Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จังหวัดชุมพร_compressed_compressed

จังหวัดชุมพร_compressed_compressed

Published by ouanku52, 2021-10-29 03:53:01

Description: จังหวัดชุมพร_compressed_compressed

Search

Read the Text Version

คำนำ หนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ เล่มนี้ จดั ทำขนึ้ เพอ่ื นำเสนอข้อมูลท่ีผ้จู ัดทำไดร้ วบรวมเกีย่ วกับจังหวัดชุมพร เพ่ือใหไ้ ด้ ศกึ ษำหำควำมรู้ เพ่ือประโยชนใ์ นกำรเรียนกำรสอน ดิฉนั ต้องขอขอบคุณผศ.ดร. ไพบูลย์ โพธ์หิ วงั ประสิทธ์ิ ทใี่ ห้นกั ศกึ ษำทำ e-book เพื่อนำควำมรทู้ ่ไี ด้จำก e-book ทท่ี ำเองนำไปใช้ในปัจจบุ นั และอนำคตเพือ่ ให้ลูกหลำนไดส้ บื สำนต่อไป นำงสำว กัลยำ หอมชน่ื ผู้จัดทำ

สำรบัญ หนำ้ เรอื่ ง 1 2 ประวัตคิ วำมเปน็ มำของจงั หวัดชุมพร 5 ภูมศิ ำสตรข์ องจังหวดั 8 สญั ลกั ษณป์ ระจำจงั หวัด 8 สภำพท่วั ไปของจังหวดั 9 สภำพทำงเศรษฐกจิ 10 ทรัพยำกรทำงธรรมชำติ 11 ทรพั ยำกรดินและที่ดนิ 12 แผนท่จี งั หวดั ชมุ พร 14 โครงสร้ำงสำนักงำนจงั หวัด โครงสรำ้ งของจังหวดั

1 ประวตั คิ วำมเป็นมำของจงั หวดั ชมุ พร จังหวัดชุมพรมีช่ือปรำกฏตั้งแต่ปีพุทธศักรำช 1098 ในตำนำนพระธำตุเมืองนครศรีธรรมรำชฉบับของหอสมุด แห่งชำติ โดยมีควำมวำ่ เมืองชุมพรนัน้ มีฐำนะเป็นเมืองสิบสองนักษัตรของนครศรธี รรมรำช ใช้รูปแพะเป็นตรำ เมือง เป็นเมืองหน้ำด่ำนฝ่ำยเหนือเพรำะอยู่ทำงตอนบนของภำคใต้ กำรเดินทำงโดยทำงบกจำเป็นต้องผ่ำน เมืองชุมพร ในปีพุทธศักรำช 1997 แผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนำถปรำกฏในกฎหมำยตรำสำมดวงว่ำ เมืองชุมพรเป็นเมืองตรีอำณำจักรฝ่ำยใต้ของกรุงศรีอยุธยำจนถึงพุทธศักรำช 2459 จึงมีฐำนะเป็นจังหวัดใน มณฑลสรุ ำษฏรธ์ ำนี คำว่ำ “ชุมพร” ตำมอกั ษรแยกได้เปน็ 2 คำ คอื คำว่ำ “ชุม” ซึ่งมีควำมหมำยว่ำ รวม,ชุก,มำก,รวมกันอยู่ และ คำว่ำ “พร” ซึ่งมีควำมหมำยวำ่ ของดี,ของท่ีเลือกเอำ,ของประเสริฐ ดังนั้นคำว่ำชุมพร ถ้ำแปลตำมตัวอักษร ก็ จะไดค้ วำมหมำยวำ่ เปน็ ทรี่ วบรวมของประเสริฐ แต่ช่อื เมืองชมุ พรนน้ั ไม่ได้มีควำมหมำยตำมตวั อักษร ประกำรแรก เชื่อกันว่ำชุมพรน้ันมำจำกคำว่ำ “ประชุมพล” หรือ “ชุมนุมพล” ซึ่งแปลได้ว่ำ “รวมกำลัง” เนื่องจำกในสมัยก่อนชุมพรเป็นเมืองหน้ำด่ำนทำงภำคใต้ และกองทัพมักจะมำต้ังค่ำยอยู่ท่ีเมืองเมืองชุมพร ดังน้ันไม่ว่ำจะเป็นกำรรบกับพม่ำหรือปรำบกบฏภำยในรำชอำณำจักรก็ตำม เม่ือยกทัพหลวงมำคร้ังใด เมือง ชุมพรก็จะต้องเป็นทีช่ ุมนุมพลหรอื ชุมนุมกองทัพเสมอ คำว่ำชุมพรจึงเป็นไปได้ว่ำเกดิ จำกกำรเรียกเพ้ียนมำจำก คำว่ำประชุมพล เพรำะคนไทยทำงใต้ชอบพดู คำส้ันๆ จึงตดั คำว่ำประออกเสีย เหลอื แค่ “ชุมพล” และคำว่ำพล ก็เพ้ียนกลำยมำเป็นคำว่ำ “พร” แทน ซึ่งตำมธรรมดำ ช่ือเมืองหรือตำบลมักจะถูกเรียกเพ้ียนไปจำกเดิมเสมอ อย่ำงไรก็ดีเมืองชุมพรนับว่ำเป็นเมืองที่สำคัญทำงยุทธศำสตร์มำต้ังแต่สมัย โบรำณ ดังนั้นจำกคำว่ำประชุมพล จงึ มีควำมหมำยตรงกับประวัตศิ ำสตร์ของเมอื งท่ีว่ำ เป็นเมืองสำคัญทำงยทุ ธศำสตร์ ประกำรท่ีสอง ในกำรเดินทำงไปรบทพั จับศึกของแม่ทัพนำยกองต้ังแตส่ มัยโบรำณ เม่ือจะเคลื่อนพลจะต้องทำ พิธีส่งทัพโดยกำรบวงสรวงส่ิงศักด์ิสิทธ์ิขอให้ได้ รับชัยชนะในกำรสู้รบ เพื่อเป็นกำรบำรุงขวัญทหำร ในสถำนท่ี ชุมนุมเพื่อรับพรเช่นน้ีจึงตรงกับควำมหมำยชุมนุมพร หรือประชุมพร ซ่ึงท้ังสองคำน้ีอำจเป็นต้นเหตุของคำว่ำ “ชมุ พร” เชน่ เดยี วกนั ประกำรท่ีสำม เนื่องจำกที่ตั้งเมืองเดิมนั้นอยู่ทำงฝ่ังขวำของคลองชุมพร ซึ่งมีต้นไม้ชนิดหนึ่งท่ีเรียกกันว่ำ “มะเดื่อชุมพร” ขน้ึ อยู่ท่ัวไป เดิมคลองน้ียังไม่มีชื่อภำยหลังจึงถูกต้ังช่ือว่ำคลองชุมพรตำมช่ือต้นไม้ เพรำะปกติ กำรต้ังช่ือท้องที่หรือแม่น้ำลำคลองมักจะต้ังตำมชื่อต้นไม้หรือ สิ่งใดส่ิงหน่ึงที่ปรำกฏอยู่ ณ ที่แห่งนั้น ต่อมำ เมืองท่ีมำต้ังจงึ มชี ือ่ ตำมต้นไม้ไปดว้ ย เชน่ เดยี วกับชอื่ ชุมพร อำจเรียกตำมช่อื หรือคลองหรอื ชื่อตน้ ไม้ก็เปน็ ได้ ภมู ิศำสตรข์ องจังหวัด

2 ขนำดพ้ืนที่ และที่ตงั้ จังหวัดชุมพรตง้ั อยทู่ ำงตอนบนสุดของภำคใต้ บรเิ วณชำยฝั่งทะเลตะวันออก ห่ำงจำกกรุงเทพมหำนครตำมทำง หลวงหมำยเลข4 (เพชรเกษม) เป็นระยะทำงประมำณ 498 กิโลเมตร และตำมเส้นทำงรถไฟสำยใต้ประมำณ 476 กิโลเมตร มีเนื้อที่มำกเป็นอันดับ4ของจังหวัดในภำคใต้ คือประมำณ 6,010 ตำรำงกิโลเมตร ชุมพรเป็น จังหวัดแรกของภำคใต้ตอนบนฝ่ังอ่ำวไทย มีรูปพื้นท่ีเรียวยำวตำมแนวเหนือ-ใต้ มีควำมยำวประมำณ 222 กิโลเมตร โดยจังหวดั ชมุ พรมีอำณำเขตติดกับจงั หวดั ใกลเ้ คยี ง ดงั นี้ ทศิ เหนอื เขตอำเภอทำ่ แซะ และอำเภอปะทวิ ตดิ ตอ่ กบั อำเภอบำงสะพำนน้อยจังหวดั ประจวบคีรีขันธ์

3 ทศิ ใต้ เขตอำเภอละแม และอำเภอพะโตะ๊ ติดตอ่ กับอำเภอทำ่ ชนะ จงั หวัดสุรำษฎร์ธำนี ทิศตะวันออก เขตอำเภอปะทิว อำเภอเมือง อำเภอสวี อำเภอทุ่งตะโก อำเภอหลังสวน และอำเภอละแม ติดต่อกับอำ่ วไทย ทิศตะวนั ตก เขตอำเภอทำ่ แซะตดิ ต่อกบั อำเภอกระบรุ ี จงั หวดั ระนองและสำธำรณรัฐแหง่ สหภำพ เมียนมำร์ เขตอำเภอเมือง อำเภอสวี อำเภอหลังสวน และอำเภอพะโต๊ะ ติดต่อกับอำเภอ กระบุรี อำเภอละอุน่ อำเภอเมอื ง จังหวดั ระนอง สภำพภมู ปิ ระเทศ สภำพภูมิประเทศโดยท่ัวไปมีลักษณะยำวและแคบ แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะใหญ่ๆ คือ 1. ทำงทิศตะวันตกมี ลักษณะเป็นทีสูง มีเทือกเขำภูเก็ต และเทือกเขำตะนำวศรีเป็นแนวกั้นเขตแดนธรรมชำติ 2. บรเิ วณตอนกลำง เป็นที่รำบลุ่มอุดมสมบูรณ์ เป็นเขตเกษตรกรรมท่ีสำคัญของจังหวัด และ3. พ้ืนท่ีทำงทิศตะวันออกของจังหวัด มีลักษณะเป็นท่ีรำบตำมแนวชำยฝ่ังทะเลของอ่ำวไทย ลกั ษณะชำยหำดของจังหวัดชุมพรค่อนข้ำงเรียบมีควำม โค้งเว้ำน้อย โดยชำยฝ่ังทะเลมีควำมยำวถึง 222 กิโลเมตร และควำมกว้ำงของจังหวัดโดยเฉล่ียประมำณ 36 กิโลเมตร สภำพภูมอิ ำกำศ จงั หวัดชุมพรเป็นเขตท่ีได้รับอิทธิพลจำกลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นเหตุ ใหม้ ฤี ดกู ำลเพียง 2 ฤดู คือ 1. ฤดูร้อน เร่ิมต้ังแต่เดือนกุมภำพันธ์ - กลำงเดือนพฤษภำคม เป็นช่วงเปล่ียนมรสุมหลังมรสุม ตะวันออกเฉยี งเหนือออ่ นกำลังลง

4 2. ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่กลำงเดือนพฤษภำคม - กลำงเดือนธันวำคม ซึ่งเป็นช่วงท่ีลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จำก ทะเลอันดำมันเป็นมวลอำกำศทีม่ คี วำมชน้ื สงู และเปล่ยี นเป็นลมมรสุมตะวันออกเฉยี งเหนือ จึงทำให้เกดิ ฝนตก ชกุ มีปริมำณน้ำฝนอยู่ในช่วง 1,553 - 2,344 มิลลิเมตร สำหรับอุณหภูมิในจังหวัดชุมพร เฉล่ียโดยประมำณ 27.3 องศำเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 34.8 องศำ เซลเซียส อุณหภูมติ ่ำสุดเฉล่ีย 21.6 องศำเซลเซียส ควำมช้ืนสัมพัทธ์เฉลีย่ สูงสุด 97 เปอร์เซน็ ต์ เฉลี่ยต่ำสุด 49 เปอร์เซ็นต์ ควำมช้นื สมั พทั ธเ์ ฉล่ียท้ังปี 81 เปอร์เซ็นต์

5 สัญลักษณป์ ระจำจังหวัด ตรำสญั ลักษณป์ ระจำจังหวดั ตรำสญั ลักษณป์ ระจำจังหวดั ประกอบไปด้วยสว่ นสำคญั 3 ส่วน ได้แก่ ภำพคนยืน ซึ่งหมำยถงึ เทวดำทีป่ ระทำนพรให้แก่ชำวเมอื งและกองทัพท่กี ำลังจะออกไปทำศึก ภำพตน้ มะเดอ่ื ท่ีขนำบอยู่สองขำ้ ง ซงึ่ ในจังหวดั ชุมพรมีต้นไม้ชนิดน้อี ยเู่ ป็นจำนวนมำก รวมถงึ เปน็ ตน้ ไม้ประจำ จังหวัดชุมพรดว้ ย ภำพค่ำยและหอรบ หมำยถงึ จงั หวดั นเ้ี คยเป็นทช่ี ุมนุมของบรรดำนักรบท้งั หลำย ซ่งึ นัดให้มำพร้อมกัน ณ ท่ี แหง่ นี้ กอ่ นท่ีจะเดินทพั ออกไปสรู้ บกบั ขำ้ ศึก เพรำะว่ำในสมัยโบรำณชุมพรน้นั เป็นเมอื งหน้ำด่ำน คำขวญั ประจำจังหวัดชุมพร ประตูภำคใต้ ไหว้เสด็จในกรม ชมไรก่ ำแฟ แลหำดทรำยรี ดีกลว้ ยเล็บมอื ขึน้ ชื่อรังนก ธงประจำจังหวดั (ธงพื้นสนี ำ้ เงิน กลำงมีภำพตรำประจำจังหวดั )

6 ต้นไม้ประจำจงั หวดั ช่อื ท่ัวไป ต้นมะเดื่ออุทุมพร ชอ่ื สำมัญ Cluster Fig ชื่อวิทยำ Ficus racemosa Linn. วงศ์ LAURACEAE ชอ่ื อื่น ๆ มะเด่ือ มะเดอื่ ชุมพร กแู ซ เด่ือเกล้ียง เดื่อน้ำ มะเด่ือ ถ่นิ กำเนิด ถนิ่ กำเนดิ ในศรลี งั กำ จีนตอนใต้ เอเชยี ใต้ และตะวนั ออกเฉียงใต้ ประเภท ไม้ยนื ตน้ รปู ร่ำงลกั ษณะ ไม้ต้นผลัดใบ สูง 5 - 20 เมตร ก่ิงอ่อน มีขนสนี ้ำตำลแดงปกคลุมบำง ๆ ตอ่ มำจะหลดุ รว่ ง ใบเป็นใบเดย่ี วเรยี งสลบั แผน่ ใบรปู ไข่ถงึ รปู หอก ปลำยใบแหลม โดคนใบทู่ถึงกลม กำ้ นใบ ยำว 10.5 เซนตเิ มตร ดอกเลก็ ออกเปน็ กระจุก ผลรปู ไขก่ ลับ เม่อื สกุ สแี ดงเข้มถึงสมี ่วง กำรขยำยพนั ธ์ุ โดยกำรเพำะเมลด็ ในถงุ เพำะกล้ำจนงอก และแข็งแรงกอ่ นจึงย้ำยไปปลกู ลงดิน และปักชำ ก่งิ สภำพที่เหมำะสม ดนิ ร่วน และมอี ินทรียวัตถุ ระบำยนำ้ ได้ดี ประโยชน์ ปลกู เป็นไม้ประดบั กลำงแจ้ง

7 ดอกไมป้ ระจำจังหวดั ชื่อทว่ั ไป ดอกพุทธรกั ษำ ชื่อสำมญั Butsarana ชอ่ื วิทยำศำสตร์ Canna indica Linn. วงศ์ CANNACEAE ลกั ษณะทั่วไป พทุ ธรักษำ เปน็ พรรณไมล้ ้มลุก เนอื้ ออ่ นอวบนำ้ ลำตน้ สงู ประมำณ 1- 2เมตร มลี ำต้นอยู่ใต้ ดินเรียกวำ่ เหงำ้ เจรญิ เติบโตโดยแตกหนอ่ เป็นกอ คลำ้ ยกล้วย ใบมีขนำดใหญส่ ีเขยี ว โคน ใบและปลำยใบรีแหลมขอบใบเรียบ กลำงใบเปน็ เสน้ นูนเห็นชัด ใบมีกำ้ นยำวเป็นกำบใบ ห้มุ ลำต้นซอ้ นสลบั กนั ออกดอกเป็นช่อตรงสว่ นยอดของลำต้นช่อดอกเปน็ ชอ่ ดอกยำว ประมำณ 15 - 20 เซนตเิ มตร ประกอบด้วยดอก8 - 10 ดอก และมีกลีบบำงนม่ิ ขนำดของ ดอกและสีสนั แตกตำ่ งกนั ไปตำมชนิดพนั ธุ์ กำรขยำยพันธุ์ กำรเพำะเมล็ด กำรแตกหนอ่ สภำพทเี่ หมำะสม ดินร่วนซุย แสงแดดจัดกลำงแจง้ ถิน่ กำเนดิ ประเทศอินเดยี

8 สภำพท่วั ไปของจงั หวดั สภำพกำรปกครอง จังหวัดชุมพร แบ่งเขตกำรปกครอง เป็น 8 อำเภอ 70 ตำบล 736 หมู่บ้ำน 25 เทศบำล (2 เทศบำลเมือง13 เทศบำลตำบล) 53 องค์กำรบริหำรส่วนตำบล มีรูปแบบกำรปกครองและกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน 3 รปู แบบ คือ กำรบริหำรรำชกำรสว่ นกลำง ประกอบดว้ ยส่วนรำชกำรสงั กดั สว่ นกลำง ซง่ึ ต้งั หนว่ ยงำนในพน้ื ทีจ่ ังหวดั จำนวน 95 หนว่ ยงำน กำรบริหำรรำชกำรส่วนภูมิภำค จัดรูปแบบกำรปกครอง และกำรกำรบริหำรรำชกำรออกเป็น 2 ระดับ คือ ระดับจังหวัด ประกอบด้วย ส่วนรำชกำรประจำจังหวัด จำนวน 29 หน่วยงำน ระดับอำเภอ ประกอบด้วย 8 อำเภอ 70 ตำบล 736 หมบู่ ้ำน กำรบริหำรรำชกำรส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย 1 องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด 2 เทศบำลเมือง 23 เทศบำล ตำบลและ 53 องคก์ ำรบรหิ ำรสว่ นตำบล สภำพทำงเศรษฐกิจ สภ ำพเศรษฐกิจโดยรวมของจังหวัดชุมพ ร มีภ ำค กำรเกษตร เป็นส่ิงที่ทำรำยได้ให้แก่จังหวัดชุมพรมำกท่ีสุด รองลงมำคือภำคกำรค้ำปลีกค้ำส่ง และสุดท้ำยคือ ภำคอุตสำหกรรม ในปี พ.ศ. 2553 จังหวัดชุมพรมีรำย มูลค่ำผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด (GPP) อยู่ท่ีประมำณ 55,421 ล้ำนบำท มูลค่ำผลิตภัณ ฑ์เฉลี่ยต่อคน (Per capita GPP) ประมำณ 108,589 ล้ำนบำท เป็นลำดับท่ี 6 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภำคใต้ ภำคเกษตรกรรม พืชเศรษฐกิจของชุมพรประกอบไปด้วย ยำงพำรำ ปำล์มน้ำมัน ทุเรียน มะพร้ำว ไม้ผล รวมไปถึง กำรปศุสัตว์และกำรประมง ในด้ำนกำรประมง เนื่องจำก ชุมพรเป็นจังหวัดที่มีชำยฝ่ังทะเลยำวประมำณ 222

9 กิโลเมตร กำรทำประมงจึงสำคัญมำก โดยมีระยะเวลำกำรทำประมงประมำณ 7-9 เดือน ช่วงที่ทำกำรประมง ไม่ได้คือระหว่ำงเดือน ตุลำคม-ธันวำคม เนื่องจำกเป็นหน้ำมรสุม คลื่นลมแรง และช่วงวันที่ 15 กุมภำพันธ์ – 15 พฤษภำคม ของทุกปี เพรำะเปน็ ช่วงท่ีอ่ำวไทยหำ้ มทำกำรประมงเน่ืองจำกเปน็ ฤดูปลำวำงไข่ ภำคอุตสำหกรรมส่วนใหญ่เป็นอุตสำหกรรมท่ีต่อเน่ืองจำกกำรเกษตร เช่นอุตสำหกรรมกำรสกัดน้ำมันปำล์ม อุตสำหกรรมอำหำรทะเลแชแ่ ขง็ อตุ สำหกรรมผลติ ผลไม้แลน้ ้ำผลไม้บรรจกุ ระปอ๋ ง เปน็ ต้น ทรัพยำกรทำงธรรมชำติ ทรพั ยำกรปำ่ ไม้ จงั หวดั ชุมพร มีพืน้ ท่ีป่ำครอบคลุมทุกอำเภอของจงั หวัด แต่จะมีควำมหนำแน่นทำงดำ้ นทิศตะวันตกของพ้ืนที่ จังหวัด โดยมีพื้นท่ีทั้งหมดจำนวน 2,082,298 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 55.046 ของพ้ืนที่จังหวัด ในขณะที่พื้นที่ ทำงกำรเกษตรกลับเพมิ่ ข้ึนจำกร้อยละ 38.19 ในปี 2531 เป็นรอ้ ยละ 54.04 ในปี 2544 สำหรบั ประเภทป่ำใน จังหวัดชุมพร จัดเป็นประเภทไม้ผลัดใบ ซึ่งจำแนกเป็น 3 ชนิด ตำมลักษณะของสภำพป่ำท่ีแตกต่ำงกัน ประกอบดว้ ย ปำ่ ดบิ ชื้น ป่ำชำยเลน และปำ่ พรุ พื้นที่ปำ่ ทงั้ 3 ชนดิ สำมำรถจำแนกปำ่ ในจังหวดั ชมุ พร ได้ดงั น้ี 1. ป่ำสงวนแห่งชำติ จงั หวดั ชุมพรมีพื้นที่ป่ำไม้ท่ีประกำศเป็นเขตปำ่ สงวนแห่งชำติ จำนวน 26 ป่ำมีเน้อื ท่ี ่รี วม ท้ังส้ิน 1,943,176.50 ไร่ แต่ปัจจุบันเหลือเพียง 25 ป่ำ และมีกำรยกเลิกไปแล้ว 1 ป่ำ คงเหลือเนื้อท่ีเพียง 1,941,426.50 ไร่ ในจำนวนนเ้ี ปน็ ปำ่ บกจำนวน 17 ป่ำ ป่ำชำยเลนจำนวน 5 ปำ่ ปำ่ พรจุ ำนวน 3 ปำ่ 2. เขตรักษำพันธ์ุสัตว์ป่ำ จังหวัดชุมพรมีพ้ืนป่ำที่จัดเป็นเขตรักษำพันธ์สัตว์จำนวน 4 แห่ง และได้ประกำศ ใน รำชกิจจำนุเบกษำแล้วท้ัง 4 แห่ง 3. อทุ ยำนแห่งชำติ พ้ืนท่กี รมป่ำไม้กำหนดให้จดั เปน็ อทุ ยำนแห่งชำตใิ นเขตพื้นท่ีจงั หวดั ชุมพร มี 2 แห่ง 4. วนอทุ ยำน จังหวดั ชุมพรมวี นอุทยำนจำนวน 1 แห่ง

10 ทรัพยำกรดนิ และทด่ี ิน เนื่องจำกลักษณะทำงกำยภำพของพ้ืนท่ีภำคใต้ตอนบนมีลักษณะท่ีหลำกหลำย อันประกอบไปด้วย ภูเขำ แหล่งน้ำ ชำยฝ่ังทะเล และฝ่ังทะเลท่ีมีน้ำท่วมถึง จึงก่อให้เกิดลักษณะดินประเภทต่ำงๆ โดยทั่วไปประเภทดิน ในภำคใต้ตอนบนมักเป็นดินประเภทดินทรำยและดินตะกอนท่ีค่อนข้ำงเป็นกรด ซึ่งมีควำมอุดมสมบูรณ์ปำน กลำงถึงคอ่ นข้ำงตำ่ ส่วนดินบรเิ วณชำยฝั่งสว่ นใหญ่เปน็ ดินท่ีเกิดจำกกำรผุพงั สลำยตัวอยู่ที่ของวสั ดตุ กค้ำงและ ดินดำน และบรเิ วณที่มีนำ้ ทะเลท่วมถึงอยู่สม่ำเสมอ เนื้อดินจะเป็นประเภทดินเลนซึ่งมีกำรระบำยน้ำเร็วถึงเร็ว มำก ลักษณะ ดินที่พบของจังหวัดชุมพร แบ่งออกเป็นหน่วยใหญ่ๆได้ 29 หน่วยดิน โดยปะปนกันไปในแต่ละพ้ืนท่ี จำกลักษณะของดนิ ท้ังหมด สำมำรถแบง่ ตำมประเภทของดนิ ได้ 6 กล่มุ ดงั น้ี คอื 1. กลุ่มพืน้ ที่ดินเคม็ ชำยฝัง่ ทะเล ครอบคลุมพื้นที่ร้อยละ 5 ของพน้ื ท่ที ั้งหมดของจังหวดั 2. กลมุ่ ดนิ ต้นื ครอบคลุมพนื้ ทร่ี ้อยละ 30 ของพื้นที่ทัง้ หมดของจังหวดั 3. กลมุ่ ดินทรำย ครอบคลุมพน้ื ท่ีร้อยละ 5 ของพื้นทท่ี ้ังหมดของจังหวดั 4. กลุม่ ดนิ ภเู ขำ ครอบคลุมพืน้ ท่ีร้อยละ 15 ของพนื้ ท่ที งั้ หมดของจงั หวดั 5. พน้ื ทภ่ี เู ขำ ครอบคลุมพ้ืนทร่ี ้อยละ 35 ของพน้ื ท่ที ั้งหมดของจังหวดั 6. กลมุ่ ดินนำ ครอบคลุมพน้ื ที่ร้อยละ 10 ของพ้นื ท่ีทัง้ หมดของจงั หวดั เมื่อพิจำรณำลักษณะสภำพดินของจังหวัดชุมพรโดยรวมแล้ว บริเวณด้ำนตะวันตกของจงั หวัด ลักษณะดิน จะ เป็นพ้ืนท่ีภูเขำ บริเวณตอนกลำงของจังหวัดลักษณะดินจะเป็นดินต้ืนและดินนำ ซึ่งเหมำะแก่กำรเกษตรกรรม ส่วนด้ำนตะวันออกของจังหวัด ลักษณะดินจะเป็นดินทรำย ดินเค็ม ชำยฝั่งทะเล และดินภูเขำรวมท้ังดินพื้นท่ี ภูเขำเป็นบำงส่วนด้วย จำกกำรสำรวจโดยภำพถ่ำยจำกดำวเทียม พื้นที่ทั้งจังหวัด 3,756,778 ไร่ จำแนกพ้ืนท่ีทำงกำรเกษตร 2,039,816 ไร่ (ร้อยละ 45.9) พื้นที่ป่ำไม้ 658,125 ไร่ (ร้อยละ 20.4) และพ้ืนท่ีไม่ได้จำแนก 1,058,837 ไร่ (ร้อยละ 30.6) แผนทจี่ งั หวัดชุมพร

11 โครงสรำ้ งสำนักงำนจงั หวัด

12 ประวตั ิควำมเป็นมำของสำนักงำนจังหวดั ชื่อสำนักงำนจงั หวัดปรำกฏขึ้นเป็นครงั้ แรกในพระรำชบญั ญตั ิระเบยี บบริหำรรำชกำรแผ่นดนิ พทุ ธศกั รำช 2475 ในสว่ นทีว่ ่ำดว้ ยกำรแบง่ สว่ นรำชกำรของจังหวดั ตำมมำตรำ 38 ได้บัญญตั ิใหแ้ บ่งส่วนรำชกำรของ จงั หวดั ดงั นี้ สำนักงำนจังหวัดมีหนำ้ ทเี่ กี่ยวกบั รำชกำรทว่ั ไปของจงั หวดั และมผี ู้วำ่ รำชกำรจงั หวดั เป็นผปู้ กครองบังคบั บัญชำและรับผิดชอบ ส่วนรำชกำรตำ่ ง ๆ ซ่งึ กระทรวง ทบวง กรม ได้จดั ต้ังขึน้ มีหน้ำทเ่ี ก่ยี วกับรำชกำรของกระทรวง ทบวง กรมนน้ั ๆ แม้ว่ำกฎหมำยฉบับดังกลำ่ วไดก้ ำหนดใหม้ สี ำนักงำนเปน็ ศูนยก์ ลำงในกำรบรหิ ำรรำชกำรอำนวยกำรและ ประสำนรำชกำรจงั หวดั ตั้งแต่พทุ ธศักรำช 2475 ก็ตำม แต่กย็ งั มิไดม้ ีกำรจัดต้ังสำนกั งำนจังหวดั จนกระทัง่ พทุ ธศกั รำช 2516 คณะรัฐมนตรไี ดม้ ีมตเิ ม่ือวันที่ 28 สงิ หำคม พุทธศักรำช 2516 เหน็ ชอบใหม้ ี อตั รำกำลังเจ้ำหนำ้ ทขี่ องสำนักงำนจงั หวัด ในปพี ุทธศักรำช 2519 ตอ่ มำภำยหลังได้ยกฐำนะสำนกั งำน จงั หวัดเป็นสว่ นรำชกำรสังกดั สำนกั งำนปลัดกระทรวงมหำดไทยโดยมีหัวหนำ้ สำนักงำนจงั หวัดเปน็ ผูบ้ งั คบั บัญชำ และมภี ำรกจิ หนำ้ ท่อี ยู่ 2 ประกำร ได้แก่ กำรปฏิบัตหิ นำ้ ท่ใี นฐำนะสำนักงำนเลขำนุกำร ผวู้ ำ่ รำชกำรจังหวัด และรบั ผดิ ชอบในกำรจดั ทำแผนพัฒนำจังหวดั โครงสร้ำงสำนักงำนจังหวัด พระรำชบญั ญตั ริ ะเบียบบรหิ ำรรำชกำรแผน่ ดิน พ.ศ. 2534 มำตรำ 60 แบง่ ส่วนรำชกำรของจงั หวัดไว้ ซึ่งได้ ระบถุ งึ สำนักงำนจังหวดั และหน้ำทีค่ วำมรับผิดชอบไว้ดว้ ย ดังนี้ (1.) สำนกั งำนจงั หวดั มีหน้ำที่เกย่ี วกับรำชกำรทวั่ ไป และกำรวำงแผนพัฒนำจงั หวดั ของ จงั หวดั นน้ั มหี นำ้ ทีเ่ ก่ียวกบั รำชกำรทั่วไป และกำรวำงแผนพฒั นำจงั หวัดของจังหวัดนั้น มีหัวหน้ำสำนกั งำน จงั หวดั เป็นผบู้ ังคบั บญั ชำขำ้ รำชกำร และรับผิดชอบในกำรปฏบิ ตั ิรำชกำรของสำนักงำนจังหวดั (2.) สว่ นต่ำงๆ ซึ่งกระทรวง ทบวง กรม ได้ตงั้ ข้นึ มหี นำ้ ทเ่ี ก่ยี วกบั รำชกำรของกระทรวง ทบวง กรมนนั้ ๆ มีหนำ้ ท่ีส่วนรำชกำรประจำจังหวดั น้ัน ๆ เปน็ ผ้ปู กครองบงั คบั บัญชำรบั ผิดชอบ พนั ธะกิจของสำนกั งำนจงั หวัด

13 เนอื่ งจำกสำนักงำนจังหวดั เป็นหน่วยงำนรำชกำร จึงมีกำรจัดโครงสรำ้ งและกำรบริหำรจดั กำรในรปู แบบของ องค์กำรระบบรำชกำร (Ideal Type Bureaucracy) ทแ่ี บ่งงำนกนั ตำมควำมถนัดเฉพำะดำ้ น (Specialization)ยดึ หลกั สำยกำรบงั คบั บัญชำตำมลำดับช้นั (Hierarchy) ยดึ กฎหมำย และระเบียบเปน็ หลกั ในกำรปฏิบัตงิ ำน (Procedures and regulations) เนน้ ควำมสัมพันธ์ที่ไมเ่ ปน็ ส่วนตวั ไมย่ ึดตดิ ในตัวบคุ คล แตย่ ดึ ตำแหนง่ เปน็ หลัก (Impersonality) มีรับบุคลำกรเข้ำทำงำน และเล่ือนตำแหนง่ หรอื ใหผ้ ลตอบแทน ตำมควำมสำมำรถ (Competency) และมคี วำมมั่นคงในอำชพี กำรงำน (tenure) สำนกั งำนจังหวดั เปน็ หน่วยงำนในสังกดั สำนักงำนปลดั กระทรวงมหำดไทย ทสี่ ำคัญหน่วยงำนหนึง่ ทท่ี ำหน้ำท่ี เป็นทป่ี รึกษำ (Back Office ) สำหรบั ผู้วำ่ รำชกำรจงั หวดั กล่ำวคอื ทำหน้ำที่ให้คำแนะนำหรอื แสดงข้อคิดเหน็ ต่ำงๆ ทเ่ี กย่ี วข้องกบั งำนของผ้วู ำ่ รำชกำรจังหวัด ในกำรบรหิ ำรรำชกำรให้บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ตำมแผน ยุทธศำสตรก์ ำรพฒั นำจังหวัด โดยมีจดุ มงุ่ หมำย ดังนี้ 2.1 เพ่ือเป็นศูนย์กลำงกำรประสำนควำมรว่ มมือระหวำ่ งหน่วยงำนท้ังภำครัฐ และเอกชน ภำยใน จังหวดั ในกำรรว่ มกนั พัฒนำจังหวัดให้เจรญิ ก้ำวหนำ้ 2.2 เปน็ หนว่ ยงำนให้คำปรกึ ษำรำชกำรของจังหวดั พรอ้ มทั้งเป็นศูนย์กลำงของข้อมลู ขำ่ วสำรและ ระเบยี บปฏบิ ตั ิรำชกำรที่ครบถ้วน 2.3 เพอ่ื บริหำรงำนภำยใตก้ ำรจดั สรรทรพั ยำกรและงบประมำณที่มีอยู่อยำ่ งจำกัด ให้เกดิ ประสิทธิภำพและประสิทธิผล อยำ่ งสูงสดุ 2.4 เพื่อใหบ้ ริกำรแก่ภำครัฐและภำคเอกชน ตลอดจนประชำชนในสงั คม ให้ได้รับควำมพงึ พอใจ อยำ่ งสงู สุด 2.5 สนับสนนุ ใหก้ ำรบริหำรรำชกำรของผูว้ ่ำรำชกำรจังหวัดและของสว่ นรำชกำรต่ำงๆ ใน ฐำนะ สำนกั งำนเลขำนุกำรของผู้วำ่ รำชกำรจงั หวัด ดำเนนิ งำนอย่ำงมปี ระสิทธิภำพ โครงสรำ้ งของจงั หวดั

14


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook