Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการรู้เท่าทันป้องกันตนเองจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(หน้ากากอนามัย)

โครงการรู้เท่าทันป้องกันตนเองจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(หน้ากากอนามัย)

Published by angrymin.error, 2020-04-29 23:52:54

Description: โครงการโครงการรู้เท่าทันป้องกันตนเองจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หน้ากาก

Search

Read the Text Version

โครงการรเู้ ท่าทันป้องกันตนเองจากเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรับนกั ศึกษา กศน.ตาบลนาปา่ วนั ท่ี 22 มนี าคม 2563 ณ กศน.ตาบลนาปา่ หมทู่ ่ี 7 ตาบลนาป่า อาเภอเมอื งชลบุรี จงั หวัดชลบรุ ี กศน.ตาบลนาปา่ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองชลบรุ ี

คำนำ ปัจจุบัน ปัญหาการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ได้ขยายวงกว้างอย่างรวดเร็ว โดยเริ่ม จากเมืองอฮู่ ่ัน ในประเทศจีน และต่อมาระบาดไปอกี หลายเมือง ปจั จบุ ันพบผู้ป่วยติดเช้ือในทุกมณฑล และยังพบผู้ป่วย ยืนยันในหลายประเทศ ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 30 ธันวาคม 2562 ถึงวันท่ี 14 กุมภาพันธ์ 2563 ทางการจีนรายงานผู้ป่วย ทั้งส้ิน 63,859 ราย เสียชีวิต 1,380 ราย และพบผู้ป่วยยืนยันนอกประเทศจีนแผ่นดินใหญ่ จานวน 582 ราย รวมมี ผู้ป่วยยืนยันท่ัวโลก จานวน 67,088 ขณะน้ีมีหลักฐานการติดต่อจากคนสู่คน พบผู้ป่วยยืนยันในผู้ที่ไม่มีประวัติการ เดินทางไปประเทศจีน แต่มปี ระวตั ิใกล้ชิดกบั ผู้ทเ่ี ดินทางมาจากพื้นทรี่ ะบาดของโรคสาหรับประเทศไทยพบผู้ป่วยยืนยัน 33 ราย ยังไม่พบผู้เสียชีวิต (ข้อมูลจาก : รายงานสถานการณ์โรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ศูนย์ปฏิบัติการภาวะ ฉุกเฉิน กรณีโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 14กุมภาพันธ์ 2563) ทั้งน้ี การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) จาเป็นต้องมีการดาเนินการให้ความรู้ คาแนะนา การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับนักศึกษาให้ตระหนักและปฏิบัติตนให้ห่างไกลจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID- 19) กศน.ตาบลนาป่า สงั กดั ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอเมืองชลบุรี ได้ เล็งเหน็ ความสาคญั ของการป้องกนั จงึ ได้ดาเนินการโครงการรูเ้ ทา่ ทันป้องกันตนเองจากเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรับนกั ศกึ ษา กศน.ตาบลนาปา่ ขนึ้ ท้ายน้ี กศน.ตาบลนาปา่ ตอ้ งขอบคณุ กศน.อาเภอเมอื งชลบุรี และผ้ทู เ่ี ก่ียวข้องท่ใี ห้คาปรึกษาแนะนา การจดั ทาโครงการฯ หากมขี ้อบกพร่องประการใด ผู้จัดต้องขออภยั มาไว้ ณ ที่น้ี และจะปรบั ปรุงให้ดีย่งิ ขน้ึ ใน โอกาสตอ่ ไป กศน.ตาบลนาป่า มีนาคม 2563

บทท่ี 1 บทนำ ควำมเปน็ มำ ปัจจุบัน ปัญหาการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ได้ขยายวงกว้างอย่างรวดเร็ว โดยเร่ิม จากเมอื งอู่ฮน่ั ในประเทศจนี และตอ่ มาระบาดไปอกี หลายเมอื ง ปจั จบุ ันพบผู้ป่วยติดเช้ือในทุกมณฑล และยังพบผู้ป่วย ยืนยันในหลายประเทศ ข้อมูลต้ังแต่วันท่ี 30 ธันวาคม 2562 ถึงวันท่ี 14 กุมภาพันธ์ 2563 ทางการจีนรายงานผู้ป่วย ทั้งสิ้น 63,859 ราย เสียชีวิต 1,380 ราย และพบผู้ป่วยยืนยันนอกประเทศจีนแผ่นดินใหญ่ จานวน 582 ราย รวมมี ผู้ป่วยยืนยันท่ัวโลก จานวน 67,088 ขณะนี้มีหลักฐานการติดต่อจากคนสู่คน พบผู้ป่วยยืนยันในผู้ที่ไม่มีประวัติการ เดินทางไปประเทศจีน แตม่ ปี ระวัตใิ กล้ชดิ กบั ผู้ทเ่ี ดนิ ทางมาจากพน้ื ที่ระบาดของโรคสาหรับประเทศไทยพบผู้ป่วยยืนยัน 33 ราย ยังไม่พบผู้เสียชีวิต (ข้อมูลจาก : รายงานสถานการณ์โรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ศูนย์ปฏิบัติการภาวะ ฉุกเฉิน กรณีโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 14กุมภาพันธ์ 2563) ท้ังนี้ การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) จาเป็นต้องมีการดาเนินการให้ความรู้ คาแนะนา การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับนักศึกษาให้ตระหนักและปฏิบัติตนให้ห่างไกลจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID- 19) กศน.ตาบลนาป่า สังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองชลบุรี ได้ เล็งเห็นความสาคัญของการป้องกัน จึงได้ดาเนินการโครงการรู้เท่าทันป้องกันตนเองจากเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรบั นกั ศึกษา กศน.ตาบลนาป่า ขน้ึ วัตถุประสงค์ 1. เพ่อื ให้นักศกึ ษามีความรู้ ความเขา้ ใจ ตระหนักในการดแู ลสุขภาพ สามารถป้องกันโรคระบาดจากเชื้อ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) โดยเริ่มจากตนเอง 2. เพ่อื ให้นักศกึ ษามีความรู้และเกดิ ทักษะในการจดั ทาหน้ากากอนามัยไว้ใช้เองในครัวเรือน และสามารถ ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กบั บุคคลอ่ืนได้ เปำ้ หมำย เชงิ ปริมำณ นักศกึ ษา กศน.ตาบลนาปา่ จานวน 25 คน เชงิ คณุ ภำพ

ผูเ้ ข้าร่วมโครงการ ตระหนกั ในการดูแลสขุ ภาพ สามารถป้องกนั โรคระบาดจาก เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และเกิดทักษะในการจัดทาหน้ากากอนามัยไว้ใชเ้ องในครวั เรือน และ สามารถถ่ายทอดองคค์ วามรใู้ หก้ ับบคุ คลอ่นื ได้ ผลลพั ธ์ ผู้ท่เี ข้ารว่ มโครงการฯ รอ้ ยละ 80 เกิดความตระหนักในการดแู ลสุขภาพ สามารถป้องกันโรค ระบาดจากเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และเกดิ ทักษะในการจัดทาหน้ากากอนามัยไวใ้ ช้เองในครวั เรอื น และสามารถถ่ายทอดองค์ความรูใ้ ห้กบั บุคคลอน่ื ได้ ดชั นีตวั ชี้วดั ผลสำเร็จของโครงกำร ตัวช้ีวัดผลผลิต - มีผเู้ ข้าร่วมโครงการฯ ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 80 ของเป้าหมาย - ผู้เข้าร่วมโครงการฯมีความพึงพอใจในระดบั ดีขน้ึ ไปไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80 ตัวชี้วดั ผลลพั ธ์ - ผ้เู ขา้ รว่ มโครงการฯไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 20 สามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวันได้ - ผเู้ ข้ารว่ มโครงการฯสามารถไปขยายผลได้ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 5 ของเปา้ หมาย

บทท่ี 2 เอกสำรกำรศกึ ษำและรำยงำนทีเ่ กย่ี วข้อง ในการจัดทารายงานโครงการ ครงั้ นี้ ผู้จดั ทาโครงการร้เู ทา่ ทันปอ้ งกันตนเองจากเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรับนกั ศกึ ษา กศน.ตาบลนาป่า ได้ทาการค้นควา้ เนื้อหาเอกสารการศึกษาและ รายงานที่เกย่ี วข้อง ดังน้ี 1. ยุทธศาสตรแ์ ละจุดเนน้ การดาเนินงาน สานักงาน กศน.ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563 2. แนวทาง/กลยุทธก์ ารดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ของ กศน.อาเภอ เมอื งชลบุรี 3. การขับเคลื่อนสู่ กศน. WOW 4. เอกสารงานที่เกี่ยวข้อง - ไวรสั โคโรนา หรือไควิด-19 คอื อะไร ? - อันตรำยของเชื้อไวรัสโคโรนำสำยพันธุใ์ หม่ หรอื ไวรัสโควดิ -19 - วธิ ปี อ้ งกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพนั ธ์ุใหม่ หรอื ไวรสั โควดิ -19 - รวม 6 DIY ทำหน้ำกำกอนำมัยใช้เอง 1.นโยบำยและจุดเน้นกำรดำเนินงำน สำนักงำน กศน.ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 วิสยั ทศั น์ คนไทยได้รบั โอกาสการศกึ ษาและการเรยี นรูต้ ลอดชวี ิตอย่างมีคณุ ภาพ สามารถดารงชีวติ ท่ีเหมาะสม กบั ชว่ งวยั สอดคล้องกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และมที ักษะทจี่ าเปน็ ในโลกศตวรรษท่ี 21 พนั ธกจิ 1. จดั และสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยทม่ี ีคุณภาพ เพ่อื ยกระดับ การศกึ ษา พัฒนาทักษะการเรียนร้ขู องประชาชนทกุ กลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมทุกชว่ งวัย พร้อมรบั การเปล่ยี นแปลงบริบททางสังคม และสร้างสังคมแหง่ การเรียนรู้ตลอดชวี ิต 2 สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และประสานภาคีเครอื ขา่ ย ในการมีส่วนรว่ มจดั การศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั และการเรยี นรู้ตลอดชีวติ รวมทง้ั การดาเนนิ กจิ กรรมของศนู ย์การเรยี นและแหลง่ การ เรยี นรอู้ ่ืน ในรปู แบบต่าง ๆ 3. สง่ เสรมิ และพฒั นาการนาเทคโนโลยที างการศึกษา และเทคโนโลยดี ิจิทลั มาใชใ้ หเ้ กิด

ประสทิ ธภิ าพในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยใหก้ บั ประชาชนอย่างทว่ั ถึง 4.พัฒนาหลกั สตู รรปู แบบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ส่ือและนวัตกรรม การวดั และประเมนิ ผลในทกุ รปู แบบใหส้ อดคลอ้ งกบั บริบทในปจั จบุ นั 5. พฒั นาบคุ ลากรและระบบการบรหิ ารจดั การให้มปี ระสทิ ธภิ าพ เพือ่ มุ่งจัดการศกึ ษาและ การเรยี นรทู้ ่ีมีคุณภาพ โดยยึดหลกั ธรรมาภบิ าล เปำ้ ประสงค์ 1. ประชาชนผดู้ อ้ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศกึ ษา รวมทั้งประชาชนทั่วไปไดร้ ับโอกาส ทางการศึกษาในรปู แบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษาตาม อัธยาศยั ที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและทว่ั ถึง เปน็ ไปตามสภาพ ปญั หา และความต้องการของแต่ละ กล่มุ เป้าหมาย 2. ประชาชนได้รับการยกระดับการศกึ ษา สร้างเสรมิ และปลูกฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ ความเปน็ พลเมือง อนั นาไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสรมิ สร้างความเข้มแขง็ ให้ชุมชน เพอ่ื พฒั นาไปสคู่ วาม ม่ันคงและยงั่ ยืนทางดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม ประวัติศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม 3.ประชาชนได้รบั โอกาสในการเรยี นรู้และมีเจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยที เ่ี หมาะสม สามารถ คดิ วเิ คราะห์ และประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวัน รวมทง้ั แกป้ ัญหาและพัฒนาคุณภาพชวี ติ ได้อย่างสรา้ งสรรค์ 4.ประชาชนได้รับการสรา้ งและส่งเสริมให้มีนิสัยรักการอ่านเพ่ือการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง 5.ชุมชนและภาคเี ครอื ข่ายทุกภาคสว่ น รว่ มจดั สง่ เสริม และสนับสนุนการดาเนนิ งานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั รวมทงั้ การขบั เคล่ือนกิจกรรมการเรยี นรู้ของชุมชน 6. หนว่ ยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยที างการศกึ ษา เทคโนโลยดี ิจทิ ัล มาใช้ ในการยกระดบั คุณภาพในการจัดการเรยี นรแู้ ละเพม่ิ โอกาสการเรียนรใู้ ห้กบั ประชาชน 7. หน่วยงานและสถานศึกษาพฒั นาสื่อและการจัดกระบวนการเรยี นรู้ เพ่ือแกป้ ัญหาและพฒั นาคณุ ภาพ ชีวิต ทตี่ อบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบทด้านเศรษฐกิจ สงั คม การเมือง วัฒนธรรม ประวตั ศิ าสตร์และ สง่ิ แวดลอ้ ม รวมทัง้ ตามความตอ้ งการของประชาชนและชมุ ชนในรปู แบบทหี่ ลากหลาย 8. หนว่ ยงานและสถานศึกษามรี ะบบการบรหิ ารจดั การท่ีเป็นไปตามหลักธรรมาภบิ าล 9.บุคลากรของหนว่ ยงานและสถานศกึ ษาได้รบั การพฒั นาเพ่ือเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอย่างมีประสิทธิภาพ ตวั ชว้ี ัด

ตวั ชีว้ ัดเชิงปริมำณ 1. จานวนผ้เู รียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาชัน้ พืน้ ฐานทีไ่ ด้รับการสนับสนุนค่าใชจ้ า่ ยตามสทิ ธิ ทก่ี าหนดไว้ 2. จานวนของคนไทยกลุ่มเป้าหมายตา่ ง ๆ ทเ่ี ข้ารว่ มกจิ กรรมการเรยี นร/ู้ เขา้ รับบรกิ ารกจิ กรรมการศกึ ษา ตอ่ เนอ่ื ง และการศึกษาตามอัธยาศยั ที่สอดคล้องกับสภาพ ปัญหา และความต้องการ 3. ร้อยละของกาลงั แรงงานท่ีสาเร็จการศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ขน้ึ ไป 4. จานวนภาคีเครือขา่ ยที่เข้ามามีสว่ นรว่ มในการจดั /พฒั นา/สง่ เสรมิ การศึกษา (ภาคเี ครือขา่ ย : สถาน ประกอบการ องค์กร หน่วยงานทมี่ าร่วมจดั /พัฒนา/ส่งเสริมการศึกษา) 5. จานวนประชาชน เดก็ และเยาวชนในพื้นท่สี งู และชาวไทยมอแกน ในพืน้ ที่ 5 จังหวดั 11 อาเภอไดร้ ับบริการการศึกษาตลอดชีวิตจากศนู ยก์ ารเรียนชุมชนสังกัดสานักงาน กศน. 6. จานวนผรู้ บั บริการในพ้นื ที่เป้าหมายไดร้ บั การสง่ เสริมด้านการร้หู นงั สือและการพัฒนาทักษะชวี ติ 7. จานวนนกั เรียนนักศึกษาที่ได้รบั บริการตวิ เข้มเตม็ ความรู้ 8. จานวนประชาชนทีไ่ ดร้ บั การฝึกอาชีพระยะสน้ั สามารถสร้างอาชพี เพือ่ สร้างรายได้ 9. จานวน ครู กศน. ตาบล จากพน้ื ท่ี กศน.ภาค ได้รบั การพฒั นาศักยภาพดา้ นการจดั การเรยี นการสอน ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร 10. จานวนประชาชนทีไ่ ดร้ ับการฝกึ อบรมภาษาต่างประเทศเพื่อการส่ือสารดา้ นอาชพี 11. จานวนผู้สงู อายภุ าวะพ่ึงพิงในระบบ Long Term Care มีผู้ดแู ลท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน 12. จานวนประชาชนทีผ่ ่านการอบรมจากศนู ย์ดจิ ิทลั ชุมชน 13. จานวนศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชน กศน. บนพ้ืนท่สี ูง ในพื้นท่ี 5 จงั หวดั ท่สี ่งเสริมการพฒั นาทกั ษะการฟงั พูดภาษาไทยเพ่อื การส่ือสาร ร่วมกันในสถานศึกษาสังกัด สพฐ. ตชด. และกศน. 14. จานวนบคุ ลากร กศน. ตาบลท่สี ามารถจัดทาคลังความรู้ได้ 15. จานวนบทความเพื่อการเรียนรูต้ ลอดชวี ิตในระดบั ตาบลในหวั ข้อตา่ ง ๆ 16. จานวนหลกั สูตรและสื่อออนไลนท์ ี่ใหบ้ ริการกับประชาชน ทง้ั การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน การศกึ ษาต่อเน่ือง และการศกึ ษาตามอัธยาศัย ตวั ช้ีวดั เชิงคณุ ภำพ 1. รอ้ ยละของคะแนนเฉลีย่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET)ทกุ รายวชิ าทุกระดบั 2. รอ้ ยละของผูเ้ รียนท่ีได้รบั การสนบั สนนุ การจัดการศึกษาขั้นพืน้ ฐานเทียบกบั คา่ เปา้ หมาย

3. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายท่ลี งทะเบียนเรียนในทุกหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษา ตอ่ เน่อื งเทยี บกับเป้าหมาย 4. รอ้ ยละของผ้ผู ่านการฝึกอบรม/พัฒนาทักษะอาชีพระยะสัน้ สามารถนาความรูไ้ ปใช้ ในการประกอบอาชีพหรือพฒั นางานได้ 5. ร้อยละของผเู้ รยี นในเขตพื้นที่จงั หวดั ชายแดนภาคใตท้ ่ีไดร้ บั การพัฒนาศกั ยภาพ หรอื ทักษะด้านอาชพี สามารถมงี านทาหรอื นาไปประกอบอาชีพได้ 6. ร้อยละของผู้จบหลักสตู ร/กจิ กรรมทส่ี ามารถนาความรู้ความเขา้ ใจไปใชไ้ ด้ตามจุดมุ่งหมาย ของหลักสูตรกจิ กรรม การศึกษาตอ่ เนื่อง 7. ร้อยละของประชาชนท่ีไดร้ ับบรกิ ารมีความพงึ พอใจต่อการบรกิ าร/เขา้ รว่ มกิจกรรมการเรียนรู้ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 8. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเปา้ หมายท่ไี ดร้ ับบริการ/ข้าร่วมกิจกรรมทมี่ ีความร้คู วามเขา้ ใจ/เจตคติ ทกั ษะ ตามจุดม่งุ หมายของกิจกรรมท่ีกาหนด ของการศึกษาตามอัธยาศัย 9. รอ้ ยละของนกั เรยี น/นักศึกษาท่ีมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนในวชิ าทไี่ ด้รบั บริการติวเขม้ เต็มความรเู้ พิ่ม สงู ขน้ึ 10. รอ้ ยละของผูส้ ูงอายทุ ี่เปน็ กลุ่มเป้าหมาย มีโอกาสมาเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาตลอดชีวิต นโยบำยเร่งด่วนเพ่ือร่วมขบั เคลอ่ื นยุทธศำสตรก์ ำรพัฒนำประเทศ 1.ยุทธศำสตร์ดำ้ นควำมมั่นคง 1.1 พฒั นาและเสรมิ สรา้ งความจงรกั ภักดตี อ่ สถาบนั หลักของชาติ โดยปลกู ฝงั และ สร้างความตระหนักรู้ถึงความสาคัญของสถาบันหลักของชาติ รณรงค์เสริมสร้างความรักและความภาคภูมิใจใน ความเป็นคนไทยและชาติไทย น้อมนาและเผยแพร่ศาสตร์พระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงรวมถึง แนวทางพระราชดาริต่าง ๆ 1.2 เสริมสรา้ งความรู้ความเขา้ ใจที่ถกู ต้อง และการมสี ว่ นร่วมอย่างถูกตอ้ งกับการ ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ ในบริบทของไทย มีความเป็น พลเมืองดี ยอมรบั และเคารพความหลากหลายทางความคดิ และอดุ มการณ์ 1.3 ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การจัดการศึกษาเพ่ือป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาภยั คุกคาม ในรูปแบบใหม่ ทั้งยาเสพติด การคา้ มนษุ ย์ ภัยจากไซเบอร์ ภยั พบิ ตั จิ ากธรรมชาติ โรคอุบัตใิ หม่ ฯลฯ 1.4 ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาและสร้างเสริมโอกาสในการเขา้ ถึงบรกิ ารการศึกษา การพัฒนาทักษะ การสร้างอาชีพ และการใช้ชีวิตในสังคมพหุวัฒนธรรม ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัด ชายแดนภาคใต้ และพนื้ ทชี่ ายแดนอ่ืน ๆ

1.5 สรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจในขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วฒั นธรรมของประเทศ เพ่ือนบ้านยอมรับและเคารพในประเพณี วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธ์ุ และชาวต่างชาติท่ีมีความหลากหลาย ใน ลกั ษณะพหสุ ังคมท่อี ยูร่ ่วมกนั 2 ยทุ ธศำสตร์ด้ำนกำรสรำ้ งควำมสำมำรถในกำรแข่งขนั 2.1 เร่งปรับหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพ กศน. เพ่ือยกระดับทักษะด้านอาชีพของประชาชนให้เป็น อาชีพท่ีรองรับอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (First S - curve และ New S-curve) โดยบูรณาการความ ร่วมมือในการพัฒนาและเสริมทักษะใหม่ด้านอาชีพ (Upskill & Reskill) รวมถึงมุ่งเน้นสร้างโอกาสในการสร้าง งาน สร้างรายได้ และตอบสนองตอ่ ความต้องการของตลาดแรงานทงั้ ภาคอุตสาหกรรมและการบริการ โดยเฉพาะ ในพ้ืนท่ีเขตระเบียงเศรษฐกิจ และเขตพัฒนาพิเศษตามภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศสาหรับพ้ืนท่ีปกติให้พัฒนา อาชีพทีเ่ น้นการตอ่ ยอดศกั ยภาพและตามบริบทของพนื้ ที่ 2.2 จดั การศึกษาเพ่อื พฒั นาพนื้ ทภี่ าคตะวันออก ยกระดบั การศึกษาให้กบั ประชาชนใหจ้ บ การศึกษาอย่างนอ้ ยการศกึ ษาภาคบงั คบั สามารถนาคณุ วุฒทิ ไี่ ดร้ ับไปต่อยอดในการประกอบอาชีพ รวมท้ังพัฒนา ทักษะในการประกอบอาชีพตามความต้องการของประชาชน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ ตอบสนองต่อบริบทของ สงั คมและชมุ ชน รวมท้งั รองรับการพัฒนาเขตพน้ื ทรี่ ะเบียบเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) 2.3 พฒั นาและสง่ เสรมิ ประชาชนเพอื่ ตอ่ ยอดการผลิตและจาหน่ายสินค้าและผลติ ภัณฑ์ ออนไลน์ 1) เร่งจัดต้ังศูนย์ใหค้ าปรึกษาและพฒั นาผลติ ภัณฑ์ Brand กศน.เพ่ือยกระดบั คุณภาพ ของสินค้าและผลิตภัณฑ์ การบรหิ ารจดั การทค่ี รบวงจร (การผลิต การตลาด การส่งออก และสร้างช่องทาง จาหนา่ ย) รวมท้งั ส่งเสรมิ การใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยีดิจทิ ลั ในการเผยแพรแ่ ละจาหนา่ ยผลิตภณั ฑ์ 2) พัฒนาและคดั เลือกสุดยอดสินค้าและลติ ภัณฑ์ กศน. ในแตล่ ะจงั หวัด พร้อมท้งั ประสาน ความร่วมมือกบั สถานีบริการนา้ มนั ในการเปน็ ซอ่ งทางการจาหนา่ ยสุดยอดสินค้าและผลิตภัณฑ์ กศน. ใหก้ วา้ งขวางย่ิงข้ึน 3 ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำและเสริมสร้ำงศกั ยภำพทรัพยำกรมนุษย์ 3.1 พัฒนาครแู ละบุคลากรท่เี ก่ียวข้องกบั การจัดกิจกรรมและการเรียนรู้ เป็นผู้เช่ือมโยงความรู้กับผู้เรียน และผู้รับบริการ มีความเป็น \"ครูมืออาชีพ\" มีจิตบริการ มีความรอบรู้และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมและ เป็น \"ผอู้ านวยการการเรยี นรู้\" ทีส่ ามารถบรหิ ารจัดการความรู้ กิจกรรม และการเรียนรู้ท่ีดี 1) เพมิ่ อัตราข้าราชการครูให้กับ กศน. อาเภอทุกแห่ง โดยเร่งดาเนินการเรื่องการหาอัตราตาแหน่ง การ สรรหา บรรจุ และแตง่ ต้ัง ข้าราชการครู

2) พฒั นาข้าราชการครใู นรปู แบบครบวงจร ตามหลักสตู รท่ีเช่ือมโยงกบั วิทยฐานะ 3) พัฒนาครู กศน.ตาบลใหส้ ามารถปฏบิ ตั ิงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นเรื่องการพัฒนาทักษะการ จัดการเรียนการสอนออนไลน์ ทกั ษะภาษาต่างประเทศ ทักษะการจัดกระบวนการเรยี นรู้ 4) พัฒนาศึกษานเิ ทศก์ ให้สามารถปฏบิ ตั ิการนเิ ทศได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ 5) พัฒนาบุคลากร กศน.ทุกระดับทุกประเภทให้มีทักษะความรู้เรื่องการใช้ประโยชน์จากดิจิทัลและ ภาษาตา่ งประเทศที่จาเปน็ 3.2 พัฒนาแหล่งเรยี นรู้ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมทีเ่ อ้ือต่อการเรียนรู้ มีความพรอ้ ม ในการให้บริการกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ เป็นแหล่งสารสนเทศสาธารณะที่ง่ายต่อการเข้าถึง มี บรรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ เป็นคาเช่าพ้ืนที่การเรียนรู้สาหรับคนทุกช่วงวัย มีส่ิงอานวยความสะดวก มี บรรยากาศสวยงามมชี วี ิต ที่ดงึ ดดู ความสนใจ และมีความปลอดภยั สาหรบั ผใู้ ชบ้ รกิ าร 1) เร่งยกระดับ กศน.ตาบลนาร่อง 928 แห่ง (อาเภอละ 1 แห่ง) ให้เป็น กศน.ตาบล 5 ดี พรเี มี่ยม ทป่ี ระกอบดว้ ย ครูดี สถานท่ดี ี (ตามบริบทของพื้นท่ี) กิจกรรมดี เครือข่ายดี และมีนวัตกรรมการเรียนรู้ ทดี่ ีมปี ระโยชน์ 2) จัดใหม้ ศี ูนย์การเรยี นรตู้ ้นแบบ กศน. เพ่ือยกระดบั การเรียนรู้ ใน 6 ภูมิภาค เป็นพื้นท่ีการเรียนรู้(Co - Learning Space) ที่ทันสมัยสาหรับทุกคน มีความพร้อมในการให้บริการต่าง ๆ อาทิ พ้ืนท่ีสาหรับการทางาน/ การเรียนรู้ พ้ืนที่สาหรับกิจกรรมต่าง ๆ มีห้องประชุมขนาดเล็ก รวมท้ังทางานร่วมกับห้องสมุดประชาชนในการ ให้บริการในรูปแบบห้องสมุดดิจิทัล บริการอินเทอร์เน็ต ส่ือมัลติมีเดีย เพื่อรองรับการเรียนรู้แบบ Active Learning 3) พัฒนาห้องสมดุ ประชาชน \"เฉลมิ ราชกุมารี\" ใหเ้ ป็น Digital Library โดยให้มบี รกิ ารหนงั สือในรปู แบบ e - Book บริการคอมพวิ เตอร์ และอนิ เทอร์เน็ตความเรว็ สงู รวมทงั้ Free Wifi เพื่อการสบื คน้ ข้อมลู 3.3 สง่ เสรมิ การจัดการเรยี นรู้ทที่ ันสมยั และมปี ระสิทธิภาพ เออื้ ต่อการเรียนรสู้ าหรบั ทุกคน สามารถ เรยี นไดท้ ุกท่ีทุกเวลา มกี จิ กรรมทหี่ ลากลาย นา่ สนใจ สนองตอบความต้องการของชมุ ชน เพ่อื พฒั นาศักยภาพการ เรียนรู้ของประชาชน รวมทั้งใช้ประโยชน์จากประชาชนในชุมชนในการร่วมจดั กิจกรรมการเรยี นรู้เพ่อื เชือ่ มโยง ความสัมพันธ์ของคนในชมุ ชนไปสู้การจัดการความรขู้ องชุมชนอยา่ งยง่ั ยืน 1) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ ความรับผิดชอบต่อ ส่วนรวม และการมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ อาทิ กิจกรรมลูกเสือ กศน. กิจกรรมจิตอาสา ตลอดจน สนับสนุนให้มกี ารจัดกจิ กรรมเพอื่ ปลกู ฝงั คุณธรรม จริยธรรมใหก้ ับบคุ ลากรในองค์กร

2) จัดให้มีหลักสูตรลูกเสือมัคคุเทศก์ โดยให้สานักงาน กศน.จังหวัดทุกแห่ปกทม. จัดตั้งกองลูกเสือ ที่ ลูกเสือมีความพร้อมด้านทักษะภาษาต่างประเทศ เป็นลูกเสือมัคคุเทศก์จังหวัดละ 1 กอง เพ่ือส่งเสริมลูกเสือจิต อาสาพัฒนาการท่องเท่ียวในแต่ละจงั หวัด 3.4 เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ประสาน ส่งเสริมความร่วมมือภาคีเครือข่าย ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อ สร้างความเข้าใจ และให้เกิดความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้ให้กับ ประชาชนอย่างมีคณุ ภาพ 1) เรง่ จัดทาทาเนยี บภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ในแตล่ ะตาบล เพื่อใชป้ ระโยชน์จากภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น ในการสร้างการเรียนรู้จากองคค์ วามรูใ้ นตวั บคุ คลให้เกิดการถ่ายทอดภูมปิ ญั ญา สร้างคุณค่าทางวฒั นธรรมอย่าง ยง่ั ยืน 2) สง่ เสริมภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ สู่การจัดการเรียนรู้ชมุ ชน 3) ประสานความรว่ มมอื กับภาคเี ครือขา่ ยเพอ่ื การขยายและพฒั นาการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัยให้เข้าถงึ กลมุ่ เป้าหมายทุกกลมุ่ อยา่ งกว้างขวางและมคี ุณภาพ อาทิ กลมุ่ ผ้สู ูงอายุ กลมุ่ อส ม. 3.5 พฒั นานวตั กรรมทางการศกึ ษาเพื่อประโยชนต์ อ่ การจดั การศึกษาและกลมุ่ เป้าหมาย 1) พฒั นาการจดั การศึกษาออนไลน์ กศน. ทั้งในรูปแบบของการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน การพัฒนาทกั ษะชีวติ และทักษะอาชีพ การศึกษาตามอธั ยาศยั รวมท้ังการพฒั นาช่องทางการค้าออนไลน์ 2) สง่ เสริมการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน การบรหิ ารจัดการ และการจัดการเรียนรู้ 3) สง่ เสรมิ ใหม้ ีการใช้การวจิ ัยอยา่ งงา่ ยเพ่ือสร้างนวตั กรรมใหม่ 3.6 พัฒนาศกั ยภาพคนด้านทักษะและความเขา้ ใจในการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั (Digital Literacy) 1) พัฒนาความรู้และทกั ษะเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ของครแู ละบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือพัฒนา รปู แบบการจัดการเรียนการสอน 2) สง่ เสริมการจดั การเรยี นรู้ด้านเทคโนโลยดี ิจิทลั เพื่อใหป้ ระชาชนมีทักษะความเขา้ ใจและ ใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ลั ท่สี ามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจาวัน รวมท้งั สรา้ งรายได้ให้กับตนเองได้ 3.7 พัฒนาทกั ษะภาษาต่างประเทศเพ่ือการสื่อสารของประชาชนในรูปแบบตา่ ง ๆ อย่างเปน็ รูปธรรม โดยเนน้ ทกั ษะภาษาเพื่ออาชีพ ท้ังในภาคธรุ กจิ การบรกิ าร และการท่องเทย่ี ว รวมท้ังพฒั นาส่ือ การเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมการใชภ้ าษาเพ่ือการสือ่ สารและการพัฒนาอาชีพ 3.8 เตรียมความพร้อมการเข้าสู่สังคมผูส้ ูงอายุทีเ่ หมาะสมและมีคุณภาพ 1) สง่ เสริมการจัดกิจกรรมใหก้ ับประชาชนเพ่ือสรา้ งความตระหนักถึงการเตรยี มพร้อมเข้าสู่

สงั คมผู้สงู อายุ (Aging Society) มีความเข้าใจในพฒั นาการของช่วงวยั รวมทัง้ เรยี นรแู้ ละมสี ่วนร่วมในการดูแล รบั ผิดชอบผสู้ งู อายใุ นครอบครวั และชุมชน 2) พัฒนาการจดั บรกิ ารการศึกษาและการเรียนรู้สาหรบั ประชาชนในการเตรยี มความพรอ้ ม เข้าส่วู ยั สงู อายุที่เหมาะสมและมีคุณภาพ 3) จดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวติ สาหรบั ผูส้ ูงอายภุ ายใต้แนวคดิ \"Active Aging\" การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาคุณภาพชีวติ และพัฒนาทักษะชวี ติ ให้สามารถดูแลตนเองท้งั สุขภาพกายและสขุ ภาพจิตและ รจู้ ักใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี 4) สร้างความตระหนักถงึ คุณค่าและศักด์ิศรขี องผสู้ ูงอายุ เปิดโอกาสให้มีการเผยแพร่ภูมิปญั ญาของ ผ้สู ูงอายุ และให้มสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมด้านต่าง ๆ ในชมุ ชน เชน่ ดา้ นอาชพี กีฬา ศาสนาและวัฒนธรรม 5) จัดการศึกษาอาชพี เพ่ือรองรับสงั คมผู้สงู อายุ โดยบรู ณาการความร่วมมอื กบั หน่วยงาน ทเ่ี ก่ียวข้อง ในทุกระดับ 3.9 การส่งเสรมิ วิทยาศาสตรเ์ พือ่ การศึกษา 1) จดั กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์เชิงรุก และเนน้ ให้ความรู้วิทยาศาสตร์อยา่ งงา่ ยกบั ประชาชนในชุมชนทั้ง วิทยาศาสตรใ์ นวถิ ชี ีวิต และวิทยาศาสตรใ์ นชีวิตประจาวัน 2) พฒั นาสอื่ นิทรรศการเละรูปแบบการจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตรใ์ หม้ ีความทันสมยั 3.10 สง่ เสรมิ การรูภ้ าษาไทยใหก้ บั ประชาชนในรปู แบบต่าง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพน้ื ท่ีสูงให้ สามารถฟัง พดู อ่าน และเขยี นภาษาไทย เพอ่ื ประโยชนใ์ นการใชช้ ีวติ ประจาวนั ได้ 4 ยุทธศำสตร์ต้นกำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสังคม 4.1 จัดต้ังศูนย์การเรียนรู้สาหรบั ทุกชว่ งวยั ท่ีเป็นศูนยก์ ารเรยี นรู้ตลอดชวี ิตทสี่ ามารถให้บรกิ ารประชาชน ได้ทกุ คน ทุกช่วงวยั ท่ีมีกิจกรรมท่หี ลากหลาย ตอบสนองความตอ้ งการในการเรียนรใู้ นแต่ละวัยและเป็น ศูนยบ์ ริการความรู้ ศูนยก์ ารจัดกิจกรรมที่ครอบคลมุ ทุกช่วงวยั เพือ่ ให้มีพฒั นาการเรียนร้ทู เ่ี หมาะสมและมี ความสขุ กบั การเรียนรู้ตามความสนใจ 1) เร่งประสานกบั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน เพ่ือจัดทาฐานข้อมูลโรงเรียนท่ีถูกยุบ รวม หรอื คาดว่านา่ จะถกู ยุบรวม 2) ใหส้ านกั งาน กศน.จงั หวัดทุกแหง่ ท่อี ยูใ่ นจังหวดั ท่ีมโี รงเรียนที่ถกู ยบุ รวม ประสานขอใช้ พ้ืนทเี่ พื่อจัดต้ังศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกชว่ งวัย กศน. 4.2 ส่งเสริมและสนับสนนุ การจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้สาหรบั กลมุ่ เปา้ หมายผู้พิการ 1) จัดการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน การศึกษาเพื่อพฒั นาทกั ษะชวี ิตและทักษะอาชีพ และการศึกษา ตามอธั ยาศยั โดยเนน้ รปู แบบการศึกษาออนไลน์

2) ให้สานกั งาน กศน.จงั หวัดทกุ แหง่ /กทม. ทาความรว่ มมือกบั ศูนย์การศึกษาพิเศษประจา จังหวัด ในการใช้สถานท่ี วัสดุอุปกรณ์ และครุภณั ฑ์ด้านการศกึ ษา เพือ่ สนับสนุนการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ สาหรบั กลุม่ เป้าหมายผู้พกิ าร 4.3 ยกระดบั การศึกษาให้กับกลมุ่ เป้าหมายทหารกองประจาการ รวมท้ังกลุ่มเปา้ หมาย พเิ ศษอื่น ๆ อาทิ ผ้ตู ้องขัง คนพกิ าร เด็กออกกลางคนั ประชากรวยั เรียนท่ีอยูน่ อกระบบการศกึ ษา ใหจ้ บการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน สามารถนาความรทู้ ่ีไดร้ ับไปพฒั นาตนเองได้อย่างต่อเนอื่ ง 4.4 พัฒนาหลักสูตรการจดั การศึกษาอาชีพระยะส้ัน ให้มีความหลากหลาย ทนั สมยั เหมาะสมกับบรบิ ท ของพน้ื ท่ี และตอบสนองความต้องการของประชาชนผู้รับบริการ 5. ยทุ ธศำสตรด์ ้ำนกำรสร้ำงกำรเติบโตบนคณุ ภำพชวี ิตทเี่ ป็นมติ รตอ่ สง่ิ แวดล้อม 5.1 สง่ เสริมใหม้ กี ารให้ความรู้กับประชาชนในการรับมอื และปรับตวั เพ่ือลดความเสียหาย จากภยั ธรรมชาตแิ ละผลกระทบทีเ่ ก่ยี วข้องกบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ 5.2 สร้างความตระหนักถงึ ความสาคัญของการสร้างสังคมสีเขยี ว ส่งเสริมความรู้ใหก้ บั ประชาชนเกี่ยวกบั การคดั แยกตง้ั แตต่ น้ ทาง การกาจดั ขยะ และการนากลับมาใชช้ ้า เพอื่ ลดปรมิ าณและต้นทุนในการจัดการขยะของ เมอื ง และสามารถนาขยะกลับมาใชป้ ระโยชนไ์ ด้โดยงา่ ย รวมทั้งการจดั การมลพิษในชุมชน 5.3 สง่ เสริมใหห้ นว่ ยงานและสถานศึกษาใชพ้ ลงั งานที่เปน็ มิตรกบั สิ่งแวดล้อม รวมท้ังลดการใชท้ รัพยากร ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดล้อม เชน่ รณรงคเ์ ร่อื งการลดการใช้ถงุ พลาสติก การประหยดั ไฟฟ้า เปน็ ตน้ 6. ยุทธศำสตร์ดำ้ นกำรปรบั สมดลุ และพัฒนำระบบหำรบริหำรจัดกำรภำครัฐ 6.1 พฒั นาและปรบั ระบบวธิ ีการปฏิบตั ิราชการใหท้ นั สมัย มคี วามโปรง่ ใส ปลอดการทุจรติ และประพฤติ มิชอบ บริหารจดั การบนข้อมูลและหลักฐานเชงิ ประจักษ์ มุ่งผลสัมฤทธ์มิ ีความโปร่งใส 6.2 นานวตั กรรมและเทคโนโลยรี ะบบการทางานท่ีเป็นดจิ ิทลั มาใช้ในการบรหิ ารและพัฒนางาน สามารถเชอื่ มโยงกบั ระบบฐานข้อมลู กลางของกระทรวงศึกษาธกิ าร พร้อมท้ังพัฒนาโปรแกรมออนไลน์ท่ีสามารถ เช่ือมโยงขอ้ มูลต่าง ๆ ที่ทาให้การบรหิ ารจดั การเปน็ ไปอยา่ งต่อเนื่องกนั ต้ังแตต่ น้ จนจบกระบวนการและให้ ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถเขา้ ถึงบรกิ ารไดอ้ ย่างทันที ทกุ ทแ่ี ละทุกเวลา 6.3 ส่งเสริมการพฒั นาบุคลากรทุกระดบั อย่างต่อเนอ่ื ง ให้มีความร้แู ละทกั ษะตามมาตรฐาน ตาแหน่ง ให้ตรงกับสายงาน ความชานาญ และความต้องการของบุคลากร

2. แนวทำง/กลยุทธก์ ำรดำเนนิ งำนกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศยั ของ กศน.อำเภอเมอื งชลบรุ ี ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอเมอื งชลบรุ ี ได้กาหนดทิศทางการดาเนินงาน ตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี โดยมีรายละเอียด ดงั น้ี ทศิ ทำงกำรดำเนนิ งำนของสถำนศึกษำ ✍ ปรชั ญำ “คดิ เป็น ทาเปน็ เน้น ICT” ✍ วิสยั ทัศน์ “จัดการศึกษาตลอดชีวติ ผูกมติ รกับเครือขา่ ย กระจายความรูส้ ชู่ มุ ชน ทุกทท่ี ุกเวลาด้วย ICT มีอาชพี และแข่งขันในประชาคมอาเซียนอยา่ งยั่งยนื ” ✍ อตั ลักษณ์ “กา้ วไปในยุคดจิ ทิ ลั ” ✍เอกลักษณ์ “องคก์ รออนไลน์” ✍ พนั ธกจิ 1. จดั และสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี น มีความร้กู ารศึกษาข้ันพน้ื ฐานอย่างมคี ุณภาพ 2. จดั การศกึ ษาอาชีพให้ผู้เรยี นมอี าชีพทาได้ ขายเปน็ และมที ักษะชวี ิตทเ่ี หมาะสมทกุ ช่วงวยั 3. จัดและส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชนนาเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพอ่ื พฒั นาตนเองและสรา้ งช่องทางการจาหนา่ ย สินค้า 4. จัดและสง่ เสริมการศกึ ษาตามอัธยาศัยทมี่ ุ่งใหผ้ ู้รบั บริการมีนิสัยรกั การอา่ น และพัฒนาแหล่งเรียนร้ใู น ชมุ ชน 5. จัดและส่งเสรมิ สนบั สนุน พัฒนาแหล่งเรยี นรู้ สอื่ และภมู ิปญั ญาท้องถิ่น 6. จดั และส่งเสริมการศึกษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือพฒั นาสังคมและชุมชนใหม้ ี ความเขม้ แข็งอย่างยงั่ ยนื 7. จดั และสง่ เสริมประชาชนให้เปน็ พลเมืองดีตามวิถีประชาธปิ ไตย 8. สง่ เสริม สนบั สนนุ ภาคเี ครือขา่ ย ใหม้ ีส่วนรว่ มในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย เพื่อให้เกิดการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ

9. พฒั นารูปแบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรใู้ หส้ อดคลอ้ งกับพนื้ ท่ีระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) และความต้องการของกลุม่ เปา้ หมาย 10. พฒั นาบุคลากรให้มีสมรรถนะในการปฏบิ ัตงิ านตามบทบาทหนา้ ท่ีอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและต่อเนื่อง โดยเนน้ การนาเทคโนโลยดี ิจทิ ัลมาใช้ในการบริหารจดั การ 11. สถานศึกษามีระบบการบริหารจดั การตามหลักธรรมมาภบิ าล 12. ปฏบิ ัติงานอน่ื ๆ ท่ีไดร้ ับมอบหมาย ✍เป้ำประสงค์ และตัวช้ีวัดควำมสำเรจ็ ตวั ชว้ี ดั ควำมสำเรจ็ รอ้ ยละของประชากรกลมุ่ ต่างๆ (กลุ่มประชากรวัยแรงงาน เป้ำประสงค์ ปกตทิ ่วั ไป กล่มุ ประชากรวยั แรงงานที่เป็นผยู้ ากไร้ ประชาชนไดร้ บั โอกาสทางการศึกษาในรูปแบบของ ผู้ด้อยโอกาส ผูพ้ กิ าร และกล่มุ ผ้สู งู อายุ) ที่ได้รับบรกิ าร การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ท่ีมี การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อย่างทวั่ ถึง คณุ ภาพอยา่ งทว่ั ถึงและเป็นธรรม ครอบคลมุ และเปน็ ธรรม ร้อยละของผเู้ รยี นทเ่ี ข้ารบั การศึกษาอาชีพเพ่ือการมงี านทาท่มี ี ผู้เรยี นทีเ่ ข้ารบั การฝึกอาชพี มสี มรรถนะในการ สมรรถนะในการประกอบอาชีพทเ่ี พม่ิ ขน้ึ ประกอบอาชีพ สามารถประกอบอาชีพท่สี รา้ งรายได้ ใหก้ ับตนเองและครอบครัวได้ จานวนของภาคีเครอื ข่ายในการดาเนินงานการศึกษานอก องคก์ รภาคสว่ นตา่ งๆรว่ มเป็นภาคเี ครอื ขา่ ยในการ ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั เพมิ่ มากขนึ้ ดาเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอยา่ งกว้างขวาง รอ้ ยละของของผู้เรียนทีม่ ีความพงึ พอใจตอ่ การใชเ้ ทคโนโลยี สถานศกึ ษานาเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั มาใช้ในการเพิม่ ดิจทิ ลั ของสถานศกึ ษา ประสิทธภิ าพการจดั การศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัยอย่างทวั่ ถงึ ร้อยละของบุคลากรของสถานศึกษาทีไ่ ด้รับการพฒั นาเพ่ือเพม่ิ บคุ ลากรของสถานศึกษาไดร้ ับการพัฒนาเพือ่ เพ่มิ สมรรถนะในการปฏบิ ัตงิ านการศึกษานอกระบบและ สมรรถนะในการปฏิบัตงิ านการศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั โดยเน้นการนาเทคโนโลยดี ิจิทัลมาใช้ใน การศึกษาตามอัธยาศยั อย่างท่วั ถงึ การบรหิ ารจัดการ รอ้ ยละของสถานศึกษามีการพัฒนาระบบการบริหารจัดการ สถานศกึ ษามกี ารพฒั นาระบบการบริหารจดั การเพอื่ เพอ่ื เพ่ิมประสิทธภิ าพโดยเนน้ การนาเทคโนโลยดี ิจิทลั ในการ เพ่ิมประสิทธิภาพโดยเนน้ การนาเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลใน ดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั การดาเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย ร้อยละของบคุ ลากรของสถานศึกษาปฏบิ ตั งิ านไดเ้ ตม็ บคุ ลากรของหนว่ ยงานปฏบิ ตั ิงานตามที่ได้รบั ประสทิ ธภิ าพ มอบหมายอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

✍กลยุทธ์ กลยุทธ์ท่ี 1 ส่งเสรมิ และพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ใหเ้ ป็นไปตาม นโยบายและมาตรฐานการศึกษาอย่างตอ่ เนื่อง กลยุทธ์ท่ี 2 สง่ เสริมใหผ้ ้รู บั บริการไดร้ บั การพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตโดยใช้กระบวนการคิดเปน็ ตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลยทุ ธท์ ่ี 3 สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้ภาคเี ครือขา่ ยมีส่วนร่วมในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัย เพ่อื ใหเ้ กิดการเรียนร้ตู ลอดชวี ิต กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาหลกั สตู รและรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ใหส้ อดคล้องกบั พืน้ ทเ่ี ขตพฒั นา พิเศษภาคตะวันออก (EEC) และความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย โดยการมสี ่วนรว่ มของภูมิปญั ญาท้องถิ่นและ แหลง่ เรยี นรทู้ ้ังภาครฐั และเอกชน กลยุทธ์ที่ 5 สง่ เสริมใหม้ ีการประชาสัมพันธ์ ในรปู แบบทีห่ ลากหลาย กลยุทธท์ ่ี 6 พฒั นาระบบการนเิ ทศภายในสถานศึกษาโดยใชก้ ระบวนการมสี ว่ นรว่ มจากทกุ ภาคสว่ น กลยทุ ธท์ ี่ 7 พฒั นาระบบคุณภาพการศึกษาโดยใช้วงจรการพฒั นาคณุ ภาพ (PDCA) เปน็ หลกั ในการจดั การศกึ ษา กลยุทธท์ ่ี 8 พัฒนาบุคลากรของสถานศึกษาให้มีความสามารถใช้เทคโนโลยดี ิจิทัลเพื่อการจดั กระบวนการเรยี นรู้ การบรหิ ารจัดการ และส่งเสรมิ การทางานเป็นทมี ✍เขม็ มุ่งสคู่ วำมสำเร็จ 1.มี กศน.ตาบลเปน็ หลักแหล่ง 2. มคี อมฯ/อุปกรณ์ครบทุก กศน.ตาบล 3. ให้ทุกคนมีความรู้ ICT 4. มรี ะบบจัดเก็บ/รายงานผา่ นออนไลน์ 5. ภายใน1-2 ปีตอ้ งเป็น 1 ใน กศน.จงั หวัด 6. ภายใน 3 ปตี อ้ งเปน็ 1-5 ของสานกั งาน กศน. ✍กำรบรหิ ำรนำ ICT สู่กำรปฏิบตั ิ 1.การจัดหาคอมฯ/อุปกรณ์ 2.ขัน้ การพฒั นา 3.การประเมินผล/รายงาน

1. กำรจัดหำคอมฯ/อุปกรณ์ 1.1 การเปดิ ตวั กศน.ตาบล โดย 1) เชิญสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร (ส.ส.),สมาชกิ วุฒสิ ภา (ส.ว.) เป็นต้น 2) นานกั ศึกษา กศน. หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ปัจจบุ ันมีทัง้ สน้ิ 4,621 คน 3) เชญิ ภาคเี ครือข่าย อาทิเช่น โรงเรยี น, อบต., เทศบาล, อบจ. , อาเภอ เป็นต้น 4) เสนอโครงการพฒั นา กศน.ตาบล ให้เปน็ แหลง่ เรียนรู้ดา้ นดจิ ทิ ัล 1.2 เชญิ ส.ส./ส.ว. เข้าร่วมทุกกจิ กรรม 1) โครงการเข้าคา่ ยต่าง ๆของนกั ศึกษา กศน. 2) โครงการวันวชิ าการ ของนักศึกษา กศน. 3) โครงการ อ่ืน ๆ 2. ขั้นกำรพฒั นำ 2.1 พฒั นาระบบ จะพัฒนาระบบการจดั เก็บ/รายงานต่างๆผ่านออนไลน์ 2.2 พัฒนาคน 1) ครู กศน./จนท.ทกุ คน 2) นกั ศกึ ษา กศน.หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ทั้ง 2 กลมุ่ เปา้ หมาย ต้องมีความรู้ ดา้ น ICT และสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ได้ สาหรบั ในสว่ นของนักศึกษา กศน. หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 กศน.อาเภอเมืองชลบุรจี ะต้อง ประกาศเปน็ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ พร้อมท้ังใชง้ บอุดหนนุ (กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น) ในการขบั เคล่ือน โดยจดั โครงการพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี น ด้าน ICT พร้อมทง้ั จัดทาสรุปเปน็ รูปเลม่ ( 5 บท) 3.กำรประเมนิ ผล/รำยงำน 3.1 รายงานผ่านออนไลน์ โดยผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เนต็ http://118.172.227.194:7008/choncity/ และจัดทา Application รายงานผ่านทางสมาร์ทโฟน 3.2 รายงานสรปุ ผลเป็นรปู เลม่ (5 บท) จัดทาสรุปผลโครงการ/กจิ กรรม เปน็ รูปเลม่ (5บท) เพ่ือรองรบั การประเมนิ คุณภาพโดยต้น สงั กัด และภายนอก

✍แผนพัฒนำคุณภำพกำรศกึ ษำ (เฉพำะปี 2563) เป้ำประสงค์ กลยทุ ธ์ โครงกำร/กิจกรรม เป้ำหมำย ตัวช้ีวัด เกณฑค์ วำมสำเร็จ 8,000 คน ควำมสำเรจ็ (ร้อยละ) 1. กลมุ่ เป้าหมาย กลยทุ ธ์ท่ี 1 1. โครงการ 1. กลมุ่ เป้าหมาย 8,000 คน ได้รับโอกาสทาง 1. ร้อยละของ ไดร้ ับโอกาสทาง ส่งเสรมิ ยกระดบั จดั การศึกษาแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย 27 คน ประเภทของ กศน. ไดร้ บั โอกาสทาง การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน และพัฒนา การศกึ ษานอก 1,020 คน 2. ผจู้ บหลักสูตร การศกึ ษาแต่ละ การศกึ ษาขนั้ ประเภทของ กศน. การศกึ ษาตอ่ เน่ือง คณุ ภาพ ระบบระดบั พ้นื ฐานแตล่ ะระดับ 2. รอ้ ยละของผจู้ บ มผี ลสัมฤทธิ์ หลกั สตู รการศกึ ษา และการศกึ ษาตาม การศึกษา การศึกษาข้นั ทางการเรียนเฉลี่ย ข้นั พนื้ ฐานแตล่ ะ > 2.00 ระดับมีผลสัมฤทธิ์ อธั ยาศยั ที่มคี ณุ ภาพ นอกระบบ พื้นฐานใหม้ ี 3. กลมุ่ เป้าหมาย ทางการเรียนเฉลี่ย ร่วมกจิ กรรม > 2.00 ใหเ้ ป็นไปตามความ และ คุณภาพ พัฒนาคุณภาพ 3. ร้อยละของ ผู้เรียน กลุ่มเปา้ หมายร่วม ต้องการและ การศกึ ษา 2. โครงการพฒั นา 4. กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรมพัฒนา เขา้ รว่ มกิจกรรม คณุ ภาพผ้เู รยี น สอดคล้องกบั สภาพ ตาม คณุ ภาพผูเ้ รียน สง่ เสริมการรู้ 4.ร้อยละของ หนงั สือ กลมุ่ เปา้ หมายเขา้ ปญั หาของ อธั ยาศัย ให้ กศน.ตามหลกั สูตร 5. กลุ่มเปา้ หมาย รว่ มกจิ กรรม ทุกประเภท สง่ เสริมการรู้ กล่มุ เปา้ หมาย เปน็ ไปตาม การศกึ ษานอก สามารถนาความรู้ หนังสอื ไปใชใ้ นการพัฒนา 5. รอ้ ยละของ 5.กลุ่มเป้าหมาย นโยบาย ระบบระดบั อาชพี หรอื คณุ ภาพ กล่มุ เป้าหมายทุก ชวี ิตได้ ประเภทสามารถ ได้รับการส่งเสรมิ และ การศกึ ษาขั้น 6. กลมุ่ เป้าหมายมี นาความรไู้ ปใชใ้ น คณุ ลักษณะทพ่ี งึ การพัฒนาอาชพี และสนบั สนุนการ มาตรฐาน พื้นฐาน ประสงคต์ าม หรือคณุ ภาพชีวติ จุดมุ่งหมายของ ได้ พัฒนาคุณภาพชีวติ การศึกษา พุทธศกั ราช 2551 ตามหลักปรชั ญาของ อย่าง 3. โครงการส่งเสริม เศรษฐกจิ พอเพยี ง ต่อเนื่อง การรู้หนงั สือ เพอื่ พัฒนาสงั คม สาหรบั ประชาชน และชุมชนใหม้ คี วาม อาเภอเมืองชลบุรี เข้มแข็งอยา่ งยงั่ ยืน 4. โครงการจัด 3.กลมุ่ เปา้ หมาย การศกึ ษาเพอื่ ไดร้ บั การสรา้ งและ พฒั นาอาชีพ (ศูนย์ สง่ เสรมิ ใหเ้ ปน็ ผรู้ กั ฝกึ อาชพี ชุมชน) การอา่ นและใฝ่ร้ใู ฝ่ เรยี นอยา่ งต่อเน่อื ง ตลอดชีวิต

หลกั สูตร เปำ้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ โครงกำร/กจิ กรรม เปำ้ หมำย ตวั ช้วี ัด เกณฑค์ วำมสำเร็จ ควำมสำเร็จ (รอ้ ยละ) กลยทุ ธ์ท่ี 3 1. โครงการเรียนรู้ 285 คน 7. กลุม่ เป้าหมายมี 6. ร้อยละของ สง่ เสรมิ ปรัชญาของ สว่ นร่วมในการจัด กลุ่มเปา้ หมายมี สนบั สนนุ ให้ เศรษฐกจิ พอเพียง การศกึ ษานอก คณุ ลักษณะท่ีพงึ ภาคี และเกษตรทฤษฎี ระบบและการจัด ประสงคต์ าม เครอื ขา่ ยมี ใหม่ การศกึ ษาตาม จุดม่งุ หมายของ สว่ นรว่ มใน 2.โครงการ อัธยาศัย หลักสูตร การจดั เสรมิ สร้างคณุ ภาพ 2. มีบา้ นหนงั สอื 7. รอ้ ยละของ การศึกษา ชวี ิตที่เปน็ มิตรกับ ชมุ ชนท่ีเป็นไปตาม กลุ่มเป้าหมายมี นอกระบบ ส่ิงแวดลอ้ ม เกณฑค์ รบทกุ ความพึงพอใจต่อ และ 3.โครงการเกษตร ตาบลอยา่ งนอ้ ย การร่วมกจิ กรรม การศกึ ษา ยคุ ใหม่ตามวถิ ี ตาบลละ 1 แหง่ การเรียนรทู้ กุ ตาม ความพอเพียง 3. มมี มุ หนังสอื เพอ่ื ประเภท อัธยาศยั 4.โครงการอบรม ชุมชนอยา่ งน้อย 1. รอ้ ยละ 80 เพอื่ ให้เกดิ เชิงปฏบิ ัตกิ าร ตาบลละ 1 ของกลมุ่ เปา้ หมาย การเรยี นรู้ ด้านเศรษฐกิจ ความพงึ พอใจตอ่ ไดร้ ับการส่งเสริม ตลอดชีวติ พอเพียง การร่วมกิจกรรม การเรยี นรู้ทางด้าน 5.โครงการปรัชญา การเรียนรทู้ ุก หลักปรชั ญาของ ของเศรษฐกิจ 11,500 คน ประเภท เศรษฐกจิ พอเพียง พอเพียง 1. กลมุ่ เป้าหมาย 2. ร้อยละ 80 นาวิถีพอเพยี งสู่ ไดร้ ับการสง่ เสรมิ ของกลมุ่ เปา้ หมาย ชมุ ชน การเรียนรู้ทางดา้ น นาความรไู้ ปใชใ้ น 6.โครงการอบรม หลักปรัชญาของ การพัฒนาอาชีพ

และเรยี นรูต้ ามรอย เศรษฐกิจพอเพียง และพัฒนา พระยุคลบาทดว้ ย 2. กลมุ่ เป้าหมาย คุณภาพชวี ติ ได้ หลกั ปรัชญาของ นาความรไู้ ปใช้ใน 3. รอ้ ยละ 90 ของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง การพฒั นาอาชพี กลุ่มเปา้ หมายมี 7.โครงการเรียนรู้ และพฒั นา ความพึงพอใจใน เศรษฐกจิ พอเพยี ง คุณภาพชีวิตได้ ระดบั ดีข้นึ ไป และการพฒั นาที่ 3. กลุ่มเปา้ หมายมี ยัง่ ยนื \"วถิ ีไทย วิถี ความพึงพอใจใน พอเพียง\" ระดบั ดขี ้ึนไป เปำ้ ประสงค์ กลยุทธ์ โครงกำร/กจิ กรรม เปำ้ หมำย ตวั ชี้วดั เกณฑ์ควำมสำเร็จ ควำมสำเร็จ (รอ้ ยละ) 9.สถานศกึ ษาพฒั นา กลยทุ ธท์ ่ี 4 1. โครงการสง่ เสรมิ 800 คน 1. กลุ่มเป้าหมาย สอื่ แหลง่ เรียนรแู้ ละ พัฒนา การอา่ นเพ่อื พัฒนา ภาคเี ครอื ข่ายมี 1. รอ้ ยละ 80 ของ ภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ หลักสตู ร บา้ นหนงั สอื ชุมชน แห่ง 4 เป้าหมายภาคี ดว้ ยการจดั และรปู แบบ 2. โครงการ กล่มุ เป้าหมายมี เครอื ขา่ ยมีสว่ น กระบวนการเรยี นรู้ การจัด หอ้ งสมดุ เคลอ่ื นท่ี ความพึงพอใจใน ร่วมในการจดั ทตี่ อบสนองกบั การ กจิ กรรม สาหรับชาวตลาด 17 ตาบล ระดับดีขนึ้ ไป การศึกษานอก เปล่ยี นแปลงบริบท การเรียนรู้ 3.โครงการเมอื งนัก 1.กลุ่มเปา้ หมาย ระบบและการจดั ด้านเศรษฐกิจ สงั คม ให้ อา่ น ได้รบั การพฒั นา การศกึ ษาตาม การเมือง ในรปู แบบ สอดคล้อง 4.โครงการอา่ น ชวี ติ ใหส้ อดคล้อง อธั ยาศัย ท่ีหลากหลาย กับพ้ืนที่เขต สร้างงานผา่ น กับพ้ืนทีเ่ ขตพฒั นา 2. มีบ้านหนงั สือ พฒั นา QRCode พเิ ศษภาค ชมุ ชนที่เปน็ ไปตาม พเิ ศษภาค ตะวนั ออก (EEC) เกณฑค์ รบทุก ตะวันออก 4. กลุ่มเปา้ หมายมี ตาบลอยา่ งนอ้ ย (EEC) ความพึงพอใจใน ตาบลละ 1 แห่ง และความ ระดบั ดขี ึ้นไป 3. มีมมุ หนงั สือ เพอื่ ชุมชนอยา่ ง

ต้องการของ น้อยตาบลละ 1 กลุม่ เป้าหม 1. กศน.อาเภอ แห่ง าย โดยการ และกศน.ตาบลมี 4. รอ้ ยละ 80 ของ มีส่วนร่วม การอพั เดทขอ้ มูล กลุ่มเป้าหมายมี ของ การประชาสมั พนั ธ์ ความพึงพอใจใน กิจกรรมทางเว็บ ระดับดีข้นึ ไป ไซด์เป็นประจาทกุ เดอื น เปำ้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ โครงกำร/กิจกรรม เป้ำหมำย ตวั ชว้ี ัด เกณฑค์ วำมสำเร็จ ควำมสำเร็จ (รอ้ ยละ) ภูมปิ ญั ญา 1. โครงการ 17 ตาบล 1. สถานศึกษามี คู่มอื ระบบการ 1. รอ้ ยละ 75 ทอ้ งถ่นิ และ English น่ารู้ คู่ นิเทศภายใน ของกลมุ่ เปา้ หมาย 2. ผูน้ เิ ทศมีการ ได้รับการพฒั นา แหลง่ เรยี นรู้ Service โรงแรม นเิ ทศการจดั ชีวติ ใหส้ อดคลอ้ ง กจิ กรรมและ กบั พ้ืนทเ่ี ขตพัฒนา ท้งั ภาครัฐ 2.โครงการ Smart รายงานผลเปน็ พเิ ศษภาค ประจาทกุ เดือน ตะวนั ออก (EEC) และเอกชน ONIE เพ่อื สร้าง 2. รอ้ ยละ 80 ของ กลยุทธท์ ่ี 5 Smart farmers ส่งเสริมให้มี 3.โครงการ Digital การ Literacy

ประชาสัมพั (เพอ่ื สร้างสงั คม กลุ่มเปา้ หมายมี ความพึงพอใจใน นธ์ ใน ออนไลน)์ ระดับดขี ้ึนไป 1. รอ้ ยละ 100 รูปแบบท่ี 4.โครงการการคา้ ของ กศน.อาเภอ และ กศน.ตาบลมี หลากหลาย ออนไลน์ สสู่ ังคม การอัพเดทขอ้ มูล การประชาสัมพนั ธ์ กลยทุ ธ์ท่ี 6 Digital กจิ กรรมทางเว็บ ไซด์ พัฒนา 5.โครงการเพ่มิ เป็นประจาทุก เดือน ระบบการ ประสิทธิภาพการ 1. รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษามี นิเทศ บรหิ ารจดั การขยะ ค่มู ือระบบการ นเิ ทศภายใน 7.ชุมชนและภาคี ภายใน มลู ฝอย 2. ร้อยละ 80 ของ ผู้นิเทศมกี ารนิเทศ เครือข่ายร่วมจดั สถานศึกษา 1. โครงการพัฒนา การจดั กจิ กรรม และรายงานผล ส่งเสริมและ โดยใช้ ระบบ เปน็ ประจาทุก เดอื น สนับสนนุ การ กระบวนกา ประชาสมั พนั ธข์ อง ดาเนนิ งาน รมสี ว่ นรว่ ม สถานศึกษา การศกึ ษานอกระบบ จากทกุ ภาค 1. โครงการพัฒนา และการศกึ ษาตาม ส่วน บุคลากรการนเิ ทศ อัธยาศยั ภายในสถานศึกษา กศน.อาเภอเมือง ชลบรุ ี เป้ำประสงค์ กลยุทธ์ โครงกำร/กจิ กรรม เป้ำหมำย ตวั ชี้วัด เกณฑ์ควำมสำเร็จ ควำมสำเรจ็ (รอ้ ยละ)

10.สถานศกึ ษามี กลยทุ ธ์ท่ี 7 1. โครงการบรหิ าร 39 คน 1. สถานศึกษามี 1. สถานศึกษามี ระบบการบริหาร พัฒนา ความเส่ยี งของ 39 คน คมู่ ือการบริหาร คมู่ ือการบริหาร จดั การตามหลัก ระบบ สถานศกึ ษา กศน. ความเส่ยี ง ความเสย่ี ง ธรรมาภบิ าล คณุ ภาพ อาเภอเมืองชลบรุ ี 2. รายงานสถานะ 2. รายงานสถานะ การศึกษา 2. โครงการพฒั นา ทางการเงินเปน็ ทางการเงินเปน็ 8. บคุ ลากรของ โดยใชว้ งจร ระบบประกัน ประจาทุกเดอื น ประจาทกุ เดอื น สถานศกึ ษาไดร้ ับ การพัฒนา คณุ ภาพการศกึ ษา การพฒั นาเพอื่ เพ่มิ คณุ ภาพ กศน.อาเภอเมือง 1.บุคลากรของ 1. ร้อยละ 80 ของ สมรรถนะในการ (PDCA) ชลบรุ ี สถานศึกษาทกุ คน บคุ ลากรของ ปฏิบตั งิ านตาม เปน็ หลักใน ได้รับการพัฒนาเพื่อ สถานศกึ ษาทกุ คน บทบาทหนา้ ท่ีอย่าง การจัด 1.โครงการพฒั นา เพมิ่ สมรรถนะใน ได้รับการพัฒนา มปี ระสิทธภิ าพและ การศึกษา บคุ ลากรดา้ น การปฏิบตั ิงานตาม เพ่อื เพิม่ สมรรถนะ ต่อเนื่อง กลยทุ ธ์ท่ี 8 วิชาการ:Google บทบาทหนา้ ท่ีอยา่ ง ในการปฏบิ ัตงิ าน พฒั นา Form มีประสิทธภิ าพและ ตามบทบาทหนา้ ที่ บุคลากร 2.โครงการพัฒนา ตอ่ เนือ่ ง อยา่ งมี ของ บุคลากรด้าน 2.บคุ ลากรของ ประสิทธิภาพและ สถานศึกษา วชิ าการ:การจัดทา สถานศึกษาสามารถ ตอ่ เนอ่ื ง ใหม้ ี สอื่ การเรยี นการ นาความรไู้ ปใชใ้ น 2. รอ้ ยละ 80 ความสามา สอน Clip Video การพัฒนาการ ของบุคลากรของ รถใช้ 3.โครงการบรหิ าร ปฏบิ ตั ิงานตาม สถานศกึ ษา เทคโนโลยี จดั การข้อมลู บทบาทหนา้ ที่อยา่ ง สามารถนาความรู้ ดจิ ิทัลเพอ่ื ขา่ วสาร กศน.ฝา่ มปี ระสทิ ธภิ าพ ไปใชใ้ นการ การจัด กระแส Social 3. บคุ ลากรของ พัฒนาการ กระบวนกา Network สถานศึกษามีความ ปฏบิ ัติงานตาม รเรยี นรู้ 4.โครงการประชุม พึงพอใจในระดับดี บทบาทหนา้ ท่ี การบริหาร บุคลากรเพ่อื เพ่ิม ข้นึ ไป อยา่ งมี จดั การ และ ประสิทธภิ าพในการ สง่ เสริมการ ปฏบิ ัติงาน ทางานเปน็ 5.โครงการประชมุ ทีม เชงิ ปฏบิ ตั ิการการ จดั กระบวนการ

เรยี นการสอน ประสทิ ธิภาพ 3. กำรขบั เคล่ือน กศน. สู่ กศน.WOW 1. พัฒนาครู กศน.และบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องกับการจดั กจิ กรรมการศึกษาและเรยี นรู้ : Good Teacher เป็นผูเ้ ช่อื มโยงความรูก้ บั ผ้เู รยี นผรู้ ับบริการ มีความเป็น “ครูมืออาชพี ” มจี ิตบริการ มีความรอบรู้ และทันต่อการ เปลีย่ นแปลงของสังคม เป็นผู้จัดกจิ กรรม การเรียนรแู้ ละบริหารจัดการความรู้ที่ดี 1.1 เพิม่ อตั ราข้าราชการครู กศน. 928 อัตรา (1) ให้เร่งดาเนนิ การเร่ืองการหาอตั ราตาแหน่ง การสรรหา บรรจุ แต่งตง้ั ข้าราชการครู กศน. 928 อตั รา เพ่อื จัดสรรให้กับ กศน.อาเภอทกุ แห่ง ๆ ละ 1 อตั รา 1.2 พัฒนาครู และบคุ ลากร (1) พัฒนาครู กศน.ตาบลเพือ่ ใหส้ ามารถปฏบิ ตั งิ านได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ โดยเนน้ เรือ่ ง การ พฒั นาทกั ษะการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ทกั ษะภาษาตา่ งประเทศ ทักษะการจัดกระบวนการเรยี นรู้ (2) พัฒนาศึกษานเิ ทศก์ใหส้ ามารถปฏิบัติการนเิ ทศได้อยา่ งมีศักยภาพ (3) พัฒนาบุคลากร กศน.ทุกระดับทุกประเภทให้มที กั ษะความรู้เรื่องการใช้ประโยชนจ์ ากดิจทิ ัล และภาษาต่างประเทศทีจ่ าเป็น 2. พฒั นา กศน.ตาบลให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ : Good Place –Best Check in ให้มีความพร้อมในการใหบ้ ริการกจิ กรรมการศึกษาและเรยี นรู้ เป็นแหล่งขอ้ มลู สาธารณะทงี่ า่ ยต่อการ เข้าถงึ มบี รรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้เป็นเสมือนคาเฟ่การเรยี นรูส้ าหรบั ทกุ คนทุกชว่ งวัย มสี ิง่ อานวยความ สะดวก มีความสวยงามทด่ี ึงดูดความสนใจ และมีความปลอดภัยสาหรบั ผ้ใู ชบ้ ริการ 2.1 เร่งยกระดบั กศน.ตาบล 928 แหง่ (อาเภอละ 1 แหง่ ) เปน็ กศน.ตาบล 5 ดี พรเี มย่ี ม ท่ี ประกอบดว้ ย ครดู ี สถานท่ดี ี (ตามบริบทของพืน้ ท่ี) กิจกรรมดี เครอื ข่ายดี และมีนวัตกรรมดมี ปี ระโยชน์

2.2 จดั ใหม้ ศี ูนยก์ ารเรยี นรตู้ ้นแบบ กศน.ใน 5 ภมู ภิ าค เป็น Co - Learning Space ศูนยก์ ารเรยี นรู้ ทท่ี นั สมยั สาหรบั ทุกคน โดยเปิดพน้ื ทเ่ี พอ่ื ยกระดับการเรยี นรู้ พรอ้ มเปิดบรกิ ารตา่ งๆ อาทิ พื้นทสี่ าหรับการ ทางาน/ การเรียนรู้ พ้นื ท่ีสาหรบั ทากิจกรรมต่างๆ ห้องประชมุ กลมุ่ ยอ่ ย รวมทั้งใหบ้ ริหารห้องสมุดทั้งในรูปแบบ ดจิ ิทลั และ สบื คน้ หนังสือในหอ้ งสมดุ ด้วยตนเอง บริการอินเทอร์เนต็ มลั ติมเี ดีย เพ่ือรองรับการเรียนร้แู บบ Active learning 2.3 พฒั นาห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” จานวน 103 แหง่ ใหเ้ ป็น Digital Library โดยให้ มี บริการ Free Wi-fi บรกิ ารหนังสอื ในรูปแบบ e-Book บรกิ ารคอมพวิ เตอรแ์ ละอินเทอรเ์ นต็ เพ่ือการสบื คน้ ขอ้ มูล 2.4 ปรับปรงุ รถการอ่านเคล่ือนท่ี เพอ่ื การเข้าถงึ การอ่านในทกุ พนื้ ที่ ทกุ ชุมชน 3. สง่ เสริมการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูท้ ่ีทันสมัยและมีประสิทธิภาพ : Good Activities พฒั นากระบวนการเรยี นรใู้ ห้มีความทนั สมยั เออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ สeหรบั ทุกคน ท่สี ามารเรยี นรไู้ ดท้ กุ ที่ ทุกเวลา มกี จิ กรรมที่หลากหลาย นา่ สนใจ สนองตอบความต้องการของชมุ ชน เพ่ือพัฒนาศักยภาพการเรยี นรู้ของ การขบั เคลื่อน กศน. สู่ กศน.WOW ประชาชน รวมทัง้ ใช้ประโยชน์จากประชาชนในชมุ ชนในการร่วมจัดกจิ กรรม การเรยี นรเู้ พื่อเช่อื มโยงความสมั พันธ์ ของคนในชุมชนไปสู่การจดั การความรขู้ องชุมชนอยา่ งย่งั ยนื 3.1 พฒั นาการจัดการศึกษาออนไลน์ กศน. โดยให้มกี ารเรียนออนไลนส์ ายสามัญ การเรียนออนไลน์ เรื่องทักษะอาชีพ และการพัฒนาเว็บเพจการค้าออนไลน์ 3.2 ใหม้ ีหลกั สูตรลูกเสอื มัคคุเทศก์ โดยให้ กศน.จงั หวดั ทุกจังหวัด/ กทม จัดต้ังกองลูกเสอื ที่เป็น ลูกเสอื ทมี่ ี ความพร้อมด้านทักษะภาษาตา่ งประเทศเป็นลูกเสือมัคคุเทศกจ์ ังหวดั ละ 1 กอง เพ่ือส่งเสริมลกู เสือจติ อาสา พัฒนาการท่องเทย่ี วในแตล่ ะจังหวดั 3.3 เร่งปรับหลกั สตู รการจัดการศึกษาอาชพี กศน. ให้เปน็ อาชีพทร่ี องรบั อตุ สาหกรรมอนาคต (New S-curve) โดยเฉพาะจงั หวัดท่ีอยู่ในพ้ืนที่เขตเศรษฐกจิ พิเศษให้ดาเนินการโดยเรง่ ด่วน สาหรับพื้นที่ปกตใิ หพ้ ฒั นา อาชีพท่เี น้นการต่อยอดศักยภาพและบริบทตามบรบิ ทของพนื้ ท่ี 4. เสรมิ สร้างความร่วมมือกับภาคีเครือขา่ ย : Good Partnerships

ประสาน ส่งเสรมิ ความรว่ มมือกบั ภาคีเครือขา่ ย ทง้ั ภาครฐั เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครอง สว่ น ท้องถิ่น รวมทั้งสง่ เสรมิ และสนับสนุนการมสี ่วนรว่ มของชมุ ชนเพอื่ สร้างความเขา้ ใจ และให้เกิดความรว่ มมือ ในการ สง่ เสรมิ สนบั สนุน และจดั การศึกษาและการเรยี นรู้ใหก้ ับประชาชนอย่างมีคุณภาพ 4.1 เรง่ จัดทาเนียบภมู ิปัญญาท้องถนิ่ ในแตล่ ะตาบล เพ่ือใช้ประโยชนจ์ ากภูมิปัญญาท้องถิน่ ในการ สรา้ ง การเรยี นรูจ้ ากองค์ความรู้ในตวั บคุ คลใหเ้ กดิ การถา่ ยทอดภูมปิ ญั ญา สร้างคุณคา่ ทางวัฒนธรรมอยา่ งย่งั ยนื 4.2 สง่ เสรมิ ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ินส่กู ารจัดการเรยี นรูช้ ุมชน 4.3 ประสานความร่วมมือกับภาคเี ครือขา่ ยเพ่ือการขยาย และพฒั นาการศึกษานอกระบบและ การศึกษา ตามอธั ยาศัยให้เขา้ ถึงกลุ่มเป้าหมายทุกกลมุ่ อย่างกว้างขวางและมีคุณภาพ อาทิ กลุ่มผูส้ ูงอายุ กลมุ่ อส ม. 5. พฒั นานวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อประโยชน์ต่อการจัดการศกึ ษาและกล่มุ เป้าหมาย : Good Innovation ให้พฒั นานวตั กรรมหรือสร้างสรรค์การดาเนินงานใหม่ๆ เพ่ือสรา้ งมลู คา่ ใหก้ ับผลิตภัณฑ์ พัฒนา กระบวนการเรยี นรู้ให้ทนั สมยั 5.1 เร่งจดั ต้ังศนู ย์ให้คาปรกึ ษา และพฒั นาผลิตภณั ฑ์Brand กศน. เพอ่ื ยกระดับคณุ ภาพผลิตภณั ฑ์ การ บริหารจัดการการผลติ การสง่ ออก การตลาด และสร้างชอ่ งทางการจาหนา่ ย ตลอดจนส่งเสรมิ การใช้ ประโยชน์ จากเทคโนโลยีในการเผยแพร่และจาหน่ายผลติ ภัณฑ์ 5.2 พัฒนาสินค้า และผลติ ภัณฑ์ กศน. พร้อมทงั้ ให้มกี ารคัดเลือกสินคา้ และผลติ ภัณฑ์ท่เี ป็นสุดยอด กศน. ของแตล่ ะจงั หวดั เพอ่ื ส่งไปจดั จาหนา่ ยยังสถานีจาหน่ายนา้ มัน ซ่งึ จะเป็นการสรา้ งช่องทางจาหน่ายสนิ คา้ และ ผลิตภณั ฑใ์ หก้ วา้ งขวางย่ิงขนึ้ 5.3 สง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยใี นการปฏิบตั ิงาน การบรหิ ารจัดการ และการจดั การเรียนรู้ 5.4 ใหม้ ีการใช้วจิ ยั อย่างง่ายเพ่ือการสรา้ งนวัตกรรมใหม่ การขับเคลอื่ น กศน. สู่ กศน. WOW 6. จัดตัง้ ศูนยก์ ารเรียนรู้สาหรบั ทุกชว่ งวยั : Good Learning Centre ที่เป็นศนู ย์การเรียนรู้ตลอดชีวิตท่สี ามารถใหบ้ ริการประชาชนในชมุ ชนได้ทุกคน ทกุ ช่วงวัย ท่ีมี กจิ กรรมที่ หลากหลาย สนองตอบความต้องการในการเรยี นรู้ในแต่ละชว่ งวยั และเป็นศูนย์บริการความรู้ ศูนย์ การจดั กิจกรรม ที่ครอบคลุมทกุ กลุ่มวัย เพ่ือให้มีพัฒนาการเรียนรทู้ ่เี หมาะสม และมีความสุขกับการเรยี นรู้ตาม ความสนใจ 6.1 ใหเ้ รง่ ประสานกับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเพื่อจัดทาทาเนียบข้อมลู โรงเรียนท่ีถูก ยบุ รวม หรือคาดว่านา่ จะถกู ยุบรวม

6.2 ให้สานกั งาน กศน.จงั หวัด ในจงั หวดั ท่มี ีโรงเรียนที่ถูกยุบรวมประสานขอใช้พื้นที่ เพื่อจัดตงั้ ศูนย์ การ เรยี นรสู้ าหรับทุกช่วงวัย กศน. 1.Good Teacher การพฒั นาครู กศน. และบคุ ลากรท่ีเก่ียวขอ้ งกับการจัดกจิ กรรมการศึกษาและเรียนรู้ โดยจะ ดาเนินการเกลยี่ เพ่มิ อตั ราตาแหน่ง การสรรหา บรรจุ แตง่ ต้ัง ข้าราชการครู กศน. จานวน 891 อัตรา เพ่อื ให้ กศน. อาเภอมีบคุ ลากรท่ีจะมาชว่ ยกนั ขบั เคลือ่ นงานได้อยา่ งเต็มประสทิ ธภิ าพ 2.Good Place โดยพัฒนา กศน. ตาบล ใหม้ ีบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มท่เี อ้ือต่อการเรียนรู้ ซึ่งจะเปน็ การ ยกระดบั ให้ กศน.ตาบล, หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี”, ศูนยก์ ารเรยี นร้ตู ้นแบบ กศน. ให้เป็นแหลง่ เรยี นรู้ ที่ทนั สมัย มคี ณุ ภาพตอบสนองตอ่ การเรยี นรขู้ องประชาชนทกุ ชว่ งวัย 3.Good Activities สง่ เสรมิ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ท่ที ันสมยั และมีประสทิ ธภิ าพ อาทิ การปรับหลกั สูตรการ จัดการศึกษาอาชีพ หลักสตู รลูกเสอื มคั คุเทศก์ และพัฒนาการจดั การศึกษาออนไลน์ 4.Good Partnership การเสริมสร้างความรว่ มมือกับภาคีเครอื ข่าย โดยให้มคี วามรว่ มมือจดั ทาทาเนียบภมู ิ ปัญญาท้องถิน่ และสง่ เสริมภูมิปัญญาสกู่ ารจดั การเรยี นรู้ชุมชน 5.Good Innovation การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา เพือ่ ประโยชน์ต่อการจดั การศึกษาและกลุม่ เป้าหมาย โดยให้จดั ต้ังศนู ย์ให้คาปรกึ ษาและพฒั นาผลิตภณั ฑ์ brand กศน. รวมท้ังการสรา้ งช่องทางจดั จาหน่ายไปยังสถานี จาหน่ายน้ามัน 6.Good Learning Center การจดั ตง้ั ศนู ยก์ ารเรียนรู้ทุกชว่ งวัย ซ่งึ ตอ้ งมีการจดั เตรียมข้อมูลและประสานงาน เบื้องตน้ โดยผู้บริหาร กศน. ทัง้ ส่วนกลางและสว่ นภูมภิ าค ตอ้ งช่วยกันขบั เคลอ่ื นภารกจิ สาคญั ตา่ ง ๆ ไปสกู่ าร ปฏิบัติ และช่วยกันถา่ ยทอดความเข้าใจไปส่เู จา้ หน้าทผ่ี ้ปู ฏบิ ัติงาน พรอ้ มท้งั ดูแลและสนับสนนุ ให้เกดิ ประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ลตอ่ ไป 4. เอกสำรงำนทีเ่ กย่ี วขอ้ ง ไวรสั โคโรนำ หรอื ไควิด-19 คอื อะไร ? ไวัรสโคโรนำ (Coronavirus) เป็นไวรัสท่ถี ูกพบครง้ั แรกในปี 1960 แต่ยงั ไม่ทราบแหลง่ ที่มาอย่างชดั เจนว่ามา จากท่ีใด แต่เปน็ ไวรัสที่สามารถติดเชือ้ ไดท้ ้ังในมนุษย์และสัตว์ ปัจจบุ นั มีการค้นพบไวรสั สายพันธ์ุนี้แล้วทั้งหมด 6 สายพันธ์ุ สว่ นสายพนั ธุ์ท่กี าลังแพรร่ ะบาดหนักทวั่ โลกตอนน้เี ป็นสายพนั ธุท์ ี่ยงั ไมเ่ คยพบมาก่อน คอื สายพนั ธ์ุท่ี 7 จึงถกู เรยี กวา่ เป็น “ไวรัสโคโรนำสำยพันธใุ์ หม่” และในภายหลังถูกตั้งชื่ออย่างเป็นทางการวา่ “โควิด-19” (COVID-19) น่ันเอง ดังนน้ั ไวรสั โคโรนาสายพนั ธใ์ุ หม่ และไวรัสโควดิ -19 จึงหมายถึงไวรัสชนดิ เดยี วกัน

ไวรัสโคโรนำสำยพนั ธใ์ุ หม่ หรือไวรัสโควิด-19 มำจำกไหน ? ไวรสั โคโรนำสำยพนั ธุ์ใหม่ หรอื ไวรสั โควิด-19 แรกเรม่ิ เดิมทถี ูกคน้ พบจากสตั วก์ ่อน โดยเปน็ สัตวท์ ะเลท่ีมีการติด เช้ือไวรสั น้ีแลว้ คนที่อยู่ใกล้ คลุกคลกี ับสตั วเ์ หล่าน้กี ็ตดิ เช้ือไวรสั มาอีกที โดยเริม่ จากเมืองอู่ฮน่ั ประเทศจีน โดยมี ข้อสงสัยว่ามาจากตลาดที่ค้าขายสัตวท์ ะเล และสัตว์หายากเหลา่ น้ี อำกำรเม่อื ติดเช้ือไวรัสโคโรนำสำยพนั ธ์ุใหม่ หรือไวรสั โควิด-19 อาการไวรัสโควดิ -19 ท่ีสงั เกตไดง้ ่าย ๆ ดว้ ยตัวเองมี 5 อาการหลกั ๆ ด้วยกนั ดงั น้ี 1. มไี ข้ 2. เจบ็ คอ 3. ไอแหง้ ๆ 4. น้ำมูกไหล 5. หำยใจเหนื่อยหอบ ทางด้านแพทย์อาจจะตรวจสอบเพิ่มเตมิ ดว้ ยการเอกซเ์ รยป์ อด แลว้ พบว่าปอดบวมอักเสบร่วมดว้ ย หากมอี าการ หนักมาก ๆ (พบวา่ ติดเช้ือในระยะหลัง ๆ แลว้ ) อาจอันตรายถึงอวัยวะภายในต่าง ๆ ล้มเหลว อนั ตรำยของเช้ือไวรัสโคโรนำสำยพันธใ์ุ หม่ หรือไวรสั โควิด-19 แมว้ า่ อาการโดยทว่ั ไปจะดเู หมอื นเป็นเพียงไข้หวดั ธรรมดา แตท่ ่กี ลวั กนั ท่ัวโลกเป็นเพราะเช้ือไวรสั น้เี ปน็ สายพนั ธ์ุ ใหมท่ ย่ี งั ไม่มยี าปฏชิ ีวนะตัวไหนท่ีสามารถรักษาให้หายไดโ้ ดยตรง การรกั ษาเป็นไปแบบประคับประคองตาม อาการเท่านั้น นอกจากนี้ อันตรายทที่ าใหเ้ ส่ียงถงึ ชีวิต จะเกดิ ขึน้ เมื่อระบบภูมติ ้านทานโรคของเราไม่แขง็ แรง หรือเชื้อไวรสั เข้า ไปทาลายการทางานของปอดได้ จนทาใหเ้ ช้อื ไวรัสแพร่กระจายลกุ ลามมากขน้ึ รวดเรว็ ขึ้น กลมุ่ เสยี่ งติดเชื้อไวรัสโคโรนำสำยพนั ธุใ์ หม่ หรือไวรสั โควิด-19  เดก็ เล็ก  วัยกลางคนจนถึงกล่มุ ผู้สงู อายุ  คนทม่ี โี รคประจาตัวอยู่แล้ว เช่น โรคหวั ใจ เบาหวาน โรคปอดเรอ้ื รัง  คนทก่ี นิ ยากดภูมติ ้านทานโรคอยู่  ผ้ทู เ่ี ดินทางไปในประเทศเสย่ี งตดิ เช้อื เช่น จีน เกาหลใี ต้ ญ่ีปุน่ ไต้หวนั ฮ่องกง มาเกา๊ สิงคโปร์ มาเลเซีย เวยี ดนาม อิตาลี อหิ ร่าน ฯลฯ  ผู้ท่ตี อ้ งทางาน หรือรักษาผปู้ ่วย ติดเชื้อไวรสั โคโรนาสายพนั ธใ์ุ หม่ หรือไวรสั โควิด-19 อยา่ งใกล้ชิด  ผทู้ ที่ าอาชีพที่ต้องพบปะชาวต่างชาติจานวนมาก เชน่ คนขับแทก็ ซ่ี เจา้ หน้าท่ใี นโรงพยาบาล ลูกเรอื สาย การบินต่าง ๆ เป็นต้น

หำกมอี ำกำรโควดิ 19 ควรทำอย่ำงไร ? หากมอี าการของโรคทเ่ี กดิ ข้ึนตาม 5 ขอ้ ดงั กล่าว ควรพบแพทยเ์ พอื่ ทาการตรวจอยา่ งละเอยี ด และเมอ่ื แพทย์ ซกั ถามควรตอบตามความเป็นจริง ไมป่ ิดบัง ไมบ่ ิดเบือนข้อมูลใด ๆ เพราะจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การวินิจฉยั โรค อย่างถูกต้องมากทีส่ ุด หากเพง่ิ เดนิ ทางกลบั จากพนื้ ทเี่ ส่ยี ง ควรกกั ตวั เองอยู่แต่ในบา้ น ไม่ออกไปข้างนอกเปน็ เวลา 14-27 วัน เพอ่ื ให้ ผา่ นช่วงเช้ือฟกั ตัว (ให้แน่ใจจริง ๆ วา่ ไมต่ ดิ เชือ้ ) หำกสงสัยวำ่ ตัวเองอำจตดิ เชื้อไวรสั โคโรนำสำยพนั ธใุ์ หม่ หรอื ไวรัสโควิด-19 ควรทำอยำ่ งไร ? หากตวั เองอยูใ่ นกล่มุ เสยี่ ง เช่น มอี าการของโรค หรอื เพง่ิ กลบั จากประเทศทเ่ี สีย่ งติดเชอื้ มา สามารถขอตรวจโรค กับทางโรงพยาบาลได้ มีทั้งแบบฟรี และแบบมคี ่าใช้จา่ ย **หากไม่มีอาการใด ๆ เลย ไม่จาเปน็ ต้องเขา้ รบั การตรวจ ตรวจเชอื้ ไวรสั โควิด-19 ฟรี หากผเู้ ขา้ ตรวจตรงตามเกณฑ์เหล่านี้ 1. เพง่ิ กลับจากการเดินทางไปในประเทศกลุ่มเสีย่ ง - ประเทศไหนคนไทยอย่าไป ในสถานการณไ์ วรสั “COVID-19” 2. มอี าการผดิ ปกติทร่ี ะบบทางเดนิ หายใจ 3. มไี ข้มากกวา่ 37.5 องศาเซลเซียส 4. มีอาการไอ มนี า้ มูก เจ็บคอ หอบเหนื่อย ปอดอักเสบอย่างไม่ทราบสาเหตุ 5. มีประวัติใกล้ชิด หรือสัมผสั กับผู้ตดิ เชือ้ เชน่ คนในครอบครัวเพิ่งกลับจากประเทศกลุ่มเสยี่ ง 6. ทาอาชพี ที่ต้องพบปะชาวต่างชาตจิ านวนมาก เชน่ คนขบั แท็กซี่ เจา้ หน้าท่ีในโรงพยาบาลทดี่ แู ลผูป้ ว่ ยติด เชอื้ ลูกเรือสายการบนิ เป็นต้น Advertisement สามารถเข้ารับการตรวจฟรีได้ทีโ่ รงพยาบาลรัฐขนาดใหญ่ สงั กดั กระทรวงสาธารณสุข  โรงพยาบาลรามาธิบดี  โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์  โรงพยาบาลราชวิถี  โรงพยาบาลศิริราช และสามารถเช็กโรงพยาบาลอน่ื ๆ เพม่ิ เติมไดท้ ่ี กรมควบคุมโรค โทร 1422 ตรวจเชอ้ื ไวรสั โควดิ -19 แบบมีคำ่ ใช้จำ่ ย ตัวอย่างคา่ ใช้จา่ ยของโรงพยาบาลตา่ ง ๆ ในการตรวจร่างกาย และตรวจเชอ้ื ไวรัสโควดิ -19  โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ ราคา 3,000-6,000 บาท

 โรงพยาบาลราชวิถี ราคา 3,000 - 6,000 บาท  โรงพยาบาลเปาโล (ทกุ สาขา) ราคา 5,000 - 13,000 บาท  โรงพยาบาลรามาธบิ ดี ราคา 5,000 บาท  โรงพยาบาลบางปะกอก 9 อินเตอรเ์ นชัน่ แนล ราคา 5,000 บาท  โรงพยาบาลพญาไท 2 ราคา 6,500 บาท  โรงพยาบาลแพทย์ รังสิต ราคา 7,000 บาท  โรงพยาบาลศริ ริ าชฯ ราคา 9,900 บาท หมายเหตุ : คา่ ใชจ้ ่ายอาจเปล่ียนแปลงตามระดบั ความเสี่ยงของการติดเชอ้ื วิธีป้องกนั กำรตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนำสำยพันธุ์ใหม่ หรือไวรัสโควดิ -19 1. หลีกเลย่ี งการใกล้ชดิ กับผปู้ ว่ ยทมี่ ีอาการไอ จาม น้ามูกไหล เหนอ่ื ยหอบ เจบ็ คอ 2. หลกี เลย่ี งการเดนิ ทางไปในพื้นทีเ่ สยี่ ง 3. สวมหน้ากากอนามัยทุกครง้ั เมือ่ อยูใ่ นท่ีสาธารณะ 4. ระมัดระวังการสัมผัสพน้ื ผิวท่ีไมส่ ะอาด และอาจมเี ช้อื โรคเกาะอยู่ รวมถึงสิ่งทม่ี ีคนจับบ่อยคร้งั เช่น ทจ่ี บั บน BTS, MRT, Airport Link ท่ีเปิด-ปดิ ประตูในรถ กลอนประตูต่าง ๆ ก๊อกน้า ราวบนั ได ฯลฯ เมอื่ จับแล้วอยา่ เอามือสัมผสั หน้า และข้าวของเครอ่ื งใช้สว่ นตวั ต่าง ๆ เชน่ โทรศพั ท์มอื ถอื กระเป๋า ฯลฯ 5. ลา้ งมอื ให้สม่าเสมอดว้ ยสบู่ หรือแอลกอฮอลเ์ จลอย่างน้อย 20 วนิ าที ความเข้มขน้ ของแอลกอฮอล์ไม่ต่า กว่า 70% (ไมผ่ สมนา้ ) 6. งดจบั ตา จมูก ปากขณะท่ีไม่ได้ล้างมอื 7. หลกี เลย่ี งการใกลช้ ิด สัมผัสสัตว์ตา่ ง ๆ โดยท่ไี มม่ ีการป้องกัน 8. รับประทานอาหารสุก สะอาด ใชช้ อ้ นกลาง ไม่ทานอาหารท่ีทาจากสตั วห์ ายาก 9. สาหรับบุคลากรทางการแพทย์หรอื ผทู้ ่ตี ้องดูแลผปู้ ่วยทต่ี ดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนาสายพันธใุ์ หม่ หรือไวรัสโควดิ - 19 โดยตรง ควรใสห่ น้ากากอนามัย หรือใสแ่ วน่ ตานิรภัย เพอ่ื ป้องกนั เชื้อในละอองฝอยจากเสมหะหรือ สารคดั หลงั่ เข้าตา ทางกองระบาดวทิ ยา กรมควบคุมโรค ไดเ้ ผยแพรข่ ้อมลู เกยี่ วกบั การดารงอยู่ ของ เชอ้ื ไวรสั โควิด 19 ท่มี ีโอกาส อยบู่ นพ้ืนต่าง ๆ โดยได้อ้างอิงจาก นพ.พเิ ชษฐ บัญญติ แพทยเ์ วชศาสตรผ์ ้องกนั รองอธบิ ดี กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ ระบวุ ่า 1. เชอ้ื ไวรัสโควิด 19 ทีอ่ ยใู่ นละอองฝอยน้ามูก นา้ เสมหะ น้าลาย นา้ ตา จะอยู่รอดในอากาศได้เพียง 5 นาที

2. เชื้อไวรัสโควดิ 19 มชี วี ิตอยู่ในนา้ ได้นาน 4 วัน 3. เช้อื ไวรสั โควดิ 19 มีชีวติ อยู่ บรเิ วณ พ้นื โต๊ะ ลูกบดิ ประตู ไดน้ าน 7 - 8 ช่ัวโมง 4. เชอ้ื ไวรสั โควิด 19 อยูใ่ นผ้าหรือกระดาษทชิ ชไู่ ดน้ าน 8 - 12 ชั่วโมง 5. เชอ้ื ไวรสั โควดิ 19 อย่บู นวัสดุพน้ื เรยี บได้นาน 24 - 48 ชว่ั โมง 6. เชอ้ื ไวรสั โควดิ 19 อย่ใู นอุณภูมิต่ากวา่ 4 องศาเซลเซียส ได้นาน 1 เดอื น รวม 6 DIY ทำหนำ้ กำกอนำมัย ใชเ้ อง! 1.หน้ำกำกอนำมัย (ทำใชเ้ อง) อุปกรณ์ 1.ผา้ ฝา้ ยกวา้ ง 6 นิ้วคร่ึง ยาว 7 นิว้ จานวน 2 ผนื 2.กรรไกร 3.เขม็ 4.ด้าย 5.ยางยืด 2 เส้นความยาว 6.เข็มหมดุ วิธีทา นาผ้าทั้งสองช้ินมาพับครึ่งตามแนวยาว จับจีบทวิซขนาด 1 นิ้ว ตามแนวยาวตรงกลางผ้า เอาเข็มหมุดกลัดไว้ให้ อยู่ทรง ทาทั้งสองช้ิน จากน้ันนาผ้าท่ีได้หันด้านนอกขึ้น นาผ้าช้ินแรกมาวาง แล้วนายางยืดมาเย็บติดขอบผ้าท้ังซ้าย ขวา ทาเปน็ หว่ งคลอ้ ง นาผ้าชนิ้ ท่ีสองมาวางทับบนชิ้นแรก โดยหันด้านนอกชนกัน เย็บรอบผ้าสี่เหล่ียม กะระยะให้ห่าง จากของประมาณ 0.5 ซม. ระหว่างเย็บให้รอบผืน อย่าลืมเว้นช่องว่างไว้ 1 น้ิวสาหรับกลับตะเข็บ เย็บเสร็จ ใช้กรรไกร ตดั ขอบผา้ ท่รี ยุ่ ๆ ออก แล้วกลับตะเขบ็ ผ้า จากนน้ั เย็บเกบ็ งานตรงช่องทเี่ ว้นไว้ 1 นวิ้ เปน็ อันเรยี บร้อย

2. หนำ้ กำกผ้ำแบบพับ อุปกรณ์ 1.ผา้ เช็ดหน้าผนื ค่อนข้างใหญ่ 2.ยางมดั ผม 2 เส้น ถ้าใครอยากเพิ่มความปลอดภัยอกี ช้ัน ก็ใหใ้ ส่ “แผน่ กรองฝุ่นแบบมปี ระจุ” เสริมเข้าไป วิธีทา พับผ้าทบกัน 3 คร้ังจนเป็นเส้นยาว แต่ถ้าต้องการเพ่ิมประสิทธิภาพในการกันฝุ่น สามารถใส่แผ่นกรองฝุ่นท่ีตัด พอดขี นาดไวต้ รงกลาง ใส่ยางรัดผม 2 เส้นเข้าไป กะระยะห่างว่าเกี่ยวหูได้ พับปลายทั้ง 2 ข้างเข้าหากัน สอดปลายข้าง หน่ึงไว้ด้านในของอีกข้าง เอามาสวมหน้า โดยด้านที่ปลายทบกันอยู่ข้างใน ดึงผ้าท่ีทบกันอยู่ด้านในขึ้นคลุมจมูก ดึง ดา้ นนอกคลมุ คาง จดั ใหก้ ระชบั ใบหนา้ 3. หน้ำกำกอนำมัยจำกยกทรงเก่ำไม่ใช้แล้ว อุปกรณ์ 1.ยกทรงท่ีไม่ใช้แลว้ สภาพดี

2.อปุ กรณ์ตัดเย็บ 3.ยางยืด วิธีทา ใช้กรรไกแบ่งบราออกเป็น 2 ส่วนเก็บขอบบราให้เรียบร้อย ตัดสายยางยืดของบราออกท้ัง 2 เส้น นายางยืดขอ งบราท่ตี ัดออกมาเย็บติดกับบราท่ีแยกเป็นช้ินส่วน เยบ็ ติดให้เป็นสายสาหรับคล้องทใี่ บหน้า (เย็บ 4 จดุ ) 4. หนำ้ กำกอนำมัยแบบเปล่ียนไส้กรองได้ อปุ กรณ์ 1. ผ้าชน้ิ นอกขนาดตามแพทเทิรน์ จานวน 2 ิชน้ 2.ผ้าซับในขนาด 16 x 14 cm จานวน 2 ชน้ิ 3. ยางยดื จานวน 2 เส้น ขนาดตามทช่ี อบ วธิ ที า 1.วาดแพทเทริ น์ ด้วยการตดั กระดาษขนาด 25 ซม x 18.5 ซม. 2.ตีตารางลงในกระดาษ วัดระยะห่างด้านบน เริ่มจากขอบ 6.5 ซม. ช่องที่ 2 ขนาด 12 ซม. ช่องสุดท้าย 6.5 ซม. ส่วน ด้านข้างระยะห่างเริ่มจากขอบบน 6.5 ซม. ชอ่ งท่ี 2 ขนาด 6.5 ซมและช่องสดุ ท้าย 6 ซม. ตตี าราง 3.ใช้ไมบ้ รรทัดขีดเสน้ แบ่งคร่ึงตรงมุมทั้ง 4 ของกระดาษ

4.ตัดมมุ ทข่ี ีดเสน้ ไว้ออกตามภาพท้ัง 4 มุม จะได้กระดาษเป็นรูป 8 เหลีย่ ม 5.ตัดผา้ ชิ้นหลักเท่าแบบ จานวน 2 ชิน้ 6.ตัดผ้าซบั ในขนาด 16 x 24 ซม. จานวน 2 ช้ิน 7.เตรียมยางยืด ตามขนาดของใบหน้าจานวน 2 เสน้ 8.นาผ้าช้ินหลักมาวางประกบกับแบบแล้วกลัดเข็มหมุดเอาไว้รอบด้าน แล้วเย็บตะเข็บด้านข้างทั้ง 4 ระยะตะเข็บ ประมาณ 0.7 ซม. 9.กลบั ผา้ เอาด้านในออกมา แลว้ นาไปรดี 10.จากน้ันใหว้ ดั จากริมผ้าขนึ้ ไป 6 ซม. แลว้ ขีดเสน้ ไว้ วดั จากรมิ ผ้าดา้ นบนลงมา 6 ซม.แลว้ ขดี เส้นไว้ 11.พับผา้ ตามเส้นทีข่ ีดไว้แล้วกลดั เข็มหมุดติดไว้ แล้วนาไปเย็บตะเข็บ ท้งั 2 ดา้ น แล้วนาไปรดี ให้เรยี บ 12.นาผ้าซับในด้านกว้าง 16 ซม.มาขีดเส้นด้านข้าง 2.5 ซม. ท้ัง 2 ข้าง แล้วพับด้านข้างมาถึงเส้นที่ขีดไว้แล้วพับทบ กลดั เขม็ หมดุ เอาไว้ 13.นามาเย็บตะเข็บทั้ง 2 ชิ้น จากนั้นพับหาจุดกึ่งกลางแล้วจุดไว้ และวัดจากจุดก่ึงกลางดังกล่าวไปด้านละ 3.5 ซม. รวมเป็น 7 ซม. 14.นาผ้าทัง้ สองชนิ้ มาวางประกบกันเอาผา้ ด้านถูกไว้ดา้ นนอก กลดั เข็มหมดุ เอาไว้ 15.นาไปเย็บจนถึงจุดทข่ี ีดไว้ ย้าตะเข็บให้เรียบร้อย แลว้ เว้นช่องตรงกลาง 7 ซม. แล้วเยบ็ ต่อจนสุดชน้ิ งาน 16.นาผ้าซับในวางประกบกับผ้าท่ีเป็นหน้ากากอนามัย แล้วกลัดเข็มหมุดเอาไว้ โดยวางช้ินซับในให้ก่ึงกลาง ทา เหมอื นกนั ท้ังสองด้าน 17.นาไปเย็บตะเข็บทั้ง 2 ด้าน แล้วกลับเอาด้านในออกมาไป นาไปรีด และพับด้านข้างเข้ามาให้เป็นมุมและพับทบอีก รอบ โดยทาท้ัง 2 ด้านกลดั เข็มหมุดเอาไว้ และนาไปเย็บดา้ นข้างท้ัง 2 ดา้ นอีกคร้ัง 18.นายางยดื มาร้อยและเยบ็ ติดกับหน้ากากอนามยั โดยทาให้แขง็ แรงเพ่ือยดื รัดกับใบหูของเราได้ 5. หนำ้ กำกอนำมัยจำกผ้ำเช็ดหน้ำ (แบบไมต่ ้องเย็บ) อุปกรณ์ 1.ผ้าเชด็ หนา้ คอตตอน100% 1ผนื (แนะนาขนาด 16-17น้วิ ) 2.เชือก หรือยางยืด สาหรับคล้องหู

3.ผา้ กรองแบบมีประจุ (ถา้ ม)ี วธิ ีทา 1.พับผ้าเช็ดหน้าซ้ายขวาเข้าหากัน ใช้เตารีดหรือมือรีดให้เรียบและปรับขนาดความกว้างของหน้ากากให้เหมาะสมกับ หน้า 2.พับบนล่างใชเ้ ตารดี หรือมือรีดให้เรยี บตามความสะดวก 3.ปรับขนาดความยาวของผ้าเช็ดหน้าพับให้ปิดจมูกและปากได้พอดี ข้ันตอนนี้ให้ลองนาผ้าเช็ดหน้าพับมาทาบกับจมูก และปากดู หากผ้าเช็ดหน้าหนาไปอาจทาให้หายใจไม่สะดวก ก็เปลี่ยนเป็นใช้ผ้าเช็ดหน้าท่ีบางลงอีกนิด หรืออาจจะ เลือกผา้ เช็ดหนา้ ท่ที าจากผ้าที่อากาศผ่านได้ 4.สอดสายยางเข้าไปในผา้ เช็ดหน้าตามรูป ปรบั สายยางให้เกยี่ วหูได้พอดี ไมห่ ลวมและไม่แนน่ จนอดึ อัด 5.นาไปใช้ไดท้ ันทีโดยปรบั ระดับยางยืดไปท่ีขอบบนล่างของหน้ากากเพ่ือให้กระชับกับใบหน้า 6. หน้ำกำกอนำมัยจำก “ผำ้ ขำวม้ำ” และ “จวี รพระ” อปุ กรณ์ 1. ผ้าขาวม้า ลายทต่ี อ้ งการ หรือ จีวรพระ (ที่พระอนุญาตแลว้ ) 2. อุปกรณต์ ัดเยบ็ ยางยืดสาหรบั ตดิ หน้ากากอนามัย วธิ ีทา 1.วาดแพทเทริ ์นของหน้ากากอนามัยตามแบบ 2.ตดั ผ้าขาวมา้ หรือจีวรพระตามแพทเทิร์นของกระดาษ 3. เย็บจับจีบตรงกลลำงใหผ้ ้ำมีควำมแข็งแรงมำกขน้ึ 4. พับด้ำนขำ้ งเปน็ ตะเข็บเว้นไว้ให้ร้อยยำงยดื เข้ำไปได้ 5. ร้อยยำงยืดเข้ำไปในตะเข็บขำ้ งเย็บปิดใหเ้ รียบร้อย พร้อมใชง้ ำนได้

พเิ ศษ! หน้ำกำกอนำมัยจำก “กระดำษชำระ” ในประเทศญ่ีปุ่นท่ามกลางภาวะขาดแคลนหน้ากากอนามัยจากการคุกคามของไวรัสสายพันธุ์ใหม่ ผู้ใช้ทวิต เตอร์ต่างแชร์ข้อมูลจากเว็บไซต์กรมตารวจญี่ปุ่น เมื่อวันท่ี 8 ก.พ. 2020 ท่ีเผยวิธีการทาหน้ากากอนามัยจากกระดาษ ชาระสาหรับงานครัว โดยเน้ือนี้ถูกเปิดเผยสู่สาธารณะเป็นคร้ังแรกเม่ือวันท่ี 7 ส.ค. 2017 บนบัญชีทวิตเตอร์ของกรม ตารวจญ่ีปุ่น แผนกรับมือภัยพิบัติ วิธีทาง่าย ๆ เพียงนากระดาษชาระสาหรับงานครัวมาพับกระดาษทบสลับไปมา (คล้ายวธิ กี ารพบั พัดกระดาษ) จากนัน้ ใช้ท่ีเย็บกระดาษหนีบหนังยางกับปลายกระดาษท้ังสองฝ่ังเข้าด้วยกันก็เป็นอันเสร็จส้ิน โดยผู้ใช้งานสามารถปรับ ตาแหน่งของท่ีเย็บกระดาษและความกว้างกระดาษชาระได้เองตามความเหมาะสม ปัจจุบัน “หน้ากากอนามัย” กลายเป็นอีกไอเท็มติดตัวท่ีออกจากบ้านเราต้องมีไว้ใช้เพื่อความปลอดภัย สบายใจ ในภาวะที่ไวรัสแพร่ระบาด เราควร ให้ความสนใจสุขภาพตัวเอง นอกจากสวมหน้ากากอนามัยแล้ว ยังต้อง กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือบ่อยๆ และพยายาม หลกี เล่ียงทช่ี มุ นมุ ชนหรือคนเยอะ จนกว่าสถานการณ์จะคลี่คลายไปในทางที่ดีขึ้น

บทที่ 3 วิธกี ำรดำเนนิ งำน ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมอื งชลบรุ ี ได้เลง็ เห็นความสาคัญใน การจดั จึงได้จัดทาโครงการรู้เท่าทันปอ้ งกนั ตนเองจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรับนกั ศึกษา กศน.ตาบลนาปา่ โดยมขี นั้ ตอนดังนี้ 1. ประชุมคณะกรรมการ กศน.ตาบล และองคก์ รนักศกึ ษา กศน.ตาบลนาป่า 2. จดั ต้งั คณะทางาน 3. ประสานงาน/ประชาสัมพันธ์ 4. ดาเนนิ งานตามแผน 5. วัดผล/ประเมินผล/สรุปผลและรายงาน 1. ประชมุ บุคลำกรกรรมกำร กศน.ตำบลนำป่ำ กศน.ตาบลนาป่า ได้วางแผนงานร่วมกับคณะกรรมการ กศน.ตาบล และองคก์ รนักศึกษา กศน.ตาบล นาปา่ เพื่อหาแนวทางในการดาเนินงานและกาหนดวตั ถปุ ระสงคร์ ่วมกัน 2. จัดตงั้ คณะทำงำน จัดทาคาส่ังแต่งตงั้ คณะทางานโครงการ เพื่อมอบหมอบหมายหน้าท่ใี นการทางานให้ชัดเจน 2.1 คณะกรรมการที่ปรึกษา/อานวยการ มีหนา้ ทอี่ านวยความสะดวก และใหค้ าปรึกษาแก้ไขปัญหาท่ี เกดิ ข้นึ 2.2 คณะกรรมการฝ่ายจัดสถานท่ี มีหน้าท่ี จัดโต๊ะ เก้าอ้ี เวทกี ารดาเนินงานใหเ้ รียบรอ้ ย รวมทง้ั จัดหา เครื่องเสยี ง อานวยความสะดวก ตลอดการจดั กิจกรรม 2.3 คณะกรรมการฝา่ ยบนั ทึกภาพและประชาสมั พนั ธ์ มหี น้าท่บี นั ทึกภาพกจิ กรรมตลอดโครงการ และประชาสัมพันธก์ ิจกรรมให้สาธารณชนไดท้ ราบ 2.4 คณะกรรมการฝา่ ยรับลงทะเบยี นและประเมินผลหน้าท่ีจัดทาหลกั ฐานการลงทะเบียนผ้เู ขา้ ร่วม โครงการและรวบรวมการประเมนิ ผล และรายงานผลการดาเนนิ การ 3. ประสำนงำนกบั ผู้เรียน/ประชำสมั พันธ์ ประสานงานกับวิทยากร ประชาชน และเครอื ข่ายในตาบล เชน่ ประสานเร่อื งสถานทใ่ี ช้ทากจิ กรรม รูปแบบการจัดกจิ กรรมโครงการ วัน เวลา สถานท่ี รายละเอียดการเขา้ ร่วมกิจกรรม พร้อมท้ังประชาสมั พันธก์ าร จัดกิจกรรม

4. ดำเนนิ กำรตำมแผนงำนโครงกำร โครงการร้เู ท่าทนั ป้องกันตนเองจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรับนกั ศกึ ษา กศน. ตาบลนาป่า วันที่ 22 มีนาคม 2563 ณ กศน.ตาบลนาป่า หมู่ท่ี 7 ตาบลนาปา่ อาเภอเมืองชลบุรี จงั หวดั ชลบรุ ี มผี เู้ ขา้ ร่วมโครงการฯ เปน็ จานวน 25 คน 5. วดั ผล/ประเมินผล/สรุปผลและรำยงำน โครงการรเู้ ท่าทันป้องกนั ตนเองจากเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรับนกั ศกึ ษา กศน.ตาบลนาปา่ วนั ที่ 22 มีนาคม 2563 ณ กศน.ตาบลนาป่า หมู่ที่ 7 ตาบลนาป่า อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบรุ ี มีผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการฯ เปน็ จานวน 25 คน กศน.ตาบลนาป่า ได้ดาเนินการตามข้ันตอนและได้รวบรวมขอ้ มลู จากแบบสารวจสถิติท่ีใช้ในการ วิเคราะห์ คือโดยกาหนดค่าลาดับความสาคัญของการประเมนิ ผลออกเป็น 5 ระดับ ดงั นี้ มากที่สดุ ใหค้ ะแนน 5 มาก ใหค้ ะแนน 4 ปานกลาง ใหค้ ะแนน 3 นอ้ ย ให้คะแนน 2 น้อยทีส่ ดุ ใหค้ ะแนน 1 ในการแปลผล ผู้จัดทาได้ใช้เกณฑ์การพจิ ารณาจากคะแนนเฉลีย่ ตามแนวคิดของบุญชม ศรสี ะอาด และบญุ สง่ นวิ แกว้ (2535,หนา้ 22-25) 4.51-5.00 หมายความว่า ดีมาก 3.51-4.50 หมายความว่า ดี 2.51-3.50 หมายความวา่ ปานกลาง 1.51-2.50 หมายความวา่ น้อย 1.00-1.50 หมายความวา่ ตอ้ งปรบั ปรุง นักศกึ ษาที่เขา้ ร่วมโครงการฯ จะต้องกรอกข้อมลู ตามแบบสอบถาม เพื่อนาไปใชใ้ นการประเมินผลของ การจดั กิจกรรมดงั กล่าว และจะไดน้ าไปเป็นข้อมูล ปรบั ปรุง และพัฒนา ตลอดจนใช้ในการจดั ทาแผนการ ดาเนนิ การในปตี ่อไป

บทท่ี 4 ผลกำรดำเนินงำนและกำรวิเครำะห์ขอ้ มลู ในการจดั โครงการร้เู ทา่ ทนั ป้องกนั ตนเองจากเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรบั นักศกึ ษา กศน.ตาบลนาปา่ วันท่ี 22 มีนาคม 2563 เวลา 08.00 - 16.30 น. ณ กศน.ตาบลนาปา่ หมู่ที่ 7 ตาบลนา ป่า อาเภอเมืองชลบุรี จังหวดั ชลบรุ ี มีผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ จานวน 25 คน ซงึ่ ไดส้ รปุ ผลจากแบบสอบถามและ นาเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล จากการกาหนดขนาดของกลมุ่ ตวั อยา่ งโดยใชต้ าราง ซงึ่ ได้สรปุ ผลจาก แบบสอบถามและนาเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมลู จากผู้เขา้ ร่วม จานวน 25 ชุด ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนตัวผู้ตอบแบบถามของผู้เข้าร่วม โครงการรู้เท่าทันป้องกันตนเอง จากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรับนักศึกษา กศน.ตาบลนาป่า วันที่ 22 มีนาคม 2563 เวลา 08.00 - 16.30 น. ณ กศน.ตาบลนาป่า หมู่ท่ี 7 ตาบลนาป่า อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี มีผู้เข้าร่วม โครงการ จานวน 25 คน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมท่ีตอบแบบสอบถามได้นามาจาแนกตามเพศ อายุ และอาชีพ ผจู้ ัดทาไดน้ าเสนอจาแนกตามขอ้ มูลดังกลา่ ว ดังปรากฏตามตารางที่ 1 ดังต่อไปนี้ ตำรำงท่ี 1 แสดงคำ่ รอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถำม โดยจำแนกตำมเพศ ความคิดเห็น ชาย หญิง เพศ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ ผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรมโครงการรเู้ ท่าทันปอ้ งกนั ตนเอง 17 68.00 8 32.00 จากเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรบั นกั ศึกษา กศน.ตาบลนาปา่ จากตารางที่ 1 แสดงว่า ผตู้ อบแบบสอบถามของผูเ้ ข้ารว่ มโครงการรเู้ ท่าทนั ป้องกนั ตนเองจากเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรับนกั ศึกษา กศน.ตาบลนาป่า เป็นชาย 17 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 68.00 เป็น หญงิ 8 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 32.00

ตำรำงที่ 2 แสดงคำ่ ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถำม โดยจำแนกตำมอำยุ อายุ ตา่ กวา่ 15 ปี 15-29 ปี 30-39 ปี 40-49 ปี 50-59 ปี 60 ปขี ้นึ ไป จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ ประเภท ความคดิ เหน็ ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม 1 4.00 17 68.00 4 16.00 3 12.00 - - - - โครงการร้เู ท่าทัน ป้องกนั ตนเองจาก เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรับนกั ศึกษา กศน.ตาบลนาปา่ จากตารางที่ 2 แสดงวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมผู้เข้ารว่ มกิจกรรมโครงการรเู้ ทา่ ทันป้องกนั ตนเองจากเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรับนักศกึ ษา กศน.ตาบลนาป่า ในช่วงอายุ ต่ากว่า 15 ปี มจี านวน 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4.00 ในชว่ งอายุ 15-29 ปี มจี านวน 17 คน คดิ เป็นร้อยละ 68.00 ในชว่ งอายุ 30-39 ปี มีจานวน 4 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 16.00 ในชว่ งอายุ 40-49 ปี มีจานวน 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 12.00 ตำรำงที่ 3 แสดงค่ำร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถำม โดยจำแนกตำมอำชพี ประเภท รับจา้ ง ค้าขาย รับราชการ เกษตรกร อื่นๆ(ว่างงาน) ความคดิ เหน็ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ ผ้เู ข้าร่วมกิจกรรม 20 80.00 -- -- -- 5 20.00 โครงการร้เู ท่าทัน ปอ้ งกันตนเองจากเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรบั นกั ศกึ ษา กศน.ตาบล นาปา่

จำกตำรำงท่ี 3 แสดงวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามของผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมโครงการรเู้ ท่าทนั ปอ้ งกันตนเอง จากเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรับนกั ศึกษา กศน.ตาบลนาป่า ประกอบอาชพี รบั จ้าง มจี านวน 20 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 80.00 ประกอบอาชีพอืน่ ๆ มีจานวน 5 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 20.00 ตำรำงที่ 4 แสดงค่ำร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถำม โดยจำแนกตำมระดบั กำรศกึ ษำ ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย สงู กว่า ม.ปลาย ความคดิ เห็น จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ ผ้เู ขา้ ร่วมกจิ กรรมโครงการอบรม 3 12.00 9 36.00 13 52.00 - - ใหค้ วามรู้การปอ้ งกนั การแพร่เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรบั นกั ศึกษา กศน.ตาบลนาปา่ จำกตำรำงที่ 4 แสดงว่า ผตู้ อบแบบสอบถามของผ้เู ข้าร่วมกจิ กรรมโครงการรูเ้ ท่าทนั ปอ้ งกนั ตนเอง จากเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรบั นักศึกษา กศน.ตาบลนาป่า การศกึ ษาระดับประถมศกึ ษา มี จานวน 3 คน คิดเปน็ ร้อยละ 12.00 ระดบั ม.ต้น มีจานวน 9 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 36.00 ระดับ ม.ปลาย มีจานวน 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 13.33 ตอนท่ี 2 ข้อมูลเกย่ี วกบั ควำมคดิ เหน็ ของผู้เข้ำรว่ มโครงการรเู้ ท่าทนั ป้องกนั ตนเองจากเช้ือไวรสั โคโร นา 2019 (COVID-19) สาหรบั นักศึกษา กศน.ตาบลนาป่า ความคดิ เห็นของผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรม จานวน 25 คน จากแบบสอบถามท้งั หมดที่มีต่อ โครงการรเู้ ท่าทนั ปอ้ งกันตนเองจากเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรบั นักศกึ ษา กศน.ตาบลนาปา่ ณ ทก่ี ศน.ตาบลนาปา่ หมู่ท่ี 7 ตาบลนาป่า อาเภอเมือง ชลบุรี จังหวดั ชลบรุ ี ดงั ปรากฏในตารางท่ี 5 ตำรำงที่ 5 โครงกำรรเู้ ท่ำทนั ปอ้ งกนั ตนเองจำกเชื้อไวรสั โคโรนำ 2019 (COVID-19) สำหรับ นักศกึ ษำ กศน.ตำบลนำป่ำ

เนอื้ หาโครงการรเู้ ท่าทนั ป้องกันตนเองจากเชือ้ ไวรสั โคโรนา N = 25 2019 (COVID-19) สาหรบั นักศึกษา กศน.ตาบลนาป่า X̄ S.D. อันดบั ที่ ระดับผลการประเมนิ ตอนที่ 1 ควำมพึงพอใจดำ้ นเนื้อหำ 1.เนื้อหาตรงตามความต้องการ 4.76 0.44 4 ดีมาก 2.เนื้อหาเพียงพอตอ่ ความตอ้ งการ 4.76 0.44 4 ดมี าก 3.เนื้อหาเป็นปจั จุบันและทันสมยั 4.72 0.46 5 ดีมาก 4.เน้ือหามีประโยชน์ตอ่ การนาไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพชีวติ 4.84 0.37 2 ดมี าก ตอนท่ี 2 ควำมพึงพอใจดำ้ นกระบวนกำรจดั กจิ กรรม 4.80 0.41 3 ดมี าก 5. การเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นจัดกิจกรรม 6. การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ 4.88 0.33 1 ดีมาก 7. การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา 4.72 0.46 5 ดีมาก 8. การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับกลมุ่ เปา้ หมาย 4.76 0.44 4 ดมี าก 9. วธิ ีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ 4.72 0.46 5 ดมี าก ตอนที่ 3 ควำมพงึ พอใจตอ่ วิทยำกร 4.84 0.37 2 ดมี าก 10. วทิ ยากรมคี วามรู้ความสามารถในเร่อื งที่ถา่ ยทอด 4.80 0.41 3 ดมี าก 11. วิทยากรมีเทคนคิ การถ่ายทอดใชส้ ่ือเหมาะสม 12. วิทยากรเปดิ โอกาสให้มสี ว่ นรว่ มและซกั ถาม 4.72 0.46 5 ดมี าก ตอนท่ี 4 ควำมพงึ พอใจดำ้ นกำรอำนวยควำมสะดวก 13. สถานท่ี วัสดุ อุปกรณแ์ ละสิง่ อานวยความสะดวก 4.76 0.44 4 ดมี าก 14. การส่ือสาร การสรา้ งบรรยากาศเพื่อใหเ้ กิดการเรยี นรู้ 4.88 0.33 1 ดมี าก 15. การบรกิ าร การช่วยเหลอื และการแก้ปัญหา 4.72 0.46 5 ดีมาก คำ่ เฉล่ีย 4.78 0.04

จำกตำรำงที่ 5 พบว่ำ โดยเฉล่ยี แลว้ ผเู้ ข้ำรบั กำรอบรมในโครงกำรรูเ้ ทำ่ ทนั ปอ้ งกนั ตนเองจำก เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรบั นกั ศึกษา กศน.ตาบลนาป่า อยู่ในระดบั ดมี าก เมื่อวเิ คราะห์เป็นรายข้อความพึงพอใจ ในภาพรวมของผูร้ บั การอบรม (x=̄ 4.88) ลาดบั ท่ี 1 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์, การ สอื่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพื่อใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ (x=̄ 4.84) เปน็ ลาดบั ที่ เน้ือหามีประโยชนต์ ่อการนาไปใช้ในการ พฒั นาคณุ ภาพชีวติ , วิทยากรมคี วามรคู้ วามสามารถในเร่ืองที่ถ่ายทอด (x̄ =4.80) เป็นลาดบั ที่ 3 การเตรียมความ พรอ้ มก่อนจดั กจิ กรรม, วิทยากรมเี ทคนคิ การถ่ายทอดใชส้ ่ือเหมาะสม (x=̄ 4.76) เป็นลาดบั ท่ี 4 .เน้อื หาตรงตาม ความตอ้ งการ, เนอื้ หาเพยี งพอตอ่ ความต้องการ, การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุม่ เปา้ หมาย, สถานท่ี วสั ดุ อปุ กรณ์และสิง่ อานวยความสะดวก (x̄=4.72) เปน็ ลาดับท่ี 5 เนื้อหาเปน็ ปัจจบุ ันและทันสมัย, การจดั กิจกรรม เหมาะสมกับเวลา, วิธกี ารวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์, วทิ ยากรเปดิ โอกาสให้มีส่วนร่วมและ ซักถาม, การบรกิ าร การชว่ ยเหลือและการแกป้ ัญหา ตามลาดับ ผลกำรประเมินโครงกำรรเู้ ทำ่ ทนั ป้องกันตนเองจำกเชื้อไวรัสโคโรนำ 2019 (COVID-19) สำหรบั กศึกษำ กศน.ตำบลนำปำ่ เน้อื หาโครงการรู้เทา่ ทันป้องกันตนเองจาก N = 25 เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรับนกั ศึกษา กศน.ตาบลนาปา่ x̄ S.D. อันดบั ที่ ระดบั ผลการประเมิน 1. การมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมกลมุ่ 4.76 0.44 3 ดมี าก 2. ความพึงพอใจในการเข้ารว่ มโครงการ 4.80 0.41 2 ดีมาก 3. การคดิ อย่างมีเหตผุ ล 4.68 0.48 5 ดีมาก 4. การเขา้ ใจ และรบั ฟังความคดิ เหน็ จากผู้อนื่ 4.84 0.37 1 ดมี าก 5. การรจู้ ัก และเขา้ ใจตนเอง 4.72 0.46 4 ดีมาก 4.76 0.04 ดมี ำก ค่ำเฉลีย่ ผลการประเมินโครงการรู้เท่าทันปอ้ งกันตนเองจากเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรบั นักศึกษา กศน.ตาบลนาป่า พบว่า โดยเฉลย่ี แลว้ ผู้เขา้ ร่วมโครงการรเู้ ท่าทนั ปอ้ งกันตนเองจากเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรบั นกั ศึกษา กศน.ตาบลนาปา่ อยู่ในระดับ ดมี าก เม่ือวิเคราะหเ์ ป็นรายขอ้ พบวา่ (x̄=4.84) เป็นลาดับที่ 1 การเข้าใจ และรบั ฟงั ความคิดเห็นจากผ้อู ื่น (x̄=4.80) เป็นลาดับที่ 2 ความพึงพอใจใน

การเข้ารว่ มโครงการ (x̄=4.76) เป็นลาดบั ที่ 3 การมสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมกลมุ่ (x=̄ 4.72) เป็นลาดับท่ี 4 การรู้จัก และเข้าใจตนเอง (x=̄ 4.68) เป็นลาดับท่ี 5 การคดิ อยา่ งมีเหตผุ ล ตามลาดบั ตำรำงท่ี 6 ผ่ำนกำรฝกึ อบรมไดน้ ำควำมรไู้ ปใช้จริง ประเภท เพมิ่ รายได้ ลดรายจ่าย นาไปประกอบ พฒั นาคณุ ภาพ ใชเ้ วลาว่างให้ ความคิดเห็น จานวน ร้อย จานว ร้อย อาชีพ ชีวิต เป็นประโยชน์ ผ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรม ละ น ละ โครงการรู้เท่าทันป้องกัน จานว ร้อยละ จานวน ร้อย จานวน รอ้ ยละ ตนเองจากเช้ือไวรสั โคโร -- -- นา 2019 (COVID-19) น ละ สาหรับนกั ศึกษา กศน. ตาบลนาป่า - - 25 100.0 - - 0 จากตารางที่ 6 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการรู้เท่าทัน ป้องกันตนเองจากเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรับนักศึกษา กศน.ตาบลนาป่า ได้นาความรู้ ไปใชจ้ ริง ด้านพฒั นาคณุ ภาพชีวติ จานวน 25 คน รอ้ ยละ 100.00

บทที่ 5 สรุป อภปิ รำยผล และขอ้ เสนอแนะ จากโครงการรูเ้ ท่าทนั ป้องกนั ตนเองจากเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรบั นกั ศกึ ษา กศน.ตาบลนาป่า โดยมวี ัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือใหน้ ักศึกษาตาบลนาป่า เกิดตระหนักในการดแู ลสุขภาพ สามารถปอ้ งกนั โรคระบาดจากเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และเกิดทักษะในการจดั ทาหน้ากากอนามัย ไว้ใช้เองในครัวเรือน และสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ใหก้ ับบุคคลอนื่ ได้ ในวันท่ี 22 เดอื นมีนาคม พ.ศ. 2563 ณ ทก่ี ศน.ตาบลนาปา่ หมู่ที่ 7 ตาบลนาปา่ อาเภอเมอื งชลบุรี จงั หวัด ชลบุรี ทง้ั นีข้ อสรปุ และอภิปรายผลและข้อเสนอแนะดังน้ี 1. สรุปผล 1.1 ผู้ตอบแบบสอบถามของโครงการรเู้ ท่าทนั ป้องกนั ตนเองจากเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรบั นกั ศกึ ษา กศน.ตาบลนาป่า จานวนท้งั หมด 25 คน เป็นชาย 17 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 68.00 เปน็ หญิง 8 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 32.00 ในชว่ งอายุ ตา่ กว่า 15 ปี มีจานวน 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 4.00 ในชว่ งอายุ 15-29 ปี มีจานวน 17 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 68.00 ในชว่ งอายุ 30-39 ปี มจี านวน 4 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 16.00 ในช่วงอายุ 40-49 ปี มจี านวน 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 12.00 ประกอบอาชีพรบั จา้ ง มี จานวน 20 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80.00 ประกอบอาชีพอืน่ ๆ มีจานวน 5 คน คิดเปน็ ร้อยละ 20.00 การศกึ ษาระดับประถมศกึ ษา มีจานวน 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 12.00 ระดบั ม.ต้น มีจานวน 9 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 36.00 ระดบั ม.ปลาย มีจานวน 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 13.33 1.2 ขอ้ มลู เกย่ี วกับความคดิ เห็นของผ้เู ข้ารับการอบรมในโครงการร้เู ทา่ ทนั ป้องกันตนเองจากเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรบั นักศึกษา กศน.ตาบลนาป่า มคี วามพงึ พอใจในภาพรวมอยู่ในระดบั ดี มาก เม่ือวิเคราะห์เปน็ รายข้อความพึงพอใจในภาพรวมของผรู้ ับการอบรม (x=̄ 4.88) ลาดบั ที่ 1 การออกแบบ กจิ กรรมเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค์, การสอ่ื สาร การสร้างบรรยากาศเพอื่ ให้เกดิ การเรียนรู้ (x̄=4.84) เป็นลาดบั ท่ี เน้อื หามีประโยชน์ตอ่ การนาไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพชีวิต, วทิ ยากรมีความรู้ความสามารถในเร่ืองท่ถี า่ ยทอด (x̄ =4.80) เป็นลาดับท่ี 3 การเตรยี มความพร้อมก่อนจดั กจิ กรรม, วทิ ยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใชส้ ื่อเหมาะสม (x̄=4.76) เป็นลาดบั ที่ 4 .เน้ือหาตรงตามความตอ้ งการ, เน้ือหาเพียงพอต่อความต้องการ, การจดั กิจกรรม

เหมาะสมกบั กลุ่มเปา้ หมาย, สถานที่ วสั ดุ อุปกรณ์และส่ิงอานวยความสะดวก (x̄=4.72) เป็นลาดับที่ 5 เนื้อหา เป็นปจั จุบนั และทนั สมัย, การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา, วิธีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์, วทิ ยากรเปดิ โอกาสใหม้ สี ว่ นรว่ มและซกั ถาม, การบริการ การช่วยเหลอื และการแกป้ ัญหา ตามลาดับ 2. อภิปรำยผล - ผเู้ ข้าร่วมโครงการรูเ้ ทา่ ทนั ป้องกันตนเองจากเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรบั นักศึกษา กศน.ตาบลนาปา่ มคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดับดีมาก คดิ เปน็ ค่าเฉลี่ย 4.78 3. ขอ้ เสนอแนะ -

บรรณำนุกรม กรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น. (ม.ป.ป. : 9), (2546:76). บุญชม ศรสี ะอาด และ บญุ ส่ง นิวแกว้ . (2535 หน้า 22 – 25). บรรพต สวุ รรณประเสรฐิ . (2544:12). สานกั งานบรหิ ารการศกึ ษานอกโรงเรียน. (2549:2), (2549:5). แหลง่ อา้ งอิง https://dric.nrct.go.th/News/DetailKnowledge/650 http://www.thaismescenter.com/%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%A1-6-diy-

ภำคผนวก

แบบ กศ.ตน. 10 แบบประเมนิ ควำมพงึ พอใจ หลกั สตู ร/โครงกำรโครงการรู้เทา่ ทันป้องกันตนเองจากเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรบั นกั ศกึ ษา กศน.ตาบลนาปา่ ระหว่างวนั ท่ี 22 เดือนมีนาคม พ.ศ.2563 สถำนท่จี ัด กศน.ตาบลนาปา่ หมู่ที่ 7 ตาบลนาปา่ อาเภอเมือง จงั หวดั ชลบรุ ี ขอ้ มูลพืน้ ฐำนของผู้ประเมินควำมพงึ พอใจ เพศ ชาย หญงิ อาย.ุ ..........ปี วฒุ ิการศกึ ษา.............................อาชพี .................................... คำชี้แจง 1. แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ มี 4 ตอน 2. โปรดแสดงเครื่องหมาย √ ในชอ่ งวา่ งระดบั ความพงึ พอใจตามความคดิ เหน็ ของท่าน ขอ้ รำยกำรประเมินควำมพึงพอใจ ระดบั ควำมพงึ พอใจ หมำย ตอนท่ี 1 ควำมพึงพอใจดำ้ นเนอื้ หำ มำก มำก ปำน น้อย น้อย เหตุ 1 เนอื้ หาตรงตามความตอ้ งการ 2 เนอ้ื หาเพียงพอตอ่ ความต้องการ ทีส่ ดุ กลำง ทีส่ ุด 3 เนื้อหาปจั จบุ นั ทนั สมัย 4 เนอื้ หามปี ระโยชน์ตอ่ การนาไปใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ตอนที่ 2 ควำมพึงพอใจด้ำนกระบวนกำรจดั กจิ กรรม/กำรอบรม 5 การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม 6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ 7 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา 8 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั กลมุ่ เปา้ หมาย 9 วิธกี ารวัดผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวตั ถุประสงค์ ตอนท่ี 3 ควำมพึงพอใจตอ่ วทิ ยำกร 10 วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรอ่ื งทีถ่ ่ายทอด 11 วิทยากรมีเทคนคิ การถ่ายทอดใชส้ อื่ เหมาะสม 12 วิทยากรเปดิ โอกาสใหม้ สี ว่ นร่วมและซกั ถาม ตอนที่ 4 ควำมพึงพอใจดำ้ นกำรอำนวยควำมสะดวก 13 สถานท่ี วสั ดุ อปุ กรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก 14 การส่ือสาร การสรา้ งบรรยากาศเพื่อใหเ้ กิดการเรียนรู้ 15 การบรกิ าร การช่วยเหลอื และการแก้ปญั หา

ผผู้ า่ นการฝกึ อบรมไดน้ าความร้ไู ปใชจ้ รงิ เพม่ิ รายได้ ลดรายจา่ ย นาไปประกอบอาชพี พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ใช้เวลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์ อนื่ ๆ ระบุ………………………. ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะอน่ื ๆ ....................................................................................................................................................................................................... หมำยเหตุ สถานศึกษาอาจปรับเปลยี่ นตามความเหมาะสมกับโครงการฯ/กจิ กรรมทจ่ี ัดอบรม