Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข

โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข

Published by angrymin.error, 2020-06-08 21:57:08

Description: โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข

Search

Read the Text Version

3 โครงการผูส งู อายุสุขภาพดี ชีวีมสี ุข วันท่ี 7 พฤษภาคม 2562 ณ โรงพยาบาลสง เสริมสขุ ภาพตําบลนาปา หมูท่ี 4 ตําบลนาปา อําเภอเมอื งชลบุรี จังหวัดชลบุรี กศน.ตําบลนาปา ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมอื งชลบุรี

4 คาํ นาํ ผูสูงอายุถือไดวาเปนทรัพยากรของชาติที่มีคุณคาทุกคนควรใหความรักเคารพ และ ดูแลเอาใจใส เนื่องจากเปนผูที่สรางประโยชนแกประเทศชาติมากอน สามารถถายทอดความรู ประสบการณ และวัฒนธรรมอันดีไปสูลูกหลาน แตปจจุบันผูสูงอายุถูกทอดทิ้งจากบุตรหลาน มากข้ึน ทํากิจวัตรและดูแลตัวเองในเรื่องของความเปนอยูในชีวิตประจําวันมากข้ึน ฉะนั้นผูสูงอายุ ควรตองไดรับความรูในเร่ือง การรบั ประทานอาหารใหครบ 5 หมู การออกกาํ ลังกาย การดูแลสุขภาพ ปากและฟน การปองกันอุบัติเหตุเหลา นี้ เปนตน เพื่อท่ีจะสามารถดแู ลสุขภาพรางกายของตัวเองได ทําใหเกิดปญหาไดนอยท่ีสุด และสงผลใหจิตใจสดชื่น แจมใส ชวยใหคนรอบขางหรือครอบครัวทั้ง สังคมมีความสุขดวยและครอบครัวเปนสถาบันที่เล็กท่ีสุดแตมีความสําคัญที่สุด ถาครอบครัวให ความสําคัญและเล็งเห็นความสําคัญของผสู ูงอายุดวยแลวครอบครัวและสังคมไทยจะมีความสขุ และ ทุกคนมีสุขภาพจิตท่ีดีสงผลใหรางกายดีตามมาเพ่ือเปนการสงเสริมสุขภาพผูสูงอายุและสงเสริม สถาบนั ครอบครวั ดงั กลาว กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ในฐานะหนวยงานที่รับผิดชอบดานการสงเสริมสุขภาพ และการจัดการอนามัยสิ่งแวดลอมใหเอ้ือตอการมีสุขภาพดีของประชาชน และเพื่อใหเกิดการปฏิบัติ ในระดับครัวเรือนอยางเปนรูปธรรม จึงไดจัดทําโครงการ “ผูสูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข ” ขึ้น เพื่อให ผูสูงอายุสามารถดูแลสุขภาพและแกปญหาดานสุขภาพดวยตนเอง มีการพบปะแลกเปลี่ยน ประสบการณ รูสึกมีคุณคาในตนเอง และมีสุขภาพทางกาย ทางจิตที่ดีสามารถอยูในสังคม ไดอยา งเปนสขุ ทายน้ี กศน.ตําบลนาปา ตองขอขอบคุณ กศน.อําเภอเมืองชลบุรีและผูท่ีเก่ียวของท่ีให คําปรกึ ษาแนะนาํ การจัดทาํ โครงการฯหากมีขอบกพรอ งผูจ ัดตอ งขออภัยมาไว ณ ทีน่ ้ี และจะปรับปรุง ใหด ีย่ิงขึ้นในโอกาสตอ ไป กศน.ตําบลนาปา พฤษภาคม 2562

5 สารบัญ หนา บทที่ 1 บทนํา ความเปนมา………………………………………………………………………………………….1 วตั ถปุ ระสงค………………………………………………………………………………………….1 เปา หมาย………………………………………………………………………………………………2 ผลลพั ธ………………………………………………………………………………………………….2 ดชั นีตวั ช้วี ัดผลสาํ เรจ็ ของโครงการ…………………………………………………………….2 2 เอกสารการศึกษาและรายงานท่เี กยี่ วของ……………………………………………………………3 ยุทธศาสตรแ ละจุดเนน การดาํ เนนิ งาน สํานกั งาน กศน. ประจําปงบประมาณ 2562 ……………………………………………………………………3 แนวทาง/กลยุทธการดาํ เนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั ของกศน.อาํ เภอเมืองชลบุรี……………………………………………………10 แนวทางหรือวิธกี ารจดั กจิ กรรมการศึกษาตอเน่ือง...............................................19 เอกสารงานทเี่ ก่ียวของ..........................................................................................22 3 วธิ ดี ําเนนิ งาน……………………………………………………………………………………………………...33 ประชุมปรกึ ษาหารอื การจดั โครงการ กศน.ตาํ บลนาปา……………………………………33 แตง ตั้งคณะทํางาน………………………………………………………………………………………33 ประสานงาน/เครือขายท่เี กยี่ วขอ ง…………………………………………………………………33 ดําเนินการตามแผนงานโครงการ…………………………………………………………………...34 สรปุ ผลและรายงาน………………………………………………………………………………………34 4 ผลการดําเนนิ งานและการวิเคราะหข อมลู …………………………………………………………………35 ตอนท่ี 1 ขอมูลสวนตวั ผูแบบสอบถามของผเู ขารับการอบรมใน โครงการผสู ูงอายุสุขภาพดี ชวี ีมีสุข ……………………………………………………………..35 ตอนที่ 2 ขอมูลเก่ียวกับความคดิ เหน็ ท่ีมีตอโครงการผสู งู อายุสขุ ภาพดี ชวี มี สี ขุ ……36

6 สารบญั (ตอ ) หนา บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และขอ เสนอแนะ………………………………………………………………….39 ผลทป่ี รากฏ…………………………………………………………………………………………39 สรปุ ผลการดาํ เนินงาน………………………………………………………………………….40 ปญหาและอุปสรรค……………………………………………………………………………..40 ขอ เสนอแนะ………………………………………………………………………………………40 บรรณานกุ รม ภาคผนวก

7 สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 1 แสดงคารอยละของผตู อบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามเพศ…………………….35 2 แสดงคารอ ยละของผตู อบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามอาย…ุ …………………35 3 แสดงคา รอยละของผูต อบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามอาชีพ…………………36 4 แสดงคา รอยละของผูต อบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามระดับการศกึ ษา…..36 5 ผลการประเมนิ โครงการผูสูงอายุสขุ ภาพดี ชวี ีมีสขุ ……………………….………….37

8 บทที่ 1 บทนํา ความเปน มา การเปลยี่ นแปลงโครงสรางประชากรของประเทศไทย ทําใหประชากรในวัยผสู งู อายุ เพม่ิ ข้นึ ประกอบกบั การเปลย่ี นแปลงทางดา นเศรษฐกิจและสังคม มผี ลใหล ักษณะครอบครัวไทย เปลี่ยนจากครอบครัวขยาย (Extend Family) ไปสูค รอบครัวเด่ียว (Nuclear Family) ความสัมพันธ ระหวางสมาชิกในครอบครัวลดลง จาํ นวนผูทจ่ี ะทาํ หนา ท่ดี ูแลผูส งู อายุในครอบครวั ลดลง มีเวลาให ผสู ูงอายุลดลง ขาดการใหความรักและความอบอนุ ผูสูงอายุจงึ ถูกทอดทิ้งใหอ ยโู ดดเดยี่ ว ดาํ เนินชีวติ เพยี งลาํ พัง จากสภาพสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงไป ทาํ ใหผูส ูงอายุตองเผชญิ กับปญ หาในการปรบั ตวั เพ่อื ใหสอดคลองกับสังคมในปจจุบนั ทัง้ ในดานความคดิ ความเขา ใจ และคา นยิ มตาง ๆ ซ่ึงกอ ให ผสู งู อายุเกดิ ความนอยใจ ความเครียด ความคับของใจ แยกตวั ออกจากสังคม ขาดสมั พันธภาพกับ สมาชิกในครอบครัว ทอแทและเบ่อื หนา ยในชีวติ ประกอบกับวยั สงู อายเุ ปนวยั ที่ตองเผชิญกบั รูปแบบ การดําเนนิ ชวี ติ แบบใหม ตองออกจากงาน มีรายไดล ดลง ภาวะสุขภาพเสอ่ื มลง มโี รคทางกายเพ่ิมมาก ขึน้ มีสารชีวเคมีและฮอรโ มนลดลง การสญู เสยี ส่งิ สาํ คัญของชวี ิต เชน การสญู เสยี คชู วี ิต เพราะตาย จาก การสญู เสยี บตุ รเพราะแยกไปมีครอบครวั การสญู เสียตําแหงหนา ท่ีการงาน การสูญเสีย สถานภาพ หรือบทบาททางสงั คม ตลอดจนการสูญเสยี การเปนทพ่ี งึ่ ของครอบครัว สงิ่ เหลา น้ีลว นเปน ปจ จยั สาํ คญั ทสี่ ง ผลกระทบตอจิตใจของผสู งู อายุ และหากผสู งู อายไุ มไดร บั การดูแลเอาใจใสจ าก บุคคลใกลชิดดวยแลว จะยงิ่ สงเสริมใหผูสงู อายุวา เหว มีภาวะซึมเศรา และความรสู ึกมีคุณคาในตนเอง ลดลงจนเกดิ ความรสู กึ สิ้นหวงั แยกตวั ออกจากสังคม เปนผลใหเ กิดความผดิ ปกติทางจิตใจทร่ี นุ แรง และอาจเปนอนั ตรายตอชวี ติ ได กศน.ตําบลนาปา สังกดั ศูนยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาํ เภอ เมืองชลบุรี ไดเล็งเห็นความสําคัญของของการดูแลผูสูงอายุ จึงไดจัดโครงการผูสูงอายุสุขภาพดี ชวี ีมสี ุข ขึน้ วตั ถปุ ระสงค 1. เพอ่ื ใหผูส ูงอายุสามารถดแู ลสขุ ภาพและแกปญ หาดานสุขภาพดวยตนเอง 2. เพอื่ ใหผสู ูงอายุไดมีการพบปะแลกเปล่ยี นประสบการณและรสู ึกมีคุณคาในตนเอง 3. เพอื่ ใหผ สู ูงอายุมสี ุขภาพทางกาย ทางจิตทด่ี ีสามารถอยูในสงั คมไดอยา งเปนสขุ

9 เปา หมาย เชงิ ปรมิ าณ ประชาชนตาํ บลนาปา จํานวน 25 คน เชิงคณุ ภาพ ผูเขา รวมโครงการฯ มีความรู ความเขาใจ เพอ่ื ใหผ สู งู อายสุ ามารถดูแลสุขภาพและ แกป ญหาดา นสุขภาพดว ยตนเอง มีการพบปะแลกเปลย่ี นประสบการณ รูสึกมคี ุณคาในตนเอง และมี สขุ ภาพทางกาย ทางจิตทีด่ สี ามารถอยูในสังคมไดอยา งเปนสขุ ผลลัพธ ผเู ขา รวมโครงการฯ ตาํ บลนาปา รอยละ 80 มีความรู ความเขา ใจ ผสู งู อายุสามารถดูแล สขุ ภาพและแกปญหาดา นสขุ ภาพดวยตนเอง มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ รูสึกมีคุณคาใน ตนเอง และมีสขุ ภาพทางกาย ทางจิตทีด่ ีสามารถอยูในสังคมไดอยางเปน สุข ดัชนีตวั ชว้ี ัดผลสําเรจ็ ของโครงการ ตัวช้ีวดั ผลผลิต - ผเู ขา รว มโครงการฯ ไมนอยกวา รอยละ 80 - ผเู ขารว มโครงการฯ มคี วามพึงพอใจอยูใ นระดบั ดีขึ้นไป ไมนอยกวา รอยละ 80 ตัวช้วี ดั ผลลัพธ - ผูเ ขารวมโครงการฯ ไมน อยกวารอยละ 50 สามารถนําความรไู ปประยกุ ตใชใ น ชวี ิตประจําวันได - ผูเขา รว มโครงการฯ ไมนอยกวารอ ยละ 10 สามารถนาํ ความรูท่ีไดรบั ไปขยายผลได

10 บทท่ี 2 เอกสารการศกึ ษาและรายงานที่เก่ยี วของ ในการจดั ทํารายงานโครงการผสู ูงอายสุ ุขภาพดี ชีวีมีสุข คร้ังน้ี ผจู ดั ทาํ โครงการได ทําการคน ควา เน้ือหาเอกสารการศกึ ษาและงานวิจัยที่เกยี่ วของ ดังนี้ 1. ยทุ ธศาสตรและจุดเนน การดําเนินงาน สํานกั งาน กศน. ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562 2. แนวทาง/กลยทุ ธการดาํ เนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของ กศน.อําเภอเมืองชลบุรี 3. กรอบการจัดกจิ กรรมพัฒนาทักษะชีวติ 4. อาหารโภชนาการสาํ หรบั ผสู ูงอายุ รทู ันสญั ญาณเตือนและอาการของโรคสมองเส่ือม 1. ยทุ ธศาสตรและจดุ เนน การดําเนนิ งาน สาํ นกั งาน กศน.ประจาํ ปงบประมาณ 2562 วิสยั ทัศน คนไทยไดรับโอกาสการศึกษาและการเรียนรูตลอดชวี ิตอยา งมีคณุ ภาพ สามารถ ดํารงชวี ิตทีเ่ หมาะสมกับชวงวัย สอดคลอ งกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และมีทักษะที่จําเปน ในโลกศตวรรษท่ี 21 บทบาทหนา ท่ี สาํ นกั งาน กศน. มบี ทบาทหนา ทตี่ ามบทบัญญัติแหง พระราชบัญญตั ิสงเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย พ.ศ. 2551 1. เปนหนวยงานกลางในการดาํ เนินการ สง เสริม สนบั สนุน และประสานงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั และรบั ผดิ ชอบงานธุรการของคณะกรรมการ* 2. จดั ทาํ ขอเสนอแนะ นโยบาย ยุทธศาสตร แผน และมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั ตอคณะกรรมการสงเสรมิ สนบั สนุนและประสานความรว มมือการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 3. สงเสรมิ สนบั สนนุ และดําเนินการพฒั นาคณุ ภาพทางวชิ าการ การวจิ ยั การพัฒนา หลกั สูตรและนวัตกรรมทางการศกึ ษา บุคลากร และระบบขอ มลู สารสนเทศทเ่ี กยี่ วของกบั การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 4. สง เสรมิ สนบั สนุน และดําเนนิ การเทียบโอนผลการเรียน การเทียบโอนความรแู ละ ประสบการณและการเทียบระดบั การศกึ ษา 5. สงเสริม สนบั สนุน และประสานงานใหบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชมุ ชน องคกร ปกครองสว นทอ งถน่ิ องคก รเอกชน องคกรวชิ าชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และองคก รอ่ืน รวมตัวกนั เปนภาคีเครือขายเพอื่ เสริมสรา งความเขมแข็งในการดาํ เนินงานการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั 6. จัดทาํ ขอเสนอแนะเก่ยี วกบั การใชป ระโยชนเ ครอื ขา ยเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ สือ่ สาร สถานวี ทิ ยโุ ทรทัศนเพื่อการศกึ ษา วทิ ยุชมุ ชน ศนู ยว ทิ ยาศาสตรเพือ่ การศึกษา หองสมุด

11 ประชาชน พิพธิ ภัณฑศนู ยก ารเรียนชุมชนและแหลงการเรียนรอู ่ืน เพื่อสงเสรมิ การเรยี นรูแ ละการพฒั นา คุณภาพชวี ติ อยา งตอ เนื่องของประชาชน 7. ดําเนินการเกย่ี วกบั การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนนิ งานการศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 8. ปฏบิ ตั ิงานอ่ืนใดตามพระราชบัญญตั ินหี้ รอื กฎหมายอน่ื ทบี่ ัญญตั ิใหเ ปนอํานาจหนาท่ี ของสาํ นักงานหรอื ตามที่รัฐมนตรีมอบหมาย เปา ประสงค กกกกกก 1. ประชาชนผูดอ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทงั้ ประชาชนทัว่ ไปไดร ับ โอกาสทางการศึกษาในรูปแบบการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน การศึกษาตอเนื่องและ การศึกษาตามอธั ยาศัยทม่ี คี ุณภาพ อยา งเทาเทยี มและท่ัวถึง เปน ไปตามสภาพ ปญ หา และความ ตองการของแตล ะกลมุ เปาหมาย กกกกกก 2. ประชาชนไดรบั การยกระดับการศกึ ษา สรางเสริมและปลูกฝงคุณธรรม จรยิ ธรรม และความเปนพลเมืองอันนาํ ไปสกู ารยกระดบั คณุ ภาพชีวติ และเสรมิ สรางความเขมแข็งใหชมุ ชนเพอ่ื พฒั นาไปสูความมั่นคงและยัง่ ยนื ทางดา นเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร และส่งิ แวดลอ ม กกกกกก 3. ประชาชนไดรบั โอกาสในการเรียนรแู ละมเี จตคตทิ างวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยที ี่ เหมาะสมสามารถคิด วิเคราะห และประยุกตใ ชในชวี ิตประจําวัน รวมทง้ั แกป ญ หาและพัฒนาคุณภาพ ชวี ติ ไดอยางสรางสรรค กกกกกก 4. ประชาชนไดร บั การสรา งและสง เสริมใหม นี สิ ัยรักการอานเพอื่ การแสวงหาความรู ดวยตนเอง กกกกกก 5. ชุมชนและภาคเี ครือขา ยทุกภาคสว น รว มจดั สง เสรมิ และสนบั สนุนการดําเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย รวมทัง้ การขับเคล่อื นกิจกรรมการเรียนรขู องชมุ ชน กกกกกก 6. หนว ยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยที างการศึกษา เทคโนโลยดี ิจิทลั มาใชใ น การยกระดับคุณภาพในการจัดการเรียนรแู ละเพ่มิ โอกาสการเรยี นรใู หก บั ประชาชน กกกกกก 7. หนว ยงานและสถานศึกษาพัฒนาสอ่ื และการจัดกระบวนการเรยี นรูเพ่ือแกป ญ หา และพฒั นาคุณภาพชีวิต ทีต่ อบสนองกับการเปล่ียนแปลงบรบิ ทดานเศรษฐกจิ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร และส่งิ แวดลอม รวมทั้งตามความตองการของประชาชน และชุมชนใน รปู แบบทห่ี ลากหลาย กกกกกก 8. บุคลากรของหนว ยงานและสถานศกึ ษาไดรบั การพัฒนาเพ่ือเพิ่มสมรรถนะในการ ปฏิบตั งิ านการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อยางมปี ระสิทธิภาพ กกกกกก 9. หนว ยงานและสถานศึกษามรี ะบบการบริหารจดั การตามหลักธรรมาภิบาล

12 นโยบายและจดุ เนน การดําเนินงาน สํานักงาน กศน 1.ยุทธศาสตรด านความมั่นคง 1.1 สงเสริมการจัดการเรียนรูที่ปลูกฝงคุณธรรม สรางวินัย การมีจิตอาสา และ อุดมการณค วามยดึ มั่นในสถาบันหลักของชาติ 1) เสริมสรางความรูความเขาใจท่ีถูกตองในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีความเปนพลเมืองดี เคารพความคิดของผูอื่น ยอมรับความแตกตางและ หลากหลายทางความคิดและอดุ มการณ รวมทง้ั สังคมพหุวฒั นธรรม 2) สงเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีปลูกฝงคุณธรรม สรางวินัย จิตสาธารณะ และอุดมการณความยึดมั่นในสถาบันหลักของชาติ รวมท้ังการมีจิตอาสา ผานกิจกรรมลูกเสือ กศน. และกิจกรรมอื่นๆ ตลอดจนสนับสนุนใหมีการจัดกิจกรรมเพ่ือปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมใหกับ บุคลากรในองคกร 1.2 รวมขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ย่ังยืน โดยบูรณาการ ขับเคล่ือนการทํางานตามแนวทางประชารัฐ ดําเนินโครงการ/กิจกรรมในพื้นที่ท้ังในระดับตําบล หมูบาน โดยใชทีมขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ย่ังยืน ระดับตําบลเปนแกน หลัก และสนับสนุนกลไกการขบั เคล่อื นในพื้นท่ที ุกระดับตัง้ แตจ ังหวัด อาํ เภอ ตําบล และหมบู าน 1.3 พฒั นาการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ในเขตพฒั นาพิเศษ เฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนภาคใต และพน้ื ทชี่ ายแดน 1) พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหมีความ สอดคลองกับบรบิ ทของสงั คม วัฒนธรรม และพนื้ ที่ เพ่อื สนับสนนุ การแกไขปญหาและพัฒนาพ้นื ที่ 2) เรงจัดทําแผนและมาตรการดานความปลอดภัยที่ชัดเจนสําหรับหนวยงานและ สถานศึกษารวมทัง้ บุคลากรทปี่ ฏิบตั ิงานในพน้ื ทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนภาคใต โดย บูรณาการแผนและปฏิบัตงิ านรว มกบั หนวยงานความมัน่ คงในพนื้ ที่ 3) สงเสริมและสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรูในสถาบันศึกษาปอเนาะ ใน รูปแบบตางๆที่หลากหลายตรงกับความตองการของผูเรียน อาทิ การเพ่ิมพูนประสบการณ การเปด โลกทศั น การยึดม่ันในหลักคณุ ธรรมและสถาบันหลักของชาติ 4) สนับสนุนใหมีการพัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทใหมีสมรรถนะท่ีสูงขึ้น เพือ่ ใหส ามารถปฏบิ ตั งิ านไดอ ยางมีประสิทธภิ าพ 1.4 สงเสริมการจัดกระบวนการเรียนรูท่ีตอบสนองกับการเปล่ียนแปลงบริบทดาน สังคมการเมือง รวมทั้งความตองการของประชาชน และชุมชนในรูปแบบท่ีหลากหลาย ใหประชาชน คิดเปน วิเคราะหไ ดตดั สินใจภายใตข อ มลู ทถ่ี ูกตอง เชน ความรเู รอ่ื งการปกครองระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมขุ /การเลือกตง้ั

13 2. ยทุ ธศาสตรดานการพัฒนากําลงั คน การวิจยั และนวัตกรรมเพื่อสรางขดี ความสามารถในการแขง ขันของประเทศ 2.1 ขับเคลื่อนการดําเนินงานภายใตแ ผนพฒั นาการศึกษาระดบั ภาค 1) สรางความรูความเขาใจใหกับบุคลากรของสํานักงาน กศน. เก่ียวกับการ ดาํ เนินงานภายใตแ ผนพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค เพื่อรวมขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตรก ารพฒั นาภาค 2) เรงจัดทํายุทธศาสตรและแผนพัฒนาการศึกษาระดับภาค ของสํานักงาน กศน. ใหส อดคลอ งกับแผนพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค 2.2 พัฒนากําลงั คนใหม ที กั ษะความเขาใจและใชเทคโนโลยีดจิ ิทลั (Digital Literacy) 1) พัฒนาความรูและทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือใหสามารถ ใชSocial Media และ Application ตางๆ ในการพัฒนารูปแบบการจดั การเรียนการ สอน 2) สงเสริมการจัดการเรียนรูดานเทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือใหประชาชนมีทักษะความ เขาใจและใชเทคโนโลยีดิจิทัล ที่สามารถนําไปใชประโยชนในชีวติ ประจําวัน รวมทั้งสรางรายไดใหกบั ตนเองได 3) พัฒนาทักษะและสงเสริมใหประชาชนประกอบธุรกิจการคาออนไลน (พาณิชย อิเล็กทรอนิกส)มีการใชความคิดสรางสรรคเชิงนวัตกรรมในการประกอบอาชีพ สรางทักษะอาชีพท่ี สูงข้ึนใหกบั ประชาชนเพอ่ื รว มขับเคลอื่ นเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั 2.3 พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารใหกับประชาชนเพ่ือรองรับการพัฒนา ประเทศ 1) พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารของประชาชนในรูปแบบตางๆ อยาง เปนรปู ธรรมโดยเนน ทกั ษะภาษาเพ่อื อาชพี ท้งั ในภาคธรุ กจิ การบรกิ าร และการทอ งเทีย่ ว 2) พัฒนาความรูและทักษะเทคโนโลยีดิจิทัล การใช Social Media และ Application ตางๆ เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ของครูและบุคลากร ทางการศึกษา 3) พัฒนาสอ่ื การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ เพ่ือสง เสริมการใชภาษาเพอื่ การส่ือสาร และการพฒั นาอาชีพ 3. ยทุ ธศาสตรดา นการพฒั นาและเสรมิ สรางศักยภาพคนใหม ีคุณภาพ กกกกกกกก 3.1 เรงรัดดาํ เนนิ การจดั การศึกษาอาชพี เพ่ือยกระดับทกั ษะอาชีพของประชาชนสฝู มือ แรงงาน 1) จัดการศึกษาอาชพี เพ่ือการมีงานทําทส่ี อดคลอ งกบั ศักยภาพของชมุ ชน และความ ตองการของตลาด ใหประชาชนสามารถนําไปประกอบอาชีพไดจริง โดยใหเนนหลักสูตรการศึกษา อาชีพชา งพืน้ ฐาน โดยประยุกตใ ชเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนดานอาชีพ เชน การเรียนผาน YouTube การเรียนผานFacebook Live ระบบการเรียนรูในระบบเปดสําหรับมหาชน (Massive Open Online Courses : MOOCs) คอมพิวเตอรชวยสอน (Computer Assisted Instruction :

14 CAI) เปนตน รวมถงึ สนับสนุนใหเ กดิ ระบบการผลติ ท่ี ครบวงจร และเปดพืน้ ที่สวนราชการเปนที่แสดง สินคา ของชมุ ชนเพ่อื เปน การสรา งรายไดใหก ับชมุ ชน 2) บูรณาการความรวมมอื ในการพฒั นาฝมือแรงงานกบั สํานกั งานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษาผานศูนยประสานงานการผลิตและพัฒนากําลังคนอาชีวศึกษาภาคท่ัวประเทศ เพื่อมุง พัฒนาทักษะของประชาชนโดยใชประโยชนจากศักยภาพและภูมิสังคมเฉพาะของพ้ืนท่ี และ ดําเนินการเชงิ รุกเพื่อเสริมจดุ เดนในระดับภาคในการเปนฐานการผลิตและการบริการท่ีสําคัญ รวมถึง มุงเนนสรางโอกาสในการสรางรายได เพ่ือตอบสนองตอความตองการของตลาดแรงงานท้ัง ภาคอุตสาหกรรมและการบริการ 3) พัฒนากลุมอาชีพพ้ืนฐานที่รองรับพื้นท่ีระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ทสี่ ามารถพฒั นาศกั ยภาพไปสูระดับฝม ือแรงงาน โดยศกึ ษาตอในสถาบันการอาชวี ศึกษา 3.2 สงเสริมใหประชาชนใชเทคโนโลยีในการสรางมูลคาเพ่ิมใหกับสินคา การทํา ชองทางเผยแพรและจําหนายผลิตภัณฑของวิสาหกิจชุมชนใหเปนระบบครบวงจร และสนับสนุนการ จําหนายสินคาและผลิตภัณฑผานศูนยจําหนายสินคาและผลิตภัณฑออนไลน กศน. (ONIE Online Commerce Center : OOCC) เพอื่ จําหนายสนิ คา ออนไลนระดับตาํ บล 3.3 สงเสริมการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนทุกวัย โดยการสรางความรูความเขาใจ การสนับสนุนกิจกรรมสุขภาวะ และสรางเครือขายภาคประชาชน ในการเฝาระวัง ปองกัน และ ควบคุมโรค ใหก ับประชาชนทุกชว งวัย โดยเฉพาะในพ้ืนท่หี างไกล พ้นื ทีช่ ายแดน และชายแดนภาคใต โดยประสานงานรวมกับโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล และเจาหนาที่ อสม. ในการใหความรู เก่ียวกับการดูแลสุขภาวะอนามัยใหกับประชาชน รวมทั้งผลิตชุดความรูเก่ียวกับสุขภาวะ สุขอนามัย เพ่อื ใชประกอบการเรยี นรูในหลักสตู รการศกึ ษาของ กศน. 3.4 เพ่ิมอัตราการอานของประชาชน โดยการจัดกิจกรรมสงเสริมการอานในรูปแบบ ตางๆ เชน อาสาสมัครสงเสริมการอาน หองสมุดประชาชน บานหนังสือชุมชน หองสมุดเคลื่อนที่ ผลักดันใหเ กดิ หอ งสมุด สกู ารเปนหองสมดุ เสมือนจรงิ ตนแบบ เพ่ือพฒั นาใหประชาชนมคี วามสามารถ ในระดบั อานคลอง เขาใจ ความคดิ วิเคราะหพืน้ ฐาน และสามารถรับรูขอมลู ขาวสารท่ีถูกตองและทัน เหตกุ ารณ รวมท้ังนําความรทู ีไ่ ดรบั ไปใชป ฏิบัตจิ รงิ ในชีวิตประจาํ วนั 3.5 เตรยี มความพรอ มการเขา สูสงั คมผสู งู อายทุ ่ีเหมาะสมและมีคุณภาพ 1) สงเสริมการจัดกิจกรรมใหกับประชาชนเพื่อสรางความตระหนักถึงการ เตรียมพรอมเขาสูสังคมผูสูงอายุ (Aging Society) มีความเขาใจในพัฒนาการของชวงวัย รวมทั้ง เรยี นรูและมสี ว นรวมในการดูแลรับผดิ ชอบผสู ูงอายใุ นครอบครวั และชมุ ชน 2) พัฒนาการจัดบริการการศึกษาและการเรียนรูสําหรับประชาชนในการเตรียม ความพรอ มเขา สวู ยั สูงอายุท่ีเหมาะสมและมีคณุ ภาพ 3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตสําหรับผูสูงอายุภายใตแนวคิด “Active Aging” การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาทักษะชีวิต ใหสามารถดูแลตนเองท้ังสุขภาพ กายและสุขภาพจิต และ รจู ักใชป ระโยชนจากเทคโนโลยี

15 4) สรางความตระหนกั ถึงคุณคาและศกั ดิศ์ รีของผูสงู อายุ เปด โอกาสใหมีการเผยแพร ภูมิปญ ญาของผูสูงอายุ และใหมีสวนรวมในกจิ กรรมดานตางๆ ในชมุ ชน เชน ดานอาชพี กีฬา ศาสนา และวัฒนธรรม 5) จัดการศึกษาอาชีพเพ่ือรองรับสังคมผูสูงอายุ โดยบูรณาการความรวมมือกับ หนว ยงานทเี่ ก่ียวขอ ง ในทกุ ระดบั 3.6 พัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยใชกระบวนการ “สะเตม็ ศึกษา” (STEM Education) 4. ยุทธศาสตรด า นการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา กกกก 4.1 สงเสริมการรูภาษาไทย เพิ่มอัตราการรูหนังสือ และยกระดับการรูหนังสือของ ประชาชน 1) สงเสริมการรูภาษาไทยใหกับประชาชนในรูปแบบตางๆ โดยเฉพาะประชาชนใน เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต ใหสามารถฟง พูด อาน และเขียนภาษาไทย เพื่อ ประโยชนใ นการใชชีวติ ประจําวนั ได 2) เรงจัดการศึกษาเพ่ือเพ่ิมอัตราการรูหนังสือ และคงสภาพการรูหนังสือ ให ประชาชนสามารถอานออก เขียนได และคิดเลขเปน โดยมีการวัดระดับการรูหนังสือ การใชส่ือ กระบวนการ และกิจกรรมพัฒนาทักษะในรูปแบบตางๆ ที่เหมาะสม และสอดคลองกับสภาพพ้ืนที่ และกลมุ เปาหมาย 3) ยกระดบั การรหู นงั สือของประชาชน โดยจัดกิจกรรมพฒั นาทักษะการรูหนังสือใน รูปแบบตางๆ รวมทั้งพัฒนาใหประชาชนมีทักษะท่ีจําเปนในศตวรรษที่ 21 เพื่อเปนเครื่องมือในการ เรียนรูตลอดชีวติ ของประชาชน 4.2 เพมิ่ โอกาสทางการศกึ ษาใหกับประชากรวยั เรียนทอี่ ยูนอกระบบการศึกษา 1) เรงดําเนินการหาตัวตนของประชากรวัยเรียนท่ีอยูนอกระบบการศึกษา ใหกลับ เขาสูระบบการศึกษา โดยใชกลวิธี “เคาะประตูบาน รุกถึงที่ ลุยถึงถ่ิน” โดยประสานกับสํานักงาน ศกึ ษาธิการจงั หวัด เพ่อื ดําเนนิ การตรวจสอบขอมูลทะเบยี นราษฎรเ ทียบกบั ขอมลู การลงทะเบียนเรียน ของทุกหนวยงาน คนหาผูที่ไมไดอยูในระบบการศึกษาเปนรายบุคคล และรวบรวมจัดทําเปน ฐานขอมลู และลงพ้ืนท่ตี ดิ ตามหาตวั ตนของกลุมเปา หมายหาสาเหตุของการไมเขาเรียน และสอบถาม ความตองการในการศึกษาตอ พรอมท้ังจําแนกขอมูลตามประเภทของสาเหตุ และประเภทความ ตองการในการศึกษาตอ และสงตอกลุมเปาหมายเพื่อใหรับการศึกษาตอตามความตองการของ กลมุ เปา หมายไดอ ยา งมีประสทิ ธภิ าพ 2) ติดตามผลของกลุมเปาหมายประชากรวัยเรียนท่ีอยูนอกระบบการศึกษาที่ไดรับ การจดั หาท่เี รียน และทง้ั จดั ทําฐานขอ มูลผสู าํ เรจ็ การศึกษาของกลุมเปาหมาย รวมท้งั พฒั นาระบบเพ่ือ การตดิ ตามกลุมเปา หมายทไี่ ดร บั การชว ยเหลอื ใหกลบั เขา สรู ะบบการศึกษาแบบครบวงจร โดยตดิ ตาม ต้งั แตก ารเขาศกึ ษาตอจนจบการศึกษา

16 4.3 สงเสริม และพัฒนาระบบการสะสมและเทียบโอนหนวยการเรียน (Credit Bank System) ของสถานศึกษา ใหมีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตองการของ กลุมเปาหมาย เพ่ือประโยชนในการดําเนินการเทียบโอนความรูและประสบการณไดอยางมี ประสทิ ธภิ าพ 4.4 สงเสริมและสนบั สนุนใหเกิดตนแบบเมืองแหงการเรียนรูเพื่อสง เสริมการเรียนรูอยาง ตอเนื่องใหกับประชาชนในชุมชน โดยกําหนดพ้ืนที่นํารองท่ีผานมาตรฐานเทียบวัด (Benchmark) ของสํานักงาน กศน. 4.5 พัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพระยะส้ัน ใหมีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกบั บริบทของพื้นที่ และตอบสนองความตอ งการของประชาชนผูร ับบริการ 4.6 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกล ใหมีความทันสมัย มีหลักสูตรและสาระการ เรียนรูที่หลากหลาย และสถานศึกษา กศน. สามารถนําไปใชในการจัดการเรียนรูใหกับกลมุ เปาหมาย ไดอ ยา งเหมาะสม 4.7 สรางกระบวนการเรียนรูในรูปแบบ E-learning ที่ใชระบบเทคโนโลยีเขามาบริหาร จัดการเรียนรู เพื่อเปนการสรางและขยายโอกาสในการเรียนรูใหกับกลุมเปาหมายไดสะดวก รวดเร็ว ตรงตามความตองการของประชาชนผูรับบริการ เชน ระบบการเรียนรูในระบบเปดสําหรับมหาชน ( Massive Open Online Courses :MOOCs) ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ช ว ย ส อ น ( Computer Assisted Instruction : CAI) 4.8 ยกระดับการศึกษาใหกับกลุมเปาหมายทหารกองประจําการ รวมท้ังกลุมเปาหมาย พิเศษอื่นๆ เชน ผูตองขัง คนพิการ เด็กออกกลางคัน ใหจบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน สามารถนาํ ความรทู ไ่ี ดร บั ไปพัฒนาตนเองไดอยา งตอ เน่ือง 5. ยุทธศาสตรดา นสง เสรมิ และจดั การศกึ ษาเพ่อื เสริมสรางคุณภาพชีวติ ทเ่ี ปน มิตรกบั สง่ิ แวดลอม กกกกกก 5.1. สงเสรมิ ใหม กี ารใหความรูก บั ประชาชนเก่ียวกบั การปอ งกนั ผลกระทบและปรบั ตวั ตอ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและภยั พบิ ัตธิ รรมชาติ กกกกกก 5.2. สรางความตระหนักถึงความสําคัญของการสรางสังคมสีเขียว การกาํ จดั ขยะและ มลพษิ ในเขตชมุ ชน กกกกกก 5.3. สงเสริมใหหนวยงานและสถานศกึ ษาใชพลังงานทเ่ี ปนมติ รกบั สิ่งแวดลอมรวมทั้งลด การใชท รัพยากรทีส่ งผลกระทบตอสิ่งแวดลอม 6. ยุทธศาสตรด า นการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบรหิ ารจัดการ กกกกกก 6.1 พฒั นาระบบฐานขอมูลสารสนเทศดานการศกึ ษาเพ่ือการบริหารจดั การอยางเปน ระบบ และเช่อื มโยงกับระบบฐานขอ มูลกลางของกระทรวงศึกษาธกิ าร 6.2 สงเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับอยางตอเน่ือง ใหมีความรูและทักษะตาม มาตรฐานตาํ แหนง ใหตรงกับสายงาน ความชาํ นาญ และความตอ งการของบุคลากร 6.3 สงเสรมิ ความเขาใจเก่ียวกบั หลักเกณฑแ ละวิธีการใหขาราชการครแู ละบคุ ลากร ทางการศกึ ษา ตาํ แหนงครู มีวิทยฐานะและเลือ่ นวทิ ยฐานะ (ว21/2560)

17 2. แนวทาง/กลยทุ ธก ารดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ของ กศน.อาํ เภอเมืองชลบุรี ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอเมอื งชลบุรี ไดกําหนดทิศ ทางการดําเนินงาน ตามแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา และแผนปฏิบัตกิ ารประจาํ ป โดยมรี ายละเอยี ด ดังนี้ ทิศทางการดําเนนิ งานของสถานศึกษา ✍ ปรชั ญา “คดิ เปน ทําเปน เนน ICT” ✍ วสิ ัยทศั น “จัดการศกึ ษาตลอดชีวติ ผูกมิตรกบั เครอื ขาย กระจายความรสู ูชุมชน ทุกทที่ ุกเวลาดว ย ICT มีอาชีพและแขงขันในประชาคมอาเซยี นอยางยั่งยนื ” ✍ อัตลักษณ “กาวไปในยคุ ดจิ ิทัล” ✍ เอกลกั ษณ “องคกรออนไลน” ✍ พนั ธกิจ 1. จดั และสงเสรมิ ใหผ เู รียน มีความรกู ารศึกษาขัน้ พน้ื ฐานอยางมคี ุณภาพ 2. จัดการศกึ ษาอาชีพใหผเู รียนมอี าชีพทําได ขายเปน และมที กั ษะชวี ิตทเี่ หมาะสมทุก ชว งวัย 3. จัดและสงเสรมิ ใหป ระชาชนนําเทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพอ่ื พัฒนาตนเองและสรา งชอ ง ทางการจําหนา ยสินคา 4. จัดและสง เสริมการศกึ ษาตามอธั ยาศัยท่ีมงุ ใหผูรบั บริการมนี สิ ยั รกั การอาน และ พัฒนาแหลงเรียนรูใ นชุมชน 5. จัดและสงเสรมิ สนบั สนนุ พฒั นาแหลงเรยี นรู ส่ือ และภูมิปญ ญาทองถ่ิน 6. จดั และสง เสริมการศกึ ษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพ่ือพัฒนาสังคม และชุมชนใหมคี วามเขมแข็งอยางย่ังยนื 7. จดั และสง เสรมิ ประชาชนใหเ ปน พลเมอื งดีตามวิถปี ระชาธปิ ไตย 8. สงเสรมิ สนบั สนนุ ภาคเี ครือขา ย ใหม ีสวนรว มในการจัดการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั เพือ่ ใหเกิดการเรยี นรูตลอดชีวิต 9. พฒั นารปู แบบการจดั กจิ กรรมการเรียนรใู หสอดคลองกับพน้ื ท่ีระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก (EEC) และความตองการของกลุมเปา หมาย 10. พัฒนาบุคลากรใหม สี มรรถนะในการปฏบิ ัตงิ านตามบทบาทหนา ที่อยางมี ประสิทธิภาพและตอเนื่องโดยเนนการนาํ เทคโนโลยีดจิ ิทัลมาใชในการบริหารจัดการ

18 11. สถานศึกษามรี ะบบการบรหิ ารจัดการตามหลักธรรมมาภิบาล 12. ปฏบิ ัติงานอ่นื ๆ ท่ีไดร บั มอบหมาย ✍ เปา ประสงค และตวั ช้ีวัดความสําเร็จ เปาประสงค ตวั ชี้วัดความสําเรจ็ ประชาชนไดรบั โอกาสทางการศกึ ษาในรูปแบบ รอยละของประชากรกลุมตา งๆ (กลุม ประชากรวัย ของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม แรงงานปกติทว่ั ไป กลมุ ประชากรวัยแรงงานท่เี ปนผู อธั ยาศัยทม่ี ีคณุ ภาพอยางท่วั ถึงและเปน ธรรม ยากไร ผดู อ ยโอกาส ผูพ ิการ และกลมุ ผูสูงอาย)ุ ท่ี ไดรับบริการการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศัยอยางท่วั ถงึ ครอบคลุมและเปนธรรม ผูเรยี นที่เขารบั การฝกอาชีพมีสมรรถนะในการ รอยละของผูเรียนทเ่ี ขารับการศกึ ษาอาชีพเพ่ือการมี ประกอบอาชีพ สามารถประกอบอาชีพทสี่ รา ง งานทําท่มี ีสมรรถนะในการประกอบอาชีพท่เี พ่ิมขึ้น รายไดใหก บั ตนเองและครอบครัวได องคกรภาคสว นตางๆรวมเปน ภาคเี ครอื ขายใน จํานวนของภาคเี ครอื ขายในการดําเนนิ งานการศึกษา การดําเนินงานการศึกษานอกระบบและ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพ่ิมมากข้นึ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั อยางกวางขวาง สถานศึกษานาํ เทคโนโลยดี ิจิทลั มาใชใ นการ รอยละของของผูเรียนท่มี คี วามพงึ พอใจตอการใช เพมิ่ ประสิทธภิ าพการจัดการศกึ ษานอกระบบ เทคโนโลยดี จิ ิทลั ของสถานศึกษา และการศกึ ษาตามอัธยาศัยอยางทัว่ ถึง รอยละของบุคลากรของสถานศึกษาทไี่ ดรับการพฒั นา บคุ ลากรของสถานศึกษาไดรับการพัฒนาเพ่ือ เพื่อเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงานการศึกษานอก เพมิ่ สมรรถนะในการปฏิบตั งิ านการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั โดยเนน การนาํ ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอยางทัว่ ถงึ เทคโนโลยดี ิจทิ ลั มาใชในการบรหิ ารจัดการ สถานศกึ ษามีการพัฒนาระบบการบรหิ าร รอ ยละของสถานศึกษามีการพัฒนาระบบการบริหาร จดั การเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพโดยเนน การนาํ จัดการเพ่ือเพิ่มประสทิ ธภิ าพโดยเนน การนําเทคโนโลยี เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลในการดําเนินงานการศึกษา ดจิ ทิ ัลในการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและ นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั การศึกษาตามอัธยาศยั บคุ ลากรของหนวยงานปฏบิ ตั ิงานตามท่ีไดรับ รอ ยละของบุคลากรของสถานศึกษาปฏิบตั ิงานไดเ ต็ม มอบหมายอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธิภาพ ✍ กลยุทธ กลยทุ ธท ี่ 1 สงเสรมิ และพฒั นาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ใหเ ปน ไปตามนโยบายและมาตรฐานการศึกษาอยางตอเน่อื ง กลยทุ ธที่ 2 สง เสรมิ ใหผรู บั บริการไดรับการพฒั นาคุณภาพชวี ิตโดยใชก ระบวนการคิด เปนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

19 กลยุทธท่ี 3 สง เสริม สนับสนุนใหภ าคเี ครอื ขายมสี ว นรว มในการจดั การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั เพอื่ ใหเกดิ การเรยี นรูต ลอดชีวิต กลยทุ ธท ี่ 4 พฒั นาหลักสตู รและรปู แบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู ใหสอดคลองกับ พ้นื ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (EEC) และความตองการของกลุมเปาหมาย โดยการมีสวนรว ม ของภูมิปญ ญาทองถิน่ และแหลง เรียนรูทั้งภาครัฐและเอกชน กลยุทธท ี่ 5 สง เสรมิ ใหมีการประชาสมั พนั ธ ในรปู แบบท่ีหลากหลาย กลยุทธที่ 6 พัฒนาระบบการนิเทศภายในสถานศึกษาโดยใชก ระบวนการมีสวนรวมจาก ทุกภาคสวน กลยุทธที่ 7 พฒั นาระบบคุณภาพการศึกษาโดยใชว งจรการพัฒนาคุณภาพ (PDCA) เปนหลกั ในการจดั การศึกษา กลยุทธท่ี 8 พฒั นาบุคลากรของสถานศกึ ษาใหมีความสามารถใชเ ทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพ่ือ การจัดกระบวนการเรียนรู การบริหารจัดการ และสง เสริมการทาํ งานเปน ทมี ✍เข็มมุง สูความสาํ เร็จ 1. มี กศน.ตาํ บลเปนหลักแหลง 2. มีคอมฯ/อปุ กรณค รบทกุ กศน.ตําบล 3. ใหทุกคนมีความรู ICT 4. มรี ะบบจัดเกบ็ /รายงานผานออนไลน 5. ภายใน1-2 ปตอ งเปน 1 ใน กศน.จังหวัด 6. ภายใน 3 ปตอ งเปน 1-5 ของสาํ นกั งาน กศน. ✍การบรหิ ารนํา ICT สกู ารปฏิบัติ 1. การจัดหาคอมฯ/อุปกรณ 2. ขัน้ การพฒั นา 3. การประเมนิ ผล/รายงาน 1. การจดั หาคอมฯ/อุปกรณ 1.1 การเปด ตวั กศน.ตําบล โดย 1) เชญิ สมาชิกสภาผแู ทนราษฎร (ส.ส.),สมาชกิ วุฒิสภา (ส.ว.) เปน ตน 2) นาํ นกั ศึกษา กศน. หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ปจจบุ นั มีทงั้ ส้ิน 4,621 คน 3) เชญิ ภาคเี ครือขา ย อาทเิ ชน โรงเรยี น, อบต., เทศบาล, อบจ. , อําเภอ เปนตน 4) เสนอโครงการพัฒนา กศน.ตาํ บล ใหเปนแหลงเรียนรูด านดิจทิ ัล 1.2 เชิญ ส.ส./ส.ว. เขารวมทุกกจิ กรรม 1) โครงการเขา คา ยตาง ๆของนักศึกษา กศน. 2) โครงการวันวิชาการ ของนักศกึ ษา กศน. 3) โครงการ อืน่ ๆ

20 2. ข้นั การพฒั นา 2.1 พัฒนาระบบ จะพัฒนาระบบการจัดเกบ็ /รายงานตา งๆผา นออนไลน 2.2 พฒั นาคน 1) ครู กศน./จนท.ทุกคน 2) นักศึกษา กศน.หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551ท้ัง 2 กลุมเปา หมาย ตองมคี วามรู ดา น ICT และสามารถนาํ ไปประยุกตใชได สําหรบั ในสวนของนักศึกษา กศน. หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 กศน.อําเภอเมืองชลบุรี จะตองประกาศเปนคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค พรอ มท้งั ใช งบอดุ หนนุ (กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผูเรยี น) ในการขับเคลื่อน โดยจดั โครงการพฒั นาคุณภาพผูเรียน ดาน ICT พรอ มทัง้ จดั ทําสรปุ เปนรปู เลม (5 บท) 3.การประเมนิ ผล/รายงาน 3.1 รายงานผานออนไลน โดยผานทางเครอื ขายอนิ เทอรเนต็ http://118.172.227.194:7003/choncity/ และจดั ทํา Application รายงานผา นทางสมารทโฟน 3.2 รายงานสรุปผลเปน รปู เลม (5 บท) จดั ทําสรปุ ผลโครงการ/กจิ กรรม เปน รปู เลม (5บท) เพ่ือรองรับการประเมนิ คุณภาพโดย ตนสังกัด และภายนอก

21 ✍ แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา (เฉพาะป 2562) เปา ประสงค กลยทุ ธ โครงการ/กจิ กรรม เปาหมาย ตวั ชวี้ ัด เกณฑค วามสําเร็จ ความสําเร็จ (รอยละ) 1. กลุมเปา หมาย กลยุทธที่ 1 1. โครงการ 8,000 คน 1. กลมุ เปาหมาย 1. รอยละของ ไดร บั โอกาสทาง สง เสริม และ ยกระดับจัด ไดรับโอกาสทาง กลุม เปา หมาย การศึกษาขัน้ พฒั นา การศกึ ษานอก การศึกษาแตล ะ ไดรับโอกาสทาง พน้ื ฐาน การศกึ ษา คณุ ภาพ ระบบระดบั ประเภทของ กศน. การศึกษาแตละ ตอเนื่องและ การศึกษา การศึกษาขั้น 2. ผูจ บหลักสตู ร ประเภทของ กศน. การศึกษาตาม นอกระบบ พน้ื ฐานใหม ี การศึกษาขั้น 2. รอยละของผูจบ อธั ยาศัยท่ีมี และ คณุ ภาพ พน้ื ฐานแตล ะระดบั หลกั สตู รการศึกษา คุณภาพใหเ ปน ไป การศกึ ษา 2. โครงการพัฒนา 8,000 คน มผี ลสัมฤทธ์ิ ขนั้ พื้นฐานแตละ ตามความตองการ ตามอัธยาศยั คุณภาพผเู รยี น ทางการเรียนเฉลีย่ ระดับมผี ลสัมฤทธิ์ และสอดคลองกับ ใหเ ปน ไปตาม กศน.ตามหลกั สูตร > 2.00 ทางการเรยี นเฉล่ีย สภาพปญ หาของ นโยบายและ การศึกษานอก 3. กลมุ เปา หมาย > 2.00 กลุมเปาหมาย 5. มาตรฐาน ระบบระดบั รว มกจิ กรรม 3. รอยละของ กลมุ เปา หมาย การศกึ ษา การศกึ ษาข้นั พัฒนาคุณภาพ กลุม เปา หมายรว ม ไดร บั การสงเสรมิ อยา งตอ เนือ่ ง พ้ืนฐาน ผเู รียน กิจกรรมพฒั นา และสนบั สนุนการ พทุ ธศกั ราช 2551 4. กลุม เปา หมาย คณุ ภาพผเู รยี น พัฒนาคณุ ภาพชวี ิต 3. โครงการสงเสรมิ 27 คน เขา รว มกจิ กรรม 4.รอ ยละของ ตามหลกั ปรัชญา การรูหนงั สอื สงเสริมการรู กลุม เปา หมายเขา ของเศรษฐกิจ สาํ หรบั ประชาชน หนังสอื รว มกจิ กรรม พอเพยี งเพือ่ พฒั นา อําเภอเมืองชลบรุ ี 5. กลุมเปา หมาย สงเสรมิ การรู สงั คมและชมุ ชนให 4. โครงการจัด 1,020 คน ทกุ ประเภท หนงั สือ มคี วามเขม แขง็ การศกึ ษาเพอื่ สามารถนาํ ความรู 5. รอ ยละของ อยา งยั่งยืน พัฒนาอาชีพ (ศูนย ไปใชในการพัฒนา กลุม เปาหมายทกุ 3.กลมุ เปาหมาย ฝกอาชพี ชุมชน) อาชีพหรอื คุณภาพ ประเภทสามารถ ไดรบั การสรางและ ชวี ติ ได นําความรไู ปใชใ น สงเสริมใหเปน ผูรกั 6. กลมุ เปา หมายมี การพฒั นาอาชีพ การอานและใฝรูใฝ คณุ ลกั ษณะที่พึง หรอื คุณภาพชีวิต เรียนอยางตอ เนื่อง ประสงคต าม ได ตลอดชีวติ จุดมุงหมายของ หลักสูตร

22 เปาประสงค กลยุทธ โครงการ/กิจกรรม เปาหมาย ตัวช้ีวดั เกณฑความสําเร็จ ความสาํ เร็จ (รอ ยละ) กลยทุ ธท่ี 3 1. โครงการเรียนรู 285 คน 7. กลุมเปา หมายมี 6. รอยละของ สงเสริม ปรชั ญาของ สว นรว มในการจัด กลมุ เปาหมายมี สนบั สนนุ ให เศรษฐกจิ พอเพียง การศึกษานอก คุณลกั ษณะท่ีพึง ภาคีเครือขาย และเกษตรทฤษฎี ระบบและการจดั ประสงคตาม มีสวนรวมใน ใหม การศึกษาตาม จดุ มงุ หมายของ การจดั 2.โครงการ อธั ยาศยั หลกั สตู ร การศกึ ษา เสรมิ สรางคณุ ภาพ 2. มีบา นหนงั สอื 7. รอ ยละของ นอกระบบ ชีวิตทเี่ ปน มติ รกับ ชมุ ชนที่เปนไปตาม กลุมเปา หมายมี และ ส่งิ แวดลอม เกณฑค รบทุก ความพึงพอใจตอ การศึกษา 3.โครงการเกษตร ตําบลอยา งนอ ย การรวมกิจกรรม ตามอธั ยาศยั ยคุ ใหมตามวิถี ตาํ บลละ 1 แหง การเรียนรทู ุก เพ่อื ใหเกิด ความพอเพยี ง 3. มีมุมหนังสอื เพอื่ ประเภท การเรียนรู 4.โครงการอบรม ชุมชนอยา งนอ ย 1. รอยละ 80 ตลอดชีวติ เชิงปฏิบัติการ ตําบลละ 1 ของกลุม เปาหมาย ดานเศรษฐกจิ ความพงึ พอใจตอ ไดรบั การสงเสริม พอเพยี ง การรว มกิจกรรม การเรียนรูทางดาน 5.โครงการปรชั ญา 11,500 คน การเรียนรูท ุก หลกั ปรชั ญาของ ของเศรษฐกิจ ประเภท เศรษฐกิจพอเพียง พอเพยี ง 1. กลมุ เปาหมาย 2. รอยละ 80 นาํ วิถพี อเพยี งสู ไดร บั การสง เสริม ของกลมุ เปา หมาย ชมุ ชน การเรียนรทู างดาน นําความรไู ปใชใ น 6.โครงการอบรม หลกั ปรชั ญาของ การพฒั นาอาชีพ และเรียนรตู ามรอย เศรษฐกิจพอเพียง และพฒั นา พระยคุ ลบาทดว ย 2. กลุมเปา หมาย คุณภาพชวี ติ ได หลักปรชั ญาของ นาํ ความรไู ปใชใน 3. รอยละ 90 ของ เศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาอาชพี กลุมเปา หมายมี 7.โครงการเรียนรู และพัฒนา ความพึงพอใจใน เศรษฐกิจพอเพียง คุณภาพชวี ิตได ระดบั ดขี น้ึ ไป และการพัฒนาท่ี 3. กลมุ เปาหมายมี ยั่งยนื \"วิถีไทย วิถี ความพงึ พอใจใน พอเพียง\" ระดับดขี ึ้นไป

23 เปาประสงค กลยทุ ธ โครงการ/กิจกรรม เปา หมาย ตัวชีว้ ดั เกณฑความสําเรจ็ 1. โครงการสง เสริม 800 คน ความสาํ เร็จ (รอ ยละ) 9.สถานศกึ ษา กลยุทธท่ี 4 การอา นเพื่อพัฒนา 1. กลมุ เปาหมาย พัฒนาสอื่ แหลง พัฒนา บา นหนงั สอื ชุมชน ภาคเี ครอื ขายมี 1. รอยละ 80 ของ เรยี นรูและภมู ิ หลักสตู รและ 2. โครงการ แหง 4 เปาหมายภาคี ปญญาทอ งถนิ่ รปู แบบการ หอ งสมุดเคลือ่ นท่ี กลมุ เปาหมายมี เครือขา ยมสี วน ดว ยการจดั จดั กิจกรรม สาํ หรบั ชาวตลาด 17 ตําบล ความพงึ พอใจใน รวมในการจดั กระบวนการเรยี นรู การเรยี นรู 3.โครงการเมืองนกั ระดับดีข้นึ ไป การศึกษานอก ท่ตี อบสนองกับ ใหส อดคลอ ง อา น 1.กลุมเปา หมาย ระบบและการจดั การเปลย่ี นแปลง กบั พื้นทเ่ี ขต 4.โครงการอา น ไดรับการพฒั นา การศกึ ษาตาม บรบิ ทดา น พฒั นาพิเศษ สรางงานผา น ชวี ิตใหส อดคลอ ง อธั ยาศัย เศรษฐกิจ สังคม ภาค QRCode กบั พืน้ ท่เี ขตพัฒนา 2. มบี า นหนังสอื การเมือง ใน ตะวันออก พิเศษภาค ชุมชนท่ีเปนไปตาม รูปแบบท่ี (EEC) และ ตะวนั ออก (EEC) เกณฑครบทุก หลากหลาย ความ 4. กลุม เปาหมายมี ตาํ บลอยา งนอ ย ตอ งการของ ความพึงพอใจใน ตําบลละ 1 แหง กลมุ เปาหมา ระดบั ดขี ้ึนไป 3. มมี ุมหนงั สอื ย โดยการมี 1. กศน.อาํ เภอ เพื่อชุมชนอยา ง สว นรวมของ และกศน.ตําบลมี นอยตําบลละ 1 การอัพเดทขอมลู แหง การประชาสมั พนั ธ 4. รอ ยละ 80 ของ กจิ กรรมทางเวบ็ กลุมเปาหมายมี ไซดเปนประจําทุก ความพึงพอใจใน เดือน ระดบั ดขี นึ้ ไป

24 เปาประสงค กลยทุ ธ โครงการ/กจิ กรรม เปา หมาย ตัวช้วี ดั เกณฑความสําเรจ็ 7.ชมุ ชนและ ภูมปิ ญ ญา ความสําเรจ็ (รอยละ) ภาคเี ครือขา ย ทองถ่ินและ 1. โครงการ 17 ตาํ บล 1. สถานศกึ ษามี รว มจัด สงเสรมิ แหลงเรยี นรทู งั้ English นา รู คู คมู ือระบบการ 1. รอ ยละ 75 และสนบั สนนุ ภาครัฐและ Service โรงแรม นิเทศภายใน ของกลมุ เปาหมาย การดําเนินงาน เอกชน 2.โครงการ Smart 2. ผูน เิ ทศมีการ ไดร ับการพฒั นา การศกึ ษานอก กลยทุ ธท ี่ 5 ONIE เพ่อื สราง นเิ ทศการจดั ชีวติ ใหสอดคลอ ง ระบบและ สง เสรมิ ใหม กี าร Smart farmers กจิ กรรมและ กบั พื้นทเี่ ขตพฒั นา การศกึ ษาตาม ประชาสมั พนั ธ 3.โครงการ Digtal รายงานผลเปน พเิ ศษภาค อัธยาศัย ในรูปแบบท่ี teracy (เพื่อสรา ง ประจําทุกเดอื น ตะวนั ออก (EEC) หลากหลาย สงั คมออนไลน) 2. รอยละ 80 ของ 4.โครงการการคา กลมุ เปาหมายมี กลยทุ ธที่ 6 ออนไลน สสู ังคม ความพึงพอใจใน พัฒนาระบบ Digital ระดบั ดีข้นึ ไป การนเิ ทศ 5.โครงการเพม่ิ 1. รอ ยละ 100 ภายใน ประสทิ ธิภาพการ ของ กศน.อําเภอ สถานศึกษา บริหารจดั การขยะ และ กศน.ตาํ บลมี โดยใช มลู ฝอย การอพั เดทขอ มลู กระบวนการมี 1. โครงการพฒั นา การประชาสมั พนั ธ สวนรวมจากทุก ระบบ กิจกรรมทางเว็บ ภาคสวน ประชาสมั พนั ธข อง ไซด สถานศึกษา เปน ประจาํ ทุก 1. โครงการพัฒนา เดอื น บคุ ลากรการนิเทศ 1. รอยละ 100 ภายในสถานศึกษา ของสถานศกึ ษามี กศน.อําเภอเมือง คมู อื ระบบการ ชลบรุ ี นเิ ทศภายใน 2. รอ ยละ 80 ของ ผนู ิเทศมกี ารนิเทศ การจัดกจิ กรรม และรายงานผล เปนประจาํ ทกุ เดอื น

25 เปา ประสงค กลยทุ ธ โครงการ/กจิ กรรม เปา หมาย ตัวช้วี ดั เกณฑความสําเร็จ ความสาํ เรจ็ (รอ ยละ) 10.สถานศกึ ษา กลยทุ ธท ่ี 7 1. โครงการบริหาร 39 คน 1. สถานศกึ ษามี มรี ะบบการ พฒั นาระบบ ความเสี่ยงของ คูมอื การบริหาร 1. สถานศึกษามี บรหิ ารจัดการ คณุ ภาพ สถานศกึ ษา กศน. ความเส่ียง คมู ือการบรหิ าร ตามหลัก การศกึ ษาโดยใช อาํ เภอเมืองชลบรุ ี 2. รายงานสถานะ ความเสยี่ ง ธรรมาภบิ าล วงจรการพฒั นา 2. โครงการพฒั นา ทางการเงินเปน 2. รายงานสถานะ คุณภาพ ระบบประกนั ประจําทกุ เดือน ทางการเงินเปน (PDCA) เปน คุณภาพการศึกษา ประจาํ ทุกเดือน หลกั ในการจดั กศน.อาํ เภอเมือง การศกึ ษา ชลบุรี 8. บุคลากรของ กลยทุ ธท่ี 8 1.โครงการพัฒนา 39 คน 1.บุคลากรของ 1. รอยละ 80 ของ สถานศกึ ษา พฒั นาบุคลากร บุคลากรดา น สถานศึกษาทุกคน บุคลากรของ ไดรับการพฒั นา ของสถานศึกษา วชิ าการ:Google ไดร ับการพฒั นา สถานศึกษาทกุ คน เพือ่ เพิ่ม ใหม ี Form เพื่อเพ่ิมสมรรถนะ ไดร บั การพฒั นา สมรรถนะในการ ความสามารถใช 2.โครงการพัฒนา ในการปฏบิ ตั ิงาน เพื่อเพม่ิ สมรรถนะ ปฏิบตั ิงานตาม เทคโนโลยี บคุ ลากรดาน ตามบทบาทหนาท่ี ในการปฏบิ ตั งิ าน บทบาทหนา ที่ ดิจิทลั เพือ่ การ วชิ าการ:การจัดทาํ อยา งมี ตามบทบาทหนา ท่ี อยางมี จัดกระบวนการ สื่อการเรยี นการ ประสิทธภิ าพและ อยางมี ประสิทธิภาพ เรียนรู การ สอน Clip Video ตอ เนือ่ ง ประสทิ ธภิ าพและ และตอเนอ่ื ง บริหารจัดการ 3.โครงการบริหาร 2.บุคลากรของ ตอเน่อื ง และสงเสรมิ การ จดั การขอมูล สถานศกึ ษา 2. รอ ยละ 80 ทํางานเปน ทีม ขา วสาร กศน.ฝา สามารถนาํ ความรู ของบคุ ลากรของ กระแส Social ไปใชใ นการ สถานศกึ ษา Network พัฒนาการ สามารถนาํ ความรู 4.โครงการประชมุ ปฏิบตั ิงานตาม ไปใชในการ บคุ ลากรเพ่ือเพม่ิ บทบาทหนา ท่ี พัฒนาการ ประสทิ ธิภาพใน อยา งมี ปฏิบตั ิงานตาม การปฏบิ ตั งิ าน ประสิทธภิ าพ บทบาทหนา ที่ 5.โครงการประชุม 3. บคุ ลากรของ อยางมี เชงิ ปฏบิ ัติการการ สถานศกึ ษามคี วาม ประสทิ ธภิ าพ จัดกระบวนการ พึงพอใจในระดับดี 3. รอ ยละ 90 เรยี นการสอน ขนึ้ ไป ความพึงพอใจใน ระดบั ดีขนึ้ ไป

26 3. แนวทางหรือวธิ ีการจดั กจิ กรรมการศกึ ษาตอ เนือ่ ง เพ่ือใหส ถานศกึ ษาไดจ ัดกิจกรรมพฒั นาทักษะชีวิต เปน ไปในแนวทางเดียวกนั อยางมี ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เกิดความคุม คา ประหยัด เกิดประโยชนต อ ผเู รยี นและทางราชการสงู สดุ สาํ นักงาน กศน. จึงไดกําหนดกรอบการจัดกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน จํานวน 9 กิจกรรม ดงั นี้ 1. กิจกรรมพฒั นาวิชาการ เปนการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาใหผูเรียนมีพ้ืนฐานความรูเพียงพอกับการศึกษาในแตละ ระดับและพัฒนาผูเรียนใหมีความรู ความสามารถทางดานวิชาการเพ่ิมมากข้ึนในรายวิชาตามหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ไดแก ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร วิทยาศาสตร หรือวิชาอื่น ๆ ตามความตองการของนักศึกษา กศน. ซ่ึงวิทยากรหรือผูสอน ควรเปนผูท่ีมีความรูหรือประสบการณในการสอนวิชาน้ัน ๆ โดยตรง อาจจะเปนบุคคลภายนอกหรือครู กศน. ไดตามความเหมาะสม สวนจํานวนนักศึกษา กศน. ท่ีรวมกิจกรรมใหอยูในดุลยพินิจของผูบริหาร สถานศกึ ษากกก 2. กิจกรรมพฒั นาทกั ษะชีวิต เปนการจัดกิจกรรมเสริมเพิ่มเติมจากการเรียนปกติในสาระทักษะการดําเนินชีวิต หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เนื่องจากสังคมปจจุบันมีการเปล่ียนแปลง อยางรวดเร็วทงั้ ดา นเศรษฐกิจ สังคมขา วสารขอมูล และเทคโนโลยี มีการแขงขนั และความขัดแยงมาก ข้ึน จึงมีความจําเปนที่สถานศึกษาตองจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตใหกับ นักศึกษา กศน. โดยมี วัตถุประสงคหลัก คือ เพ่ือใหมีความรู ความเขาใจ มีเจตคติ คานิยมท่ีถูกตอง และมีทักษะ หรือ ความสามารถพ้ืนฐานท่ีจําเปนในการเผชิญปญหาที่เกิดข้ึนในชีวิต เชน ปญหายาเสพติด การต้ังครรภ ไมพึงประสงค เพศสัมพันธ ทะเลาะวิวาท ครอบครัวแตกแยก ความรุนแรง ภัยพิบัติ ความเครียด ฯลฯ รวมทั้งมีคุณสมบัติท่ีพึงประสงคในการอยูรวมกับผูอ่ืนในสังคมไดอยางมีความสุข และสามารถ นาํ ความรจู ากการเขารว มกจิ กรรมไปปรบั ใชในชวี ิตประจาํ วันไดอยางเหมาะสม กก 3. กจิ กรรมทแ่ี สดงออกถงึ ความจงรกั ภักดีตอ สถาบันชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตรยิ  เปนการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาและสงเสริมสนับสนุนใหผูเรียน มีความรูความเขาใจ มี ทัศนคติท่ีดีมีความรักและภาคภูมิใจในชาติไทย และแสดงออกถึงความจงรักภักดีตอสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริยตลอดจนทะนุบํารุงและปฏิบัติตามหลักธรรมทางศาสนาท่ีนับถือ การ สงเสริมโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชด าริการเทิดทนู และปกปองสถาบนั พระมหากษัตรยิ และพระ บรมวงศานวุ งศ 4. กิจกรรมการเรียนรตู ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เปนการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีความรู ความเขาใจตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงโดยสามารถนําไปประยุกตใหเกิดผลในทางปฏิบัติในการดํารงชีวิตประจําวันท้ังตอ ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคมและประเทศชาติ

27 5. กจิ กรรมลูกเสือ และกิจกรรมอาสายุวกาชาด เปนกิจกรรมเพื่อพัฒนาและสงเสริมสนับสนุนใหผูเรียนเปนผูที่มีระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรมมีจิตอาสา มีความเสียสละในการชวยเหลือผูอื่น บําเพ็ญประโยชนตอสังคมและชุมชน โดย ดําเนินการจัดกิจกรรมลูกเสือ กศน. และกิจกรรมอาสายุวกาชาด หรืออาจดําเนินการรวมกับ สํานักงานลูกเสือแหงชาติ สํานักการลูกเสือยุวกาชาดและกิจกรรมนักเรียน กระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานยวุ กาชาด สภากาชาดไทย เปนตน 6 . กจิ กรรมกีฬาและสง เสริมสุขภาพ เปนการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาผูเรียนไดมีโอกาสออกก าลังกายและเลนกีฬาเพ่ือสุขภาพ พลานามัยที่ดีสรางนิสัยความมีน้ําใจเปนนักกีฬาและใชเวลาวางใหเปนประโยชน เปนการสรางความ รัก ความสามัคคีในหมู คณะ ให รูจัก รูแพ รูชนะ รูอภัย และเปนการสรางสัมพันธภาพอันดี ระหวาง นกั ศกึ ษา กศน . 7. กิจกรรมเพ่ือพัฒนาความรูค วามสามารถดา นเทคโนโลยสี ารสนเทศ (ICT) เปนกจิ กรรมเพื่อพฒั นาผูเ รียนใหม ีความรูและทักษะใน ดา นเทคโนโลยสี ารสนเทศ (ICT) เชน การจัดอบรมความรูใ นดา นตางๆ ทเ่ี กี่ยวกับ ICT เปนตน 8. กจิ กรรมเพ่ือพัฒนาความรสู ปู ระชาคมโลก เปนการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาความรูใหกับผูเรียน ในดานการศึกษา เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมความม่ันคง และการเมือง เพ่ือเขาสูประชาคมโลก เชน การเปล่ียนแปลงโครงสราง ประชากรไปสูสังคมสูงวัยทักษะของประชากรในศตวรรษที่ 21 ท่ีท่ัวโลกตางตองเผชิญกับความ ทา ทายและมุง พฒั นาประเทศไปสกู ารพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมยคุ 4.0 เปน ตน 9. กจิ กรรมจิตอาสา กศน. “เราทาํ ความดีดว ยหัวใจ” เปนกิจกรรมท่ีหนวยงาน/สถานศึกษาในสังกัดสํานักงาน กศน. จัดขึ้น หรือรวมกับ หนว ยงานอื่น ๆและรว มกับประชาชนทุกหมูเหลาที่มีจิตอาสาบําเพ็ญสาธารณประโยชนในพ้นื ท่ีตาง ๆ เพ่ือบรรเทาความเดือดรอน และแกไขปญหาใหแกประชาชน ไมวาจะเปนปญหานํ้าทวมในเขตชุมชน ปญหาการจราจรและอ่ืน ๆ เพ่ือสืบสานพระราชปณิธานพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช บรมนาถบพิตร ท่ีทรงหวงใยปญหาน้ําทวมและปญหาการจราจรในเขตพื้นที่ กรุงเทพมหานครและจังหวัดตาง ๆ และสอดคลองกับพระบรมราโชบายของสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 10 เปน การพฒั นาสภาพแวดลอมและความเปนอยูในชมุ ชนใหม ีสภาพทดี่ ขี ึน้ 10. กจิ กรรมสง เสรมิ การอา น และพัฒนาทักษะการเรยี นรู เปนกิจกรรมท่ีสงเสริมใหผูเรียนมีทักษะการอาน การเรียนรู เสริมสรางนิสัยรักการอาน และการเรียนรูเพื่อนําไปใชในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสังคม อันจะนําไปสูสังคมแหง การเรียนรูตลอดชวี ติ 11. กจิ กรรมสง เสริมการเรยี นรเู พื่อพัฒนาทกั ษะอาชีพ เปนกิจกรรมที่สงเสริมใหผูเรียนไดศึกษา เรียนรูฝกทักษะและฝกปฏิบัติดานอาชีพท่ี ตนเองสนใจ เพอ่ื เปนทางเลือก และวางแผนการประกอบอาชพี และการศกึ ษาตอ ในอนาคต

28 12. กจิ กรรมสง เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เปน กิจกรรมที่สง เสริมใหผูเรียนไดเรียนรู ดวยการปลกู ฝงคุณธรรม จริยธรรม วฒั นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และเอกลักษณของชาติ ใหเกิดความรักและความภาคภูมิใจ สืบสาน วฒั นธรรมและประเพณีทอ งถนิ่ อยูรว มกันในสงั คมไดอยางมีความสขุ 13. กิจกรรมการเรียนรูการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรง เปนประมขุ และกฎหมายที่เก่ยี วของในชวี ติ ประจาํ วนั เปนกิจกรรมเพื่อพัฒนาผูเรียน ใหมีความรูความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขและกฎหมายท่ีเกี่ยวของในชีวิตประจําวัน เชน กฎหมายรัฐธรรมนูญกฎหมายการเลือกต้ัง สิทธิหนาท่ีพลเมือง กฎหมายที่เกี่ยวของกับการ คมุ ครองผูบริโภค เปนตน 14. กิจกรรมเสรมิ สรางความสามารถพิเศษ เปน กิจกรรมเพื่อพฒั นาผเู รียนที่มีความสามารถพเิ ศษ หรอื มีพรสวรรคในดานตาง ๆ ใหมี โอกาสและกลาแสดงออกถึงทักษะ ความรู ความสามารถ ความคิดสรางสรรค และจินตนาการ ใน แนวทางที่ถูกตองเหมาะสม และพัฒนาความสามารถพิเศษหรือพรสวรรคไปใชประโยชนตอการ ดํารงชีวิตของตนเอง เปนการสงเสริมสนับสนุนการศึกษาตลอดชีวิต โดยการจัดต้ังชมรมตาง ๆ เชน ชมรม TO BE NUMBER ONE การจดั ตั้งศูนยเพ่อื นใจวยั รุน เปน ตน 3. รูปแบบของกิจกรรม 3.1 แบบการจัดคา ยวิชาการ คา ยกจิ กรรม ทั้งคา ยไป – กลับ และคายคางคืน 3.2 แบบช้ันเรยี น โดยครู กศน. หรือวทิ ยากรท่ีมีความรหู รือประสบการณในการสอน วชิ านั้นๆ เปน ผูจัดกิจกรรมหรือรวมกับเครอื ขาย 3.3 แบบศึกษาดูงาน ในพน้ื ทใี่ กลเ คยี งหรือภายในจงั หวัด/ภาคเดียวกนั กรณีออกนอกพ้ืนที่ ใหข อความเห็นชอบจากผูอาํ นวยการสํานักงาน กศน.จังหวดั /กทม. 3.4 อ่ืนๆ ตามความเหมาะสม (โดยใหพิจารณารปู แบบของกิจกรรมขอท่ี 3.1 – 3.3 กอน แลวจงึ ดาํ เนินการในขอ 3.4) 4. งบประมาณ การเบิกจายใหเปนไปตามระเบียบของทางราชการที่เก่ียวของ โดยยึดหลักความถูกตอง โปรงใสตรวจสอบได 5. เงื่อนไขของการดาํ เนินงาน 5.1 ผูร บั บริการตองเปนนักศึกษา กศน. ทลี่ งทะเบียนเรียนในหลกั สตู รการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ในภาคเรียนน้ัน ๆ 5.2 สถานศึกษาจัดทาํ แผนการจัดกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผูเรียน ตามกรอบการจัด กจิ กรรมเพื่อพฒั นาคุณภาพผูเรียน 5.3 สถานศึกษาจัดสงแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน เพื่อขอความเหน็ ชอบ จากสาํ นักงาน กศน. จังหวดั /กทม.

29 5.4 สถานศกึ ษาดําเนนิ การตามแผนการจดั กิจกรรมเพื่อพฒั นาคณุ ภาพผเู รียน ตรวจสอบ ประเมินผลการจดั กจิ กรรม พรอมเบกิ จายเงนิ ตามระเบียบที่กาํ หนดใหแลว เสรจ็ ภายในแตล ะภาค เรียน และรายงานผลใหส าํ นักงาน กศน. จงั หวัด/กทม. ทราบ 5.5 สาํ นักงาน กศน. จังหวดั /กทม. นเิ ทศติดตาม การจดั กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผูเ รียน ของสถานศกึ ษา 5.6 ใหใช“ กรอบการจดั กิจกรรมเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพผูเ รียน ตามหลกั สตู รการศกึ ษานอก ระบบระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สํานักงาน กศน.” ตั้งแตภ าคเรียนที่ 2/2561 เปนตน ไป หมายเหตุ : กิจกรรมเพื่อพฒั นาคุณภาพผูเรยี นทใี่ ชเงินงบประมาณในการจดั กจิ กรรมไม นบั เปน ชวั่ โมงกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต (กพช.) ตามหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 4. เอกสารงานทีเ่ ก่ยี วของ อาหารโภชนาการสําหรับผสู งู อายุ แนวทางการใหคําปรกึ ษาเพื่อปรับเปล่ียนพฤตกิ รรมสขุ ภาพ ตาม “ปงปองจราจรชีวิต 7 ส”ี ประเด็น กจิ กรรม สีขาว อาหาร ปลกู ผักกินเอง งดนํา้ อัดลม รับประทานผลไมร สไมห วานจัด หลกี เลยี่ งหอยนางรม หมึก กงุ ตวั ใหญ เนอ้ื สัตวต ิดมนั ลดการบริโภคผงชูรส รสดี ซอสปรงุ รส ลดดมื่ กาแฟสําเรจ็ รูป เครอื่ งด่มื ชู กาํ ลงั มามา ลดการเตมิ นา้ํ ปลา ออกกําลังกาย สปั ดาหละ 3 ครงั้ ๆละ 30 นาที ควบคมุ น้ําหนักไมใหเพ่ิมขึ้น อารมณ สวดมนตกอนนอนทุกวนั ตามบรบิ ทศาสนา อบายมุข ลด/เลิกบหุ รี่ และเครื่องดืม่ แอลกอฮอลใ นวันสําคญั เชน วันเขา พรรษา ปใ หม สงกรานต เปาหมาย/ ลดเสย่ี ง/ ผลลพั ธ : สขี าว ผลลพั ธ การติดตาม/ ตรวจสขุ ภาพอยา งนอยปละ 1 คร้ัง (ตามแนวทาง) พบแพทย

30 สีเขยี วออน 1 อาหาร กนิ ผกั 2-3 มื้อ/วัน งดนํา้ อัดลม ลดการกินผลไมกวน ทเุ รยี น ลาํ ไย ลิ้นจ่ี ขนนุ องนุ นอ ยหนา ลด การกินหอยนางรม หมึก กงุ ตัวใหญ เนื้อสัตวต ดิ มนั ปลาเค็ม ไขเคม็ ลดการบรโิ ภคผงชรู ส รสดี ซอสปรงุ รส งดการเติมนํ้าปลา ลดด่มื กาแฟสําเรจ็ รปู หรอื เปลยี่ นเปนกาแฟดํา (หากจําเปน ) ลด เคร่ืองดื่มชูกาํ ลัง มามา ออกกําลงั กาย สัปดาหละ 3 ครง้ั ๆละ 30 นาที ควบคมุ น้ําหนักไมใหเพ่ิมข้ึน และเนน การลดนํ้าหนักโดยการ ตั้งเปาหมายรว มกัน อารมณ สวดมนตกอนนอนทุกวนั ตามบริบทศาสนา น่งั สมาธิ 10 นาท/ี วนั และเวลาเครยี ด อบายมุข ลด/เลกิ บุหร่ี และเคร่ืองดม่ื แอลกอฮอลในวนั สําคญั เชน วันเขาพรรษา ปใหม สงกรานต คดั กรองผตู อ งการเลกิ บหุ ร่ี-สุรา และสง เขาคลินิกอดบหุ ร่ี-สรุ า เปา หมาย/ ลดเสีย่ งและไมเ ปนโรค ผลลพั ธ : สีขาว/สเี ขยี ว1 ผลลัพธ การติดตาม/ 3 – 6 เดือน พบแพทย สเี ขียวออ น 2 อาหาร กนิ ผัก 2-3 ม้ือ/วัน งดนาํ้ อดั ลม ลดการกนิ ผลไมกวน ทุเรยี น ลําไย ล้ินจ่ี ขนนุ องุน นอ ยหนา ลด การกินหอยนางรม หมึก กงุ ตัวใหญ เน้อื สตั วตดิ มัน ปลาเค็ม ไขเ ค็ม ลดการบริโภคผงชรู ส รสดี ซอสปรงุ รส งดการเติมน้ําปลา ลดดื่มกาแฟสําเรจ็ รปู หรือเปลี่ยนเปนกาแฟดํา (หากจําเปน) ลด เครอ่ื งดื่มชูกําลงั มามา โดยจดั กิจกรรมการบันทึกการรบั ประทานอาหารเพื่อรว มแลกเปลย่ี น เรยี นรูและคน หาปญ หารวมกับเจาหนาท่ี ออกกาํ ลังกาย สัปดาหละ 3 ครั้งๆละ 30 นาที ควบคุมน้ําหนักไมใหเ พิ่มข้ึน และเนนการลดน้าํ หนักโดยการ ตง้ั เปา หมายรวมกัน อารมณ สวดมนตกอนนอนทุกวันตามบรบิ ทศาสนา นัง่ สมาธิ 10 นาท/ี วัน และเวลาเครียด อบายมุข ลด/เลกิ บุหรี่ และเครื่องดื่มแอลกอฮอลในวันสําคัญ เชน วันเขา พรรษา ปใหม สงกรานต คดั กรองผูตอ งการเลิกบหุ ร่ี-สุรา และสง เขา คลนิ ิกอดบุหรี่-สุรา เปาหมาย/ ลดเส่ยี งและไมเ ปน โรค ผลลัพธ : สขี าว/สเี ขยี วออ น 1 ผลลัพธ การตดิ ตาม/ ติดตามภายใน 1 สัปดาห พบแพทย

31 ประเดน็ กจิ กรรม สีเขียวเขม รับประทานขาวไมขดั สี เชนขาวกลอง 5-8 ทัพพี/วัน อาหาร - รบั ประทานผกั วันละ 3 ทัพพี(กรณีของผักใบเขยี ว รบั ประทานไดไ มจ าํ กดั จาํ นวน เชน ผักกาด, ออกกาํ ลัง คะนา,ผักบุง ,ถ่วั ฝก ยาว) กาย - ผลไม(ควรหลีกเลยี่ งผลไมที่มรี สหวานจดั ) อารมณ -ถวั่ ธญั พืช วันละประมาณครึ่งถงึ 1 ทัพพี อบายมุข - ควรหลีกเลี่ยงเนื้อสัตวที่ติดมัน,เครอ่ื งในสตั ว,อาหารทะเลยกเวนเนือ้ ปลา เปา หมาย/ สัปดาหละ 3 วนั อยางนอ ย 30 นาทีตอ วนั ผลลัพธ - ควรออกกาํ ลังกายอยางสม่ําเสมอ อยางนอ ยสปั ดาหล ะ 3 วัน วนั ละอยา งนอย 30 นาที เชน การ การตดิ ตาม/ เดนิ การวง่ิ เหยาะ ไทเก็ก ปน จักรยาน เปน ตน ผสู งู อายุควรหลกี เลย่ี งการเหวี่ยง การกระแทก การ พบแพทย แกวงแขน - ควบคมุ นาํ้ หนัก BMI <25 Kg/������������2 วัดรอบเอวในผูชายนอ ยกวา หรือเทากบั 90 เซนตเิ มตร,รอบเอวในผหู ญิงนอยกวาหรอื เทา กบั 80 เซนติเมตร สงบ เยอื กเยน็ - ทาํ จติ ใจใหแจม ใสอยเู สมอ หาวิธคี ลายเครยี ด หรอื ทํากจิ กรรมรวมกับครอบครวั เชน ปลูกตนไม เลนดนตรี วาดภาพ ทอ งเท่ียว หรือปฏิบตั ศิ าสนกิจ เปน ตน รวมทัง้ ควรพักผอนใหเพียงพอ วันละ 6-8 ชวั่ โมง - ลดอวน ลดพงุ ใหไ ด - ลด/เลกิ บหุ ร่ี และเครื่องด่ืมแอลกอฮอล -รบั ประทานยาตอเนอ่ื ง - ลดการบรโิ ภคนาํ้ ตาลหรือเครือ่ งตา งๆท่มี นี าํ้ ตาลสําหรบั ผูป วยเบาหวาน - ลดการบริโภคอาหาร มนั เค็ม สาํ หรับผปู วยความดันโลหิตสงู FPG <130 mg% หรือ HbA1C <7 ระดบั ความดนั ใหอ ยูในเกณฑปกติโดยระดับความดันนอ ยกวา หรอื เทา กบั 140/๙0 มลิ ลิเมตรปรอท นดั พบแพทย 2-3 เดือน/คร้งั

32 สีเหลอื ง รับประทานผกั ผลไมครึง่ หน่ึง อยา งอ่นื ครึ่งหนงึ่ อาหาร รบั ประทานขาวไมขดั สี เชนขาวกลอ ง 5-8 ทัพพี/วนั - รับประทานผักวนั ละ 3 ทัพพ(ี กรณีของผกั ใบเขยี ว รบั ประทานไดไ มจํากัดจาํ นวน เชน ผกั กาด, คะนา ,ผกั บงุ ,ถ่วั ฝกยาว) - ผลไม( ควรหลกี เล่ยี งผลไมท่ีมรี สหวานจัด) -ถว่ั ธัญพชื วันละประมาณคร่ึงถึง 1 ทัพพี - ควรหลกี เลีย่ งเนอื้ สัตวที่ตดิ มัน,เครอ่ื งในสัตว,อาหารทะเลยกเวน เน้ือปลา ประเดน็ กจิ กรรม ออกกาํ ลัง สปั ดาหละ 3 วนั อยางนอ ย 30 นาทตี อวนั กาย - ควรออกกาํ ลงั กายอยา งสมา่ํ เสมอ อยางนอยสัปดาหละ 3 วัน วนั ละอยางนอย 30 นาที เชน การ เดิน การว่งิ เหยาะ ไทเก็ก ปนจกั รยาน เปน ตน ผูสูงอายุควรหลกี เล่ียงการเหวยี่ ง การกระแทก การ อารมณ แกวงแขน อบายมุข - ควบคมุ น้ําหนกั BMI <25 Kg/������������2 เปา หมาย/ วัดรอบเอวในผชู ายนอ ยกวาหรือเทากับ 90 เซนติเมตร,รอบเอวในผูห ญิงนอ ยกวาหรอื เทา กับ 80 ผลลพั ธ เซนตเิ มตร การตดิ ตาม/ สงบ เยือกเยน็ พบแพทย - ทําจติ ใจใหแ จม ใสอยูเ สมอ หาวธิ คี ลายเครยี ด หรอื ทาํ กจิ กรรมรว มกับครอบครัว เชน ปลูกตน ไม เลนดนตรี วาดภาพ ทองเทีย่ ว หรอื ปฏบิ ัตศิ าสนกจิ เปน ตน รวมทงั้ ควรพักผอนใหเพยี งพอ วนั ละ 6-8 ชั่วโมง - ลดอวน ลดพงุ ใหไ ด - ลด/เลิกบหุ รี่ และเคร่อื งดมื่ แอลกอฮอลล FPG <130 mg% หรือ HbA1C <7 ระดบั ความดันใหอ ยูในเกณฑปกตโิ ดยระดบั ความดนั นอ ยกวาหรอื เทา กบั 140/๙0 มลิ ลิเมตรปรอท นัดพบแพทย 2-3 เดือน/ครงั้ (ตามวนั คลินกิ ปง ปองสีเขียวเหลือง)

33 สีสม รับประทานขาวไมขัดสี เชนขาวกลอง 5-8 ทัพพี/มอื้ อาหาร - รบั ประทานผกั วนั ละ 3 ทัพพ(ี กรณขี องผักใบเขยี ว รับประทานไดไมจํากดั จํานวน เชน ผกั กาด, ออกกาํ ลัง คะนา ,ผกั บงุ ,ถว่ั ฝกยาว) กาย - รบั ประทานผลไมไมเกนิ 2-๓ สว น(จํากดั จํานวน)/วัน อารมณ - ด่ืมนมจืดพรองมนั เนยวันละ ๑ แกว และหลีกเล่ยี งเคร่ืองด่ืมท่ีมนี ้ําตาล ประเดน็ - ควรหลีกเล่ียงเนือ้ สัตวท ตี่ ิดมัน,เคร่ืองในสัตว, อาหารทะเลยกเวนเนื้อปลา อบายมุข สปั ดาหละ 3 วนั อยางนอย 30 นาทีตอ วัน - ควรออกกําลงั กายอยางสมํ่าเสมอ อยา งนอ ยสัปดาหล ะ 3 วนั วันละอยา งนอ ย 30 นาที เชน การ เปา หมาย/ เดนิ การว่ิงเหยาะ ไทเก็ก ปน จักรยาน เปน ตน ผสู งู อายคุ วรหลกี เล่ียงการเหว่ียง การกระแทก การ ผลลพั ธ แกวง แขน การตดิ ตาม/ - ควบคมุ น้ําหนกั BMI <25 Kg/������������2 พบแพทย วัดรอบเอวในผชู ายนอยกวาหรือเทา กบั 90 เซนติเมตร,รอบเอวในผูหญิงนอ ยกวาหรือเทากบั 80 เซนตเิ มตร สงบ เยอื กเยน็ - ทําจิตใจใหแจมใสอยเู สมอ หาวธิ คี ลายเครยี ด หรอื ทํากิจกรรมรว มกับครอบครัว เชน ปลูกตน ไม เลนดนตรี วาดภาพ ทอ งเทยี่ ว หรอื ปฏบิ ตั ิศาสนกิจ เปน ตน รวมท้งั ควรพักผอ นใหเพียงพอ วนั ละ 6-8 ชั่วโมง กจิ กรรม - ลดอวน ลดพงุ ใหได - ลด/เลิกบุหร่ี และเคร่ืองดื่มแอลกอฮอลล - วัดความดนั ทุกเดือน ตรวจวดั ระดบั นาํ้ ตาลทุก 1-3 เดือน - ลดการบริโภคนาํ้ ตาลหรือเคร่ืองตางๆทม่ี นี ํา้ ตาลสําหรับผปู วยเบาหวาน - ลดการบริโภคอาหาร มัน เค็ม สําหรับผปู ว ยความดันโลหติ สงู - ตรวจภาวะแทรกซอ น ตา เทา ในผปู วยเบาหวานและไต หวั ใจ สมองอยา งนอยปละ 1 คร้ังใน ผูปว ยเบาหวานและความดนั โลหิตสูง FPG <130 mg% หรอื HbA1C <7 ระดบั ความดนั ใหอยูในเกณฑปกติโดยระดบั ความดนั นอ ยกวาหรอื เทา กับ 140/๙0 มิลลิเมตรปรอท พบแพทยตามนัดทกุ 4-8 สปั ดาหห รอื เมื่อมีอาการผิดปกติและตดิ ตามเยี่ยมบา น

34 สีแดง รับประทานผัก ผลไมครึ่งหน่งึ อยา งอน่ื คร่ึงหนงึ่ อาหาร รบั ประทานขาวไมขัดสี เชน ขาวกลอง 5-8 ทัพพี - ผักวนั ละ 3 ทัพพี(กรณขี องผกั ใบเขยี ว รับประทานไดไมจํากัดจาํ นวน เชน ผกั กาด,คะนา,ผักบุง ออกกําลัง ,ถ่วั ฝก ยาว) กาย - รบั ประทานผลไมไมเกนิ 2-3 สว น(จํากดั จํานวน)/วัน อารมณ - ดม่ื นมจืดพรองมันเนยวันละ 1 แกวและหลกี เล่ยี งเครือ่ งดื่มที่มีนาํ้ ตาล อบายมุข - ควรหลกี เลี่ยงเนือ้ สตั วท ี่ติดมัน,เครอื่ งในสตั ว, อาหารทะเลยกเวนเน้อื ปลา เปา หมาย/ สปั ดาหล ะ 3 วนั อยางนอย 30 นาทตี อ วนั ผลลัพธ - ควรออกกําลงั กายอยา งสมํ่าเสมอ อยางนอยสปั ดาหละ 3 วนั วนั ละอยางนอย 30 นาที เชน การ เดนิ การวง่ิ เหยาะ ไทเก็ก ปนจักรยาน เปน ตน ผสู ูงอายุควรหลีกเลย่ี งการเหวี่ยง การกระแทก การ ประเด็น แกวงแขน การติดตาม/ - ควบคุมน้ําหนกั BMI <25 Kg/������������2 พบแพทย วัดรอบเอวในผูช ายนอยกวาหรือเทา กับ 90 เซนติเมตร,รอบเอวในผหู ญิงนอยกวาหรือเทา กับ 80 เซนติเมตร สงบ เยอื กเยน็ - ทําจติ ใจใหแ จมใสอยเู สมอ หาวธิ ีคลายเครียด หรอื ทํากจิ กรรมรว มกับครอบครัว เชน ปลูกตน ไม เลนดนตรี วาดภาพ ทอ งเทยี่ ว หรือปฏิบัติศาสนกจิ เปน ตน รวมทั้งควรพักผอนใหเพียงพอ วนั ละ 6-8 ช่วั โมง - ลดอว น ลดพงุ ใหไ ด - ลด/เลิกบุหรี่ และเครื่องดื่มแอลกอฮอลล - วดั ความดนั ทกุ เดือน ตรวจวัดระดับน้าํ ตาลทุก 1-3 เดือน - ลดการบรโิ ภคนา้ํ ตาลหรือเครอ่ื งตา งๆท่มี ีนา้ํ ตาลสาํ หรบั ผูปวยเบาหวาน - ลดการบรโิ ภคอาหาร มัน เค็ม สําหรับผูปวยความดนั โลหติ สูง FPG <130 mg% หรอื HbA1C <7 ระดบั ความดนั ใหอ ยูในเกณฑปกตโิ ดยระดบั ความดนั นอ ยกวาหรือเทา กบั 140/๙0 mmHg กจิ กรรม - พบแพทยตามนัดทุก๒- 4สัปดาหห รอื เม่ือมีอาการผิดปกติและไดร บั การโทร/ตดิ ตามเย่ียมบาน ปรับยา/ยาฉดี รายใหม/ HbA1C > 9

35 สีดาํ รับประทานผกั ผลไมค ร่ึงหนึง่ อยา งอ่ืนคร่งึ หนึง่ อาหาร รับประทานขาวแปง 5-8 ทัพพี/วนั - รับประทานผกั วันละ 3 ทัพพ(ี กรณขี องผักใบเขียว รบั ประทานไดไ มจํากดั จาํ นวน เชน ผกั กาด, ออกกําลงั คะนา ,ผักบุง ,ถ่ัวฝกยาว) กาย - รบั ประทานผลไมไมเ กนิ 2-3 สวน(จํากดั จาํ นวน)/วนั อารมณ - ด่มื นมจดื พรองมนั เนยวนั ละ 1 แกว และหลกี เลย่ี งเครอื่ งดื่มท่มี ีน้ําตาล อบายมุข - ควรหลีกเล่ียงเน้อื สตั วทต่ี ิดมัน,เครือ่ งในสตั ว,อาหารทะเลยกเวนเน้อื ปลา เปา หมาย/ - ควรออกกาํ ลงั กายอยา งสมํา่ เสมอ อยางนอ ยสปั ดาหล ะ 3 วัน วนั ละอยางนอย 30 นาที เชน การ ผลลัพธ เดนิ การแกวง แขน การติดตาม/ - ทาํ จติ ใจใหแ จม ใสอยูเ สมอ หาวิธีคลายเครียด หรอื ทาํ กิจกรรมรวมกับครอบครัว เชน ปลกู ตน ไม พบแพทย เลน ดนตรี วาดภาพ ทอ งเทย่ี ว หรือปฏบิ ัติศาสนกจิ เปนตน รวมทงั้ ควรพักผอนใหเพียงพอ วนั ละ 6-8 ชัว่ โมง - ลด/เลิกบหุ รี่ และเครื่องดืม่ แอลกอฮอลล FPG <130 mg% หรอื HbA1C <7 ระดบั ความดนั ใหอยูในเกณฑปกตโิ ดยระดบั ความดนั นอยกวา หรอื เทา กับ 140/๙0 มิลลเิ มตรปรอท นดั สัปดาหที่ 2,4 (ทุก 1 เดือน)

36 รูทนั สญั ญาณเตือนและอาการของโรคสมองเสื่อม สาเหตกุ ารเกดิ โรคสมองเส่ือมมาจากหลายสาเหตุ ประกอบดว ย 1. เกิดจากการเสื่อมสลายของสมอง เน่ืองจากเน้ือสมองมีการเสอื่ มสลายหรอื ตาย ซ่ึงสว นใหญยงั ไม ทราบวา มีสาเหตมุ าจากอะไร อะไรเปนตวั กระตุนทําใหเนือ้ สมองตาย โรคสมองเสอื่ มที่พบบอยในกลุม น้ี ไดแ ก โรคอัลไซเมอร โรคพารกินสนั และโรคอืน่ ๆ อกี หลายโรค ซง่ึ ในกลมุ น้ีโรคอลั ไซเมอร เปน สาเหตุทพี่ บบอยทีส่ ุดในชาวตะวนั ตก แตข ณะน้ียงั ไมม ตี ัวเลขที่แนน อนวาคนไทยเปน อลั ไซเมอรม าก นอยเพยี งใดและคิดเปนอัตราสวนเทา ไรของคนไขส มองเส่ือมทัง้ หมด 2. เกดิ จากหลอดเลอื ดสมอง เน่ืองจากหลอดเลอื ดท่ไี ปเลย้ี งสมองหนาตวั แขง็ ตวั หรอื มีการตีบตวั ผดิ ปกติ สง ผลใหป รมิ าณเลอื ดทไ่ี ปเล้ยี งสมองลดลง ถาลดลงมากถึงระดบั ที่ไมเพยี งพอกบั การใชง านของสมอง ก็จะทําใหเ น้อื สมองตายไป เนื้อสมองสวนท่ีตายไปน้นั ถา เกิดขน้ึ ในพ้นื ทีเ่ ลก็ ๆ ก็อาจจะยังไมม ีอาการใน ระยะแรก แตถาเนื้อสมองตายเปน จํานวนมากจะทําใหผูปว ยมอี าการหลงลมื หรอื สมองเสื่อมได ผปู ว ย ท่ีมแี นวโนมวา จะมีหลอดเลอื ดสมองตบี ผิดปกติมักจะอยใู นกลุม ผูท ่มี คี วามดนั เลือดสงู ผูท่ีเปน เบาหวาน ผทู มี่ ีระดับไขมนั โคเลสเตอรอลสูง หรือผูทีส่ บู บหุ รี่ นอกจากนย้ี ังมปี จ จัยเส่ยี งอื่นๆ 3. เกิดจากการตดิ เช้ือในสมอง มีเชอื้ ไวรัสหลายชนิดซ่ึงทาํ ใหเกิดการอักเสบในสมอง เชน ไวรสั สมอง อักเสบทเ่ี กิดจากไวรสั ชนิดหนง่ึ ทีอ่ ยูใ นหมู โดยยุงจะกัดหมูแลวมากัดคน นาํ เชอ้ื ไวรัสมาสูค น ผูปว ยจะ มีไขส ูง แลว ไวรสั ขึน้ สมอง ผูปวยอาจเสียชวี ติ หรอื รอดชีวิตแตมีการเสยี หายของเนือ้ สมอง ซึง่ ความ เสียหายจะมากหรือนอยขนึ้ อยกู ับความรุนแรงของการตดิ เช้อื ในสมอง เมือ่ เนื้อสมองบางสวนตายไป ทําใหความสามารถของสมองลดลงจนทาํ ใหม ีอาการลืม และความรอบรูเฉลยี วฉลาดตางๆ เปลี่ยนไป เปนอาการสมองเสื่อมได นอกจากน้ใี นปจจุบนั ยงั มเี ช้ือไวรสั อีกสว นหนง่ึ ที่ทําใหเ กิดสมองเสือ่ มมากข้นึ เร่ือยๆ คือ การติดเช้ือไวรัสเอชไอวี (HIV) เม่อื ไวรสั HIV เขา ไปในรางกายจะทาํ ใหภ ูมิตานทานของ รา งกายบกพรอง สง ผลใหเกิดการตดิ เช้ือในสมอง ผปู ว ยจะมพี ฤติกรรมเปล่ียนแปลง ความจาํ เปลี่ยนแปลงบคุ ลิกภาพเปลยี่ น สว นใหญแ ลวสมองเสือ่ มทีเ่ กดิ จากการตดิ เช้อื ในสมองมกั พบในคนทม่ี ี อายุนอย 4. เกิดจากการขาดสารอาหารบางชนดิ โดยเฉพาะวิตามิน เชน วติ ามนิ บี 1 หรอื วิตามนิ บี 12 วิตามนิ บ๑ี พบมากใน ขาวซอมมือ รําขาว ขาวโอต แปงถัว่ เหลือง ถ่ัวเมลด็ แหง เครื่องในสตั ว ตับ ไขแดง นม และผักใบเขียว เปน สารชวยทาํ ใหการทํางานของเซลลสมองเปนไปอยางปกติ ผูท่ีขาดวติ ามนิ บี 1 มกั พบใน ผูปวยทีต่ ิดเหลา หรือเปนโรคพษิ สุราเร้ือรัง เมอ่ื ไดร บั วติ ามนิ บี 1 ไมเ พียงพอทําใหเ ซลลส มอง ทํางานไมไดตามปกตหิ รอื อาจถงึ ขนั้ เซลลสมองตายไป สวนวติ ามินบี 12 จะไดจากน้ําปลา หรืออาหาร จากเน้อื สัตว มคี วามจําเปน อยางยิง่ ในการทํางานของสมอง ผปู ว ยท่ขี าดวิตามิน บี 12 มักพบในผูป วย ทก่ี นิ มังสวริ ตั อิ ยางเครงครดั เปนเวลานานหลายๆ ป ดังน้นั ผูท่ีกนิ มังสวิรตั ิอยา งเครง ครดั จึงควรไดร บั วิตามนิ เสรมิ เปน คร้ังคราวเพ่ือใหเ พยี งพอกบั การทาํ งานของระบบตางๆ ในรางกาย นอกจากนย้ี ังอาจพบ การขาดวติ ามินบี 12 ในผูปวยทไ่ี ดผาตัดกระเพาะอาหารและลาํ ไสเล็กสวนตน ก็ จะทาํ ใหขาดสารอาหารบางอยา งซึง่ ชวยหรือมีความจําเปนในการดูดซึมวิตามนิ บี 12 จากกระเพาะ อาหารและลาํ ไสเขา สูร ะบบรา งกาย

37 5. เกิดจากการแปรเปลี่ยนของระบบเมตาบอลิกของรางกาย เชน การทาํ งานของตอมไรทอบางชนิด ผดิ ปกติ เชน ตอ มไทรอยดท ํางานมากหรือนอยไป การทํางานของตับหรือไตผิดปกติทาํ ใหเ กดิ ของเสยี คง่ั อยใู นรางกาย ทําใหส มองไมสามารถส่ังการไดต ามปกติ ถาภาวะอยา งนี้เปน อยูน านๆ จะทาํ ให ผปู วยมีอาการสมองเส่ือมได 6. เกดิ จากการถูกกระทบกระแทกทศ่ี รี ษะอยเู สมอๆ ภาวะนี้พบบอยในคนทม่ี ปี จ จยั เสยี่ งที่จะมกี าร กระทบกระแทกท่ีศีรษะอยูเสมอๆ โดยเฉพาะนักมวย นักกีฬาบางชนิดทจ่ี ะตองใชศรี ษะกระแทกสิ่ง ตา งๆ ถาเปน ซ้าํ แลวซ้าํ อีกสมองสวนทไ่ี ดรับการกระทบกระเทือนนน้ั จะตาย เม่ือเน้ือสมองตายเปน จํานวนมากก็จะทาํ ใหมีอาการสมองเสื่อม 7. เกิดจากเนื้องอกในสมอง โดยเฉพาะเนอ้ื งอกท่เี กิดจากทางดานหนา ของสมอง ผูปวยอาจจะไมมอี าการ แบบท่พี บในเนือ้ งอกสมองสวนอืน่ เชน อาการแขนขาไมมีแรง มองเหน็ ภาพซอน หรืออาการซงึ่ แสดง วามคี วามดนั ในกระโหลกศีรษะมากขึ้น เชน อาเจยี น หรือปวดศรี ษะ แตเนื้องอกในบรเิ วณน้ีจะทาํ ให บุคลกิ ภาพเปลยี่ นแปลง ความจําหรือการตดั สินใจเปลีย่ นแปลง ทง้ั หมดที่กลาวมาเปน สาเหตุท่เี จอบอยๆ ท่ีทําใหเกดิ สมองเสื่อม แตอยา งไรกต็ ามสมองเสอ่ื มในคน สงู อายุมักจะมีสาเหตมุ าจากโรคอัลไซเมอรหรือปญ หาหลอดเลือดสมองผิดปกติ หรือในคนไขบ างราย อาจเปน ท้ังสองอยา ง คือ เปน ท้งั อัลไซเมอรและมีปญ หาหลอดเลือดสมองรวมดวย สมองเสอ่ื มจะมีอาการต้งั แตเ มื่อไหร โรคสมองเส่ือมมีอาการตั้งแต อายุเทาไรก็ได โดยเฉพาะในกรณที ่มี ีอาการสมองเส่ือมจากการขาด สารอาหาร การแปรปรวนระบบเมตาบอลิกของรางกาย ไดรบั การ กระทบกระเทือนทางสมอง หรอื จากเนื้องอกในสมอง สวนกลุม โรคอลั ไซเมอรห รือโรคทเี่ กิดจากการเสื่อมสลายของสมอง หรอื สมอง เสื่อมจากปญหาหลอดเลือดสมอง จะพบในผปู วยสูงอายุ อยา งไรกต็ ามโรคบางโรคทเี่ กิดจากการเส่ือม สลายของสมองอาจจะเกดิ กับคนไขอายนุ อยได และโรคในกลมุ นีบ้ างโรคจะถายทอดทางพันธุกรรม สมองเสอ่ื มมีชวี ติ อยไู ดอ ีกนานแคไหน เปนการยากที่จะบอกวาผปู วยจะมีชีวติ ไดอีกนานเทา ไร สว นใหญขึ้นอยูกับโรคท่ีเปน สาเหตุของสมอง เสอ่ื ม และสุขภาพโดยสวนรวมของผูป วย ถา เปน โรคอลั ไซเมอรแ ลว โดยเฉลี่ยผูปวยมักจะมชี วี ิตไดร าว 10 ป หรือบางรายอาจจะมชี วี ติ ไดถ ึง 20 ป แตบ างรายอาการของโรคจะไปเรว็ มาก อาจจะเสยี ชีวิต ภายใน 2-3 ป ผปู ว ยอัลไซเมอรห รอื สมองเส่อื มอนื่ ๆ ถา หากมีสขุ ภาพแข็งแรงดีอาการของโรคเก่ียวกับ ทางสมองเสอื่ มจะดาํ เนนิ ไปอยา งชาๆ แตถาเม่ือไหรทผี่ ปู ว ยมปี ญหาสขุ ภาพอื่นๆ จนถงึ ขนาดตอ งเขา โรงพยาบาล อาการสมองเสอ่ื มจะเลวลงอยางมาก ถงึ แมจะรกั ษาโรคทางกายอื่นๆ หายแลว อาการ ทางสมองและความจํามักจะดีขึน้ อยางชา ๆ แต อยา งไรก็ตาม เรื่องความจํากจ็ ะยงั แยกวา ท่ีคนไขเ ปน ชวงกอ นทีจ่ ะไมสบาย ดังนนั้ ผทู ด่ี ูแลผูปวยดวยโรคสมองเส่อื มจะตองดแู ลใหผูป ว ยไดรับอาหารอยาง เพยี งพอ มสี ารอาหารครบถว น ใหอ อกกําลังกายหรือเคลอ่ื นไหวรา งกายสม่าํ เสมอเพือ่ ใหมกี ารทรงตัว

38 ทด่ี ี ลดโอกาสทีจ่ ะหกลม ระมัดระวังอยา ใหเปน หวัด ระมดั ระวงั การใชย าตางๆ โดยไมจ าํ เปน เพราะ ยาบางชนดิ ทาํ ใหอาการสมองเสื่อมเลวลง สมองเส่อื มรกั ษาไดอยา งไร โรคสมองเสือ่ มบางอยางอาจรักษาได แตบ างอยา งรักษาไมได ในผูปวยสมองเสื่อมทีเ่ กิดจากการขาด สารอาหารบางอยา ง เชน การขาดวิตามิน บ1ี , บี12 หรอื ผปู วยทม่ี กี ารแปรปรวนของระบบเมตา บอลกิ ของรางกาย เมื่อไดร บั การรกั ษาแลวอาการสมองเสื่อมมกั จะดขี ้ึน ซ่ึงท้งั นี้ขึ้นอยูกับวากอ นไดรบั การวินจิ ฉัยและรักษานั้น ผปู วยมอี าการมากนอยเพียงใด เปนมานานแคไหน ความเสยี หายของสมอง มมี ากนอยเพยี งใด ถาสมองเสยี หายไมมากนัก ไดรบั การแกไขตามเวลาที่สมควร ผปู ว ยจะมีอาการดี ขึน้ และหลงั จากรักษาแลวอาการจะทรงอยูใ นลักษณะนัน้ ไปเรอื่ ยๆ สวนโรคสมองเส่ือมทเ่ี กดิ จากการ เสื่อมสลายของสมอง จากปญ หาหลอดเลือดสมอง จากการตดิ เชอ้ื ในสมอง จากการกระทบกระแทก กลุมนีม้ กั จะไมส ามารถรักษาได เพยี งแตมียาบางอยางชว ยชะลอใหอาการของผูปว ยดาํ เนินไปชา ลง อัลไซเมอร เปนเพียงโรคหน่ึงของกลุมโรคสมองเสือ่ ม เมอ่ื พูดถึงโรคสมองเสื่อม หลายคนอาจนึกถงึ \"โรคอลั ไซเมอร\" เพราะเปนโรคเกิดจากการเส่อื มสลาย ของสมอง ซึง่ เปน สาเหตทุ ่ีพบบอ ยที่สดุ ในกลมุ อาการสมองเส่อื มที่พบในชาวตะวนั ตก ผทู เ่ี ปน อลั ไซ เมอรจะมปี ญหาเก่ียวกับเรื่องความจํา การรับรู ไมส ามารถทําของท่ีเคยทาํ ได ไมร จู ักของหรอื คนท่เี คย รูจัก หรือจําตวั เองไมได ไมส ามารถทาํ งานทเ่ี ปนข้นั ตอนตอเนือ่ งได รวมท้ังมีปญ หาทางพฤติกรรมและ บุคลกิ ภาพที่เปลี่ยนไป โดยอาการจะคอยๆ เกดิ ขึ้นชาๆ สว นใหญผูป วยหรอื คนใกลช ิดไมสามารถ กําหนดเวลาทแี่ นชัดไดว า เกิดตั้งแตเม่ือไหร ในทางการแพทยแบง อาการของผปู วยอัลไซเมอรออกเปน 3 ระยะ • ระยะแรก ในชว งท่ีผูปวยอยใู นอาการระยะแรกนน้ั มักจะจําเร่ืองบางอยางไมได โดยเฉพาะเรือ่ งท่เี พง่ิ จะพูดหรือการกระทําทีเ่ พิ่งจะทาํ ไป แตความจาํ ที่เปนความจําระยะกอ น เชน ความจําในชว งหนมุ สาว จะจําไดดี จะเลาเรือ่ งเกา ๆ ซํ้า แตถาใหเลาหลายคร้ังรายละเอยี ดจะบดิ เบือน มักจะพดู หรือถามซํ้าๆ โทรศัพทไปหาลกู วนั ละหลายๆ ครั้งเพ่ือบอกเรื่องเดมิ ถา มีคนเอาของมาใหก็จะบอกไมไดวาใครเอามา ให นอกจากนจ้ี ะมปี ญ หาในการใชภ าษา เรยี กสง่ิ ของที่เปนชอื่ เฉพาะไดลาํ บาก อาจจะไมสามารถเรียก นาฬิกาไดถ ูกตอง แตร วู านาฬิกาเอาไวใชด ูเวลา สามารถทาํ กจิ วตั รประจําวันไดต ามปกติ แตทาํ ไดชา ลงกวาเดมิ ยง่ิ ของท่ีใชห รือรูจักนอยจะย่ิงพูดไมถกู อาจจะท้ิงสิง่ ของไวเ ลอะเทอะ ในระยะนี้ผปู ว ยจํานวนมากจะเริ่มรูวา ตวั เองผิดปกติ จะพยายามไปพบแพทยแ ละบน วาความจําไมด ี ซ่งึ แพทยจะยังไมสามารถตรวจพบความผดิ ปกตทิ ่ชี ัดเจน บางรายกระวนกระวายอยูไมสุข บางราย อาจจะมีลกั ษณะซึมเศรา แยกตัวออกมาไมย อมรวมกลมุ กบั ใคร ยง่ิ ทําใหอาการหลงลมื เปนมากข้นึ อาการของโรคในระยะแรกจะเปนตง้ั แต 1-5 ป

39 • ระยะที่ 2 จะสญู เสียความจําใกลๆ มากขนึ้ จาํ ไมไดวากินขาวแลว เมือ่ เห็นคนอื่นกินก็จะกินอกี คน อ่ืนๆยืนยนั วากินแลว ก็จะไมเชื่อ มคี วามบกพรองในการดแู ลตัวเอง ไมอาบนํา้ ลมื ไปวาตองตัดเลบ็ บางครัง้ ชวนไปอาบน้ําจะโกรธ ใหไปอาบเองก็ไมยอม เพราะไมร วู าจะเอาเส้อื ผาที่ไหน เปดนํ้าอยา งไร กน็ กึ ไมออกจึงบา ยเบย่ี ง บางรายชอบออกจากบา นแลวหลงทางท้งั ๆทอ่ี ยูบ นถนนอยหู างจากบานไมก่ี เมตร ระยะนผ้ี ปู ว ยจะใชภ าษาผิดพลาดมากกวาเดิม เรียกคําศพั ทเฉพาะไมค อยถูกตอง เรียกชอ่ื คน ผิดๆ ถูกๆ ความเฉลยี วฉลาดจะลดลงมาก ไมสามารถบวกลบเลขได ระยะนอี้ าจจะเปน อยู 2-5 ป • ระยะท่ี 3 เปน ระยะสดุ ทา ย มีอาการรนุ แรง ความเฉลยี วฉลาดของผูป วยจะลดลงมาก จะจาํ คนใกลชดิ ไมได จาํ ชอื่ คนไมไ ด จาํ ไมไดวาคนชอื่ น้มี ีความสมั พันธกับตนอยางไร ผูปวยบางคนอาจจําตวั เองไมได หรอื บางคนอาจมีพฤติกรรมผิดปกติแตควบคมุ ไมได กนิ อาหารเลอะเทอะมอมแมม ขวางปาส่ิงของ หรอื เอาของไปซอน ไมส ามารถบอกไดเ กี่ยวกับการขับถาย รวมทง้ั เคลอ่ื นไหวรา งกายนอยลง ผูป ว ยจะ ไมพ ูด ถาพดู จะพดู สั้นๆ ซา้ํ ๆ ในท่สี ุดจะเสียชวี ิตจากแผลกดทบั หรอื การเปน ปอดบวม ผูปวยอัลไซเมอรจะแสดงอาการต้ังแตเมื่อไหร โรคอลั ไซเมอร แบง ออกเปน 2 กลุม คือ กลมุ อายนุ อ ย ซง่ึ จะมีอาการต้ังแตอายุ 40 ปข้นึ ไป แตไ มเ กิน 60 ป สว นอายุมาก มักเรมิ่ มีอาการผดิ ปกติหลังจากอายุ 65 ปขนึ้ ไป ในเมืองไทยพบผูปวยโรคอลั ไซ เมอรในเพศหญิงมากกวา เพศชาย ปจ จุบันยงั ไมมีตวั เลขที่ระบุจาํ นวนผูปว ยอัลไซเมอรท ี่แนนอน เนือ่ งจากการวินจิ ฉัยทําไดย าก วิธกี าร ที่จะรแู นชัดวาเปนอัลไซเมอร คือ การนาํ เน้ือสมองมาตรวจซง่ึ จะทาํ เม่ือผูป ว ยเสยี ชวี ิตแลว ถงึ แมวาทางการแพทยยังไมสามารถหาสาเหตุของโรคอลั ไซเมอร ได แต มกี ารระบุถงึ ปจจยั เส่ยี งหลายๆ อยางทเ่ี อื้อตอการเปน โรคอัลไซเมอรได ไมว า จะเปน เร่ืองของอายทุ ี่ เพม่ิ มากข้ึน ประวัตคิ รอบครวั กรรมพันธุ และปญญาออนดาวนซ นิ โดม (down's syndrome) อัลไซเมอร รกั ษาไมหาย แตชะลออาการได อลั ไซเมอรย งั หาทางปองกนั ไมได เพราะยงั ไมทราบสาเหตุท่แี ทจ รงิ ของการเกิดโรค การพบความ ผดิ ปกติต้ังแตเ นิน่ ๆ ควรไปพบแพทยเพื่อใหแ พทยว ินิจฉัยวาเปนโรคสมองเสื่อมหรอื ไม ถาเปน สามารถ แกไ ขไดห รือไม เพ่ือจะชว ยใหการรักษาทาํ ไดงายขึ้น เพราะคนไขบางรายท่ีมคี วามดนั เลือด สงู เบาหวาน หรอื มีไขมนั ในเลือดสูงอาจจะเปนอัลไซเมอรรว มกบั โรคสมองเส่ือมจากหลอดเลอื ดดว ย การรกั ษาผูป ว ยสมองเสอื่ มเปนการรักษาในสวนของความจําโดยการใชย าเพ่ือชว ยชะลออาการของ โรค เพราะมสี ารเคมีบางตวั ในสมองทจี่ ะชวยในเรือ่ งความจํามปี รมิ าณต่ํากวาปกติมาก จะมียาบางตัว ทชี่ ว ยยับยั้งการถกู ทาํ ลายของสารเคมีดงั กลาว ทาํ ใหอาการของโรคดาํ เนินชา ลง แตย าจะชว ยไดเ พยี ง ระยะหน่ึงเทา นั้น เมื่อถึงเวลาท่ีอาการรุนแรงก็ไมส ามารถท่ีจะใชย ายบั ยง้ั ไดอีกตอ ไป ยาในกลมุ ทม่ี ี สรรพคณุ ขยายหลอดเลือดในสมอง เปน กลุม ท่ีใชกนั มานาน แตก ารวเิ คราะหวา ใชแลวความจําจะดีขึ้น หรอื ไมน นั้ ทําไดยาก เพราะความจําจะดขี ้นึ ตองมีปจจัยอนื่ ประกอบดว ย อยางไรกต็ ามการใชย าใน การรกั ษาโรคสมองเส่ือม เปน เพยี งการชว ยชะลอ อาการของโรคเทานั้น ไมสามารถยับยัง้ อาการหรือ รกั ษาโรคใหห ายขาดได

40 บทที่ 3 วธิ กี ารดําเนนิ งาน ศูนยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองชลบุรี ไดเ ลง็ เห็น ความสําคญั ของเรื่องเล็งเหน็ ความสําคญั ของของการดแู ลผูสงู อายุ จงึ เขา มามีสว นรวมในการนําเสนอ แนวคดิ ผา นกระบวนการอบรม อนั เปนการสนองความรู ความเขาใจในเร่ืองการสงเสริมใหผ สู งู อายุมี สขุ ภาพกายและจติ ทด่ี ี มีความรใู นการปฏบิ ตั ิตน สามารถดูแลตนเองไดถ ูกตอ งตามสมรรถนะ และ เพ่ือใหผดู ูแลผสู งู อายมุ ีความรูความเขา ใจในการดูแลผูสงู อายุไดอ ยา งถกู ตอ ง ใหกบั ประชาชนใน โครงการผูส ูงอายุสขุ ภาพดี ชวี มี ีสุข โดยมขี ั้นตอนดงั น้ี 1. ประชุมบคุ ลากรกรรมการ กศน.อาํ เภอเมอื งชลบรุ ี 2. จัดตง้ั คณะทํางาน 3. ประสานงาน/ประชาสมั พันธ 4. ดําเนินงานตามแผน 5. วัดผล/ประเมินผล/สรุปผลและรายงาน 1. ประชุมปรึกษาหารอื การจดั โครงการฯ กศน.ตาํ บลนาปา กศน.ตําบลนาปา ไดวางแผนประชุมปรึกษาหารือเพ่ือหาแนวทางในการดาํ เนนิ งานและ กาํ หนดวตั ถุประสงครวมกนั 2. แตง ตง้ั คณะทาํ งาน จดั ทําคําส่งั แตงต้งั คณะทํางานโครงการเพ่ือมอบหมอบหมายหนา ทีใ่ นการทาํ งานให ชัดเจน เชน 2.1 คณะกรรมการที่ปรกึ ษา/อํานวยการ มีหนา ทอี่ าํ นวยความสะดวก และใหค ําปรึกษา แกไขปญหาทเ่ี กิดขึน้ 2.2 คณะกรรมการ กศน.ตาํ บลนาปา ในการจดั หาอุปกรณ เตรยี มใชจดั โครงการฯ 2.3 คณะกรรมการฝา ยบันทกึ ภาพและประชาสมั พันธ มีหนา ทบ่ี ันทึกภาพกิจกรรมตลอด โครงการ และประชาสมั พนั ธก จิ กรรมใหส าธารณชนไดทราบ 2.4 คณะกรรมการฝา ยรับลงทะเบยี นและประเมนิ ผลหนา ทีจ่ ดั ทําหลกั ฐานการ ลงทะเบียนผเู ขา รวมโครงการ และรวบรวมการประเมินผล และรายงานผลการดําเนินการ 3. ประสานงาน/เครือขายทเี่ กี่ยวขอ ง ประสานงานกับผเู ขารวมโครงการ วทิ ยากร และคณะครู เชน ประสานเร่อื งสถานที่ใชทํา กจิ กรรม รูปแบบการจัดกิจกรรมโครงการ วนั เวลา สถานท่ี รายละเอียดการเขารวมกิจกรรม พรอมท้ัง ประชาสัมพนั ธการจัดกิจกรรม

41 4. ดําเนนิ การตามแผนงานโครงการ โครงการผสู งู อายุสขุ ภาพดี ชวี ีมีสขุ วันที่ 7 พฤษภาคม 2562 ณ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ตําบลนาปา หมทู ี่ 4 ตาํ บลนาปา อําเภอเมืองชลบรุ ี จงั หวัดชลบรุ ี มีผูเขา รว มโครงการเปน ประชาชน จํานวน 25 คน โดยจัดกิจกรรมโดยใชกระบวนการอบรม 5. สรปุ ผลและรายงาน โครงการผูสูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข วันท่ี 7 พฤษภาคม 2562 ณ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ตําบลนาปา หมูท่ี 4 ตําบลนาปา อําเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี มีผูเขารวมโครงการเปนประชาชน จํานวน 25 คน โดยมีวิทยากร คือ นางรพีพร ธรรมปญญวัฒน โดยจัดกิจกรรมโดยใชกระบวนการกลุม จะนําแนวทางไปใชขอมูลพิจารณารูปแบบการจัดกิจกรรมตาง ๆ เพื่อใหตอบสนองความตองการของ ผูเขารวมกิจกรรมความรูความเขาใจในเรื่องการสงเสริมใหผูสูงอายุมีสุขภาพกายและจิตท่ีดี มีความรู ในการปฏิบัติตน สามารถดูแลตนเองไดถูกตองตามสมรรถนะ และเพ่ือใหผูดูแลผูสูงอายุมีความรู ความเขาใจในการดูแลผูสูงอายไุ ดอ ยางถูกตอง กศน.ตําบลนาปา ไดด ําเนินการตามขัน้ ตอนและไดรวบรวมขอ มลู จากแบบสํารวจสถติ ทิ ี่ใชใ นการ วเิ คราะห คือโดยกําหนดคาลําดับความสําคญั ของการประเมินผลออกเปน 5 ระดับ ดงั น้ี มากทีส่ ดุ ใหค ะแนน 5 มาก ใหคะแนน 4 ปานกลาง ใหค ะแนน 3 นอย ใหคะแนน 2 นอยที่สดุ ใหค ะแนน 1 ในการแปลผล ผูจัดทาํ ไดใชเ กณฑก ารพจิ ารณาจากคะแนนเฉลีย่ ตามแนวคิดของ บุญชม ศรสี ะอาด และบุญสง นวิ แกว (2535, หนา 22-25) 4.51-5.00 หมายความวา ดีมาก 3.51-4.50 หมายความวา ดี 2.51-3.50 หมายความวา ปานกลาง 1.51-2.50 หมายความวา นอ ย 1.00-1.50 หมายความวา ตอ งปรบั ปรุง ประชาชน จะตอ งกรอกขอ มูลตามแบบสอบถาม เพ่ือนาํ ไปใชในการประเมินผลของการจดั กิจกรรมดงั กลาว และจะไดน ําไปเปน ขอมูล ปรบั ปรุง และพัฒนา ตลอดจนใชในการจัดทําแผนการ ดําเนินการในปต อไป

42 บทท่ี 4 ผลการดําเนนิ งานและการวเิ คราะหขอ มลู ในการจดั โครงการผูส งู อายสุ ุขภาพดี ชวี ีมีสขุ วันที่ 7 เดอื นพฤษภาคม พ.ศ.2562 ณ โรงพยาบาลสงเสรมิ สุขภาพตําบลนาปา หมทู ่ี 4 ตาํ บลนาปา อําเภอเมืองชลบรุ ี จังหวัดชลบรุ ี มผี ูเ ขา รวมโครงการเปนประชาชน จํานวน 25 คน ซ่ึงไดส รปุ ผลจากแบบสอบถามและนําเสนอผล การวิเคราะหขอมูล จากผูเ ขารบั การอบรม จํานวน 25 ชดุ ตอนท่ี 1 ขอมูลสวนตัวผูตอบแบบถามของผูเขารวมโครงการผูสูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข วันท่ี 7 เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2562 ณ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลนาปา หมูที่ 4 ตําบลนาปา อําเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ผูเขารวมกิจกรรมที่ตอบแบบสอบถามไดนํามาจําแนก ตามเพศ อายุ และอาชีพ ผูจัดทําไดนําเสนอจําแนกตามขอมูลดังกลาว ดังปรากฏตามตารางที่ 1 ดังตอไปน้ี ตารางที่ 1 แสดงคา รอยละของผูตอบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามเพศ เพศ ชาย หญงิ ความคดิ เห็น จาํ นวน รอยละ จาํ นวน รอยละ ผเู ขา รวมกจิ กรรมโครงการผสู ูงอายสุ ุขภาพดี ชวี มี สี ุข 2 8.00 23 92.00 จากตารางท่ี 1 แสดงวา ผตู อบแบบสอบถามของผูเขารวมโครงการผูสงู อายสุ ุขภาพดี ชีวมี สี ขุ เปนชาย 2 รอยละ 8.00 เปน หญิง 23 รอ ยละ 92.00 ตารางที่ 2 แสดงคา รอ ยละของผูตอบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามอายุ 15 - 29 ป 30 - 39 ป 40 - 49 ป 50 - 59 ป 60 ป ขน้ึ ไป จาํ นวน รอยละ จํานวน รอ ยละ จาํ นวน รอยละ จาํ นวน รอ ยละ จํานวน รอ ยละ ความคดิ เห็น ผูเขารวมกิจกรรม - - - - - - 10 40.00 15 60.00 โครงการผสู ูงอายุ สขุ ภาพดี ชวี มี ีสขุ จากตารางที่ 2 แสดงวา ผูต อบแบบสอบถามของผูเขา รว มผูเ ขารว มกจิ กรรมโครงการ ผูสงู อายสุ ขุ ภาพดี ชวี มี สี ุข ในชวงอายุ 60 ป ข้ึนไป มจี าํ นวนสงู สุด 15 คน คดิ เปนรอยละ 60.00 ในชว ง อายุ 50 - 59 ป มจี าํ นวน 10 คน คิดเปน รอ ยละ 40.00

43 ตารางท่ี 3 แสดงคา รอยละของผูตอบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามอาชีพ ประเภท รบั จา ง คาขาย รบั ราชการ เกษตรกร อื่นๆ(วางงาน) ความคดิ เห็น จํานวน รอยละ จาํ นวน รอ ยละ จาํ นวน รอ ยละ จาํ นวน รอ ยละ จํานวน รอ ยละ ผเู ขารว มกิจกรรม โครงการผสู ูงอายุ - - - - - - - - 25 100.00 สขุ ภาพดี ชวี ีมีสุข จากตารางที่ 3 แสดงวา ผูตอบแบบสอบถามของผูเขารวมผูเขา รว มกิจกรรมโครงการ ผสู งู อายุสุขภาพดี ชีวมี ีสุข ประกอบอาชีพอนื่ ๆ มจี าํ นวนสงู สดุ 25 คน คดิ เปน รอยละ 100.00 ตารางท่ี 4 แสดงคา รอ ยละของผตู อบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามระดับการศกึ ษา สงู กวา การศึกษา ม.ปลาย ประถมศกึ ษา ม.ตน ม.ปลาย ความคิดเห็น จาํ รอ ยละ จาํ รอ ยละ จํา รอยละ จํา รอย นวน นวน นวน นวน ละ ผเู ขารวมกจิ กรรมโครงการ 14 56.00 10 40.00 1 4.00 - - ผสู ูงอายุสขุ ภาพดี ชวี ีมสี ุข จากตารางท่ี 4 แสดงวา ผูตอบแบบสอบถามของผูเขารว มกจิ กรรมโครงการผสู ูงอายุ สุขภาพดี ชีวีมสี ขุ มกี ารศึกษาระดับประถมศึกษา จาํ นวน 14 คน คดิ เปน รอยละ 56.00 ระดับ ม.ตน จํานวน 10 คน คดิ เปน รอยละ 40.00 ระดับ ม.ปลาย จํานวน 1 คน คิดเปน รอยละ 4.00 ตอนท่ี 2 ขอ มูลเก่ียวกบั ความคดิ เห็นของผเู ขารว มโครงการผูสูงอายสุ ุขภาพดี ชีวมี สี ุข ความคดิ เหน็ ของผเู ขารว มกิจกรรม จาํ นวน 25 คน จากแบบสอบถามท้งั หมดทม่ี ตี อ โครงการผูสูงอายุสุขภาพดี ชีวมี ีสขุ ณ โรงพยาบาลสง เสรมิ สุขภาพตาํ บลนาปา หมูที่ 4 ตาํ บลนาปา อําเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบรุ ี ดังปรากฏในตารางที่ 5 ตอนท่ี 2 ตารางที่ 5 ขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของผเู ขารวมโครงการฯ/ผลการประเมนิ โครงการ ผสู ูงอายุสขุ ภาพดี ชวี ีมสี ุข

44 ตารางท่ี 5 ผลการประเมนิ โครงการผูสงู อายุสขุ ภาพดี ชีวมี สี ุข เนื้อหาโครงการผูสงู อายสุ ุขภาพดี ชวี มี ีสุข N = 25 X̄ S.D. อันดบั ที่ ระดับผลการประเมนิ ตอนที่ 1 ความพึงพอใจดา นเนือ้ หา 1.เน้อื หาตรงตามความตอ งการ 4.76 0.44 4 ดีมาก 2.เนื้อหาเพยี งพอตอความตองการ 4.72 0.46 5 ดีมาก 3.เนอื้ หาเปน ปจ จุบันและทันสมยั 4.72 0.46 5 ดมี าก 4.เนอื้ หามปี ระโยชนตอ การนําไปใชใ นการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต 4.84 0.37 2 ดีมาก ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจดา นกระบวนการจัดกิจกรรม 4.80 0.41 3 ดมี าก 5. การเตรยี มความพรอมกอ นจัดกจิ กรรม 4.88 0.33 1 ดีมาก 6. การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค 4.72 0.46 5 ดมี าก 7. การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา 4.76 0.44 4 ดีมาก 8. การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับกลมุ เปา หมาย 4.72 0.46 5 ดมี าก 9. วิธีการวัดผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค 4.80 0.41 3 ดีมาก ตอนท่ี 3 ความพงึ พอใจตอ วิทยากร 4.80 0.41 3 ดมี าก 10. วทิ ยากรมคี วามรคู วามสามารถในเรือ่ งที่ถา ยทอด 11. วิทยากรมเี ทคนคิ การถา ยทอดใชส ื่อเหมาะสม 12. วิทยากรเปด โอกาสใหมีสว นรว มและซกั ถาม 4.72 0.46 5 ดีมาก ตอนที่ 4 ความพึงพอใจดานการอํานวยความสะดวก 13. สถานที่ วสั ดุ อุปกรณแ ละสิง่ อํานวยความสะดวก 4.76 0.44 4 ดีมาก 14. การสอ่ื สาร การสรางบรรยากาศเพ่ือใหเ กิดการเรียนรู 4.88 0.33 1 ดีมาก 15. การบรกิ าร การชว ยเหลอื และการแกป ญหา 4.72 0.46 5 ดีมาก คา เฉล่ีย 4.77 0.04 จากตารางที่ 5 พบวา โดยเฉลี่ยแลวผูเขารับการอบรมในโครงการผูสูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข อยูในระดับ ดีมาก เม่ือวิเคราะหเปนรายขอความพึงพอใจในภาพรวมของผูรับการอบรม (x=̄ 4.88) ลําดับที่ 1 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค, การสื่อสาร การสราง บรรยากาศเพื่อใหเกิดการเรียนรู (x=̄ 4.84) เปนลําดับที่ 2 เนื้อหามีประโยชนตอการนําไปใชในการ พัฒนาคุณภาพชีวิต (x̄ =4.80) เปนลําดับท่ี 3 การเตรียมความพรอมกอนจัดกิจกรรม, วิทยากรมี ความรคู วามสามารถในเรอ่ื งท่ีถา ยทอด, วทิ ยากรมีเทคนคิ การถายทอดใชส อ่ื เหมาะสม (x=̄ 4.76) เปนลําดับท่ี 4 เนื้อหาตรงตามความตองการ, การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุมเปาหมาย, สถานท่ี วสั ดุ อปุ กรณและสิ่งอาํ นวยความสะดวก (x̄=4.72) เปนลาํ ดับท่ี 5 เนื้อหาเพยี งพอตอความตองการ, เน้ือหาเปนปจจุบันและทันสมัย, การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา, วิธีการวัดผล/ประเมินผล เหมาะสมกับวัตถุประสงค, วิทยากรเปดโอกาสใหมีสวนรวมและซักถาม, การบริการ การชวยเหลือ และการแกป ญหา ตามลําดับ

45 ตารางท่ี 6 ผา นการฝก อบรมไดนําความรไู ปใชจ ริง ใชเวลาวางใหเ ปน ประเภท เพ่ิมรายได ลดรายจา ย นําไปประกอบ พัฒนาคณุ ภาพชีวิต ประโยชน ความคิดเหน็ อาชพี จาํ นวน รอ ยละ จํานวน รอ ยละ จํานวน รอ ยละ จํานวน รอ ยละ จาํ นวน รอ ยละ ผูเ ขารวมโครงการ -- ผูส ูงอายสุ ุขภาพดี - - - - - - 25 100.00 ชีวมี สี ุข จากตารางที่ 6 แสดงวา ผูตอบแบบสอบถามของผเู ขา รว มผูเ ขารว มกิจกรรมโครงการ ผูสงู อายุสขุ ภาพดี ชวี ีมสี ขุ ไดนําความรูไปใชจ ริง ดานพฒั นาคณุ ภาพชีวติ จาํ นวน 25 คน คิดเปน รอ ยละ 100.00

46 บทที่ 5 สรปุ อภปิ รายผล และขอ เสนอแนะ จากโครงการผูสูงอายุสขุ ภาพดี ชีวีมีสุข โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหผสู ูงอายุสามารถ ดูแลสุขภาพและแกปญหาดา นสุขภาพดวยตนเอง มกี ารพบปะแลกเปลย่ี นประสบการณ รูส ึกมีคุณคา ในตนเอง และมีสุขภาพทางกาย ทางจิตที่ดีสามารถอยูในสังคมไดอยางเปนสุข ในวันที่ 7 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ณ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลนาปา หมูท่ี 4 ตําบลนาปา อําเภอ เมอื งชลบรุ ี จงั หวดั ชลบรุ ี ท้ังน้ีขอสรปุ และอภปิ รายผลและขอ เสนอแนะดังนี้ 1. สรปุ ผล 1.1 ผูตอบแบบสอบถามของโครงการผสู ูงอายสุ ขุ ภาพดี ชีวีมีสขุ จํานวนท้ังหมด 25 คน เปนชาย 2 รอ ยละ 8.00 เปนหญิง 23 รอยละ 92.00 ในชว งอายุ 60 ป ขึน้ ไป มจี ํานวนสูงสดุ 15 คน คดิ เปน รอ ยละ 60.00 ในชวงอายุ 50 - 59 ป มีจาํ นวน 10 คน คิดเปนรอยละ 40.00 มปี ระกอบ อาชพี อ่นื ๆ มีจาํ นวนสงู สุด 25 คน คดิ เปน รอยละ 100.00 การศึกษาระดบั ประถมศึกษา จาํ นวน 14 คน คดิ เปน รอยละ 56.00 ระดับ ม.ตน จาํ นวน 10 คน คิดเปนรอ ยละ 40.00 ระดับ ม.ปลาย จํานวน 1 คน คิดเปน รอยละ 4.00 1.2 ขอ มูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของผเู ขารบั การอบรมในโครงการผูสูงอายสุ ุขภาพดี ชวี มี ี สุข มีความพึงพอใจในภาพรวมอยูในระดับดีมาก เม่ือวิเคราะหเปนรายขอความพึงพอใจในภาพรวม ของผูรับการอบรม (x=̄ 4.88) ลําดับท่ี 1 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค, การ ส่ือสาร การสรางบรรยากาศเพ่ือใหเกิดการเรียนรู (x̄=4.84) เปนลําดับท่ี 2 เน้ือหามีประโยชนต อการ นําไปใชในการพัฒนาคุณภาพชีวิต (x̄ =4.80) เปนลําดับท่ี 3 การเตรียมความพรอมกอนจัดกิจกรรม, วิทยากรมีความรูความสามารถในเร่ืองท่ีถายทอด, วิทยากรมีเทคนิคการถายทอดใชสื่อเหมาะสม (x=̄ 4.76) เปนลําดับที่ 4 เน้ือหาตรงตามความตองการ, การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุมเปาหมาย, สถานท่ี วัสดุ อุปกรณและสิ่งอํานวยความสะดวก (x=̄ 4.72) เปนลําดับท่ี 5 เนื้อหาเพียงพอตอความ ตองการ, เนือ้ หาเปน ปจจบุ ันและทนั สมยั , การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา, วิธกี ารวดั ผล/ประเมินผล เหมาะสมกับวัตถุประสงค, วิทยากรเปดโอกาสใหมีสวนรวมและซักถาม, การบริการ การชวยเหลือ และการแกปญ หา ตามลาํ ดับ

47 2. อภปิ รายผล ผูเขารวมโครงการผูส งู อายุสุขภาพดี ชวี ีมีสขุ มีความพงึ พอใจอยูในระดบั ดมี าก คดิ เปนคา เฉล่ีย 4.77 3. ขอ เสนอแนะ - อยากใหมีสอ่ื การเรยี นการสอนใหเ พียงพอตอความตองการของผเู ขารบั การอบรม

48 บรรณานุกรม กรมการศกึ ษานอกโรงเรียน. (ม.ป.ป. : 9), (2546:76). บญุ ชม ศรีสะอาด และ บญุ สง นิวแกว. (2535 หนา 22 – 25). พชิ ติ สกุลพราหมณ(2535:334) รณรงค ณ เชียงใหม (2525:55) วนิ ยั วีระวฒั นานนท (2535:31-36) สํานักงานบรหิ ารการศึกษานอกโรงเรยี น. (2549:2), (2549:5). https://www.sanook.com/health/477/

49 ภาคผนวก

P5D0CA ผรู ับผิดชอบ รายงานผลการดําเนินงาน โครงการผูสงู อายุสุขภาพดี ชีวมี ีสุข ประจาํ ปงบประมาณ 2562 นางสาวศศิวณั ย ออ นศรีทอง ครู กศนตําบลนาปา 1.หลักการและเหตุผล การเปลยี่ นแปลงโครงสรางประชากรของประเทศไทย ทําใหประชากรในวัยผสู ูงอายุ เพ่มิ ขน้ึ ประกอบกบั การเปลีย่ นแปลงทางดานเศรษฐกิจและสังคม มีผลใหล ักษณะครอบครวั ไทย เปลี่ยนจากครอบครวั ขยาย (Extend Family) ไปสคู รอบครัวเดย่ี ว (Nuclear Family) ความสัมพันธ ระหวางสมาชิกในครอบครัวลดลง จํานวนผทู จี่ ะทําหนา ทด่ี ูแลผูสงู อายุในครอบครัวลดลง มีเวลาให ผูสงู อายลุ ดลง ขาดการใหความรกั และความอบอนุ ผสู ูงอายุจงึ ถกู ทอดทิ้งใหอยโู ดดเด่ียว ดาํ เนินชีวติ เพยี งลาํ พัง จากสภาพสงั คมท่ีเปล่ยี นแปลงไป ทาํ ใหผูสูงอายตุ องเผชิญกับปญ หาในการปรบั ตวั เพื่อใหสอดคลองกับสังคมในปจจบุ ัน ท้งั ในดา นความคดิ ความเขา ใจ และคา นิยมตาง ๆ ซ่ึงกอ ให ผสู งู อายุเกดิ ความนอ ยใจ ความเครียด ความคบั ของใจ แยกตวั ออกจากสังคม ขาดสัมพันธภาพกับ สมาชิกในครอบครวั ทอแทและเบอื่ หนายในชีวิต ประกอบกบั วัยสูงอายเุ ปนวยั ที่ตองเผชิญกับรูปแบบ การดาํ เนนิ ชีวิตแบบใหม ตองออกจากงาน มีรายไดลดลง ภาวะสขุ ภาพเส่อื มลง มีโรคทางกายเพิ่มมาก ขน้ึ มสี ารชวี เคมแี ละฮอรโ มนลดลง การสญู เสีย ส่งิ สําคัญของชีวติ เชน การสูญเสียคูชีวิต เพราะตาย จาก การสูญเสียบุตรเพราะแยกไปมีครอบครวั การสญู เสียตาํ แหงหนา ที่การงาน การสูญเสีย สถานภาพ หรือบทบาททางสังคม ตลอดจนการสูญเสียการเปน ทีพ่ ่งึ ของครอบครวั สิง่ เหลานี้ลวนเปน ปจจยั สาํ คัญท่สี ง ผลกระทบตอจิตใจของผสู ูงอายุ และหากผูสงู อายไุ มไดรับการดูแลเอาใจใสจาก บุคคลใกลช ิดดว ยแลว จะย่งิ สงเสรมิ ใหผ สู งู อายุวาเหว มีภาวะซมึ เศราและความรูสกึ มีคุณคา ในตนเอง ลดลงจนเกดิ ความรสู กึ ส้ินหวัง แยกตัวออกจากสังคม เปน ผลใหเ กดิ ความผดิ ปกตทิ างจิตใจท่รี ุนแรง และอาจเปนอันตรายตอชวี ติ ได กศน.ตําบลนาปา สังกดั ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอ เมอื ง ชลบรุ ี ไดเ ลง็ เหน็ ความสําคญั ของของการดูแลผูสูงอายุ จงึ ไดจ ัดโครงการผสู งู อายสุ ุขภาพดี ชวี มี ีสุข ขึ้น 2.วัตถุประสงค 2.1. เพ่ือใหผสู ูงอายุสามารถดูแลสขุ ภาพและแกป ญ หาดานสุขภาพดว ยตนเอง 2.2. เพ่ือใหผ ูส ูงอายุไดมกี ารพบปะแลกเปล่ียนประสบการณและรสู ึกมีคุณคาในตนเอง 2.3. เพ่อื ใหผสู ูงอายุมีสขุ ภาพทางกาย ทางจติ ที่ดสี ามารถอยูในสงั คมไดอยา งเปนสุข

51 3.เปาหมาย 3.1 เชิงปรมิ าณ ประชาชนตาํ บลนาปา จํานวน 25 คน 3.2 เชิงคุณภาพ ผเู ขารวมโครงการฯ มีความรู ความเขาใจ เพ่อื ใหผูสูงอายสุ ามารถดแู ลสุขภาพและ แกป ญหาดานสุขภาพดว ยตนเอง มกี ารพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ รูส กึ มคี ุณคาในตนเอง และมี สุขภาพทางกาย ทางจติ ที่ดสี ามารถอยูในสังคมไดอยา งเปนสุข 4.ตวั ชี้วัดความสาํ เรจ็ ผเู ขา รวมโครงการฯ ตาํ บลนาปา รอ ยละ 80 มคี วามรู ความเขาใจ สามารถดูแล สุขภาพและแกป ญ หาดานสุขภาพดวยตนเอง มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ รสู กึ มีคุณคาใน ตนเอง และมีสุขภาพทางกาย ทางจติ ทด่ี ีสามารถอยูในสงั คมไดอยางเปนสขุ 5.ข้ันตอนการดําเนินการโครงการ 5.1.ประชมุ วางแผนการปฏิบัตงิ าน 5.2.เขยี นโครงการเพ่อื ขออนุมัติโครงการฯ 5.3.ประสานงานหนว ยงานที่เกีย่ วของ 5.4. ดาํ เนินงานตามโครงการ 5.5. สรุปและรายงานผล 6.ระยะเวลาดาํ เนนิ งาน วันท่ี 7 พฤษภาคม 2562 7.สถานทใี่ นการจัดกจิ กรรมโครงการ โรงพยาบาลสง เสรมิ สขุ ภาพตําบลนาปา หมทู ่ี 4 ตาํ บลนาปา อําเภอเมืองชลบรุ ี จงั หวดั ชลบุรี 8.ผลการดาํ เนินโครงการ 8.1 ผลการประเมินขอมูลพื้นฐานของผเู ขา รวมโครงการ 1. จาํ นวนผูเ ขา รว มโครงการ 25 คน เปนชาย 2 คน เปนหญงิ 23 คน 2. อายุเฉลย่ี อยใู นชวง 50 - 75 ป 3. อาชีพ แมบ า น, ธุรกจิ สว นตวั 4. กลุมเปาหมาย กลมุ ผูสูงอายุ 8.2 ความพงึ พอใจของผูเ ขา รว มโครงการ - ผูเขา รว มโครงการฯมีความพงึ พอใจในระดับดีขน้ึ ไปไมนอยกวา รอ ยละ 80

52 8.3 บรรลุตามวตั ถุประสงคคือ - ผเู ขา รว มโครงการฯไมน อ ยกวารอ ยละ 20 สามารถนําไปประยุกตใชใน ชีวิตประจําวันได - ผูเขา รว มโครงการฯสามารถไปขยายผลไดไมนอยกวารอยละ 5 ของ เปาหมาย 8.4 สรุปงบประมาณในการดาํ เนินงาน - ผเู ขา รวมโครงการฯ รอ ยละ 80 มคี วามรู ความเขาใจ สามารถดแู ล สุขภาพและแกป ญหาดา นสขุ ภาพดว ยตนเอง มีการพบปะแลกเปลยี่ นประสบการณ รูสกึ มคี ุณคา ใน ตนเอง และมีสุขภาพทางกาย ทางจิตทดี่ ีสามารถอยูในสังคมไดอยางเปน สขุ 9. จํานวนผเู รยี นและผผู า นการเรียน/อบรม จาํ แนกตามอายุและเพศ เพศ ตาํ่ กวา 15 ป 15-39 ป 40-59 ป 60 ปข ึน้ ไป รวม อายุ ช ญ ช ญ ช ญ ชญ ชญ รวมทั้งสิ้น จํานวนผเู รียน - - - - - 10 จํานวนผผู านการฝก อบรม - - - - - 10 2 13 2 23 25 2 13 2 23 25 10. จํานวนผเู รียนและผผู านการฝกอบรม จาํ แนกตามกลุมอาชีพและเพศ กลมุ อาชพี รบั พนกั งาน คาขาย เกษตรกรรม รบั จา ง อ่ืนๆ รวม รวม ราชการ รฐั วิสาหกิจ ท้งั สน้ิ อายุ ชญ ชญ ชญ ชญ ชญ ชญ ชญ จาํ นวนผูเรียน -- -- -- -- -- 2 23 2 23 25 -- 2 23 2 23 25 จาํ นวนผูผ านการฝกอบรม - - - - - - - - 11. จาํ นวนผเู รียนและผผู านการฝก อบรม จําแนกตามกลมุ เปาหมายและเพศ กลุมเปาหมาย ผูนํา ทหารกอง แรงงา แรงงาน กลุม รวม รวม ทอ งถ่ิ อบต. ผตู องขงั ประจาํ การ นไทย ตา ง เกษตรกร อสม. สตรี อืน่ ๆ ทง้ั สิ้น อายุ ชญ น ดา ว ชญช ญ 2 23 25 จาํ นวนผูเรียน ชญชญชญชญชญชญช ญช ญ --- - 2 23 25 จาํ นวนผผู าน - - - - - - - - - - - - - - 2 23 --- - การฝก อบรม - - - - - - - - - - - - - - 2 23 12.ปญหาและอุปสรรคที่เกิดขนึ้ ระหวางดําเนินงาน - 13.ขอเสนอแนะในการจดั กิจกรรมโครงการคร้ังตอไป -


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook