Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมเล่มโครงงานระบบรดน้ำอัตโนมัติด้วยพลังOK.

รวมเล่มโครงงานระบบรดน้ำอัตโนมัติด้วยพลังOK.

Published by angrymin.error, 2022-08-03 10:36:04

Description: รวมเล่มโครงงานระบบรดน้ำอัตโนมัติด้วยพลังOK.

Search

Read the Text Version

1

2

3

ก4 บทคัดยอ กศน.ตําบลนาปา ไดทําแปลงสาธิตการปลูกพืชผักสวนครัว พืชสมุนไพรตาง ๆ โดยเฉพาะพืช ส มุ น ไพ ร ต าน โรค ติ ด เชื้ อ ไว รัส โค โรน า2019(COVID-19) บ ริเว ณ รอ บ ๆ อ าค าร โด ย เฉ พ าะ ใน หนารอนพืชผักตองการน้ําปริมาณมาก หากไมไดรับน้ําที่เพียงพอจะสงผลใหตนเห่ียว หรือยืนตนตายได การรดน้ําทั่วไปไมสามารถแกปญหาดังกลาวได ประกอบกับขาดแคลนแรงงานคนในการชวยดูแลรดน้ํา อยางตอเน่ือง ปจจุบันเทคโนโลยีไดมีการพัฒนาอยางรวดเร็วท้ังดานการสื่อสาร อุตสาหกรรมตาง ๆ แต เทคโนโลยที างดา นการเกษตรยังไมมีการพัฒนาเทาทคี่ วร คณะผูจัดทําจึงไดจัดทําโครงงานระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน คร้ังน้ี โดยใชวิธีวิจัยและพัฒนา (Research and Development) มีวัตถุประสงค 1) เพื่อพัฒนาระบบรดนํ้า อัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน, 2) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการควบคุมการทํางานของ ระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชันและ 3) เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษา กศน.ตําบลนาปา ศูนยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมอื งชลบุรี จังหวัดชลบุรี ที่มีตอ ระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน กลุมตัวอยางท่ีใชในการศึกษา คือ นักศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา ระดับ มัธยมศึกษาตอนตน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2565 ของ กศน.ตําบลนาปา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี จํานวนท้ังสิ้น 121 คน โดยการสุมอยางงายดวยตารางกําหนดกลุมตัวอยางของเครจซ่ีและมอรแกน (Krejcie & Morgan, 1970 : 607 - 610 อางถึงใน บุญชม ศรีสะอาด,2545 : 43 - 44) ไดกลุมตัวอยางจํานวน 97 คน ซ่ึงไดมาโดยวิธีการสุมแบบแบงชั้น (Stratified Random Sampling) จากประชากรในระดับความเช่ือมั่น 95% โดยใชระดับการศึกษาเปนช้ัน ท้ังนี้ คณะผูจัดทําสามารถเก็บขอมลู จากกลุมตวั อยาง จํานวน 97 ชุด เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษาครั้งน้ี คณะผูจัดทํา ไดศึกษาคนควาเอกสารงานวิจัยวารสารสิ่งพิมพตําราตางๆตลอดจนแบบรายงานประเมินท่ีเกี่ยวของ รวมทั้ง ความตองการและขอคดิ เห็นของนักศึกษา กศน.ตําบลนาปา อําเภอเมืองชลบุรี มาสรางเปนแบบประเมิน โดย ผา นการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมอื ดวยการหาคาความเที่ยงตรง (Validity) จากผูเช่ียวชาญ ซ่ึงแบบประเมิน ออนไลนโครงงานระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชันมีจํานวน 4 ตอน ดังนี้ 1) สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม เปนขอคําถามเก่ียวกับสถานภาพ เพศ ระดับการศึกษา 2) คุณภาพของ โครงงานระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน 3) ความพึงพอใจการใชระบบรดนํ้า อัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชันจากนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2565 ของ กศน.ตําบลนาปา ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองชลบุรี จงั หวัดชลบุรี และ 4) ปญหา อุปสรรค และขอ เสนอแนะ ผลการศึกษาการจัดทําโครงงานระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน พบวาผูเชี่ยวชาญมีความคิดเห็นตอคุณภาพการจัดทําโครงงานระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน โดยรวมมีระดับความคิดเห็นตอคุณภาพที่มากที่สุด คาเฉล่ียเทากับ 4.92 สวนเบ่ียงเบน มาตรฐานเทากบั 0.12 และผลการประเมินความพึงพอใจการจัดทําโครงงานระบบรดนาํ้ อัตโนมัติดวยพลังงาน แสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน พบวา นักศึกษาโดยรวมมีความพึงพอใจตอโครงงานระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวย พลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน มีระดับความพึงพอใจที่มากท่ีสุด คาเฉลี่ยเทากับ 4.83 สวนเบ่ียงเบน มาตรฐานเทา กับ 0.09

ข5 กิตติกรรมประกาศ การจัดทําโครงงานระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน เลมน้ีสําเร็จ ลลุ วงไดเพราะไดรับความกรณุ าอยางสูง จากนายไพรัตน เนื่องเกตุ ผูอาํ นวยการศูนยการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองชลบุรี, นางสาวศศิวัณ ย ออนศรีทอง หัวหนา กศน.ตําบล นาปา (อาจารยประจํากลุม) และนางสาวณิยะวรรณ ชูทอง ครูผูชวย ท่ีกรุณาใหความอนุเคราะหเปนท่ีปรกึ ษา ใหคําแนะนํา และเพ่ือนนักศึกษา กศน.ตําบลนาปาทุกคน ท่ีใหการสนับสนุนและใหความรวมมืออยางดีย่ิงใน การเกบ็ รวบรวมขอมูลเพื่อการศึกษาในคร้งั น้ี จงึ ขอขอบคณุ มา ณ โอกาสน้ี ขอขอบคุณนายไพรัตน เนื่องเกตุ ผูอํานวยการชํานาญการพิเศษ กศน.อําเภอเมืองชลบุรี, นางสาวเอมอร แกว กลํา่ ศรี ครชู ํานาญการพเิ ศษ กศน.อาํ เภอเมืองชลบรุ ี และนายอนสุ ษิ ฐ จริ พัชรศิรพร ใหคําปรึกษา และเปนผูเช่ียวชาญตรวจสอบเครื่องมือ ขอขอบคุณนายศรัณญ เน่ืองเกตุ นักเทคโนโลยี สารสนเทศ กศน.อําเภอเมืองชลบุรี ทใ่ี หค าํ ปรกึ ษาและใหกําลังใจคณะผูจดั ทําตลอดมา สุดทายน้ี อันคุณความดีและประโยชนท่ีเกิดจากการศึกษาในคร้ังน้ี ขอมอบเปนเคร่ืองบูชาแดผูมี พระคุณ ครูทุกทานที่ประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู และผูที่มีสวนรวมชวยเหลือใหการศึกษาเลมน้ีสําเร็จ อยา งสมบรู ณ นายเจษฎากร ปจู งั รหสั นักศึกษา 6312001811 นางสาวเพ็ญภทั โคตรบตุ ร รหสั นักศกึ ษา 6323001259 นางน้าํ ผึง้ อ่ําละออ รหัสนักศึกษา 6413003165

6ค สารบญั หนา บทท่ี 1 บทนาํ 1 ความเปน มาและสาระสําคัญของปญหา 1 วัตถปุ ระสงคของโครงงาน 1 ขอบเขตของการศกึ ษา 1 นิยามศพั ทเฉพาะ 2 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดร บั 2 3 บทที่ 2 เอกสาร/ทฤษฎ/ี หลักการทีเ่ กยี่ วขอ ง 3 พลังงานแสงอาทติ ยและโซลารเ ซลล (Solar Cell) 4 ซอฟตแวร( Software) และอุปกรณห ลกั ของระบบรดน้ําอัตโนมัติ 7 งานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วของ 8 8 บทที่ 3 อุปกรณและวธิ กี ารศึกษา กรอบวางแผนการดําเนินการ 9 เครื่องมอื วสั ดุ อปุ กรณท ่ีใชในการพัฒนาการจัดทําโครงงานระบบรดน้ําอัตโนมัติ ดว ยพลังงานแสงอาทติ ย ผานแอปพลเิ คชัน 9 ข้นั ตอนการพฒั นาการจดั ทําโครงงานระบบรดนํา้ อัตโนมัตดิ วยพลงั งานแสงอาทิตย 11 ผา นแอปพลิเคชนั 12 การสรางแบบประเมิน 12 การเก็บรวบรวมขอมลู 12 การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใช 14 การแปลผล 14 14 บทท่ี 4 ผลการศกึ ษา 14 สญั ลักษณที่ใชใ นการเสนอผลการวิเคราะหขอ มูล 19 ลําดบั ขั้นในการเสนอผลการวิเคราะหขอมูล 19 ผลการวิเคราะหขอมูล 19 20 บทที่ 5 สรปุ ผลและอภปิ รายผล สรปุ ผลการศึกษา อภปิ รายผล ขอ เสนอแนะ บรรณานกุ รม

7ง ภาคผนวก แบบสอบประเมินความพงึ พอใจโครงงานระบบรดน้ําอัตโนมัติดวยพลงั งานแสงอาทิตย ผา นแอปพลเิ คชนั การวิเคราะหคา ดัชนคี วามเท่ียงตรง (IOC) แบบสอบถามเพ่ือการศึกษา

สารบัญตาราง 8จ ตารางที่ หนา 1 แสดงกรอบวางแผนการดาํ เนนิ การ 8 2 แสดงการทดสอบการทาํ งานของโครงงานระบบรดนํ้าอัตโนมัตดิ ว ยพลงั งาน 15 แสงอาทติ ย ผา นแอปพลเิ คชัน 15 3 แสดงคารอ ยละของผตู อบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามเพศ 15 4 แสดงคา รอยละของผตู อบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามระดบั การศึกษา 16 5 คุณภาพของโครงงานระบบรดนา้ํ อัตโนมตั ิดวยพลังงานแสงอาทิตย 17 ผา นแอปพลเิ คชัน 6 ความพึงพอใจตอ โครงงานระบบรดน้าํ อตั โนมัตดิ ว ยพลังงานแสงอาทิตย ผา นแอปพลิเคชัน

สารบัญภาพ 9ฉ รปู ภาพที่ หนา 1 สวนประกอบ โซลารเซลล (Solar Cell) 2 ชนิดของแผงโซลารเ ซลล 3 3 Sonoff 4 4 ขน้ั ตอนวิธีการดาวนโ หลดแอพพลเิ คชัน eWelink บนสมารท โฟน 5 5 โซลารช ารจ เจอร 5 6 กลไกการทํางานโครงงานระบบรดนํา้ อัตโนมตั ิดว ยพลงั งานแสงอาทิตย 6 ผานแอปพลเิ คชัน 7 ขัน้ ตอนการทําขาตงั้ แผงโซลารเ ซลล 9 8 การประกอบแผงวงจรไฟฟา 10 9 การประกอบแผงโซลินอยดวาลว 10 10 การประกอบแผงรดน้าํ 10 11

0 1 บทท่ี 1 บทนํา ความเปน มาและสาระสาํ คญั ของปญ หา จากแนวทางการขับเคลื่อนงานของสํานักงาน กศน. ภารกิจเรงดวน จํานวน 12 ภารกิจ ซ่ึงหนึ่งใน ภารกิจน้ันคือ “ กศน.งามตา ประชาชื่นใจ” โดยมอบเปนนโยบายในหนวยงานในสังกัด โดยเฉพาะอยางยิ่ง กศน.ตาํ บล ตองปรบั ปรุงภมู ทิ ัศน สถานที่ ส่ิงแวดลอมใหสะอาด ปลอดภัย รมรืน่ พรอ มใหบริการ ดวยจิตไมตรี รวมถึงการนําหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยกุ ตใ ชสูก ารปฏิบตั ิอยางเปนรูปธรรม กศน.ตําบลนาปา จึงไดทําแปลงสาธิตการปลูกพืชผักสวนครัว พืชสมุนไพรตาง ๆ โดยเฉพาะพืช สมุนไพรตานโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) บริเวณรอบๆอาคาร โดยเฉพาะในหนารอนซึ่งพืชผัก ตอ งการนํ้าปริมาณมาก ถา หากไมไ ดร ับน้ําท่ีเพียงพอจะสงผลใหตน เห่ียว หรือยืนตนตายได ซง่ึ การรดนํ้าท่ัวไป ไมสามารถแกปญหาขางตนได ประกอบกับขาดแคลนแรงงานคนในการชวยดูแลรดน้ํา ไดอยางตอเนื่อง ซ่ึงใน โลกปจจุบันเทคโนโลยีไดมีการพัฒ นาอยางรวดเร็วไมวาจะเปนดานการสื่อสาร อุตสาหกรรม ตา ง ๆ แตเ ทคโนโลยีทางดานการเกษตรยังไมม กี ารพัฒนาเทาท่ีควร คณะผูจัดทํา จึงมีความสนใจท่ีจะแกไขปญหาการใหนํ้ากับพืชผักที่ปลูกไวบริเวณรอบๆอาคาร กศน. ตาํ บลนาปา เนนการใชพลังงานสะอาดจากธรรมชาติมาเปนพลังงานหลักที่จะขับเคล่ือนนวัตกรรมที่จําเปนตอ การดํารงชีวิต ลดมลพิษ ลดคาใชจาย เวลาและแรงงานคน การนําสมารทโฟน (Smartphone) มาอํานวย ความสะดวกในการส่ังงานเปด-ปดน้ํา ไดทุกที่ทุกเวลา จึงจัดทํา “โครงงานระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวยพลังงาน แสงอาทติ ย ผา นแอปพลิเคชัน” วัตถปุ ระสงคข องโครงงาน 1. เพ่อื พัฒนาระบบรดน้ําอตั โนมัติดว ยพลงั งานแสงอาทิตย ผานแอปพลเิ คชนั 2. เพอ่ื ศึกษาประสิทธิภาพการควบคุมการทาํ งานของระบบรดน้ําอตั โนมตั ิดว ยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลเิ คชนั 3. เพ่อื ศึกษาความพงึ พอใจของนักศึกษา กศน.ตําบลนาปา ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองชลบรุ ี จังหวดั ชลบรุ ี ทมี่ ตี อ ระบบรดนาํ้ อัตโนมัตดิ วยพลังงาน แสงอาทิตยผ านแอปพลเิ คชัน ขอบเขตของการศึกษา 1. ขอบเขตดานประชากรและกลุมตวั อยาง 1.1 ประชากรในการศึกษาคร้ังนี้ คือ นักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรยี นที่ 1 ปการศึกษา 2565 ของ กศน.ตําบลนาปา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อําเภอเมอื งชลบุรี จงั หวัดชลบรุ ี จาํ นวนทั้งส้ิน 121 คน 1.2 กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคร้ังนี้ คือ นักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2565 ของ กศน.ตําบลนาปา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอําเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี โดยการสุมอยางงายดวยตารางกําหนดกลุมตัวอยางของเครจซ่ีและ

12 1 มอรแกน (Krejcie& Morgan, 1970 : 607-610 อางถึงใน บุญชม ศรีสะอาด,2545 : 43-44) ไดกลุมตัวอยางจํานวน 97 คน ซ่ึงไดมาโดยวิธีการสุมแบบแบงชั้น (Stratified Random Sampling) จากประชากรในระดับความเช่ือมั่น 95% โดยใชระดับการศกึ ษาเปน ช้ัน ท้งั นีค้ ณะผจู ดั ทาํ สามารถเก็บขอมลู จากกลมุ ตวั อยาง จาํ นวน 97 ชุด 2. ขอบเขตดานเนอ้ื หา การศึกษาคร้ังน้ีศึกษาการใชระบบรดน้ําอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตยผานแอปพลิเคชัน จากนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2565 ของ กศน.ตําบลนาปา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมือง ชลบุรี จังหวดั ชลบรุ ี มีจาํ นวน 4 ตอน ดังนี้ ตอนท่ี 1 สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม เปนขอคําถามเกี่ยวกับสถานภาพ เพศ ระดับ การศึกษา วัตถุประสงคการใชระบบรดน้ําอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตยผานแอปพลิเคชัน ตอนท่ี 2 คณุ ภาพของโครงงานระบบรดน้าํ อตั โนมตั ดิ ว ยพลังงานแสงอาทิตยผา นแอปพลเิ คชัน ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจการใชระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตยผานแอปพลิเคชัน จากนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2565 ของ กศน.ตําบลนาปา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมือง ชลบุรี จงั หวดั ชลบุรี ตอนที่ 4 ปญหา อปุ สรรค และขอ เสนอแนะ 3. ขอบเขตดานพ้นื ท่ี การศึกษาคร้งั นี้ดําเนินการศึกษาจากนกั ศกึ ษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ัน พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2565 ของ กศน.ตําบลนาปา ศูนยการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองชลบรุ ี 4. ขอบเขตดานเวลา ระยะเวลาในการเกบ็ รวบรวมขอ มลู ระหวางเดอื นมิถุนายน - กรกฎาคม 2565 นิยามศัพทเ ฉพาะ 1. หลักสูตร หมายถึง หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 2. นักศึกษา หมายถึง นักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ทั้งระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศึกษา 2565 ของ กศน.ตําบลนาปา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อําเภอเมอื งชลบรุ ี จังหวัดชลบรุ ี 3. สถานศึกษา หมายถึง ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองชลบุรี จังหวดั ชลบรุ ี 4. กศน.ตําบล หมายถึง กศน.ตําบลนาปา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาํ เภอเมอื งชลบุรี จงั หวดั ชลบุรี 5. ครู กศน.ตาํ บล หมายถึง ขา ราชการครู หวั หนา กศน.ตําบล ประโยชนท ่คี าดวา จะไดรับ 1. กศน.ตาํ บลนาปา มรี ะบบรดนํ้าอตั โนมตั ดิ วยพลงั งานแสงอาทติ ยผานแอปพลเิ คชันจาํ นวน 1 เคร่อื ง 2. กศน.ตําบลนาปา ไดพัฒนาระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตยผานแอปพลิเคชัน ใหมปี ระสทิ ธภิ าพ เพอ่ื ชว ยอนุรกั ษพลังงานไฟฟาโดยใชพ ลังงานแสงอาทิตย 3. นกั ศึกษามีความพงึ พอใจตอ การใชร ะบบรดนํ้าอัตโนมัติดว ยพลงั งานแสงอาทติ ย ผา นแอปพลเิ คชัน ในระดบั ดีข้นึ ไป และใชเปน แนวทางไปปรับใชในชวี ิตประจําวัน ขยายผล และเผยแพรใหกบั ผูอืน่ ได

2 1 บทที่ 2 เอกสาร/ทฤษฏ/ี หลกั การท่ีเกย่ี วขอ ง การศึกษาโครงงานระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน จากนักศึกษา หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ภาคเรยี นที่ 1 ปการศึกษา 2565 ของ กศน.ตําบลนาปา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี คณะผจู ัดทาํ ไดท ําการศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กี่ยวของกับกรอบเนือ้ หาแบง เปน 3 หวั ขอ ดงั น้ี 1. พลงั งานแสงอาทติ ยและโซลารเ ซลล (Solar Cell) 2. ซอฟตแ วร(Software) และอปุ กรณห ลกั ของระบบรดนา้ํ อตั โนมัติ 3. งานวิจัยทเี่ กี่ยวขอ ง 1. พลงั งานแสงอาทติ ยแ ละโซลารเซลล (Solar Cell) พลังงานแสงอาทิตยเปนพลังงานของแสงและพลังงานของความรอนท่ีแผรังสีมาจากดวง อาทิตย พลังงานแสงอาทิตยแบงออกเปน 2 สวนใหญ ๆ คือ พลังงานที่เกิดจากแสงและพลังงานท่ีเกิดจาก ความรอน การประยุกตใ ชพลังงานแสงอาทติ ย พลังงานแสงอาทติ ย สามารถนาํ ไปประยุกตใชงานไดหลายหลายรปู แบบ เชน เพื่อเพ่ิมสขุ อนามัยใน พ้ืนท่ีหางไกล เชน การฆาเช้ือโรคท่ีมากับนํ้าโดยการใหน้ําสัมผัสกับแสงอาทิตยโดยตรง การเล้ียงสาหรายใน การปรับสภาพน้ําโดยการเพิ่มออกซิเจน การติดต้ังเครื่องสูบน้ําพลังแสงอาทิตยเพ่ือแจกจายนํ้าสะอาดเพื่อการ บริโภค โซลารเซลล (Solar Cell) โซลารเซลล หรือ เซลลแสงอาทิตย (Solar Cell) หรือ เซลลโฟโตโวลตาอิก (Photovoltaic Cell) คือ อุปกรณอิเล็กทรอนิกส ที่ทําจากสารกึ่งตัวนําชนิดพิเศษ ท่ีมีคุณสมบัติในการเปล่ียนพลังงานแสงอาทิตย ใหเปนพลังงานไฟฟาโดยกระแสไฟฟาท่ีผลิตไดจากโซลารเซลลนั้น จะเปนไฟฟากระแสตรง (Direct Current) ซ่งึ เราสามารถนํามาใชประโยชนไ ดท ันที รวมทั้งสามารถเก็บไวใ นแบตเตอรเี่ พอ่ื ใชง านภายหลังไดพลงั งานไฟฟา ที่ผลิตไดจากแผงโซลารเ ซลล จัดวาเปนแหลงพลังงานสะอาดและไมสรางมลภาวะแกส่ิงแวดลอมและไมปลอย กาซเรือนกระจก (Co2) เหมือนกับแหลงพลังงานอื่น ๆ เชน นํ้ามัน โรงไฟฟาท่ีมีกระบวนการผลิตจากกาซ ธรรมชาติ และถานหิน โซลารเซลล (Solar Cell) เปนพลังงาน ท่ีใชแลวไมมีวันหมดไปลักษณะทาง พฤกษศาสตร รูปภาพที่ 1 สวนประกอบ โซลารเซลล (Solar Cell) ท่มี า : https://shorturl.asia/8hzOB

3 14 ชนดิ ของโซลารเ ซลล รูปภาพท่ี 2 ชนิดของแผงโซลารเ ซลล ทม่ี า : https://shorturl.asia/8hzOB แผงโซลารเ ซลลแ บงออกเปน 3 ชนิด ดงั น้ี 1. แผงโซลารเ ซลลช นดิ โพลีครสิ ตลั ไลน (Poly Crystalline) เปนแผงโซลารเซลล ช นิ ด แ ร ก ที่ ทํ า ม า จ า ก ผ ลึ ก ซิ ลิ ค อ น บ า ง ค ร้ั งเรี ย ก ว า มั ล ติ -ค ริ ส ตั ล ไล น (Multi-Crystalline) โดยกระบวนการผลิตจะนําเอาซิลิคอนเหลว มาเทใสโมลดท่ีเปนสี่เหลี่ยม กอนจะนํามาตัดเปนแผนบางอีกที จงึ ทําใหแ ตละเซลลเ ปน รปู สเี่ หลยี่ มจัตุรัส สีของแผงจะออกสีนาํ้ เงนิ 2. แผงโซลารเซลลชนิด โมโนคริสตัลไลน (Mono Crystalline) เปนแผงโซลารเซลลท่ีทํามาจาก ผลึกซิลิคอนเชิงเด่ียว (Mono- Silicon) บางครั้งเรยี กวา Single Crystalline ลักษณะแตละเซลลเปนส่ีเหล่ียม ตัดมุมทั้งส่ีมุม และมีสีเขม ทํามาจากซิลิคอนที่มีความบริสุทธ์ิสูง กวนใหผลึกเกาะกันท่ีแกนกลาง ทําใหเกิด แทงทรงกระบอก จากน้ันนํามาตัดใหเปนส่เี หลี่ยมและลบมุมทั้งสี่ออก ทาํ ใหไดประสิทธิภาพสูงสุด และลดการ ใชว ัตถดุ บิ Mono- Silicon ลง กอ นท่ีจะนาํ มาตดั เปน แผนอกี ที 3. แผงโซลารเซลลชนิด ฟลมบาง (Thin Film) เปนแผงโซลารเซลลที่ทํามาจาก การนําสารท่ีแปลง พลงั งานแสงเปนพลังงานไฟฟา มาฉาบเปน ชั้นบางๆ ซอนกันหลายๆช้ัน จึงเรียกโซลารเซลลช นิดน้วี า ฟลมบาง (thin film) แผงโซลาเซลล ชนิดฟลมบาง มีประสิทธิภาพเฉล่ียอยูที่ 7-13 % ทั้งน้ีขึ้นอยูกับชนิดของวัสดุที่ นาํ มาทาํ เปนฟล ม ฉาบ 2. ซอฟตแวรร ะบบ (Software)และอุปกรณหลกั ของระบบรดนาํ้ อัตโนมัติ ซอฟตแวรแบง ออกเปน 2 ประเภท คอื 1. ซอฟตแวรระบบ (System Software หรือ Operating Software : OS) หมายถึงโปรแกรม ที่ทําหนาท่ีประสานการทํางาน ติดตอการทํางาน ระหวางฮารดแวรกับซอฟตแวรประยุกตเพื่อใหผูใชสามารถ ใชซอฟตแวรไ ดอยา งมีประสิทธภิ าพและทาํ หนา ทใ่ี นการจัดการระบบ ดูแลรักษาเครื่อง การแปลภาษาระดับต่ํา หรือระดบั สงู ใหเ ปน ภาษาเคร่อื งเพ่อื ใหเครื่องอา นไดเขาใจ 2.ซอฟตแวรป ระยุกต ซอฟตแวรป ระยกุ ตเ ปน โปรแกรมที่ใชสาํ หรบั ทํางานตา งๆ ตามทต่ี องการ เชน การทาํ งานเอกสาร งานกราฟก งานนําเสนอหรอื เปน ซอฟตแวรสําหรับงานเฉพาะดาน เชน โปรแกรมงานทะเบียน โปรแกรมการ ใหบ รกิ ารเวบ็ โปรแกรมงานดา นธนาคาร

4 15 Sonoff เปนอุปกรณ สวิตชควบคุมไรสายที่สามารถส่ังงานผานทาง Wi-Fi หรือผานอินเตอรเน็ต ไดดวยการ ใชงานแอปพลิเคชั่นจากมือถือและคอมพิวเตอร ซึ่งเปนอุปกรณเบ้ืองตนสําหรับงาน \"The Internet of Things\" Sonoff ทาํ หนาท่ีในการปด และเปด อปุ กรณต า งๆ ได สามารถตงั้ เวลาได และสัง่ งานผานอินเตอรเ น็ต ไดทุกท่บี นโลกใบนด้ี ว ยมือถือ สมารตโฟน หรอื คอมพวิ เตอร ที่ทาํ การเช่อื มตออนิ เตอรเน็ตอยู รปู ภาพท่ี 3 Sonoff ท่มี า : https://www.blogsdit.com/2019/06/sonoff.html Sonoff Basic น้นั เปน อุปกรณท ี่มรี าคาถูกทส่ี ดุ ซ่ึงสามารถชวยใหผ ูใชงานใชใ นการควบคุมการปดเปด สวิตชอ ุปกรณต า งๆไดผ าน Wi-Fi เชนใชใ นการควบคุมปม น้ํา หลอดไฟ พดั ลม หรือ อนื่ ๆเทาทจี่ ะนําไป ประยุกตใช จะทาํ การเชื่อมตอกบั คลาวดด ว ย Wi-Fi เราเตอร จึงทําใหส ามารถทาํ การควบคุมอุปกรณดังกลา ว ระยะไกลจากทกุ ทีท่ ุกเวลาและสงั่ เปด /ปด อุปกรณตามเวลาทก่ี าํ หนดไวไ ดอีกดวยโดยสามารถต้งั ใหเ ปน แบบ นับถอยหลัง ต้งั เวลาเปด ปด โดยควบคมุ ผานทาง แอปพลิเคชัน่ ในมอื ถอื ทช่ี ื่อวา “eWelink” ข้นั ตอนวธิ กี ารดาวนโ หลดแอพพลิเคชัน eWelink บนสมารท โฟน รปู ภาพที่ 4 ข้ันตอนวธิ กี ารดาวนโ หลดแอพพลิเคชนั eWelink บนสมารทโฟน ทม่ี า : https://jasminegadget.wordpress.com/ewelink/

5 16 โซลารชารจเจอร ระบ บ ผลิตไฟ ฟ าพ ลังงาน แสงอาทิ ตย ห รือ \"โซล ารเซลล\" ซ่ึงเป น พ ลังงานท ดแท น ท่ีนิยมมากท่ีสุดใชในปจจุบัน เน่ืองจากเปนพลังงานท่ีบริสุทธ์ิไมเปนมลพิษตอสิ่งแวดลอม การผลิตไฟฟาจาก โซลารเ ซลลนัน้ จะเริม่ ตนจากแผงรบั แสงอาทิตยแปลงเปนไฟฟา กระแสตรง และชารจเขา แบตเตอร่ี ซึ่งกอ นจะ ทําการชารจเขาแบตเตอรี่ไดนั้นจําเปนจะตองมีตัว ควบคุมการชารจประจุไฟฟา หรือโซลารชารจเจอร คอนโทรลเลอร เพ่ือท่ีจะยืดอายุการใชงานแบตเตอรี่และทําใหไมเกิดความเสียหายตอระบบอีกดวย อุปกรณ ช้ินน้ีจึงเปนอุปกรณสําคัญท่ีขาดไมไดในระบบผลิตไฟฟาโซลารเซลลโดยทั่วไปแลวโซลารชารจเจอรจะแบง อ อ ก เป น ส อ ง ป ร ะ เภ ท ได แ ก PWM (Paluse Width Module) แ ล ะ MPPT (Max Power Point Tracking) ดังนี้ 1. โซลารชารจเจอร แบบ PWM (Paluse Width Module) จะมีหลักการทํางานก็คือ ควบคุม ความถี่ของคล่ืนไฟฟาจากแผงโซลารเซลลใหคงท่ี ดวยระบบดิจิตอล (Digital) เพื่อใหประหยัดพลังงาน โดยมี ขนาดตง้ั แต 10A - 60A และแรงดัน Input ต้ังแต 12V - 96V 2. โซลารช ารจ เจอร แบบ MPPT (Maximum Power Point Tracking) หลกั การทาํ งานคือ มี ระบบไมโครโพรเซสเซอร หรือตวั จับสัญญาณ คอยควบคมุ ดแู ลสญั ญาณไฟฟาทีไ่ ดจ ากแผงโซลารเ ซลล เปรียบเทียบกบั แรงดนั กระแสในแบตเตอรี่ และเลือกสญั ญาณท่สี ูงทส่ี ดุ จากแผงเพือ่ ประจุลงในแบตเตอร่ีใหเตม็ ตลอดเวลา รปู ภาพท่ี 5 โซลารชารจ เจอร ทม่ี า : https://shorturl.asia/awmUk เบรกเกอร (Breaker) เปนอุปกรณที่ทําหนาท่ีในการตัดวงจรไฟฟาแบบอัตโนมัติ เมื่อเกิดความ ผิดปกติในระบบ เพ่ือเปนการปองกันความเสียหายท่ีจะเกิดข้ึนกับสายไฟลัดวงจร โดยเบรกเกอร ตัวท่ี 1 ทํา หนาที่เปด-ปด การรับเขาพลังงานจากแผงโซลารเซลลเ ขาสูโซลาร ชารจเจอร คอนโทรลเลอร และเบรกเกอร ตวั ท่ี 2 ทําหนา ท่เี ปด -ปด การเขา พลงั งานจากโซลาร ชารจเจอร คอนโทรลเลอรม าเก็บทีแ่ บตเตอร่ี โซลินอยดวาลว (Solenoid Valve) คือ ระบบวาลวที่ใชพลังงานไฟฟาในการควบคุมการเปดปด วาลว โดยใชพลงั งานไฟฟาเขาไปท่ีขดลวด เพื่อบังคับควบคุมแทงเหลก็ ท่ีทําหนาท่ีเปนล้ินวาลวการเปดหรือปด เพ่ือใหนา้ํ , อากาศ หรือกาซ ไหลผาน ปมน้ํา เปนเครื่องมือท่ีชวยในการสงน้ํา ประกอบดวย mechanic และ Electricity / engine มี 2 สวน มีหัวปมและมอเตอร มอเตอรทําหนาท่ีหมุนใหตัวปมเคลื่อนท่ีเพื่อผลักนํ้าจากจุดหน่ึงไปอีกจุดหน่ึงไป

17 6 โดยแรงดันและปริมาณน้ํา ตามการออกแบบของแตละการใชงาน ชวยเสริมน้ําใหแรงขึ้นไปถึงอีกจุดหนึ่งได พรอมกับปรมิ าณนาํ้ ที่เพ่มิ มากข้ึน รีเลย (relay) เปนอุปกรณอิเลก็ ทรอนิกสท ี่ใชกันอยางแพรหลายในวงจรควบคุมอัตโนมัติ ทําหนาที่ เปรยี บเสมอื นสวติ ชไฟ ที่ใชแ รงดันไฟฟาในการเปด และปด อปุ กรณไฟฟา เพื่อควบคุมวงจรตางๆ 3. งานวิจัยท่ีเกีย่ วขอ ง อดิสรณ ปรีชา และคณะ (2564 : บทคัดยอ) ไดทําการวิจัยเร่ือง โรงเพาะเห็ดระบบอัตโนมัติชุมชน บา นวังผา ตําบลแมจะเรา อาํ เภอแมระมด จังหวัดตาก มีวัตถุประสงค 1) เพื่อออกแบบและสรางโรงเพาะเห็น ระบบอตั โนมตั ิชมุ ชนบานวงั ผา ตําบลแมจะเรา อาํ เภอแมร ะมด จังหวัดตาก 2) เพ่ือประเมินความพึงพอใจผใู ช โรงเพาะเห็ดระบบอัตโนมัติชุมชนบานวังผา ตําบลแมจะเรา อําเภอแมระมด จังหวัดตาก ประชากรหรือกลุม ตัวอยางท่ีใชในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก เกษตรกรชุมชนบานวังผา ตําบลแมจะเรา อําเภอแมระมด จังหวัดตาก จํานวน 30 คน เครื่องมือท่ีใชในการวิจัยเปนแบบบันทึกผลผลิตระหวางโรงเพาะเห็นทั่วไปกับโรงเพาะเห็ด ระบบอัตโนมัติ และแบบประเมินความพึงพอใจของผูใชโรงเพาะเห็ดระบบอัตโนมัติชุมชนบานวังผา ตําบลแม จะเรา อําเภอแมร ะมด จังหวัดตาก ผลการวิจัยพบวา ผลผลิตระหวางโรงเพาะเห็ดท่ัวไปกับโรงเพาะเห็ดระบบ อตั โนมัติชุมชนบานชุมชนบานวังผา ตําบลแมจะเรา อําเภอแมระมด จังหวัดตาก ในระยะเวลาท่ีเทากันและใช จํานวนกอนเห็ดเทากัน แตมีผลผลิตท่ีตางกัน ซึ่งโรงเพาะเห็นระบบอัตโนมัติน้ันไดจํานวยดอกเห็ดท่ีมากกวา โรงเพาะเห็ดท่ัวไป และผลการประเมินความพึงพอใจของผูใชโรงเพาะเห็ดระบบอัตโนมัติชุมชนบานวังผา ตําบลแมจะเรา อาํ เภอแมร ะมด จงั หวัดตาก อยใู นระดบั มากทส่ี ดุ ( x =4.47, S.D.=0.58) ปวันนพัสตร ศรีทรงเมืองและคณะ (2563: บทคัดยอ) ไดทําการวิจัยเร่ือง การพัฒนารูปแบบระบบ ควบคุมฟารมอัจฉรยิ ะในโรงเรียนปลูกพืชโดยใชคอมพวิ เตอรแ บบฝง โดยมีวตั ถปุ ระสงคเ พอื่ ระบบควบคุมฟารม อจั ฉริยะในโรงเรียนปลูกพืชโดยใชคอมพวิ เตอรแบบฝง เพ่ือหาคุณภาพระบบควบคุมฟารมอัจฉรยิ ะในโรงเรียน ปลูกพืชโดยใชคอมพิวเตอรแบบฝง และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของผูใชงานที่มีตอการใชงานระบบควบคุม ฟารมอัจฉริยะในโรงเรียนปลูกพืชโดยใชคอมพิวเตอรแบบฝง โดยใชหลักการวิจัยเชิงพัฒนา ซึ่งกลุมตัวอยาง เปนอาจารย นักศึกษา เจาหนาที่ และเกษตรกร คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนยหันตรา จํานวน 40 คน ไดมาโดยเลือกแบบเจาะจง เก็บ รวบรวมขอมลู และวเิ คราะหดว ยสถิตคิ าเฉล่ยี และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวจิ บั พบวา ผเู ช่ียวชาญประเมิน รูปแบบที่พัฒนาขึ้นอยใู นระบบเหมาะสมมากที่สุด และเม่ือประเมินหาคุณภาพระบบควบคุมฟารมอัจฉริยะใน โรงเรียนปลูกพืชโดยใชคอมพิวเตอรแบบฝงท่ีพัฒนาตามรูปแบบ พบวา คุณภาพของระบบควบคุมฟารม อัจฉริยะในโรงเรียนปลูกพืชโดยใชคอมพิวเตอรแบบฝงจากการทดสอบของผูเชี่ยวชาญอยูในระดับมากท่ีสุด ( x =4.64, S.D.=0.18) และกลุมตัวอยางไดแสดงความพึงพอใจท่ีมีตอการใชระบบที่พัฒนาข้ึนอยูในระดับ พึงพอใจมากท่สี ุด ( x =4.60, S.D.=0.04) จึงสรุปไดว า รูปแบบระบบควบคมุ ฟารมอัจฉรยิ ะในโรงเรียนปลูกพืช โดยใชคอมพิวเตอรแบบฝงที่พัฒนาข้ึน ชวยในการอํานวยความสะดวกและแบงเบาภาระของเกษตรกรในการ ควบคุมส่ังการเปด-ปด การใชน า้ํ ในโรงเรอื นปลกู พชื ผานทางสมารท โฟนจากทุกที่ทุกเวลา

1 7 บทที่ 3 อุปกรณแ ละวธิ กี ารศกึ ษา การศึกษาในคร้ังนเ้ี ปน การศกึ ษาโครงงานระบบรดน้ําอตั โนมัติดวยพลงั งานแสงอาทติ ย ผา นแอปพลิเคชัน โดยใชวธิ ีวจิ ัยและพฒั นา (Research and Development) ซึ่งไดก ําหนดแนวทางการศึกษา มีรายละเอยี ดดังนี้ 1. กรอบวางแผนการดาํ เนินการ 2. เครอ่ื งมือวัสดุ อปุ กรณท ่ใี ชในการพฒั นาการจัดทําโครงงานระบบรดนํ้าอตั โนมัติดวยพลงั งาน แสงอาทติ ย ผานแอปพลิเคชัน 3. ขั้นตอนการพัฒนาการจดั ทําโครงงานระบบรดนา้ํ อัตโนมัตดิ ว ยพลังงานแสงอาทิตย ผา นแอปพลเิ คชัน 4. การสรา งแบบประเมนิ 5. การเก็บรวบรวมขอมูล 6. การวเิ คราะหข อมูลและสถิตทิ ่ใี ช 7. การแปลผล 1. กรอบวางแผนการดาํ เนนิ การ ตารางท่ี 1 แสดงกรอบวางแผนการดาํ เนนิ การ การดาํ เนนิ งาน ระยะเวลาการปฏิบตั ิงาน ( สัปดาห ) 1. จดั หากลมุ การดําเนินงาน เลอื กเน้ือหา และวเิ คราะหใ หส อดคลอ งกบั วชิ าทีเ่ รยี น มิถนุ ายน 2565 กรกฎาคม 2565 2. ประชมุ วางแผนการดาํ เนินงาน ศกึ ษา 123 4 1 234 คนควา หาความรกู ารประดษิ ฐค ดิ คน การ ตอ วงจรไฟฟา การใชพ ลงั งานทดแทน และการออกแบบ 3. หาวัสดุอปุ กรณท ใ่ี ชในการทาํ โครงงานระบบรดนํ้าอัตโนมัติดว ยพลังงาน แสงอาทิตย ผา นแอปพลเิ คชัน 4. ลงมอื ทําโครงงานระบบรดนาํ้ อัตโนมัติ ดว ยพลังงานแสงอาทิตย ผา นแอปพลเิ คชัน 5. บนั ทึกการปฏบิ ัตงิ าน (เก็บขอ มูล วิเคราะหขอ มูล แปรผลขอมูล) 6. จัดทําเอกสารประกอบโครงงาน 7. สรปุ ผลการดําเนินงาน

8 19 2. เครือ่ งมือวัสดุ อุปกรณท่ใี ชในการพฒั นาการจัดทาํ โครงงานระบบรดนํา้ อัตโนมตั ิดว ย พลงั งานแสงอาทิตย ผา นแอปพลเิ คชัน อุปกรณ 1. แผงวงจรไฟฟา มีลักษณะเปน แผงวงจรไฟฟา ขนาดกวาง 68 cm ยาว 102 cm 100W 18.2V 5.49A มีหนาทีเ่ ปนศูนยกลางการควบคมุ การทาํ งานของระบบตา ง ๆ โดยแผงวงจรไฟฟา ประกอบไปดวย อุปกรณ 6 ชนดิ ไดแก 1.1. เบรกเกอร (Breaker) DC ขนาด 200V 20A จาํ นวน 2 ตัว 1.2. โซลาร ชารจเจอร คอนโทรลเลอร (Solar Charge Controller) CMG-2420 12V/24V AUTOMATIC 20A จํานวน 1 ตวั 1.3. ไวไฟ คอนโทรล (Wifi Control) รุน Wi-Fi-RF จํานวน 3 ตวั 1.4. รเี ลย (Relay) 12V 30A จํานวน 2 ตัว 1.5. Router จํานวน 1 ตวั 1.6. เซน็ เซอรว ัดความช้นื ในดิน จาํ นวน 2 ตัว 2. แผงควบคุมการเปด-ปดนาํ้ โดยแผงวงจรไฟฟา ประกอบไปดว ยอปุ กรณ 2 ชนดิ ไดแ ก 2.1. โซลินอยดวาลว (Solenoid Valve) ขนาด 6.5W 12VDC จํานวน 2 ตัว 2.2. ปม น้าํ ขนาด 12 V 74 A จํานวน 1 ตวั 3. แบตเตอร่ี รุน Panasonic 574H28L 12V 74Ah จาํ นวน 1 ตวั 4. สายไฟ PV1-F (สดี ํา/สแี ดง) ขนาด 6 mm2 ยาว 8 เมตร จํานวน 2 มว น 5. สายยางใส ขนาด 8 ม. จํานวน 2 เสน / สาย PU ขนาด 1.9 ม. จาํ นวน 2 เสน 6. เหล็ก ขนาดกวาง 68 cm ยาว 102 cm จาํ นวน 6 เสน 7. ทอ PVC ขนาด 6 หุน ยาว 2 m จาํ นวน 5 เสน และ ขนาด 4 หนุ ยาว 4 m จํานวน 1 เสน 8. ขอตอ PVC 3 ทาง ขนาด 6 หนุ จาํ นวน 2 อนั และ 3 ทางตงั้ ฉาก PVC ขนาด 6 หุน จาํ นวน 8 อัน 9. กาวเช่อื มทอ PVC จํานวน 1 กระปอง 10. ถงั นํ้า ขนาด 50 ลติ ร จํานวน 1 ใบ 11. ขว้ั MC4 ตอ แผงเขาระบบวงจร จาํ นวน 2 คู 12. ไฟเขียว 12V ขนาด 3 นิ้ว จํานวน 2 หลอด 13. มนิ สิ ปริงเกอร (ใบ-I) จํานวน 4 อัน 3. ข้ันตอนการพฒั นาการจดั ทาํ โครงงานระบบรดนํ้าอัตโนมัติ ส่ังงานผา น Smartphone ดวยพลังงานแสงอาทติ ย 3.1 การออกแบบระบบ (Design) และพัฒนา (Development) โครงงานระบบรดน้าํ อัตโนมัตดิ ว ยพลังงานแสงอาทติ ย ผานแอปพลิเคชัน รูปภาพท่ี 6 กลไกการทํางานโครงงานระบบรดน้ําอัตโนมตั ดิ ว ยพลังงานแสงอาทติ ย ผานแอปพลิเคชนั

9 110 3.2 การลงมอื ปฏิบัตงิ าน 1) นําวัสดอุ ปุ กรณท่ีเตรียมไวเ อามารวมกนั เพื่อใหเ ราแนใจวาวัสดอุ ุปกรณน้นั ครบและสะดวก ตอการประดษิ ฐช ้นิ งาน 2) นําเหล็กยาวประมาณ 6 เมตร จาํ นวน 3 เสน มาตัดแบงตามขนาดใหมีความกวา ง 68 เซนตเิ มตร ยาว 102 เซนติเมตร ดานหนาสูง 118 เซนตเิ มตร ดา นหลงั สงู 134 เซนติเมตร เพ่ือทําฐานวาง แผงโซลารเซลล ใหม ลี กั ษณะเอียง 30องศา เวลารับแสงแดดใหหนั ทางทิศใต เพอื่ รับแสงแดด จาํ นวน 1 โครง รปู ภาพท่ี 7 ขน้ั ตอนการทาํ ขาตัง้ แผงโซลารเซลล 3) จากนัน้ ประกอบแผงวงจรไฟฟา มีลักษณะเปน แผงวงจรไฟฟา มีขนาดกวา ง 30 เซนติเมตร ยาว 43 เซนตเิ มตร มหี นา ทีเ่ ปนศูนยก ลางการควบคุมการทาํ งานของระบบตาง ๆ โดยแผงวงจรไฟฟา ประกอบ ไปดวยอปุ กรณ 6 ชนิด ไดแก เบรกเกอร (Breaker) DC ขนาด 200V 20A จํานวน 2 ตวั / โซลาร ชารจเจอร คอนโทรลเลอร (Solar Charge Controller) CMG-2420 12V/24V AUTOMATIC 20A จาํ นวน 1 ตัว / ไวไฟ คอนโทรล (Wifi Control) รุน Wi-Fi-RF จาํ นวน 3 ตัว / รเี ลย (Relay) 12V 30A จาํ นวน 2 ตวั / Router จาํ นวน 1 ตวั และเซ็นเซอรวัดความช้นื ในดนิ จํานวน 2 ตัว รปู ภาพท่ี 8 การประกอบแผงวงจรไฟฟา 4) จากนน้ั ประกอบแผงโซลนิ อยดวาลว คือ ระบบวาลวทใี่ ชพ ลงั งานไฟฟาในการควบคมุ การเปด ปด วาลว โดยใชพลังงานไฟฟาเขาไปที่ขดลวด เพอื่ บงั คบั ควบคุมแทง เหลก็ ท่ที ําหนา ที่เปน ลิ้นวาลว การเปดหรอื ปด เพ่ือใหน้ํา, อากาศ หรือกาซ ไหลผา น ขนาดกวา ง 25 เซนติเมตร ยาว 32 เซนตเิ มตร โดยแผงโซลินอยดว าลว ประกอบไปดว ยอปุ กรณ 2 ชนดิ ไดแ ก โซลินอยดว าลว กับ ปมนํ้า รูปภาพท่ี 9 การประกอบแผงโซลนิ อยดวาลว

211 0 5) ประกอบแผงรดนาํ้ โดยนําทอ PVC ขนาด 6 หุน ยาว 2 m จาํ นวน 5 เสน / ขนาด 4 หนุ ยาว 4 m จํานวน 1 เสน / ขอ ตอ PVC 3 ทาง ขนาด 6 หุน จาํ นวน 2 อัน และ 3 ทางต้ังฉาก PVC ขนาด 6 หุน จํานวน 8 อนั โดยนาํ สายยางใส ขนาด 8 ม. จาํ นวน 2 เสน ตอเขากบั สาย PU ขนาด 1.9 ม. จาํ นวน 2 เสน เพอ่ื นําไปตอกบั มินิสปรงิ เกอร (ใบ-I) จาํ นวน 4 อนั จากนน้ั ประกอบหลอดไฟเขยี ว 12V ขนาด 3 นว้ิ จํานวน 2 หลอด เพื่อแสดงสถานะการทํางานของแผงรดนํ้าตน ไมอัตโนมตั ิ รูปภาพท่ี 10 การประกอบแผงรดน้ํา 6) จากนนั้ ทดสอบระบบของแผงวงจรไฟฟา และแผงโซลินอยดวาลว 7) จากนน้ั ดาวนโ หลดแอปพลิเคชนั่ eWelink ลงบนเครอ่ื งสมารท โฟน จากนัน้ เช่ือมตอ แอปพลิเคช่นั eWelink กบั ไวไฟ คอนโทรล ทั้ง 3 ตวั 4. การสรางแบบประเมนิ หลงั จากไดพัฒนาโครงงานระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทติ ย ผานแอปพลเิ คชัน คณะผูจัดทาํ ไดนําขัน้ ตอน การสรางแบบประเมินคา และมาตรวดั เจตคตขิ องบุญธรรม กิจปรีดาบริสทุ ธ์ิ (2534, หนา 147-150) เปน แนวทางในการสรางแบบประเมิน ซง่ึ มีข้นั ตอน ดังนี้ 4.1 ศึกษาคนควา เอกสารงานวจิ ยั วารสารส่ิงพมิ พต าํ ราตางๆตลอดจนแบบรายงานประเมนิ ที่ เกี่ยวของ รวมทั้งความตองการและขอคดิ เหน็ ของนักศึกษา กศน.ตําบลนาปา อําเภอเมืองชลบุรี 4.2 นําขอมลู ทไี่ ดมาสรางเปนแบบประเมนิ การใชระบบรดนาํ้ อตั โนมตั ิดวยพลงั งานแสงอาทิตย ผา นแอปพลิเคชัน 4.3 นาํ แบบประเมินการใชระบบรดนา้ํ อตั โนมัติดว ยพลงั งานแสงอาทิตย ผานแอปพลเิ คชนั เพอื่ ตรวจสอบคณุ ภาพเคร่ืองมอื ดว ยการหาคาความเท่ียงตรง (Validity) ใหผเู ช่ยี วชาญ จํานวน 3 ทา น เพื่อ ตรวจสอบความเท่ียงตรงเชงิ เนอื้ หา สํานวนภาษาและหาดัชนีความสอดคลองระหวา งขอคําถามกบั วตั ถุประสงคเชิงพฤติกรรมหรือคณุ ลักษณะที่ตอ งการวดั ตามท่ีกําหนดไวในนิยาม ( Index of Item Objective Congruence : IOC) โดยผูเ ชยี่ วชาญทําการประเมนิ ตามเกณฑการใหคะแนน 3 ระดับ (สุวิมล ติรกานันท, 2551 : 165) คือ +1 = สอดคลอง 0 = ไมแ นใ จ -1 = ไมสอดคลอง จากนั้นทําการแทนคาในสตู รเพอื่ วเิ คราะหห าคา IOC โดยจะเลอื กขอคําถามท่ีมีคา ดชั นี ความสอดคลองต้ังแต .50 ขึ้นไป ดงั รายนามตอไปน้ี 1. นายไพรัตน เนอ่ื งเกตุ ผูอาํ นวยการชาํ นาญการพเิ ศษ กศน.อาํ เภอเมืองชลบรุ ี 2. นางสาวเอมอร แกว กลาํ่ ศรี ครชู ํานาญการพเิ ศษ กศน.อําเภอเมืองชลบุรี 3. นายอนุสิษฐ จิรพัชรศิรพร ปวส. ภาควชิ าอิเล็กทรอนิกส มหาวทิ ยาลัยเอเซียอาคเนย ผลการพิจารณาความสอดคลองของขอคําถามกบั วัตถปุ ระสงคเชงิ พฤติกรรมหรือคณุ ลักษณะที่ ตอ งการวดั และความเหมาะสมของรูปแบบการตอบสนองของแตละขอคําถามในแบบสอบถามพบวาคาดชั นี

212 1 ความสอดคลองIOC (Item – Objective Congruence Index) ของขอคําถามมีคา 0.67-1.00 1.00 นําแบบสอบถามมาปรบั ปรงุ แกไขตามทีผ่ เู ชยี่ วชาญเสนอแนะ และคัดเลือกขอคําถามตามจาํ นวนทเ่ี หมาะสม ในแตล ะตอนแลว นําแบบสอบถามทป่ี รับปรงุ แกไขแลว ไปทดลอง (TryOut) เพอื่ ทดสอบคณุ ภาพและความ เหมาะสมของแบบสอบถามกับนักศึกษา จาํ นวน 30 คน (นักศึกษา กศน.ตําบลบานสวน ตาํ บลใกลเ คยี ง) 4.4 นําระบบรดนํา้ อตั โนมัติดว ยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลเิ คชนั ใหผ ูเ ชยี่ วชาญประเมนิ เพือ่ หาคณุ ภาพโดยใหผเู ช่ียวชาญตอบแบบประเมินเพื่อนําไปวิเคราะหขอมูลและสรุปผล 5. การเก็บรวบรวมขอมลู การเก็บรวบรวมขอมลู ไดดําเนินการตามขัน้ ตอน ดังน้ี 1. คณะผูจัดทําช้ีแจงการกรอกลงแบบประเมินออนไลนโ ครงงานระบบรดน้าํ อตั โนมัตดิ วยพลงั งาน แสงอาทิตย ผานแอปพลเิ คชัน วันที่ 12 มถิ นุ ายน 2565 2. นักศกึ ษา กศน. กรอกแบบประเมินออนไลนโครงงานระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทติ ย ผานแอปพลิเคชนั วันท่ี 12-13 มิถุนายน 2565 3. ไดร ับขอมูลการกรอกแบบประเมนิ ออนไลนโครงงานระบบรดนาํ้ อัตโนมตั ิดวยพลงั งานแสงอาทิตย ผา นแอปพลิเคชัน จํานวน 97 ชดุ คิดเปนรอ ยละ 100 4. ตรวจสอบความสมบูรณของแบบประเมนิ โครงงานระบบรดน้าํ อัตโนมัตดิ ว ยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชนั เพื่อนาํ ไปวิเคราะหข อมลู ตอไป 6. การวิเคราะหขอ มูลและสถิตทิ ใ่ี ช การวเิ คราะหขอมูล ไดด ําเนนิ การตามข้ันตอน ดงั นี้ 1. นาํ แบบประเมินท่สี มบูรณมาใหค ะแนนตามน้ําหนักคะแนนแตละขอ และบนั ทึกขอ มูลลง คอมพิวเตอร เพือ่ วเิ คราะหขอมลู โดยใชโปรแกรมคํานวณสาํ เรจ็ รูปทางสถิติ 2. วเิ คราะหข อ มลู และนําผลการคาํ นวณมาวเิ คราะหข อมูลตามวตั ถุประสงคข องการวจิ ัยโดยใช โปรแกรมคาํ นวณสาํ เร็จรปู ทางสถติ ิ โดยดําเนนิ การวเิ คราะหขอมลู ใน 2 ลักษณะ คือ 2.1 ขอมูลเชิงปรมิ าณ โดยใชค าสถติ พิ ืน้ ฐาน ไดแก คารอ ยละ คาเฉลีย่ คา เบ่ียงเบนมาตรฐาน 2.2 ขอ มลู เชิงคุณภาพ โดยใชวธิ ีการวเิ คราะหเ นื้อหา (Content Analysis) ในลักษณะของการ สรุปขอ ความ และเพอ่ื ขยายรายละเอยี ดผลการวิเคราะหเ ชิงปรมิ าณใหสมบูรณย งิ่ ข้ึน 7. การแปลผล ไดดาํ เนนิ การตามขั้นตอนและไดรวบรวมขอ มลู จากแบบสาํ รวจสถิตทิ ี่ใชใ นการวเิ คราะห คือโดย กําหนดคา ลาํ ดับความสําคญั ของการประเมนิ ผลออกเปน 5 ระดบั ดงั น้ี มากทส่ี ุด ใหค ะแนน 5 มาก ใหคะแนน 4 ปานกลาง ใหค ะแนน 3 นอ ย ใหคะแนน 2 นอยทีส่ ุด ใหคะแนน 1

2 2 13 ในการแปลผล คณะผูจดั ทําไดใชเกณฑการพิจารณาจากคะแนนเฉลี่ยตามแนวคิดของ ลวน สายยศ และองั คณา สายยศ (2543,หนา 168) 4.51-5.00 หมายความวา มากท่สี ุด 3.51-4.50 หมายความวา มาก 2.51-3.50 หมายความวา ปานกลาง 1.51-2.50 หมายความวา นอ ย 1.00-1.50 หมายความวา นอยท่ีสุด นกั ศึกษา จะตองกรอกขอมูลตามแบบประเมินออนไลนโ ครงงานระบบรดน้าํ อตั โนมตั ดิ ว ยพลงั งาน แสงอาทิตย ผานแอปพลเิ คชัน เพื่อนําไปเปนขอมูล ปรับปรุง และโครงงานระบบรดนาํ้ อัตโนมตั ิดว ยพลงั งาน แสงอาทิตย ผา นแอปพลเิ คชัน ตอ ไป

3 2 บทที่ 4 ผลการศกึ ษา ในการวเิ คราะหขอมูลโครงงานระบบรดน้าํ อัตโนมัตดิ ว ยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชนั คณะผจู ดั ทําไดเ สนอการวเิ คราะหขอมูลตามลาํ ดบั ดังน้ี 1. สัญลกั ษณท ่ใี ชในการเสนอผลการวเิ คราะหขอมลู 2. ลาํ ดับขั้นในการเสนอผลการวิเคราะหขอมลู 3. ผลการวิเคราะหขอมูล สัญลักษณท ใ่ี ชใ นการเสนอผลการวเิ คราะหขอ มูล n แทน นกั ศึกษาหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ระดับ ประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ภาคเรยี นที่ 1 ปการศกึ ษา 2565 ของ กศน.ตาํ บลนาปา ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาํ เภอเมืองชลบุรี จังหวดั ชลบรุ ี ลําดับขั้นในการเสนอผลการวิเคราะหข อ มลู คณะผูจ ัดทําไดว ิเคราะหข อมูลโดยใชโ ปรแกรมคํานวณสําเร็จรูปและนําเสนอผลการวิเคราะหข อมูล ตามลําดบั ดังน้ี 1. การทดสอบโครงงานระบบรดนาํ้ อัตโนมตั ิดวยพลังงานแสงอาทติ ย ผานแอปพลเิ คชนั 2. การใชโครงงานระบบรดน้ําอตั โนมตั ดิ ว ยพลงั งานแสงอาทิตย ผา นแอปพลิเคชัน มีจํานวน 4 ตอน ดงั น้ี ตอนท่ี 1 ขอมูลทัว่ ไปของผตู อบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามตัวแปร เพศ ระดบั การศกึ ษา วัตถุประสงคการใชระบบรดนา้ํ อตั โนมตั ดิ วย พลงั งานแสงอาทิตย ผา นแอปพลิเคชัน วิเคราะหหาคารอยละ ตอนท่ี 2 คุณภาพของโครงงานระบบรดน้ําอัตโนมัตดิ ว ยพลังงานแสงอาทติ ย ผา นแอปพลิเคชัน มที ้งั หมด 4 ขอ ดวยการวิเคราะหหาคาเฉลย่ี และคา เบ่ยี งเบนมาตรฐาน ตอนท่ี 3 ความพงึ พอใจตอโครงงานระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวยพลงั งานแสงอาทิตย ผา นแอปพลิเคชนั มที งั้ หมด 11 ขอ ดวยการวิเคราะหห าคาเฉลีย่ และคา เบ่ียงเบนมาตรฐาน ตอนท่ี 4 ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะ โครงงานระบบรดนา้ํ อัตโนมตั ิดว ยพลงั งานแสงอาทติ ย ผานแอปพลิเคชนั ผลการวิเคราะหข อ มูล 1. การทดสอบโครงงานระบบรดน้ําอัตโนมตั ิดว ยพลังงานแสงอาทิตย ผา นแอปพลเิ คชนั จากการทดสอบการทํางานจริงของโครงงานระบบรดน้ําอัตโนมตั ดิ ว ยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชนั น้ี สามารถทาํ งานไดจ ริงโดยใชโ ซลารเ ซลล เรม่ิ จากการเปดแผงวงจรไฟฟาแลว เชื่อมตอ แอปพลิเคชนั บนสมารท โฟนเขากบั ตวั ไวไฟ คอนโทรล ท้ัง 3 เครือ่ ง (คอนโทรลตวั ท่ี 1 และคอนโทรลตวั ที่ 2 และคอนโทรลตัวที่ 3) จากนั้นเครื่องสมารทโฟนจะแสดงผลหนาจอพรอมออนไลนการทดสอบมจี าํ นวน 3 ครั้ง และบันทึกเวลาในการทดสอบดงั นี้

4 215 ตารางท่ี 2 แสดงการทดสอบการทาํ งานของโครงงานระบบรดน้ําอัตโนมตั ิดว ยพลงั งานแสงอาทติ ย ผา นแอปพลเิ คชนั ระยะทางในการทดสอบ ระยะเวลา ครั้งที่ ระบบแอปพลิเคช่ันบน สถานท่ีในการทดสอบระบบแอปพลเิ คชัน่ การต้งั ระบบ สมารทโฟน บนสมารทโฟน เปด-ปดน้าํ (กโิ ลเมตร) (ผา น/ไมผาน) 1 0.015 กศน.ตาํ บลนาปา อ.เมืองชลบุรี จ.ชลบุรี 10 นาที / ผา น 2 1.300 วดั นาเขอื่ น ต.นาปา อ.เมืองชลบุรี จ.ชลบรุ ี 20 นาที / ผา น 3 13.00 วดั เมืองใหม ต.เสม็ด อ.เมืองชลบรุ ี จ.ชลบรุ ี 60 นาที / ผาน จากตารางที่ 2 พบวา โครงงานระบบรดนาํ้ อัตโนมัติดว ยพลังงานแสงอาทติ ย ผา นแอปพลิเคชนั ทํางานได ไมม ผี ลตอระยะทาง สถานท่ี และระยะเวลาการต้ังระบบเปด -ปด นํา้ 2. การใชโ ครงงานระบบรดนํ้าอัตโนมตั ิดว ยพลงั งานแสงอาทติ ย ผานแอปพลิเคชัน ตอนที่ 1 ขอ มลู ท่ัวไปของผตู อบแบบสอบถาม ตารางที่ 3 แสดงคา รอยละของผูตอบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามเพศ เพศ ชาย หญิง รายการ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ โครงงานระบบรดนํา้ อัตโนมัติดว ยพลังงานแสงอาทติ ย 60 49.59 61 50.41 ผานแอปพลเิ คชนั จากตารางท่ี 3 พบวา การใชโ ครงงานระบบรดน้าํ อัตโนมตั ดิ วยพลงั งานแสงอาทติ ย ผา นแอปพลิเคชนั จําแนกตามเพศ เปนชาย 60 คน คดิ เปน รอ ยละ 49.59. เปนหญงิ 61 คิดเปน รอยละ 50.41 ตารางที่ 4 แสดงคา รอยละของผตู อบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามระดบั การศึกษา ระดับการศกึ ษา ประถมศกึ ษา มธั ยมตน มัธยมปลาย รายการ จาํ นวน รอ ยละ จาํ นวน รอ ยละ จํานวน รอ ยละ โครงงานระบบรดนาํ้ อัตโนมัติดวย 4 3.31 46 38.01 71 58.68 พลงั งานแสงอาทติ ย ผา นแอปพลิเคชัน จากตารางที่ 4 พบวาการใชโ ครงงานระบบรดน้าํ อัตโนมตั ิดวยพลงั งานแสงอาทิตย ผา นแอปพลเิ คชัน แบง ออกตามระดับการศกึ ษา ดังน้ี ระดับประถมศึกษาจาํ นวน 4 คน คดิ เปนรอยละ 3.31 ระดับมัธยมศึกษา ตอนตน จํานวน 46 คน คดิ เปน รอ ยละ 38.01 และระดับมัธยมตอนปลายจาํ นวน 71 คน คิดเปน รอ ยละ 58.68

162 5 ตอนที่ 2 คณุ ภาพของโครงงานระบบรดน้ําอัตโนมตั ิดวยพลงั งานแสงอาทติ ย ผานแอปพลิเคชัน ตารางท่ี 5 คณุ ภาพของโครงงานระบบรดน้ําอตั โนมตั ดิ วยพลังงานแสงอาทติ ย ผา นแอปพลิเคชนั รายการ ระดบั ความคดิ เหน็ x S.D. คณุ ภาพ 1.สามารถสั่งปมุ การรดนาํ้ ไดอยา งถกู ตอง 5.00 0.00 มากที่สุด 2.เปนการนําเทคโนโลยีใชส ่งั การควบคุมการเปด -ปด นํ้าทํา 5.00 0.00 มากท่ีสดุ ใหผูใชงานงายและสะดวกสบายมากย่ิงข้นึ 3.สามารถใชงานระบบหรอื ส่ังการผานแอปพลเิ คชันไดจาก 5.00 0.00 มากทีส่ ดุ ทกุ ที่ ทุกเวลาท่มี ีการเช่อื มตออินเทอรเ นต็ 4.ในอนาคตจะชว ยใหเกษตรกรมกี ารจัดการที่ดีขน้ึ 4.67 0.47 มากท่สี ดุ ประหยดั เวลาและแรงงานในการดูแลผานแอปพลเิ คชันได 4.92 0.12 มากทสี่ ุด คาเฉล่ยี จากตาราง 5 พบวาผลการประเมินคุณภาพโครงงานระบบรดน้ําอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน มีประโยชนตอ นักศึกษา พบวา ผูเชีย่ วชาญมคี วามคิดเห็นเกย่ี วกับคุณภาพของระบบโดยรวม ในระดับที่มากท่ีสุด ที่คาเฉลี่ยเทากับ 4.92 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐานมีคาเทากับ 0.12 ความสามารถส่ังปุมการ รดนํ้าไดอ ยางถูกตอง เปนการนําเทคโนโลยีใชส่ังการควบคุมการเปด-ปดน้ําทําใหผูใชงานงายและสะดวกสบาย มากยิ่งข้ึน และสามารถใชงานระบบหรือสั่งการผานแอปพลิเคชันไดจากทุกท่ี ทุกเวลาที่มีการเช่ือมตอ อินเทอรเน็ต โดยมีความคิดเห็นในระดับมากที่สุด ที่คาเฉล่ียเทากับ 5.00 และ สวนเบ่ียงเบนมาตรฐานมีคา เทากับ 0.00 รองลงมาพบวา ในอนาคตจะชวยใหเกษตรกรมีการจัดการที่ดีข้ึน ประหยัดเวลาและแรงงานใน การดูแลผานแอปพลิเคชันได อยูในระดับความคิดเห็นมากที่สุดท่ีคาเฉลี่ย 4.67 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 0.47 เรยี งตามลําดบั ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจตอโครงงานระบบรดนา้ํ อตั โนมตั ิดว ยพลังงานแสงอาทิตยผาน แอปพลิเคชนั ตารางท่ี 6 ความพงึ พอใจตอ โครงงานระบบรดน้าํ อัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทติ ย ผา นแอปพลิเคชัน รายการประเมินความพงึ พอใจ n = 97 x S.D. ความพงึ พอใจ ดานโครงสราง 1.วัสดุอปุ กรณท่ีใชส รา งระบบรดน้ําอตั โนมตั ฯิ 4.68 0.47 มากทส่ี ดุ 2. ความแขง็ แรงของระบบรดนา้ํ อตั โนมตั ฯิ 4.76 0.43 มากท่สี ุด 3. ขนาดของระบบรดนํ้าอัตโนมัตฯิ 4.78 0.42 มากที่สุด 4. สามารถปรับเลือ่ นขน้ึ ลงไดตามความตองการของระบบรดนํา้ อัตโนมตั ิฯ 4.79 0.41 มากทีส่ ุด 4.75 0.05 มากทีส่ ุด คา เฉล่ยี

6 2 17 รายการประเมนิ ความพึงพอใจ n = 97 x S.D. ความพึงพอใจ ดานการใชง าน 4.92 0.28 มากทส่ี ุด 1. ความสะดวกในการใชง านของระบบรดนา้ํ อัตโนมัติฯ 4.90 0.30 มากทส่ี ดุ 2. ความปลอดภัยของระบบรดนํา้ อตั โนมตั ฯิ 4.94 0.23 มากทสี่ ดุ 3. งายตอ การควบคมุ การทาํ งานระบบรดนา้ํ อตั โนมตั ิฯ 4.93 0.26 มากท่ีสดุ 4. สามารถใชงานไดท้ัง 2 ระบบ (Manual,Auto) 4.92 0.02 มากทสี่ ุด คา เฉลี่ย 4.79 0.41 มากที่สดุ ดานความคมุ คา 4.98 0.13 มากทีส่ ุด 1. ระยะเวลาทใี่ ชในการทําระบบรดนํา้ อัตโนมัติฯ 4.66 0.48 มากที่สดุ 2. ระบบรดนาํ้ อัตโนมตั ิฯ สามารถใชงานไดจรงิ 4.72 0.45 มากทีส่ ดุ 3. ราคาวัสดอุ ปุ กรณในการทําระบบรดนา้ํ อัตโนมตั ิฯ 4.96 0.20 มากทส่ี ดุ 4. ลดเวลาในการรดนา้ํ ดว ยตนเอง 4.82 0.33 มากที่สดุ 5. ความประหยดั คาใชจ าย การใชไฟฟา ภายในบาน 4.83 0.09 มากที่สดุ คา เฉล่ยี คาเฉลีย่ โดยรวม จากตาราง 6 พบวา ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอโครงงานระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวยพลังงาน แสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน โดยรวมพบวา มีระดับความพึงพอใจในระดับมากท่ีสุด ท่ีคาเฉลี่ยเทากับ 4.83 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.09 โดยที่ดา นการใชงานมีความพึงพอใจในระดับท่ีมากที่สุด ที่คาเฉลี่ยเทากับ 4.92 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.02 รองลงมาดานความคุมคามีความพึงพอใจในระดับท่ีมากที่สุด ที่ คา เฉล่ียเทากบั 4.82 สว นเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.33 ดานโครงสรางมคี วามพงึ พอใจในระดับท่ีมากที่สดุ ที่ คา เฉล่ียเทากับ 4.75 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐานเทา กบั 0.05 เรยี งตามลาํ ดับ ดานโครงสราง พบวา สามารถปรับเล่ือนข้ึนลงไดตามความตองการของระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวย พลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน มีระดับความพึงพอใจในระดับมากท่ีสุด ท่ีคาเฉลี่ยเทากับ 4.79 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐานเทากับ 0.41 รองลงมาขนาดของระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย ผาน แอปพลิเคชัน มีระดับความพึงพอใจในระดับมากท่ีสุด ที่คาเฉล่ียเทากับ 4.78 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.42 ความแข็งแรงของระบบรดนา้ํ อัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย ผา นแอปพลิเคชัน มีระดับความพึงพอใจ ในระดับมากท่ีสุด ที่คาเฉล่ียเทากับ 4.76 สว นเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.43 วัสดุอุปกรณที่ใชสรางระบบรด น้ําอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน มีความแข็งแรง มีระดับความพึงพอใจในระดับมาก ทส่ี ุด ทีค่ าเฉล่ยี เทา กบั 4.68 สวนเบ่ยี งเบนมาตรฐานเทา กบั 0.47 เรียงตามลาํ ดบั ดานการใชงาน พบวา งายตอการควบคุมการทํางานระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชันมีระดับความพึงพอใจในระดับมากท่ีสุด ท่ีคาเฉล่ียเทากับ 4.94 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 0.23 รองลงมาสามารถใชง านไดท้ัง 2 ระบบ (Manual,Auto) มีระดับความพึงพอใจในระดับมากที่สุด ท่ีคาเฉลี่ยเทากับ 4.93 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.26 ความสะดวกในการใชงานของระบบรดนํ้า

2 18 7 อัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน มีระดับความพึงพอใจในระดบั มากที่สุด ท่ีคาเฉลี่ยเทากับ 4.92 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.28 ความปลอดภัยของระบบรดน้ําอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน มีระดับความพึงพอใจในระดับมากที่สุด ที่คาเฉลี่ยเทากับ 4.76 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทา กบั 0.43 เรียงตามลาํ ดบั ดานความคุมคา พบวาระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน สามารถใชงานไดจริง มีระดับความพึงพอใจในระดับมากท่ีสุด ท่ีคาเฉล่ียเทากับ 4.98 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 0.13 รองลงมาความประหยัดคาใชจาย การใชไฟฟาภายในบานมีระดับความพึงพอใจในระดับมาก ท่สี ุด ทีค่ า เฉลี่ยเทากับ 4.96 สว นเบ่ยี งเบนมาตรฐานเทากบั 0.20 ระยะเวลาทใี่ ชในการทําระบบรดน้ําอัตโนมัติ ดวยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน มีระดับความพึงพอใจในระดับมากท่ีสุด ท่ีคาเฉลี่ยเทากับ 4.79 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐานเทากับ 0.41 ลดเวลาในการรดน้ําดวยตนเองมีระดับความพึงพอใจในระดับมากท่ีสุดที่ คา เฉลยี่ เทากับ 4.72 สวนเบีย่ งเบนมาตรฐานเทา กบั 0.45 ราคาวสั ดุอุปกรณในการทาํ ระบบรดน้ําอัตโนมัตดิ วย พลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน มีระดับความพึงพอใจในระดับมากที่สุด ท่ีคาเฉล่ียเทากับ 4.66 สว นเบ่ียงเบนมาตรฐานเทา กับ 0.48 เรียงตามลําดับ

8 2 บทท่ี 5 สรุปผลและอภิปรายผล การจัดทําโครงงานระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน มีวัตถุประสงค เพ่ือ 1) พัฒนาระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน 2) เพ่ือศึกษาประสิทธิภาพการ ควบคุมการทํางานของระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน และ 3) เพ่ือศึกษา ความพึงพอใจของนักศึกษา กศน.ตําบลนาปา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอ เมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ที่มีตอระบบรดน้ําอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน สรุปผลการ อภิปรายและขอเสนอแนะ ดงั รายละเอียดตอไปน้ี 1. สรปุ ผลการศกึ ษา 1.1 ผลการประเมินคุณภาพการจัดทําโครงงานระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย ผาน แอปพลิเคชัน พบวา ผูเชี่ยวชาญมีความคดิ เห็นตอคุณภาพการจัดทําโครงงานระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวยพลังงาน แสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน โดยรวมมีระดับความคิดเห็นตอคุณภาพท่ีมากที่สดุ ท่ีคาเฉลี่ยเทา กบั 4.92 สวน เบ่ียงเบนมาตรฐานเทากับ 0.12 1.2 ผลการประเมินความพึงพอใจการจัดทําโครงงานระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน พบวา นักศึกษาโดยรวมมีความพึงพอใจตอโครงงานระบบรดน้ําอัตโนมัติดวยพลังงาน แสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน มีระดับความพึงพอใจท่ีมากท่ีสุด ท่ีคาเฉลี่ยเทากับ 4.83 สวนเบี่ยงเบน มาตรฐานเทา กับ 0.09 โดยพบวา คุณภาพดา นการใชง าน มีระดับความคิดเหน็ ท่ีมากท่สี ุด ที่คา เฉล่ีย 4.92 สวน เบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.02 รองลงมาพบวาคุณภาพดานความคุมคา มีระดับความคิดเห็นท่ีมากท่ีสุดท่ีคาเฉล่ีย 4.82 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.33 และดานโครงสราง มีระดับความคิดเห็นที่มากที่สุด ท่ีคาเฉล่ีย 4.75 สวน เบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.05 2. อภิปรายผล ผลการจดั ทําโครงงานระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทติ ย ผานแอปพลิเคชนั คณะผูจัดทํา พัฒนาข้ึน พบวา 2.1 ความคิดเห็นของผูเช่ียวชาญที่มีตอคุณภาพของโครงงานระบบรดนํ้าอัตโนมัติดวยพลังงาน แสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน ผูเชี่ยวชาญโดยรวมมีความคิดเห็นตอคุณภาพในระดับที่มากที่สุด ท่ีคาเฉล่ีย เทา กับ 4.92 คาเบย่ี งเบนมาตรฐานเทากับ 0.12 2.2 ความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีตอโครงงานระบบรดน้ําอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย ผาน แอปพลิเคชัน พบวา โดยรวมมีความพึงพอใจในระดับที่มากที่สุดที่คาเฉล่ียเทากับ 4.83 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.09 โดยที่ดานการใชงาน นักศึกษามีความพึงพอใจในระดับท่ีมากท่ีสุดที่คาเฉล่ีย 4.92 สวนเบ่ียงเบน มาตรฐาน 0.02 จากผลการจดั ทําโครงงานระบบรดน้ําอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชนั ดังกลาว ซึง่ สอดคลองกับงานวจิ ัยของอดิสรณ ปรชี า และคณะ เร่ือง โรงเพาะเห็ดระบบอตั โนมัติชุมชนบานวังผา ตําบล แมจะเรา อําเภอแมระมด จังหวัดตาก ซึ่งพบวา เกษตรกรชุมชนบานวังผาผูใชโรงเพาะเห็ดระบบอัตโนมัติ ชุมชนบานวังผา มีความพึงพอใจอยูในระดับมากที่สุด ( x =4.47, S.D.=0.58) และสอดคลองกับงานวิจัยของ ปวนั นพัสตร ศรีทรงเมอื งและคณะ เรอื่ ง การพัฒนารูปแบบระบบควบคุมฟารมอจั ฉริยะในโรงเรยี นปลูกพชื โดย ใชคอมพิวเตอรแบบฝง ซึ่งพบวา คุณภาพของระบบควบคุมฟารมอัจฉริยะในโรงเรียนปลูกพืชโดยใช

2 20 9 คอมพิวเตอรแบบฝงจากการทดสอบของผูเช่ียวชาญอยูในระดับมากที่สุด ( x =4.64, S.D.=0.18) ผูใชมีความ พึงพอใจอยูในระดับพงึ พอใจมากทสี่ ุด ( x =4.60, S.D.=0.04) 3. ขอ เสนอแนะ 3.1 ขอ เสนอแนะทว่ั ไป 3.1.1 ระบบรดนํ้ายังไมสามารถส่ังควบคุมปรับระดับน้ําไดปริมาณ ท่ีพืชตองการได 3.1.2 ระบบรดนาํ้ ยงั ไมม กี ารบันทึกและรายงานผล เพ่ือเอามาวิเคราะหข อมลู ได 3.2 ขอ เสนอแนะในการทําโครงงานตอ ไป 3.2.1 ควรพฒั นาใหร ะบบรดนาํ้ สามารถปรบั ระดบั ปรมิ าณการใหน ํ้าทีช่ นิดของพืชตองการ 3.2.2 ควรพฒั นาใหร ะบบรดนาํ้ มกี ารบันทกึ ผลและรายงานผลเพื่อนําขอมลู มาวิเคราะห

0 3 บรรณานุกรม บญุ ชมศรสี ะอาด.(2545).การวจิ ัยเบอื้ งตน . พิมพครง้ั ที่ 7. กรงเทพฯ : สุวีรยิ าสาสน . ปวันนพัสตร ศรีทรงเมืองและคณะ (2563). การพัฒนารูปแบบระบบควบคมุ ฟารมอจั ฉรยิ ะในโรงเรียนปลูก พืชโดยใชคอมพิวเตอรแบบฝง [ออนไลน] . เขาถึงไดจาก: https://research.rmutsb.ac.th/fullpaper/2563/research.rmutsb-2563- 20200805134658195.pdf (สืบคน เม่ือ 13 มิถนุ ายน 2565). พจมาลย สอนจอย. (2563). บทบาทหนาท่ีภารกจิ กศน.ตําบล. [ออนไลน] . เขาถงึ ไดจ าก: https://nfenasanoon.thai.ac/home/info/1/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0 %E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4 (สบื คน เมื่อ 6 มิถนุ ายน 2565). มหาวทิ ยาลยั แมโจ. (2559). องคป ระกอบของระบบสารสนเทศ [ออนไลน] . เขาถึงไดจ าก: http://cslabs.jowave.com/MIS/Book/group2/2_2.html (สบื คนเมื่อ 12 มิถุนายน 2565). ลว น สายยศและอังคณา สายยศ. (2543). เทคนคิ การวิจยั ทางการศกึ ษา. พิมพครั้งที3่ . กรงุ เทพฯ: สุวีริยาสาสน. วิกิพเี ดยี สารานุกรมเสรี. (2554). พลงั งานแสงอาทติ ย [ออนไลน]. เขาถงึ ไดจาก: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E 0%8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8 % AD%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B9%8C (สบื คนเมอื่ 12 มิถุนายน 2565). อดสิ รณ ปรีชา และคณะ (2564). โรงเพาะเหด็ ระบบอัตโนมัติชุมชนบา นวงั ผา [ออนไลน] . เขาถงึ ไดจ าก: https://maesot.kpru.ac.th/wp-content/uploads/2021/03/%E0%B9%82%E0%B8% A3%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B9%80% E0%B8%AB%E0%B9%87%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A% E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B9%82%E0%B8% 99%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8% 8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B9%89% E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%9C% E0%B8%B2.pdf (สบื คน เม่ือ 13 มิถนุ ายน 2565). GPSC. (2564). พลังงานสะอาดและพลงั งานทางเลือก[ออนไลน] . เขาถงึ ไดจาก: https://shorturl.asia/13JGx. (สืบคนเม่ือ 12 มิถุนายน 2565). Jasmine Gadget. (2564). eWeLink / Sonoff – Smart Home [ออนไลน] . เขาถึงไดจาก: https://jasminegadget.wordpress.com/ewelink/ (สืบคน เม่ือ 12 มิถุนายน 2565).

3 1 Niran Kasri. (2562). Sonoff คืออะไร Sonoff อุปกรณสวิตชควบคุมไรสายสั่งงานผาน อินเตอรเน็ต [ออนไลน] . เขา ถึงไดจาก: https://www.blogsdit.com/2019/06/sonoff.html (สบื คนเม่ือ 12 มิถุนายน 2565). Smart Garden. (2557). อปุ กรณห ลกั ๆ ของระบบรดน้ําตน ไมอัตโนมตั ิ [ออนไลน] . เขาถึงไดจาก: https://www.smartgardenthailand.com/14941661/%E0%B8%D%E0%B8%B8%E0% B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8% AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B9%86- E0%B8%82%E0%B8%AD%E0% B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8% 94%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99% E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0% B9% 82%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4 (สบื คนเมื่อ 14 มิถุนายน 2565).

3 2 ภาคผนวก

3 3 แบบสอบประเมินความพงึ พอใจ โครงงานระบบรดนาํ้ อัตโนมัตดิ วยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชนั ระหวา งเดือน มิถนุ ายน 2565 – กรกฎาคม 2565 สถานที่จดั กศน.ตําบลนาปา อําเภอเมอื งชลบรุ ี จงั หวัดชลบรุ ี คําชแ้ี จง แบบประเมินชุดนจ้ี ดั ทาํ ขน้ึ วตั ถปุ ระสงคเพ่ือ 1. พฒั นาระบบรดนํ้าอตั โนมตั ิดวยพลงั งานแสงอาทติ ย ผา นแอปพลเิ คชัน 2. เพ่อื ศึกษาประสิทธิภาพการควบคมุ การทาํ งานของระบบรดน้ําอตั โนมัติดว ยพลงั งานแสงอาทิตย ผา นแอปพลิเคชัน 3. เพื่อศึกษาความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษา กศน.ตําบลนาปา ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอเมืองชลบุรี จงั หวดั ชลบรุ ี ที่มตี อระบบรดน้ําอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน จงึ ขอใหเพื่อนนกั ศกึ ษาชวยกรณุ ากรอกแบบประเมินตามความจริง ขอขอบคุณเพ่ือนๆที่ใหค วาม รวมมอื ไว ณ โอกาสน้ีดว ย แบบประเมินนี้แบง ออกเปน 3 ตอน ไดแ ก 1. ขอ มูลทว่ั ไปของผตู อบแบบสอบถาม 2. ความพึงพอใจตอโครงงานระบบรดนํา้ อัตโนมตั ิดวยพลงั งานแสงอาทติ ย ผานแอปพลิเคชนั 3. ขอเสนอแนะ สวนท่ี 1 ขอ มลู ทั่วไป เพศ : ชาย หญงิ ระดบั การศกึ ษา : ประถมศกึ ษา มัธยมศกึ ษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย สว นท่ี 2 ความพึงพอใจตอ โครงงานระบบรดนํ้าอัตโนมัตดิ ว ยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลิเคชัน กรุณาเลอื กชองตามที่เพ่ือนนักศึกษาเหน็ วา ถูกตองมากท่สี ดุ เพียงหนึ่งชอ ง ระดับ 5 = มากท่สี ดุ ระดบั 4 = มาก ระดับ 3 = ปานกลาง ระดบั 2 = นอ ย ระดบั 1 = นอยทสี่ ุด รายการ ระดับความพึงพอใจ 5 4 321 ดา นโครงสราง 1. วสั ดุอุปกรณท ี่ใชสรางระบบรดนํ้าอตั โนมัติฯ 2. ความแข็งแรงของระบบรดนํา้ อัตโนมัติฯ 3. ขนาดของระบบรดน้ําอัตโนมตั ิฯ 4. สามารถปรับเลื่อนขึ้นลงไดตามความตองการของระบบรดนํา้ อัตโนมตั ฯิ ดานการใชงาน 1. ความสะดวกในการใชง านของระบบรดนํ้าอัตโนมตั ิฯ 2. ความปลอดภัยของระบบรดน้าํ อตั โนมตั ฯิ 3. งา ยตอ การควบคุมการทาํ งานระบบรดน้ําอัตโนมัตฯิ 4. สามารถใชง านไดทั้ง 2 ระบบ (Manual,Auto)

4 3 ดา นความคมุ คา 1. ระยะเวลาท่ีใชในการทําระบบรดนํา้ อัตโนมตั ฯิ 2. ระบบรดนํา้ อัตโนมัติฯ สามารถใชง านไดจริง 3. ราคาวสั ดุอุปกรณในการทําระบบรดนํ้าอัตโนมัติฯ 4. ลดเวลาในการรดน้ําดว ยตนเอง 5. ความประหยัดคา ใชจาย การใชไ ฟฟา ภายในบาน สว นที่ 3 ขอ เสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………

5 3 แบบประเมินโครงงานระบบรดนา้ํ อตั โนมตั ดิ ว ยพลังงานแสงอาทิตย ผานแอปพลเิ คชนั

6 3 การวิเคราะหคา ดัชนีความเทย่ี งตรง (IOC) แบบสอบถามเพอ่ื การศกึ ษา ตารางท่ี 7 คาดชั นีความเทย่ี งตรง (IOC) แบบสอบถามเพ่อื การศึกษา ตอนท่ี 3 ตอนที่ 2 ผลการตรวจสอบของผเู ช่ียวชาญ รวม IOC ขอท่ี คนที่ 1 คนท่ี 2 คนท่ี 3 ความคดิ เหน็ การใชร ะบบรดนา้ํ อตั โนมัติดวยพลงั งานแสงอาทิตย ผา นแอปพลเิ คชนั 1. +1 0 +1 2 0.67 2. +1 +1 +1 3 1 3. +1 +1 +1 3 1 4. +1 +1 +1 3 1 5. 0 +1 +1 2 0.67 6. +1 +1 +1 3 1 7. +1 +1 +1 3 1 8. +1 +1 +1 3 1 9. +1 +1 0 2 0.67 10. +1 +1 +1 3 1 11. +1 0 +1 2 0.67 12. +1 +1 +1 3 1 13. +1 +1 +1 3 1 14. +1 +1 +1 3 1

3 7

3 8


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook