผล ผเู ขา รวมโครงการสงเสริมผสู ูงวยั ใสใจรักสขุ ภาพ มีความพงึ พอใจอยใู นระดับดีมาก คดิ เปน คา เฉล่ยี 4.77 3. ขอเสนอแนะ - อยากใหมีสือ่ การเรียนการสอนใหเพยี งพอตอ ความตอ งการของผเู ขา รับการอบรม

48 บรรณานกุ รม กรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น. (ม.ป.ป. : 9), (2546:76). บุญชม ศรสี ะอาด และ บญุ สง นวิ แกว . (2535 หนา 22 – 25). พิชติ สกุลพราหมณ(2535:334) รณรงค ณ เชียงใหม (2525:55) วินัย วรี ะวฒั นานนท (2535:31-36) สํานักงานบริหารการศึกษานอกโรงเรียน. (2549:2), (2549:5). http://www.pcd.go.th/info_serv/waste_garbage.html

49 ภาคผนวก

50 รายงานผลการดาํ เนนิ งานโครงการสงเสริมผสู ูงวัยใสใจรักสขุ ภาพ ประจําปงบประมาณ 2562 งบดําเนนิ งาน กิจกรรมโครงการสง เสริมผูสงู วยั ใสใ จรกั สขุ ภาพ ผูร บั ผดิ ชอบโครงการ ผรุ บั ผิดชอบ นางสาวศศิวัณย ออ นศรีทอง ครู กศน.ตาํ บลนาปา **************************************************************** 1. หลกั การและเหตุผล ผสู งู อายุถอื ไดวาเปน ทรัพยากรของชาตทิ ี่มีคณุ คา ทุกคนควรใหค วามรักเคารพ และดูแล เอาใจใส เนอ่ื งจากเปน ผูท ส่ี รางประโยชนแกป ระเทศชาติมากอน สามารถถา ยทอดความรู ประสบการณ และวฒั นธรรมอนั ดไี ปสลู ูกหลาน แตปจจบุ ันผูสูงอายุถูกทอดท้ิงจากบตุ รหลานมากขนึ้ ทาํ กิจวัตรและดูแลตัวเองในเร่ืองของความเปน อยูในชวี ติ ประจาํ วนั มากขน้ึ ฉะนน้ั ผสู ูงอายุควรตอ ง ไดร บั ความรูในเรื่อง การรบั ประทานอาหารใหครบ 5 หมู การออกกําลังกาย การดูแลสุขภาพปากและ ฟน การปองกนั อุบัตเิ หตเุ หลา นี้ เปนตน เพ่ือท่ีจะสามารถดแู ลสุขภาพรางกายของตัวเองได ทําให เกดิ ปญ หาไดนอยทสี่ ดุ และสงผลใหจิตใจสดชื่น แจม ใส ชว ยใหคนรอบขา งหรือครอบครัวทัง้ สังคมมี ความสขุ ดวยและครอบครวั เปนสถาบนั ท่เี ลก็ ทีส่ ดุ แตม ีความสาํ คัญทีส่ ุด ถา ครอบครัวใหความสาํ คัญ และเลง็ เห็นความสาํ คัญของผูสูงอายดุ วยแลว ครอบครวั และสังคมไทยจะมีความสุข และทกุ คนมี สุขภาพจิตท่ีดสี ง ผลใหรา งกายดีตามมาเพอื่ เปน การสงเสรมิ สุขภาพผูสูงอายแุ ละสงเสริมสถาบัน ครอบครวั ดงั กลา ว กศน.ตาํ บลนาปา สงั กดั ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาํ เภอ เมืองชลบุรี ไดเล็งเห็นความสําคัญของของการดูแลผูสูงอายุ จึงไดจัดโครงการสงเสริมผูสูงวัยใสใจรกั สขุ ภาพ ขนึ้ 2. วตั ถุประสงค 2.1. เพือ่ สงเสรมิ ใหผ สู ูงอายุมีสขุ ภาพกายและจิตท่ดี ีถูกตองตามสมรรถนะ 2.2.เพอ่ื ใหผ ดู ูแลผูสงู อายุมีความรูค วามเขาใจในการดแู ลผสู ูงอายไุ ดอยา งถกู ตอง 2.3 เพอื่ ใหผ สู ูงอายุมีความรูในการปฏบิ ัตติ นและสามารถดูแลตนเองได 3. เปา หมาย 1. เชิงปริมาณ ประชาชนตาํ บลนาปา จํานวน 25 คน 2. เชิงคณุ ภาพ สงเสริมใหผสู ูงอายุมีสขุ ภาพกายและจิตท่ีดี มีความรใู นการปฏบิ ัตติ น สามารถดแู ลตนเอง ไดถ ูกตอ งตามสมรรถนะ และเพอ่ื ใหผ ูด แู ลผสู งู อายมุ ีความรูความเขาใจในการดูแลผสู งู อายไุ ดอ ยา ง ถกู ตอง

51 4. ตัวชี้วดั ความสําเร็จของโครงการ 4.1 ตวั ชี้วดั ผลผลติ (Outputs) - ผูเขา รวมโครงการฯ ไมนอยกวารอ ยละ 80 - ผเู ขา รว มโครงการฯ มคี วามพงึ พอใจอยูในระดบั ดขี นึ้ ไป ไมนอ ยกวา รอยละ 80 4.2 ตวั ชว้ี ัดผลลพั ธ (Outcomes) - ผเู ขา รวมโครงการฯ ไมน อยกวา รอยละ 50 สามารถนาํ ความรูไปประยกุ ตใชในชีวติ ประจาํ วนั ได - ผเู ขารว มโครงการฯ ไมน อยกวารอ ยละ 10 สามารถนําความรูท ่ไี ดร ับไปขยายผลได 5. ขัน้ ตอนการดาํ เนนิ การโครงการ/กิจกรรม รายการ การดําเนินงาน การวางแผน (Plan) ป ประชุมคณะกรรมการดาํ เนินงาน - ประสานสานงานกบั นักศกึ ษา เครือขา ย จัดทําแผน/ โครงการเสนอเพื่อขออนมุ ัตจิ าก ผบู ริหารสถานศึกษา การปฏบิ ัติ (Do) ประสานสานงานกบั นักศึกษา เครือขา ย เพื่อนําประชาชนเขารวมโครงการ ดําเนนิ การตามโครงการสง เสริมผสู ูงวัยใสใ จรักสุขภาพ 1. สํารวจความตองการการเขารวมกจิ กรรม 2. ประสานงานกบั หนวยงานท่เี ก่ียวของ 3. ขออนมุ ัติโครงการตอ ผอ.กศน.อําเภอเมืองชลบุรี 4. แตง ต้งั คณะกรรมการดเนนิ งาน 5. ดาํ เนินงานตามแผนงาน 6. ประเมนิ ผลการจดั กจิ กรรม/โครงการ 7. สรปุ และรายงานผลการดําเนินงาน การตรวจสอบ/ ั สังเกตจากพฤตกิ รรม จากการสงั เกต การสมั ภาษณ ประเมินผล (Check) ชมนิทรรศการและลงมือปฏบิ ัตแิ ละแบบสอบถาม ของผเู ขารวมโครงการฯ มกี ารปฏิบตั ติ ามวทิ ยากร เปนอยางดี และเปน ท่ีพึงพอใจของผเู ขารว มโครงการฯ แบบประเมนิ โครงการของผเู ขา รวมไมน อยกวา รอยละ 80 แนวทางการนาํ ผลการ - ผูเ ขารวมโครงการฯ รูวิธสี งเสริมใหผ ูสูงอายุมสี ุขภาพกายและจิตทด่ี ี มี ประเมนิ ไปปรับปรุง ความรใู นการปฏบิ ัตติ น สามารถดูแลตนเองไดถูกตองตามสมรรถนะ และ (Action) เพ่ือใหผ ดู แู ลผสู งู อายุมีความรูความเขา ใจในการดูแลผูส งู อายุไดอ ยา งถูกตอ ง - แบบประเมินโครงการของผูเขา รว มไมน อยกวา รอยละ 80 ตอ งนาํ ไปแกไข ปรบั ปรงุ ในจุดทบ่ี กพรอง เพือ่ นําไปใชกับการจัดกจิ กรรม/ โครงการในคร้งั ตอ ไป

52 6. ระยะเวลาดําเนินงาน วนั ท่ี 6 ธันวาคม 2561 7. สถานทีใ่ นการจดั โครงการ โรงพยาบาลสง เสรมิ สุขภาพตําบลบานทองคุง หมทู ี่ 2 ตําบลนาปา อําเภอเมืองชลบรุ ี จงั หวัดชลบุรี 8. ผลการดําเนนิ โครงการ 8.1 ผลการประเมินขอมูลพ้ืนฐานของผเู ขา รวมโครงการ 1) จาํ นวนผเู ขา รวมโครงการฯ 25 คน ชาย 0 คน หญิง 25 คน 2) อายุเฉลี่ย 17-71 ป 3) อาชีพ รบั จาง แมบ าน อาชีพสว นตัว 8.2 ความพงึ พอใจของผูเขารว มโครงการ ตอ ภาพรวมของโครงการ - ผูเ ขา รว มโครงการ ความพึงพอใจ รอยละ 90 ระดบั ดมี าก 8.3 บรรลตุ ามวัตถุประสงค - ประชาชนในตําบลนาปา รอยละ 80 ที่เขา รวมโครงการรูวิธีสง เสริมใหผสู ูงอายุมี สุขภาพกายและจิตทด่ี ี มีความรใู นการปฏบิ ตั ติ น สามารถดูแลตนเองไดถูกตอ งตามสมรรถนะ และ เพอ่ื ใหผ ดู ูแลผสู งู อายุมีความรูความเขาใจในการดูแลผูสูงอายุไดอ ยางถกู ตอง 8.4 สรปุ งบประมาณในการดาํ เนินงาน ใชง บประมาณป 2562 งบดาํ เนินงาน เพ่อื เปน คาใชจ ายในการจัดการศึกษาตอเน่ือง กจิ กรรมการจัด การศกึ ษานอกระบบ ผลผลิตที่ 4 ผรู บั บริการการศึกษานอกระบบ การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทักษะชวี ติ จาํ นวน 2,645.-บาท ดงั รายละเอียดคาใชจ าย ตอไปนี้ ที่ รายการ จาํ นวน ราคา: จํานวน หมายเหตุ 1 คา ตอบแทนวิทยากร คน หนวย เงนิ 1 คน X 200 บาท X 5 ชั่วโมง 2 คา อาหารกลางวัน (บาท) 25 คน X 60 บาท X 1 ม้ือ 3 คาวัสดุประกอบการอบรม 1 200 1,000 เอกสารดังแนบ 25 60 1,500 รวม - - 145 รวมเปน เงินทั้งสน้ิ 2,645 (สองพันหกรอ ยสี่สิบหาบาทถวน) หมายเหตุ ถวั เฉลี่ยเทาทจี่ า ยจรงิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook