Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เนื้อหาหน่วยที่ 3 เครื่องกลึงและงานกลึง

เนื้อหาหน่วยที่ 3 เครื่องกลึงและงานกลึง

Published by สุธา บัวดำ, 2021-08-31 03:22:16

Description: เนื้อหาหน่วยที่ 3 เครื่องกลึงและงานกลึง

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เรื่อง “เครื่องกลึงและงานกลึง” 262 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตลู เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 เรื่อง เคร่ืองกลงึ และงานกลงึ สุธา บวั ดา ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเช่ียวชาญ สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เร่ือง “เคร่ืองกลึงและงานกลึง” 263 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล หน่วยท่ี 3 ช่ือหน่วย เครื่องกลงึ และงานกลงึ สาระสาคญั เคร่ืองกลึง (Lathe) เป็ นเครื่องจกั รกลท่ีมีความสาคญั มาก มีใช้กนั อย่างต้งั แต่ยุคตน้ ๆ เป็นเครื่องมือกลประเภทแปรรูปโลหะทรงกระบอกเป็ นหลกั สาหรับกลึง เจาะ ควา้ นรูไดม้ ากมาย เพือ่ ผลิตชิ้นส่วนเคร่ืองจกั ร เคร่ืองยนตก์ ลไกต่าง ๆ สาหรับงานผลิตและงานซ่อม งานอุตสาหกรรม ผลิตชิ้นส่วนตอ้ งมีเคร่ืองกลึงเป็ นหลกั เครื่องกลึงจึงไดช้ ่ือวา่ ราชาเครื่องกล (The King of all Machines) สาระการเรียนรู้ 1. ชนิดของเคร่ืองกลึง 2. ส่วนประกอบและหนา้ ที่ของเครื่องกลึงยนั ศูนย์ 3. ความเร็วรอบ ความเร็วตดั และอตั ราป้อน 4. ความปลอดภยั ในการใชเ้ ครื่องกลึง 5. การบารุงรักษาเคร่ืองกลึง 6. ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงานกลึง จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทวั่ ไป 1. รู้และเขา้ ใจชนิดของเคร่ืองกลึง 2. รู้และเขา้ ใจส่วนประกอบและหนา้ ท่ีของเคร่ืองกลึงยนั ศูนย์ 3. รู้และเขา้ ใจความเร็วรอบ ความเร็วตดั และอตั ราป้อน 4. รู้และเขา้ ใจความปลอดภยั ในการใชเ้ ครื่องกลึง 5. รู้และเขา้ ใจการบารุงรักษาเครื่องกลึง 6. รู้และเขา้ ใจข้นั ตอนการปฏิบตั ิงานกลึง จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. บอกชนิดของเคร่ืองกลึงได้ 2. บอกส่วนประกอบและหนา้ ท่ีของเคร่ืองกลึงได้ 3. บอกความเร็วรอบ ความเร็วตดั ในงานกลึงได้ 4. บอกความปลอดภยั ในการใชเ้ คร่ืองกลึงได้ สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เร่ือง “เคร่ืองกลึงและงานกลึง” 264 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตลู 5. บอกการบารุงรักษาเครื่องกลึงได้ 6. อธิบายการกลึงปาดหนา้ ได้ 7. อธิบายการกลึงปอกได้ 8. อธิบายการกลึงเซาะร่องได้ 9. อธิบายการกลึงเรียวได้ 10. อธิบายการพิมพล์ ายได้ 11. อธิบายการเจาะรูชิ้นงานดว้ ยเคร่ืองกลึงได้ 12. ปฏิบตั ิงานกลึงปาดหนา้ ได้ 13. ปฏิบตั ิงานเจาะรูนาศูนยไ์ ด้ 14. ปฏิบตั ิงานกลึงปอกได้ 15. ปฏิบตั ิงานกลึงเซาะร่องได้ 16. ปฏิบตั ิงานกลึงเรียวได้ 17. ปฏิบตั ิงานพมิ พล์ ายได้ 18. ปฏิบตั ิงานเจาะรูชิ้นงานดว้ ยเครื่องกลึงได้ 19. มีกิจนิสยั ท่ีดี ใชเ้ วลาเหมาะสม ปลอดภยั มีความต้งั ใจ ดูแลรักษาเครื่องมือ เครื่องจกั ร มีความเสียสละตอ่ ส่วนรวม และมีมนุษยสัมพนั ธ์ท่ีดี สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องมือกลเบือ้ งต้น หน่วยที่ 3 เรื่อง “เครื่องกลึงและงานกลึง” 265 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล การเข้าสู่พืน้ ท่กี ารจดั การเรียนการสอน แผนกวชิ าช่างกลโรงงาน 1. การเตรียมพืน้ ทจี่ ัดการเรียนการสอนเรื่องเคร่ืองกลงึ และงานกลงึ เพื่อเป็ นการจดั พ้นื ที่ใหเ้ หมาะสมกบั การปฏิบตั ิการเรียนการสอนเร่ืองเคร่ืองกลึงและงาน กลึงโดยใชพ้ ้ืนท่ีในแผนกวชิ าช่างกลโรงงาน รูปที่ 3.1 แสดงอาคารเรียนแผนกช่างกลโรงงาน ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 รูปที่ 3.2 แสดงพ้นื ท่ีจดั การเรียนการสอน ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 บริเวณพ้ืนที่ปฏิบตั ิงานเคร่ืองกลึงอยใู่ นอาคารเรียนแผนกวชิ าช่างกลโรงงาน เป็ นอาคาร เรียน 4 ช้นั ช้นั ท่ี 1 ประกอบไปดว้ ยพ้นื ที่ปฏิบตั ิงานเคร่ืองมือกลประเภทตา่ ง ๆ หอ้ งพกั ครู สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เร่ือง “เครื่องกลึงและงานกลึง” 266 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล หอ้ งน้าผเู้ รียน หอ้ งเครื่องมือ และหอ้ งเรียนวชิ าเทคโนโลยี CNC ช้นั ที่ 2 เป็นแผนกช่างเทคนิค พ้นื ฐาน ช้นั ที่ 3 และ 4 เป็นหอ้ งเรียนเขียนแบบและหอ้ งเรียนทฤษฎีวชิ าต่าง ๆ 2. ผู้เรียนจะต้องปฏบิ ตั ิตามข้อบงั คบั ต่าง ๆ ขณะปฏบิ ัติงานในโรงงาน รูปที่ 3.3 แสดงขอ้ บงั คบั ในการปฏิบตั ิงานในโรงงาน ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 ข้อบังคบั ของโรงงาน 2.1 นกั ศึกษาตอ้ งแต่งกายใหเ้ รียบร้อยตามระเบียบของวทิ ยาลยั 2.2 นกั ศึกษาตอ้ งมีกิริยา มารยาทต่อครู – อาจารย์ และผอู้ ื่น 2.3 นกั ศึกษาตอ้ งมีความพร้อมและพึงตระหนกั ตอ่ หนา้ ท่ีในขณะเรียนหรือฝึกปฏิบตั ิ 2.4 นกั ศึกษาตอ้ งเป็นคนตรงต่อเวลาและอยคู่ รบตามเวลากาหนด 2.5 นกั ศึกษาตอ้ งช่วยกนั รักษาทรัพยส์ มบตั ิของส่วนรวมและมีความรับผดิ ชอบร่วมกนั 2.6 ก่อนใชเ้ คร่ืองมือเคร่ืองจกั รนกั ศึกษาตอ้ งขออนุญาตต่ออาจารยผ์ ูร้ ับผดิ ชอบทุกคร้ัง 2.7 นกั ศึกษาตอ้ งไม่หยอกลอ้ หรือเล่นกนั ขณะปฏิบตั ิงาน 2.8 นกั ศึกษาตอ้ งไม่นาทรัพยส์ มบตั ิของแผนกไปใชส้ ่วนตวั 2.9 นกั ศึกษาตอ้ งทาความสะอาดหลงั เลิกปฏิบตั ิงานทุกคร้ัง 2.10 นกั ศึกษาตอ้ งช่วยกนั เป็ นหูเป็นตา ผลท่ีจะเกิดข้ึนต่อแผนกและวทิ ยาลยั สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเคร่ืองมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เรื่อง “เครื่องกลึงและงานกลึง” 267 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตลู 3. เตรียมความพร้อมของผู้เรียนโดยครูผู้สอนเช็คช่ือและตรวจการแต่งกายของ ผู้เรียนให้ถูกต้องตามระเบยี บของสถานศึกษา รูปที่ 3.4 แสดงการเตรียมความพร้อมของผเู้ รียน ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 4. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน รูปท่ี 3.5 แสดงการทาแบบทดสอบก่อนเรียน ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เร่ือง “เคร่ืองกลึงและงานกลึง” 268 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล เนื้อหาสาระ เคร่ืองกลงึ (Lathe) เคร่ืองกลึง (Lathe) เป็นเครื่องจกั รกลที่มีความสาคญั มาก มีใชก้ นั อยา่ งต้งั แต่ยคุ ตน้ ๆ เป็นเครื่องมือกลประเภทแปรรูปโลหะทรงกระบอกเป็ นหลกั สาหรับกลึง เจาะ ควา้ นรูไดม้ ากมาย เพ่อื ผลิตชิ้นส่วนเคร่ืองจกั ร เคร่ืองยนตก์ ลไกต่าง ๆ สาหรับงานผลิตและงานซ่อม งานอุตสาหกรรม ผลิตชิ้นส่วนตอ้ งมีเคร่ืองกลึงเป็นหลกั เครื่องกลึงจึงไดช้ ่ือวา่ ราชาเคร่ืองกล (The King of all Machines) รูปท่ี 3.6 แสดงตวั อยา่ งชิ้นงานกลึง ท่ีมา : http://www.pnpmachining.com, 2552 1 ชนิดของเครื่องกลงึ 1.1 เครื่องกลงึ ยนั ศูนย์ (Engine Lathe) เป็นเคร่ืองกลึงท่ีมีความเร็วรอบสูง ใชก้ ลึงงานไดห้ ลายขนาดที่มีเส้นผา่ นศูนยก์ ลางไม่ ใหญเ่ กินไป และกลึงงานไดห้ ลายลกั ษณะ นิยมใชใ้ นโรงงานทว่ั ๆ ไป สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เร่ือง “เคร่ืองกลึงและงานกลึง” 269 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตลู รูปที่ 3.7 แสดงเครื่องกลึงยนั ศนู ย์ ท่ีมา : http://hmes.biz/industrial-material-page, 2552 1.2 เคร่ืองกลงึ เทอร์เรท (Turret Lathe) เป็นเครื่องกลึงท่ีมีหวั จบั มีดตดั หลายหวั เช่น จบั มีดกลึงปากหนา้ มีดกลึงปอกมีดกลึง เกลียว จบั ดอกเจาะยนั ศูนย์ เป็นตน้ ทาใหก้ ารกลึงงานท่ีมีรูปทรงเดียวกนั และมีจานวนมาก ๆ ได้ อยา่ งรวดเร็ว เช่น การกลึงเกลียว การกลึงบูช เป็นตน้ รูปท่ี 3.8 แสดงเครื่องกลึงเทอร์เรท ท่ีมา : http://www.gnstools.com/147.html ,2552 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเคร่ืองมือกลเบือ้ งต้น หน่วยที่ 3 เรื่อง “เคร่ืองกลึงและงานกลึง” 270 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล 1.3 เคร่ืองกลงึ ต้ัง (Vertical Lathe) เป็นเคร่ืองกลึงท่ีใชใ้ นงานกลึงปอก งานควา้ นชิ้นงานที่มีขนาดใหญ่ เช่น เส้ือสูบ เป็นตน้ รูปท่ี 3.9 แสดงเคร่ืองกลึงต้งั ท่ีมา : http://nanjingjw.en.made-in-china.com/product/wedJEczuaQlY/China- Vertical-Lathe-LC5120Q-LC5116Q-LC5112Q-.html,2552 1.4 เครื่องกลงึ หน้าจาน (Facing Lathe) เป็นเครื่องกลึงที่ใชใ้ นการปาดหนา้ ชิ้นงานที่มีขนาดใหญ่ เช่น ลอ้ รถไฟ เป็นตน้ รูปท่ี 3.10 แสดงเครื่องกลึงหนา้ จาน ท่ีมา : http://qdyonglong.en.made-in- china.com/product/hoDnevGuXKUb/China-C64-Series-Facing-Lathe-Model-C64160.html,2552 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเคร่ืองมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เร่ือง “เครื่องกลึงและงานกลึง” 271 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตลู 2 ส่วนประกอบและหน้าทข่ี องเคร่ืองกลงึ ยนั ศูนย์ รูปที่ 3.11 แสดงส่วนตา่ ง ๆ ท่ีสาคญั ของเครื่องกลึง ท่ีมา : ดดั แปลงจาก http://www.thaimachinery.in.th, 2558 2.1 ชุดหัวเครื่องกลงึ (Head Stock) ชุดส่วนท่ีอยซู่ า้ ยสุดของเครื่อง ใชใ้ นการขบั หวั จบั หรือขบั ชิ้นงานใหห้ มุนดว้ ยความเร็ว รอบตา่ ง ๆ มีส่วนประกอบที่สาคญั ดงั น้ี 2.1.1 ชุดส่งกาลงั (Transmission) เคร่ืองกลึงจะส่งกาลงั ขบั งานกลึงดว้ ยมอเตอร์ ไฟฟ้า (Motor) โดยส่งกาลงั ผา่ นสายพานล่ิม (V-Belt) และผา่ นชุดเฟื อง (Gear) สามารถปรับ ความเร็วรอบไดร้ ะดบั ตา่ ง ๆ เพอื่ ไปขบั เพลาหวั จบั งาน (Spindle) ใหห้ มุนสาหรับเครื่องกลึงรุ่นเก่า จะปรับความเร็วรอบของเพลาหวั จบั งานโดยใชล้ อ้ สายพาน (Pulley) ที่มีหลายข้นั ซ่ึงแต่ละข้นั จะ ใหค้ วามเร็วรอบแตกต่างกนั สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเคร่ืองมือกลเบือ้ งต้น หน่วยที่ 3 เรื่อง “เคร่ืองกลึงและงานกลึง” 272 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตลู รูปท่ี 3.12 แสดงส่งกาลงั ดว้ ยชุดเฟื อง ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 รูปที่ 3.13 แสดงการส่งกาลงั ดว้ ยสายพาน ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 2.1.2 ชุดเฟื องทด (Gears) ใชท้ ดความเร็วรอบในการกลึงมี 2 ชุด คือ ชุดท่ีอยู่ ภายในหวั เคร่ืองและชุดที่อยภู่ ายนอกหวั เคร่ืองกลึง ดงั รูป สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเคร่ืองมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เร่ือง “เคร่ืองกลึงและงานกลึง” 273 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล รูปที่ 3.14 แสดงชุดเฟื องภายในหวั เครื่องกลึงชนิดยนั ศูนย์ ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 รูปที่ 3.15 แสดงชุดเฟื องทดที่อยภู่ ายนอกหวั เครื่องกลึง ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 2.1.3 แขนปรับความเร็วรอบ (Spindle Speed Selector) เป็นแขนท่ีอยสู่ ่วนบน หรือส่วนหนา้ ของเคร่ืองใชส้ าหรับโยกเฟื องท่ีอยภู่ ายในหวั เคร่ืองใหข้ บกนั เพ่ือใหไ้ ดค้ วามเร็วรอบ ต่าง ๆ ตามตอ้ งการ สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องมือกลเบือ้ งต้น หน่วยที่ 3 เรื่อง “เครื่องกลึงและงานกลึง” 274 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล รูปท่ี 17 แสดงคนั โยกปรับความเร็วรอบ รูปท่ี 3.16 แสดงแขนปรับความเร็วรอบ ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 2.1.4 แขนปรับกลึงเกลียว (Lead Screw and Thread Rang Level) เป็นแขน สาหรับปรับเฟื องในชุดกล่องเฟื อง (Gear Box) เพือ่ กลึงเกลียวโดยที่เพลากลึงเกลียวหมุนขบั ป้อม มีดใหเ้ ดินกลึงเกลียวบนชิ้นงาน รูปท่ี 3.17 แสดงแขนปรับกลึงเกลียว ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 2.1.5 ชุดเพลาหวั เคร่ืองกลึง (Spindle) มีลกั ษณะรูปทรงกระบอกเจาะรูกลวงตลอด ดา้ นหนา้ จะเป็นรูเรียวแบบมอร์สเพ่ือใชป้ ระกอบกบั หวั ศูนย์ เพลาหวั เคร่ืองกลึงใชจ้ บั กบั หวั จบั เครื่องกลึง มี 4 แบบ คือเพลาหวั เครื่องกลึงแบบเกลียว เพลาหวั เครื่องกลึงแบบเรียว เพลาหวั เครื่องกลึงแบบลูกเบ้ียว และเพลาหวั เคร่ืองกลึงแบบสกรูร้อย ดงั รูป สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเคร่ืองมือกลเบือ้ งต้น หน่วยที่ 3 เรื่อง “เคร่ืองกลึงและงานกลึง” 275 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล รูปท่ี 3.18 แสดงชุดเพลาหวั เคร่ือง ที่มา:งานเคร่ืองมือกลเบ้ืองตน้ ไพฑูรย์ วชิรวงศภ์ ิญโญ,หนา้ 85 2.2 ชุดแท่นเลื่อน (Carriage) ชุดแท่นเลื่อน เป็ นส่วนประกอบท่ีใชค้ วบคุมและรองรับเครื่องมือตดั เพ่อื ให้เครื่องมือตดั ของเคร่ืองกลึงเลื่อนไป-มาในทิศทางตามแนวยาวหรือตามขวางของสะพานแทน่ เครื่อง ชุดแทน่ เล่ือนมีส่วนประกอบสาคญั 2 ส่วน คือ ชุดแคร่คร่อม (Saddle) และชุดกล่องเฟื อง (Apron) ดงั รูป รูปที่ 3.19 แสดงชุดแท่นเล่ือน ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 2.2.1 แคร่คร่อม (Saddle) เป็นส่วนท่ีอยบู่ นสะพานแท่นเคร่ือง (Bed) เพ่ือรองรับ ชุดป้อมมีด และชุดกล่องเฟื อง แคร่คร่อมสามารถเล่ือนไป-มาในแนวนอน ซ่ึงใชใ้ นงานกลึงปอก 2.2.2 แทน่ เลื่อนขวาง (Cross Slide) เป็นส่วนที่ยดึ อยบู่ นแคร่คร่อม สามารถเลื่อน ไป-มาดว้ ยสกรู ใชใ้ นการกลึงปาดหนา้ หรือป้อนลึก สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เร่ือง “เครื่องกลึงและงานกลึง” 276 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล 2.2.3 แท่นเล่ือนบน (Compound Rest) เป็นส่วนที่ยดึ อยูบ่ นแทน่ ปรับองศา สามารถเล่ือนไป-มา ดว้ ยชุดสกรู ใชใ้ นการกลึงเรียว (Taper) หรือกลึงมุมตา่ ง ๆ หรือใชท้ าหนา้ ท่ี เช่นเดียวกบั แท่นเลื่อนขวาง ทป่ี รับองศา เป็ นส่วนที่ยดึ อยบู่ นแทน่ เล่ือนขวางและอยใู่ ตแ้ ท่นเล่ือนบน สามารถปรับเป็นองศา ตา่ ง ๆ 2.3 ชุดกล่องเฟื อง (APRON) ประกอบดว้ ยเฟื องทด ใชใ้ นกรณีกลึงอตั โนมตั ิ ชุดกล่องเฟื องประกอบดว้ ยส่วนต่าง ๆ ดงั รูป 2.3.1 มือหมุนแท่นเลื่อน (Traversing Hand Wheel) ใชส้ าหรับหมุนชุดแท่นเลื่อน ใหเ้ คล่ือนที่ในแนวซา้ ย – ขวา 2.3.2 แขนโยกป้อนกลึงอตั โนมตั ิ (Fed Selector) ใชส้ าหรับโยกป้อนกลึงอตั โนมตั ิ 2.3.3 แขนโยกกลึงเกลียว (Lead screw Engagement Lever) ใชส้ าหรับโยกกลึง เกลียว 2.3.4 ป่ ุมดึงสาหรับกลึงเกลียว (Controls Forward or Reverse) ใชส้ าหรับดึง เปลี่ยนชุดเฟื องกลึงเกลียว 2.3.5 ป่ ุมดึงสาหรับกลึงปอกผวิ อตั โนมตั ิ (Feed Lever) ใชส้ าหรับดึงเปล่ียนทิศ ทางการเดินป้อนอตั โนมตั ิของแท่นเล่ือนขวางหนา้ หลงั รูปที่ 3.20 แสดงชุดกล่องเฟื อง ท่ีมา : http://www.madmodder.net, 2558 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเคร่ืองมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เรื่อง “เครื่องกลึงและงานกลึง” 277 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล 2.4 ป้อมมดี (Tool Post) เป็นส่วนที่อยบู่ นสุดใชจ้ บั ยดึ มีดกลึง มีดควา้ น สาหรับกลึงงาน ป้อมมีดมีหลายชนิด เช่น ชนิดมาตรฐาน (Standard-type Lathe Tool Post) ชนิดสะพาน 4 มีด (Four-way Turret Tool Post) และชนิดสะพานมีดทางเดียว เป็นตน้ รูปที่ 3.21 แสดงป้อมมีด ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 2.5 ชุดท้ายแท่น (Tail Stock) เป็นส่วนท่ีอยูด่ า้ นขวามือ ทา้ ยสุดของเครื่องกลึง ใชส้ าหรับจบั ยนั ศูนย์ (Lathe Center) เพอ่ื ใชป้ ระคองงานกลึงที่ยาว ๆ ไม่ใหส้ ั่น หรือหวั จบั สวา่ น(Drill Chuck) เพอื่ จบั ดอกสวา่ น (Drill) ดอกเจาะยนั ศูนย์ (Center Drill) เป็นตน้ นอกจากน้ียนั ศูนยท์ า้ ยแท่น ยงั สามารถเย้อื งศูนย์ เพ่อื ใชใ้ นการกลึงเรียวท่ีมีความยาว มาก ๆ ไดอ้ ีกวธิ ีหน่ึง ยนั ศูนยท์ า้ ยแทน่ สามารถเล่ือนไป-มา และลอ็ กไดท้ ุกตาแหน่งบนสะพานแท่นเครื่อง สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องมือกลเบือ้ งต้น หน่วยที่ 3 เร่ือง “เคร่ืองกลึงและงานกลึง” 278 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล รูปท่ี 3.22 ชุดทา้ ยแท่น ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 2.6 สะพานแท่นเคร่ือง (Bed) เป็นส่วนที่อยลู่ ่างสุด ใชร้ องรับส่วนตา่ ง ๆ ของเคร่ืองกลึง ทาจากเหลก็ หล่อ ส่วน บนสุดจะเป็นรางเลื่อน (Bed Way) ที่เป็นรูปตวั วคี วา่ และส่วนแบน รางเลื่อนจะผา่ นมาชุบผวิ แขง็ งและขดู ระดบั มาแลว้ จึงสึกหรอยาก ส่วนล่างสุดของสะพานแทน่ เคร่ืองจะเป็ นฐานรองและ ส่วนที่เกบ็ ระบบปั๊มน้าหล่อเยน็ รูปที่ 3.23 สะพานแท่นเครื่อง ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 2.7 ระบบป้อน (Feed Mechanism) เป็นชุดที่มีความสมั พนั ธ์กบั ระบบส่งกาลงั การทางานของเครื่องกลึง ปรับความเร็วของ เพลาหวั เครื่องได้ สามารถปรับอตั ราป้อนกลึงตามแนวยาวและแนวขวาง ใหม้ ีความหยาบหรือ ละเอียด สามารถกลึงอตั โนมตั ิและยงั สามารถกลึงเกลียวไดท้ ้งั ระบบองั กฤษ (หน่วยเป็นนิ้ว) สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เรื่อง “เครื่องกลึงและงานกลึง” 279 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตลู และระบบเมตริก (หน่วยเป็ นมิลลิเมตร) ระบบป้อนประกอบดว้ ยส่วนสาคญั ตา่ ง ๆ คือ ชุดเฟื อง ป้อน ชุดเฟื องขบั เพลาป้อน และเพลานา ซ่ึงแต่ละส่วนน้ีจะมีการทางานที่สมั พนั ธ์กนั ตลอดเวลา รูปท่ี 3.24 แสดงส่วนประอบของชุดระบบป้อน ท่ีมา : งานเครื่องมือกลเบ้ืองตน้ อาพล ซ่ือตรง ,หนา้ 163 2.8 การกาหนดขนาดของเครื่องกลงึ ขนาดของเครื่องกลึงจะมีการกาหนดมาตรฐานจากความสามารถของเครื่องกลึงหลาย ส่วนแต่ที่นิยมบอกขนาดมาตรฐานจะบอกท่ีขนาดความสูงของศูนยเ์ หนือแท่นเคร่ือง (Radius or One Half Swing) ขนาดที่นิยมใชง้ านกนั คือ 125 มม. 150 มม. 240 มม. ขนาดมาตรฐาน เครื่องกลึง มีดงั น้ี รูปที่ 3.25 แสดงขนาดมาตรฐานของเคร่ืองกลึง ท่ีมา :โครงการพฒั นาอตุ สาหกรรมแม่พมิ พ์ ,2548 สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเคร่ืองมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เร่ือง “เครื่องกลึงและงานกลึง” 280 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล ตวั อย่าง เคร่ืองกลึงขนาด 125 มม.  ความสูงของศูนยเ์ หนือแท่น (R) ไม่นอ้ ยกวา่ 125 มม. หรือมีขนาดความโตงาน ท่ีจบั ไดส้ ูงสุด (A) 150 มม.  ระยะห่างระหวา่ งปลายยนั ศูนยห์ วั เคร่ืองและทา้ ยเคร่ือง (B) ไม่นอ้ ยกวา่ 750 มม.  ความยาวของแท่นเคร่ือง (C) เครื่องกลึงบางยหี่ อ้ ไม่ไดร้ ะบุขนาดมา  รูแกนเพลาที่หวั เคร่ืองมีขนาดไม่นอ้ ยกวา่ 32 มม.  ขนาดเรียวที่เพลาหวั เครื่องไมเ่ ล็กกวา่ เรียวมอร์ส เบอร์ 3 2.9 ระบบนา้ หล่อเยน็ (Cooling Pump) จะอยทู่ ี่ฐานรองของเคร่ืองกลึง ซ่ึงจะประกอบดว้ ยปั๊ม (Pump) ที่จุ่มอยใู่ นถงั ของน้า หล่อเยน็ และสายยางน้าหล่อเยน็ ที่โผล่ข้ึนมา และจบั ยดึ อยบู่ นชุดแทน่ เล่ือน ซ่ึงจะพน่ น้าหล่อเยน็ ตรงกบั งานตลอดเวลา 2.10 ส่วนประกอบอ่ืน ๆ ของเคร่ืองกลงึ 2.10.1 หวั จบั เครื่องกลึง (Chuck) หวั จบั เครื่องกลึงมี 2 ชนิด คือ หวั จบั ชนิด 3 จบั ฟันพร้อม (A Three-Jaw Universal Geared Scroll Chuck) และหวั จบั ชนิด 4 จบั ฟันอิสระ (A Four- Jaw Independent Chuck) หวั จบั ท้งั 2 ชนิดทาหนา้ ที่ในการจบั ชิ้นงานกลึง ซ่ึงหวั จบั ชนิด 3 จบั ฟัน พร้อมสามารถจบั ชิ้นงานไดร้ วดเร็ว เช่น จบั ชิ้นงานกลม ชิ้นงาน 6 เหลี่ยม และชิ้นงาน 3 เหลี่ยม ดา้ นเท่าเป็ นตน้ ส่วนหวั จบั ชนิด 4 จบั ฟันอิสระสามารถจบั ชิ้นงานไดท้ ุกรูปแบบ ดงั รูป รูปท่ี 3.26 แสดงหวั จบั 3 จบั ฟันพร้อม ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเคร่ืองมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เรื่อง “เครื่องกลึงและงานกลึง” 281 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตลู รูปท่ี 3.27 แสดงหวั จบั 4 จบั ฟันอิสระ ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 2.10.2 กนั สะทา้ นของเคร่ืองกลึง (The Steady Rest) เป็นอุปกรณ์ของเคร่ืองกลึงท่ี ทาหนา้ ที่ช่วยประคองชิ้นงานยาว ๆ ขณะทาการกลึงไม่ใหเ้ กิดการหนีศูนย์ ดงั รูป รูปท่ี 3.28 การทางานของกนั สะทา้ น ที่มา : ที่มา : https://www.pinterest.com, 2558 2.10.3 จานพาเครื่องกลึง (Lathe Faceplates) เป็นอุปกรณ์ท่ีใชจ้ บั ชิ้นงานกลึง ทาหนา้ ท่ีเป็นตวั จบั ห่วงพาเพ่ือพาชิ้นงานหมุน บางคร้ังยงั สามารถใชจ้ บั ชิ้นงานแบน ๆ ไดอ้ ีกดว้ ย ดงั รูป สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเคร่ืองมือกลเบือ้ งต้น หน่วยที่ 3 เร่ือง “เคร่ืองกลึงและงานกลึง” 282 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล รูปที่ 3.29 จานพาของเครื่องกลึง ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 2.10.4 ห่วงพาเครื่องกลึง (Lathe Dogs) เป็นอุปกรณ์ที่ใชจ้ บั ชิ้นงานเพ่ือกลึงโดยวธิ ี ยนั ศูนยใ์ ชค้ ู่กบั จานพาและศูนยข์ องเครื่องกลึง ดงั รูป รูปที่ 3.30 ห่วงพาเคร่ืองกลึง ท่ีมา : http://www.micro-machine- shop.com/9x20_centers_drill_chucks_arbors_accessories.htm, 2552 2.10.5 ศูนยเ์ คร่ืองกลึง (Lathe Centers) เป็นอุปกรณ์ท่ีทาหนา้ ที่ในการประคอง ชิ้นงานกลึงท่ีมีความยาว ศูนยข์ องเครื่องกลึงมี 2 ชนิด คือ ศูนยต์ าย (A Revolving Deal Center) และศูนยเ์ ป็น (A Heavy – Duty Ball Center) ดงั รูป สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เรื่อง “เคร่ืองกลึงและงานกลึง” 283 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล รูปที่ 3.31 ศูนยต์ ายของเครื่องกลึง ท่ีมา : http://www.suppaisarn.com/index.php?route=product/product&product_id=69, 2552 รูปท่ี 3.32 ศูนยเ์ ป็ นของเครื่องกลึง ที่มา : http://www.micro-machine- shop.com/9x20_centers_drill_chucks_arbors_accessories.htm, 2552 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เรื่อง “เครื่องกลึงและงานกลึง” 284 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล 3. ความเร็วรอบ ความเร็วตัดและอตั ราป้อน 3.1 ความเร็วรอบ ความเร็วรอบ (Speed) หมายถึง ความเร็วรอบของชิ้นงานหรือความเร็วรอบของ เคร่ืองมือตดั ที่หมุนไดใ้ นเวลา 1 นาที มีหน่วยวดั เป็นรอบต่อนาที (Revolution Per Minute : RPM) ตัวอย่างเช่น ตอ้ งการกลึงงานท่ีทาจากเหล็กเหนียว ขนาดเส้นผา่ นศูนยก์ ลาง 20 มม. เม่ือทาการ คานวณความเร็วรอบแลว้ จะใชค้ วามเร็วรอบไมก่ ิน 500 รอบตอ่ นาที ดงั น้นั ช่างจะตอ้ งต้งั ความเร็วรอบในการกลึงงานชิ้นน้ีท่ีความเร็วรอบไม่เกิน 500 รอบตอ่ นาที แตถ่ า้ ต้งั ความเร็วรอบ ไม่ถูกตอ้ ง เช่น ต้งั เร็วจนเกินไป คมมีดตดั จะสึกหรออยา่ งรวดเร็ว ตอ้ งเสียเวลาลบั มีดตดั ใหม่ สิ้นเปลืองมีดตดั หรือถา้ ต้งั ความเร็วรอบชา้ เกินไป จะเสียเวลาในการป้อนกินงานมาก ทาใหง้ าน เสร็จชา้ ไดช้ ิ้นงานนอ้ ยกวา่ ความเป็นจริง สูตร ความเร็ วรอบ (n)  ความเร็วตดั (v)x1,000 3.1416x ความโตชิ้นงาน (D) ความเร็ วรอบ (n)  มีหน่วยเป็น รอบ ต่อ นาที ความเร็วตดั (v)  มหี น่วยเป็นเมตรต่อนาที ความโต (D)  มีหน่วยเป็น มิลลิเมตร หมายเหตุ สูตรน้ีใชก้ บั ระบบเมตริก สูตร ความเร็ วรอบ (RPM)  ความเร็วตดั (C S) x 320 ความโตชิ้นงาน (D) ความเร็ วรอบ (RPM)  ความเร็วตดั (C S)  มีหน่วยเป็น รอบ ต่อ นาที ความโต (D)  มหี น่วยเป็น ฟุต ต่อนาที มีหน่วยเป็น นิ้ว หมายเหตุ สูตรน้ีใชก้ บั ระบบองั กฤษ สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเคร่ืองมือกลเบือ้ งต้น หน่วยที่ 3 เรื่อง “เครื่องกลึงและงานกลึง” 285 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตลู 3.2 ความเร็วตัด ความเร็วตดั (Cutting Speed) หมายถึง ความเร็วท่ีคมมีดตดั ตดั หรือปาดผวิ โลหะออก เม่ือชิ้นงานหมุนไปครอบ 1 รอบ ซ่ึงมีดตดั จะตอ้ งปาดผวิ โลหะออกเป็นเส้นยาวเท่ากบั เส้นรอบวง ของชิ้นงานพอดี หน่วยวดั ความเร็วตดั คิดเป็นเมตรต่อนาที ตัวอย่างเช่น ชิ้นงานทาจากเหลก็ เหนียว ที่มีขนาดเส้นผา่ นศูนยก์ ลาง 2 มม. ดงั น้นั เส้นรอบวงของ ชิ้นงานจะเท่ากบั (d)  3.14 x 20  62.80 มม. หรือ 0.0628 เมตร และถา้ ชิ้นงานหมุน ดว้ ยความเร็วรอบ 500 รอบต่อนาที ดงั น้นั ความเร็วตดั จะเทา่ กนั 0.0628 x 500 = 31.40 เมตร ต่อนาที ความเร็วตดั น้ีนกั วชิ าการไดท้ าการกาหนดคา่ มาตรฐาน สาหรับการคานวณความเร็วรอบ แตล่ ะเครื่องจกั รกลไวแ้ ลว้ 3.3 ข้อพจิ ารณาในการเลือกความเร็วตัดจากเครื่องกลงึ 3.3.1 วสั ดุชิ้นงานท่ีมีความเขง็ จะใชค้ ่าความเร็วตดั ต่ากวา่ ชิ้นงานท่ีอ่อน วสั ดุมีดตดั เช่น มีดกลึง ดอกสวา่ น มีดกดั ถา้ ทาจากเหลก็ รอบสูง (HSS) ใชค้ วามเร็วตดั ต่ากวา่ มีด ตดั ท่ีทาจากโลหะแขง็ 3.3.2 ขนาดหนา้ ตดั หรือความหนาของเศษโลหะ ถา้ กลึงหรือตดั ชิ้นงานทีละนอ้ ย หรือป้อนกินไมล่ ึกเกินไป จะใชค้ วามเร็วตดั ไดส้ ูงกวา่ การป้อนกินงานคร้ังละมาก ๆ 3.3.3 การหล่อเยน็ ถา้ ชิ้นงานมีการหล่อเยน็ ที่เหมาะสมกบั วสั ดุชิ้นงาน จะใช้ ความเร็วตดั ไดส้ ูงกวา่ การกลึงงานท่ีไม่มีการหล่อเยน็ 3.3.4 ชนิดและขนาดของเครื่องจกั รกล ถา้ เป็นเครื่องจกั รกลที่มีขนาดใหญ่และ เครื่องที่ใหมก่ วา่ จะสามารถใชก้ ลึงงานไดม้ ากกวา่ เร็วกวา่ และใชค้ วามเร็วตดั ไดม้ ากกวา่ 3.4 อตั ราป้อน (Feed) การป้อนตดั หมายถึง ระยะทางการเดินป้อนมีดไปตามความยาวของชิ้นงาน ในแตล่ ะ รอบของการป้อนตดั อาจพิจารณาความหนาของเศษตดั การป้อนตดั 0.2 มม. มีดกลึงจะเคล่ือนท่ี ป้อนตดั งานเป็ นระยะทาง 0.2 มม. ตามความยาวของงานหมุนไป 1 รอบ ถา้ ชิ้นงานหมุน 10 รอบ ระยะทางของมีดจะเคล่ือนที่เป็ นระยะทางเทา่ กบั 10 x 0.2 = 2 มม. การป้อนตดั มี 2 ลกั ษณะคือ การป้อนตดั หยาบ และป้อนตดั ละเอียด การป้อนตดั หยาบ ใชใ้ นการป้อนตดั เม่ือกลึงงานระยะแรกที่ยงั เหลือขนาดอีกมาก สามารถป้อนกลึงหยาบเพือ่ กลึงงานไดร้ วดเร็ว สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เรื่อง “เคร่ืองกลึงและงานกลึง” 286 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล การป้อนตดั ละเอียด ใชใ้ นการป้อนตดั ละเอียด เมื่อกลึงงานที่ไดข้ นาดใกลเ้ คียงที่ตอ้ งการ การป้อนละเอียดจะทาใหผ้ วิ ที่ไดจ้ ากการกลึงมีผวิ ท่ีเรียบมากกวา่ การกลึงหยาบ 3.5 ความลกึ ในการป้อนมดี (Depth of cut) ความลึกท่ีเกิดข้ึนจากการป้อนตดั มีดลึกเขา้ ไปในงานจะทาใหเ้ ศษโลหะไหลออกมา เช่น ชิ้นงานเส้นผา่ ศูนยก์ ลาง 20 มม. ถา้ กลึงงานแลว้ งานจะถูกลดขนาด 4 มม. งานจะเหลือ เส้นผา่ ศูนยก์ ลาง 16 มม. การป้อนกินลึกและมีดแตล่ ะคร้ัง จะข้ึนอยกู่ บั ความละเอียดและความแขง็ ของวสั ดุเป็น สาคญั การใชอ้ ตั ราป้อนสามารถเลือกใหส้ ูงได้ ถา้ กาลงั ของเครื่องดีพอ ความเขง็ ของวสั ดุงานนอ้ ย กส็ ามารถป้อนไดม้ าก ถา้ หากป้อนชิ้นงานใหล้ ึกแลว้ ตอ้ งลดอตั ราป้อนกินใหน้ อ้ ยลง ส่ิงท่ีสาคญั ซ่ึง จะตอ้ งพิจารณาความเร็วตดั ที่ใชใ้ หถ้ ูกตอ้ งท่ีสุดความลึกและอตั ราป้อนเหมาะสมที่สุดเพอื่ ประหยดั เวลาในการทางาน 3.6 ความสัมพนั ธ์ระหว่างการใช้ความเร็วตัดกบั อตั ราป้อน 3.6.1 ถา้ อตั ราป้อน (Feed) มาก ความเร็วรอบในการกลึงจะตอ้ งลดลงเม่ือการป้อน มีดมีความลึกคงที่ 3.6.2 ถา้ ความเร็วรอบในการกลึงมากอตั ราป้อน (Feed) จะตอ้ งลดลงเมื่อการป้อน มีดมีความลึกคงท่ี 3.6.3 ถา้ ความลึกของมีดป้อนกลึงมากข้ึน ความเร็วรอบจะตอ้ งลดลงเมื่ออตั ราป้อน คงที่ 3.7 การคานวณความเร็วตัดและความเร็วรอบ ความเร็วตดั (V)   dn เมตร/ นาที 1,000 v  ความเร็วตดั (เมตร/นาที ) n  ความเร็วรอบของชิ้นงานหรือของมดี (รอบ / นาที) d  เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางของชิ้นงาน (มม.)   ค่าคงที่  3.14 ความเร็วรอบ (n)  v x 1,000 รอบ / นาที d สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องมือกลเบือ้ งต้น หน่วยที่ 3 เรื่อง “เคร่ืองกลึงและงานกลึง” 287 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล ตวั อย่าง ตอ้ งการกลึงชิ้นงานท่ีทาจากเหลก็ เหนียว (St. 40) มีเส้นผา่ นศูนยก์ ลาง 30 มม. โดยใช้ ความเร็วตดั จากการเปิ ดตาราง 25 เมตร/นาที จงคานวณหาความเร็วรอบท่ีจะใชใ้ นการกลึงงานน้ี วธิ ีคานวณ  v x 1,000 รอบ / นาที d ความเร็วรอบ (n) ความเร็วรอบ (n)  25 x 1,000  265.39 รอบ / นาที 3.14 x 30 ดงั น้นั ความเร็วรอบในการกลึงงานคร้ังน้ีไม่เกิน 265 รอบ/นาที เช่น ถา้ เคร่ืองกลึงมี ข้นั ความเร็วรอบ 150, 200, 250, 300,500 ฯลฯ รอบ/นาที ดงั น้นั จะใชค้ วามเร็วรอบข้นั 250 รอบ/นาที สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เรื่อง “เคร่ืองกลึงและงานกลึง” 288 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล ตารางท่ี 3.1 ค่าความเร็วตัดงานกลงึ และอตั ราป้อนกลงึ วสั ดุ ความแขง็ แรง วสั ดุมีด มุมมีด มุม ช่วงป้อน s มม./รอบ Kp/mm2 เหลก็ เหนียว มุมฟรี คาย 0.1 0.2 0.4 0.8 1.6 3.2 st34,st37,st42 ไมเ่ กิน 50  ความเร็วตดั ม./นาที St50,st60 50-70 เหล็กรอบสูง 8 14 60 45 34 25 19 St70 70-85 โลหะแขง็ 5 10 280 236 200 170 67 56 เหล็กเหนียวหล่อ 50-70 เหล็กรอบสูง 8 14 44 32 24 18 14 เหล็กผสม 85-100 โลหะแขง็ 5 10 240 205 175 145 50 42 เหลก็ แมงกานีส 100-140 เหลก็ รอบสูง 8 14 32 24 18 13 10 เหล็กโครมนิกเกิล เหล็กโครมโมลิบดินมั 140-180 โลหะแขง็ 5 10 200 170 132 106 34 27 เหล็กผสมอ่ืน ๆ 150-180 เหลก็ รอบสูง 8 10 34 25 19 14 11 เหล็กเคร่ืองมือ - โลหะแขง็ 5 6 118 100 85 71 24 20 เหล็กแมงกานีส บริเนล เหล็กรอบสูง 8 10 24 17 12 8.5 6 เหล็กหล่อ 200 GG12,GG26 บริเนล โลหะแขง็ 5 6 150 118 95 75 24 20 เหล็กหล่อ 200-250 GG18,GG26 - เหล็กรอบสูง 8 6 16 11 8 5.6 เหลก็ หล่อเหนียว บริเนล โลหะแขง็ 5 6 95 75 60 50 16 13 ทองแดงผสม 80-120 ทองเหลือง เหล็กรอบสูง 8 6 9.5 6 ทองแดงหล่อ - โลหะแขง็ 5 6 60 48 38 32 10 8 เหล็กรอบสูง 8 6 โลหะแขง็ 5 6 50 40 32 27 8.5 6.7 เหลก็ รอบสูง โลหะแขง็ 5 6 40 32 25 20 6.7 5.3 เหลก็ รอบสูง 8 0 48 27 18 14 9.5 โลหะแขง็ 5 0 140 118 95 80 67 เหล็กรอบสูง 8 0 32 18 13 9.5 6.3 โลหะแขง็ 5 0 106 90 75 63 53 เหลก็ รอบสูง 8 10 43 28 20 13 9 โลหะแขง็ 5 10 10+ 90 75 63 58 เหลก็ รอบสูง 8 0 125 85 56 36 - 5 6 600 530 450 400 355 เหลก็ รอบสูง 8 0 85 63 48 34 24 โลหะแขง็ 5 6 500 450 375 335 300 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องมือกลเบือ้ งต้น หน่วยที่ 3 เร่ือง “เคร่ืองกลึงและงานกลึง” 289 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตลู ตารางที่ 3.2 ค่าความเร็วตดั งานกลงึ และอตั ราป้อนกลงึ เมตร/นาที วสั ดุงาน มดี กลงึ H.S.S มดี เลบ็ เหลก็ St 40 กลงึ หยาบ กลงึ ละเอยี ด กลงึ หยาบ กลงึ ละเอยี ด เหล็ก St 70 25 35 140 160 เหล็ก St 100 17 22 100 125 เหลก็ หล่อ 12 17 80 105 ทองเหลือง 23 30 90 125 อะลูมิเนียม 65 90 275 380 พลาสติก 300 600 800 1,200 1,200 1,600 ตารางที่ 3.3 ค่าความเร็วตัดงานกลงึ เกลยี ว เมตร/นาที วสั ดุงาน ความเร็วรอบ ม. / นาที ช่วงกลงึ มม. เหลก็ St 40 เหลก็ เคร่ืองมือ เหลก็ รอบสูง 0.5-1.5 เหลก็ St 70 0.5-1.5 เหลก็ St 100 10 15 0.5-1.5 เหลก็ หล่อ 0.5-1.5 เหลก็ เหนียวหล่อ 9 13 0.5-1.5 ทองเหลือง 0.5-1.5 ทองแดงหล่อ 8 12 0.5-1.5 บรอนซ์ 0.5-1.5 โลหะเบา 8 10 0.5-1.5 ยางแขง็ และพลาสติก 0.5-1.5 7 11 15 25 15 25 15 25 - 25-45 - 10-30 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องมือกลเบือ้ งต้น หน่วยที่ 3 เรื่อง “เคร่ืองกลึงและงานกลึง” 290 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตลู 4. ความปลอดภัยในการใช้เครื่องกลงึ 1. ตรวจสอบส่วนตา่ ง ๆ ของเครื่องกลึงทุกคร้ังก่อนการทางาน วา่ อยใู่ นสภาพพร้อมที่จะ ทางานอยา่ งปลอดภยั ถา้ มีขอ้ บกพร่องใหแ้ จง้ ผคู้ วบคุมแกไ้ ขทนั ที 2. ตอ้ งสวมแวน่ ตานิรภยั ทุกคร้ังท่ีปฏิบตั ิงานบนเคร่ืองกลึง 3. ก่อนเปิ ดสวิตซ์เครื่อง ตอ้ งแน่ใจวา่ จบั งาน จบั มีดกลึง แน่น และถอดประแจขนั หวั จบั ออกแลว้ 4. สวติ ซ์หรือป่ ุมนิรภยั ตา่ ง ๆ ของเครื่องกลึง เช่น ท่ีหวั เคร่ือง เบรกท่ีฐานเคร่ืองตอ้ งอยู่ ในสภาพพร้อมที่จะทางาน 5. ขณะกลึงจะมีเศษโลหะออกมา หา้ มใชม้ ือดึงเศษโลหะเป็นอนั ขาด ใหใ้ ชเ้ หลก็ ขอ เก่ียวหรือแปรงปัดแทน 6. หา้ มสวมถุงมือขณะทางานกลึง รวมท้งั แหวน นาฬิกา เส้ือผา้ ท่ีหลวม หรือเน็คไท ซ่ึงหวั จบั งานจะดึงเขา้ หาหวั จบั จนเป็นอนั ตรายได้ 7. ตอ้ งถอดประแจขนั หวั จบั ออกทุกคร้ังท่ีขนั หรือคลายหวั จบั แลว้ เสร็จ 8. ระวงั ชุดแท่นเลื่อนจะชนกบั หวั จบั งาน เพราะจบั งานส้ันจนเกินไป 9. หา้ มจบั มีกลึงออกมาจากชุดป้อมมีดยาวเกินไป และไม่ควรเล่ือนแทน่ เลื่อนบนออกมา ใหห้ ่างจากจุดก่ึงกลางมากเกินไป จะทาใหป้ ้อมมีดไมแ่ ขง็ แรงและมีดส้นั ได้ 10. หา้ มใชม้ ือลูบหวั จบั เพ่ือใหห้ ยดุ หมุน แตใ่ หใ้ ชเ้ บรกแทน และหา้ มใชม้ ือลูบชิ้นงาน เพราะคมงานอาจจะบาดมือได้ 11. การถอดและจบั ยดึ หวั จบั (Chuck) จะตอ้ งใชไ้ มร้ องรับที่สะพานแท่นเคร่ืองเสมอ ตอ้ งหยดุ เครื่องทุกคร้ังท่ีจะถอด จบั หรือวดั ชิ้นงาน 5. การบารุงรักษาเครื่องกลงึ ระบบการหล่อล่ืน 1. การหล่อล่ืนในส่วนของ HEAD STOCK และส่วนชุดหีบเฟื องป้อนการหล่อลื่นน้นั ควรเติมน้ามนั หล่อลื่นใหพ้ อดีขีดบนกระจกน้ามนั 2. การหล่อลื่นในชุดเฟื องส่งกาลงั ใหท้ าการเปิ ดฝาครอบสายพานและหมนั่ ตรวจสอบ เป็ นประจา สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เร่ือง “เคร่ืองกลึงและงานกลึง” 291 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตลู 3. การหล่อลื่นส่วนของรางเลื่อน เพลาเกลียวนา ใหก้ ารหล่อลื่นเป็นประจาทุกวนั ต่อ คร้ัง 4. การหล่อเยน็ ขณะทาการกลึงงาน การทางานควบคุมดว้ ยระบบ CONTROL SWITCH ซ่ึงอยทู่ ี่ตาแหน่งดา้ นบนของชุดหีบเฟื องป้อน ขณะที่เครื่องทางาน PUMP กจ็ ะทางาน พร้อมกนั เม่ือทาการเปิ ดสวิตซ์ สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เร่ือง “เครื่องกลึงและงานกลึง” 292 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตลู 6. ข้นั ตอนการปฏบิ ัตงิ านกลงึ 6.1 ข้นั ตอนเตรียมความพร้อม 6.1.1 เปิ ดไฟใหแ้ สงสวา่ งภายในโรงงานในบริเวณที่จาเป็ นเพอื่ การประหยดั พลงั งานโดยคานึงถึงการปฏิบตั ิงานท่ีมีความปลอดภยั รูปท่ี 3.33 แสดงการเปิ ดไฟใหแ้ สงสวา่ งก่อนทางาน ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 รูปที่ 3.34 แสดงแสงสวา่ งภายในโรงงาน ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเคร่ืองมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เร่ือง “เครื่องกลึงและงานกลึง” 293 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล รูปที่ 3.35 แสดงแสงสวา่ งป้ายความปลอดภยั ไวก้ ่อนเป็ นความปลอดภยั เบ้ืองตน้ ในการปฏิบตั ิงาน ในโรงงาน ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 6.2 ข้นั ตอนการเบิก - จ่ายเครื่องมือ รูปท่ี 3.36 แสดงการเตรียมพร้อมดา้ นเครื่องมือ ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเคร่ืองมือกลเบือ้ งต้น หน่วยที่ 3 เร่ือง “เคร่ืองกลึงและงานกลึง” 294 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตลู รูปที่ 3.37 แสดงใบเบิก - จ่ายเครื่องมือ และวสั ดุ ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 ข้นั ตอนการเบิก – จา่ ยเครื่องมือ คือ ผเู้ บิกเขียนใบเบิกให้ครบถว้ นส่งท่ีผรู้ ับผิดชอบใน การจ่ายเครื่องมือในวนั น้นั ๆ ผจู้ า่ ยเก็บใบเบิกไว้ เม่ือผเู้ บิกนาเครื่องมือไปใชแ้ ลว้ ใหส้ ่งคืนท่ีผจู้ า่ ย ผจู้ ่ายขีดเครื่องหมายถูกลงในช่องคืนแลว้ จากน้นั ส่งใหค้ รูผรู้ ับผดิ ชอบในตอนเลิกปฏิบตั ิงาน 6.3 เครื่องมือและวสั ดุทใี่ ช้ในงานลบั เคร่ืองมือตัด 6.3.1 ประเภทเครื่องมือตดั เช่น ดอกเจาะนาศูนย์ มีดกลึงปาดหนา้ มีดกลึงปอก มีดกลึงสามเหล่ียม มีดกลึงเซาะร่อง ดอกสวา่ น รูปที่ 3.38 แสดงดอกเจาะนาศูนย์ มีดกลึงปาดหนา้ มีดกลึงปอก มีดกลึงสามเหล่ียม มีดกลึงเซาะร่อง ดอกสวา่ น ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเคร่ืองมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เร่ือง “เครื่องกลึงและงานกลึง” 295 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล 6.3.2 ตวั พมิ พล์ าย (Knurling) เป็นอุปกรณ์ที่ใชท้ าหนา้ ที่ในการพมิ พล์ ายชิ้นงาน ใหเ้ ป็นรูปลายต่าง ๆ ดงั รูป รูปท่ี 3.39 แสดงอุปกรณ์พิมพล์ าย ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 6.3.3 เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ ใชว้ ดั ขนาดชิ้นงาน รูปที่ 3.40 แสดงเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เร่ือง “เคร่ืองกลึงและงานกลึง” 296 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล 6.3.4 หวั ยนั ศูนยเ์ ป็น ใชเ้ ช็คศูนยม์ ีดกลึง และยนั ศูนยช์ ิ้นงาน รูปที่ 3.41 หวั ยนั ศูนยเ์ ป็ น ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 6.3.5 หวั จบั ดอกสวา่ นใชจ้ บั ยดึ ดอกเจาะนาศูนย์ และดอกสวา่ น รูปที่ 3.42 หวั จบั ดอกสวา่ น ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเคร่ืองมือกลเบือ้ งต้น หน่วยที่ 3 เรื่อง “เคร่ืองกลึงและงานกลึง” 297 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล 6.3.6 จาปา ใชข้ นั หวั จบั ดอกสวา่ น รูปท่ี 3.43 แสดงจาปาขนั หวั จบั ดอกสวา่ น ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 6.3.7 ทีชคั ขนั หวั จบั เพือ่ จบั ชิ้นงาน รูปท่ี 3.44 แสดงทีชคั ขนั หวั จบั ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเคร่ืองมือกลเบือ้ งต้น หน่วยที่ 3 เร่ือง “เครื่องกลึงและงานกลึง” 298 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล 6.3.8 ทีบล็อก ใชข้ นั สกรูจบั มีดบนป้อมมีด รูปท่ี 3.45 แสดงทีบลอ็ ก ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 6.3.9 แวน่ ตานิรภยั ใชส้ าหรับป้องกนั เศษเหลก็ กระเด็นเขา้ ตาขณะกลึงงาน รูปที่ 3.46 แสดงแวน่ ตานิรภยั ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเคร่ืองมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เร่ือง “เคร่ืองกลึงและงานกลึง” 299 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล 6.3.10 ประแจหกเหลี่ยม No. 10 ใชข้ นั สกรูจบั มีดบนป้อมมีด รูปที่ 3.47 แสดงประแจหกเหลี่ยม No. 10 ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 6.3.11 ประแจหกเหล่ียม No. 6 ใชค้ ลายสกรูปรับองศาในการกลึงเรียว รูปที่ 3.48 แสดงประแจหกเหล่ียม No. 6 ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเคร่ืองมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เรื่อง “เครื่องกลึงและงานกลึง” 300 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล 6.3.12 เหลก็ รองมีด ใชร้ องมีดเพือ่ ปรับความสูง - ต่าใหไ้ ดศ้ ูนย์ รูปที่ 3.49 แสดงเหลก็ รองมีด ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 6.3.13 เวอร์เนียร์ไฮเกจ ใชว้ ดั และขีดร่างแบบความสูงของงานโดยวางประกบกบั แทง่ วบี ล็อกบนแท่นระดบั รูปท่ี 3.50 แสดงเวอร์เนียร์ไฮเกจ ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เรื่อง “เคร่ืองกลึงและงานกลึง” 301 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล 6.3.14 อุปกรณ์ทาความสะอาด เช่น ผา้ แปรง ไมก้ วาดดอกหญา้ รูปที่ 3.51 แสดงอุปกรณ์ทาความสะอาด เช่น ผา้ แปรง ไมก้ วาดดอกหญา้ ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 6.3.15 กาหยอดน้ามนั ใชส้ าหรับหยอดน้ามนั เคร่ืองบารุงรักษาเครื่องกลึง รูปท่ี 3.52 แสดงหยอดน้ามนั หลอ่ ลื่น ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเคร่ืองมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เรื่อง “เครื่องกลึงและงานกลึง” 302 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล 6.4 ข้นั ตอนการกลงึ ปาดหน้า 6.4.1 จบั หวั ยนั ศูนยร์ ่วมกบั ศูนยท์ า้ ยแทน่ การกลึงปาดหนา้ จาเป็นตอ้ งจบั หวั ยนั ศูนยก์ บั ศูนยท์ า้ ยแทน่ เพอื่ ใชต้ ้งั ศูนยม์ ีดกลึง รูปที่ 3.53 แสดงการจบั หวั ยนั ศนู ยร์ ่วมกบั ศูนยท์ า้ ยแท่น ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 6.4.2 จบั ชิ้นงานดว้ ยหวั จบั แบบ 3 จบั ฟันพร้อม จบั ชิ้นงานดว้ ยหวั จบั แบบ 3 จบั ฟันพร้อมใหช้ ิ้นงานพน้ จากหวั จบั ออกมาประมาณ 1-1.5 เทา่ ของเส้นผา่ ศูนยก์ ลางชิ้นงาน แลว้ ขนั ดว้ ยทีชกั ใหแ้ น่น รูปท่ี 3.54 แสดงการจบั ชิ้นงานดว้ ยหวั จบั แบบ 3 จบั ฟันพร้อม ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องมือกลเบือ้ งต้น หน่วยที่ 3 เร่ือง “เครื่องกลึงและงานกลึง” 303 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตลู 6.4.3 จบั มีดกลึงบนป้อมมีด จบั มีดกลึงบนป้อมมีดปรับระดบั ความสูงต่าโดยใชเ้ หลก็ แผน่ บางหรือแผน่ สงั กะสีรอง มีดเพอ่ื ใหป้ ลายมีดไดร้ ะดบั พอดีกบั หวั ยนั ศูนยห์ รือศูนยก์ ลางของเครื่องกลึงแลว้ ขนั ดว้ ยทีบล็อก หรือประแจหกเหล่ียมใหแ้ น่นโดยใหม้ ีดยาวเลยป้อมมีดออกมาประมาณ 1 นิ้ว รูปท่ี 3.55 แสดงการจบั มดี กลึงบนป้อมมดี โดยใชเ้ หลก็ แผน่ บางรองเพ่อื ปรบั ระดบั ความสูง - ต่า ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 รูปที่ 3.56 แสดงการเช็คศูนยม์ ีดโดยวดั กบั หวั ยนั ศูนย์ ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเคร่ืองมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เร่ือง “เคร่ืองกลึงและงานกลึง” 304 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตลู 6.4.4 ปรับความเร็วรอบตามความเหมาะสมของงาน ปรับความเร็วรอบใหเ้ หมาะสมกบั ขนาดความโตของชิ้นงานและชนิดของวสั ดุ รูปที่ 3.57 แสดงการปรับความเร็วรอบ ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 6.4.5 เปิ ดสวติ ซ์เครื่อง รูปท่ี 3.58 แสดงการเปิ ดสวติ ซ์เคร่ือง ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เร่ือง “เคร่ืองกลึงและงานกลึง” 305 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล 6.4.6 ปรับมุมมีดใหป้ ลายมีดจิกดา้ นหนา้ ชิ้นงานทามุม 2-5 องศา รูปท่ี 3.59 แสดงปรับมมุ มีดใหป้ ลายมีดจิกดา้ นหนา้ ชิ้นงานทามุม 2-5 องศา ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 6.4.7 ทาการกลึงปาดหนา้ ชิ้นงาน สับคนั โยกเพื่อเปิ ดเคร่ืองกลึงใหท้ างานโดยใหห้ วั จบั หมุนทวนเขม็ นาฬิกาป้อนความลึก โดยหมุนมือหมุนของแท่นเล่ือนจากขวาไปซา้ ยเขา้ หาชิ้นงานตรงจุดศูนยก์ ลางแลว้ หมุนมือหมุน ของแทน่ เลื่อนขวางเขา้ หาตวั ผปู้ ฏิบตั ิงานจนสุดขอบงานหากผวิ หนา้ งานยงั ไม่เรียบก็ใหก้ ลึงปาด หนา้ ซ้าจนกวา่ ผวิ หนา้ งานจะเรียบ และหากเห็นวา่ เกิดตุม่ ตรงกลางแสดงวา่ มีดกลึงไม่ไดศ้ ูนย์ ใหป้ รับความสูง ต่าดว้ ยเหลก็ รองมีด รูปที่ 3.60 แสดงการกลึงปาดหนา้ ชิ้นงาน ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เรื่อง “เคร่ืองกลึงและงานกลึง” 306 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตลู รูปที่ 3.61 แสดงชิ้นงานจากปาดหนา้ ชิ้นงาน ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 6.4.8 ลบคมขอบชิ้นงาน เพ่อื ไม่ใหข้ อบของชิ้นงานบาดมือและเพอ่ื ความสวยงามจึงตอ้ งทาการลบคมขอบชิ้นงาน ป้องกนั อนั ตราย โดยปรับมุมมีด 45 องศา และลบคมใหไ้ ดข้ นาด 1-2 มิลลิเมตร รูปที่ 3.62 แสดงลบคมขอบชิ้นงาน ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเคร่ืองมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เร่ือง “เคร่ืองกลึงและงานกลึง” 307 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตลู 6.4.9 การเจาะรูยนั ศูนยด์ ว้ ยดอกเจาะนาศูนย์ การเจาะรูยนั ศูนยม์ ีจุดประสงคเ์ พ่อื การเจาะนาก่อนเจาะดว้ ยดอกสวา่ น หรือการใชศ้ ูนย์ ยนั ประคองชิ้นงานไม่ใหห้ มุนแกวง่ หนีศูนยใ์ นกรณีการกลึงปอกงานยาว ๆ โดยการจบั ดอกเจาะนา ศูนยก์ บั หวั จบั ดอกสวา่ นขนั ดว้ ยจาปาใหแ้ น่นอยบู่ นศูนยท์ า้ ยแท่นแลว้ ทาการหมุนป้อนเจาะโดยใช้ ความเร็วรอบสูง 1000 รอบตอ่ นาที รูปที่ 3.63 แสดงการจบั หวั จบั ดอกสวา่ นบนศูนยท์ า้ ยแท่น ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 รูปท่ี 3.64 แสดงการจบั ดอกเจาะนาศูนยด์ ว้ ยหวั จบั ดอกสวา่ นบนศูนยท์ า้ ยแท่น ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องมือกลเบือ้ งต้น หน่วยที่ 3 เร่ือง “เครื่องกลึงและงานกลึง” 308 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตลู รูปที่ 3.65 แสดงการปรับความเร็วรอบในการเจาะนาศูนย์ ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 รูปที่ 3.66 แสดงการเจาะนาศูนย์ ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเคร่ืองมือกลเบือ้ งต้น หน่วยที่ 3 เร่ือง “เคร่ืองกลึงและงานกลึง” 309 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตูล 6.5 ข้นั ตอนการกลงึ ปอก 6.5.1 จบั หวั ยนั ศูนยร์ ่วมกบั ศูนยท์ า้ ยแทน่ การกลึงปอกจาเป็นตอ้ งจบั หวั ยนั ศูนยก์ บั ศูนยท์ า้ ยแท่นเพ่ือใชต้ ้งั ศูนยม์ ีดกลึงแลว้ จบั มีดกลึงเช็คศูนย์ เช่นเดียวกบั การจบั มีดกลึงปาดหนา้ รูปท่ี 3.67 แสดงการจบั หวั ยนั ศนู ยร์ ่วมกบั ศูนยท์ า้ ยแท่นก่อนกลึงปอก ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 6.5.2 จบั มีดกลึงปอกบนป้อมมีดปรับความสูง ต่าโดยใชแ้ ผน่ เหลก็ รองและเช็คศูนย์ จากปลายหวั ยนั ศูนย์ รูปที่ 3.68 แสดงเช็คศูนยม์ ีดกลึงปอก ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเคร่ืองมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เรื่อง “เครื่องกลึงและงานกลึง” 310 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตลู 6.5.3 ร่างแบบชิ้นงาน ร่างแบบชิ้นงานโดยขีดดว้ ยเวอร์เนียร์ไฮเกจรอบชิ้นงานบนแท่นระดบั มีแทง่ วบี ลอ็ ก ประคอง เป็ นการรู้ความยาวที่ตอ้ งการกลึงปอกล่วงหนา้ ก่อนท่ีจะวดั ดว้ ยเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ อีกคร้ัง รูปท่ี 3.69 แสดงการร่างแบบงานก่อนกลึงปอก ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 6.5.4 จบั ชิ้นงานดว้ ยหวั จบั แบบ 3 จบั ฟันพร้อม จบั ชิ้นงานดว้ ยหวั จบั แบบ 3 จบั ฟันพร้อมขนั ดว้ ยทีชกั ใหแ้ น่น หากกลึงปอกงานยาวตอ้ ง ใชห้ วั ยนั ศูนยย์ นั ประคองชิ้นงานเพอ่ื ไมใ่ หง้ านหมุนแกวง่ รูปท่ี 3.70 แสดงการจบั ชิ้นงานดว้ ยหวั จบั แบบ 3 จบั ฟันพร้อมก่อนกลึงปอก ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 3 เรื่อง “เคร่ืองกลึงและงานกลึง” 311 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วิทยาลยั เทคนิคสตลู 6.5.5 ปรับความเร็วรอบตามความเหมาะสมของงาน ปรับความเร็วรอบให้เหมาะสมกบั ขนาดความโตของชิ้นงานและชนิดของวสั ดุ รูปท่ี 3.71 แสดงการปรับความเร็วรอบก่อนกลึงปอก ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 6.5.6 เปิ ดสวติ ซ์เครื่อง รูปที่ 3.72 แสดงการเปิ ดสวติ ซเ์ ครื่องก่อนกลึงปอก ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook