Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เนื้อหาหน่วยที่ 4 เครื่องเจาะและงานเจาะ

เนื้อหาหน่วยที่ 4 เครื่องเจาะและงานเจาะ

Published by สุธา บัวดำ, 2021-08-31 03:23:34

Description: เนื้อหาหน่วยที่ 4 เครื่องเจาะและงานเจาะ

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเคร่ืองมือกลเบอ้ื งต้น หน่วยที่ 4 เรื่อง “เคร่ืองเจาะและงานเจาะ” 532 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนคิ สตลู เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 4 เรื่อง เครื่องเจาะ และงานเจาะ สุธา บวั ดา ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเคร่ืองมอื กลเบอื้ งต้น หน่วยที่ 4 เรื่อง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 533 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนคิ สตลู หน่วยท่ี 4 ช่ือหน่วย เคร่ืองเจาะและงานเจาะ สาระสาคญั งานเจาะจดั เป็นกระบวนการผลิตข้นั พ้นื ฐาน ท่ีมีลกั ษณะการทางานแบบง่าย ๆ ไม่ ยงุ่ ยากซบั ซอ้ น แตม่ ีความสาคญั มาก โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในงานโลหะ การเจาะเป็ นกระบวนการตดั เฉือนวสั ดุงานออก โดยใชด้ อกสวา่ น รูที่ไดจ้ ากการเจาะดว้ ยดอกสวา่ นจะมีลกั ษณะเป็นรูกลม เช่น รูยดึ เหล็กดดั ประตูหนา้ ต่างบานพบั กลอนประตูบา้ น ตลอดจนชิ้นส่วนรถจกั รยาน รถยนตต์ ่าง ๆ มีรูสาหรับการจบั ยดึ มากมาย ในการเจาะรูบนชิ้นงานสามารถทาไดด้ ว้ ยเครื่องจกั รกลหลายชนิด เช่น การเจาะรูบนเครื่องกลึง เครื่องกดั เป็นตน้ แต่ในการเจาะรูท่ีประหยดั รวดเร็ว และนิยมใช้ กนั มากท่ีสุด คือ การเจาะรูดว้ ยเคร่ืองเจาะ ดงั น้นั เคร่ืองจกั รกลพ้ืนฐานที่จะกล่าวในที่น้ี คือ เครื่องเจาะ สาระการเรียนรู้ 1. ชนิดของเครื่องเจาะ 2. ส่วนประกอบและหลกั การทางานของเครื่องเจาะ 3. การคานวณในงานเจาะ 4. ความปลอดภยั ในการใชเ้ ครื่องเจาะ 5. การบารุงรักษาเคร่ืองเจาะ 6. ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงานเจาะ 7. งานรีมเมอร์ 8. งานเจาะผายปากรูเรียว และงานเจาะฝังหวั สกรูบา่ ฉาก จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทว่ั ไป 1. รู้และเขา้ ใจชนิดของเคร่ืองเจาะ 2. รู้และเขา้ ใจส่วนประกอบและหลกั การทางานของเคร่ืองเจาะ 3. รู้และเขา้ ใจการคานวณในงานเจาะ 4. รู้และเขา้ ใจความปลอดภยั ในการใชเ้ ครื่องเจาะ สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเคร่ืองมอื กลเบอ้ื งต้น หน่วยท่ี 4 เรื่อง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 534 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตลู 5. รู้และเขา้ ใจการบารุงรักษาเครื่องเจาะ 6. รู้และเขา้ ใจข้นั ตอนการปฏิบตั ิงานเจาะ 7. รู้และเขา้ ใจงานรีมเมอร์ 8. รู้และเขา้ ใจงานเจาะผายปากรูเรียว และงานเจาะฝังหวั สกรูบ่าฉาก จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. บอกชนิดของเคร่ืองเจาะได้ 2. บอกส่วนประกอบและหลกั การทางานของเคร่ืองเจาะได้ 3. บอกการคานวณในงานเจาะได้ 4. บอกความปลอดภยั ในการใชเ้ ครื่องเจาะได้ 5. บอกการบารุงรักษาเคร่ืองเจาะได้ 6. อธิบายการเจาะรูชิ้นงานได้ 7. บอกชนิดของรีมเมอร์ได้ 8. บอกส่วนประกอบของรีมเมอร์ได้ 9. บอกหลกั การทางานของรีมเมอร์ได้ 10. อธิบายข้นั ตอนการรีมเมอร์ได้ 11. บอกวธิ ีการเกบ็ รักษารีมเมอร์ได้ 12. บอกการเจาะผายปากรูเรียวและการฝังหวั สกรูบ่าฉากได้ 13. ปฏิบตั ิงานเจาะรูและเจาะผายปากรูชิ้นงานดว้ ยเคร่ืองเจาะไดถ้ ูกตอ้ ง 14. ปฏิบตั ิงานควา้ นรูเรียบดว้ ยดอกรีมเมอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 15. มีกิจนิสยั ท่ีดี ปฏิบตั ิงานโดยใชเ้ วลาเหมาะสม ปฏิบตั ิงานดว้ ยความปลอดภยั มีความต้งั ใจและใชเ้ ครื่องมืออยา่ งถูกตอ้ ง สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเครื่องมือกลเบอื้ งต้น หน่วยที่ 4 เร่ือง “เคร่ืองเจาะและงานเจาะ” 535 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วทิ ยาลยั เทคนคิ สตูล การเข้าสู่พืน้ ทกี่ ารจดั การเรียนการสอน แผนกวชิ าช่างกลโรงงาน 1. การเตรียมพืน้ ท่ีจดั การเรียนการสอนเรื่องเคร่ืองเจาะและงานเจาะ เพอ่ื เป็ นการจดั พ้ืนที่ใหเ้ หมาะสมกบั การปฏิบตั ิการเรียนการสอนเร่ืองเคร่ืองเจาะและงาน เจาะโดยใชพ้ ้ืนท่ีในแผนกวชิ าช่างกลโรงงาน รูปท่ี 5.1 แสดงอาคารเรียนแผนกวชิ าช่างกลโรงงาน ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 รูปท่ี 5.2 แสดงพ้ืนท่ีจดั การเรียนการสอน ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 บริเวณพ้ืนที่ปฏิบตั ิงานเครื่องเจาะอยใู่ นอาคารเรียนแผนกวิชาช่างกลโรงงาน เป็ นอาคาร เรียน 4 ช้นั ช้นั ท่ี 1 ประกอบไปดว้ ยพ้นื ท่ีปฏิบตั ิงานเคร่ืองมือกลประเภทตา่ ง ๆ หอ้ งพกั ครู สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเครื่องมอื กลเบือ้ งต้น หน่วยที่ 4 เร่ือง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 536 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนคิ สตลู หอ้ งน้าผูเ้ รียน หอ้ งเคร่ืองมือ และหอ้ งเรียนวชิ าเทคโนโลยี CNC ช้นั ท่ี 2 เป็นแผนกช่างเทคนิค พ้ืนฐาน ช้นั ที่ 3 และ 4 เป็นหอ้ งเรียนเขียนแบบและหอ้ งเรียนทฤษฎีวชิ าตา่ ง ๆ 2. ผู้เรียนจะต้องปฏบิ ัติตามข้อบังคบั ต่าง ๆ ขณะปฏบิ ัติงานในโรงงาน รูปที่ 5.3 แสดงขอ้ บงั คบั ในการปฏิบตั ิงานในโรงงาน ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 ข้อบังคบั ของโรงงาน 2.1 นกั ศึกษาตอ้ งแต่งกายให้เรียบร้อยตามระเบียบของวทิ ยาลยั 2.2 นกั ศึกษาตอ้ งมีกิริยา มารยาทตอ่ ครู – อาจารย์ และผอู้ ่ืน 2.3 นกั ศึกษาตอ้ งมีความพร้อมและพงึ ตระหนกั ต่อหนา้ ท่ีในขณะเรียนหรือฝึกปฏิบตั ิ 2.4 นกั ศึกษาตอ้ งเป็นคนตรงต่อเวลาและอยคู่ รบตามเวลากาหนด 2.5 นกั ศึกษาตอ้ งช่วยกนั รักษาทรัพยส์ มบตั ิของส่วนรวมและมีความรับผดิ ชอบร่วมกนั 2.6 ก่อนใชเ้ คร่ืองมือเคร่ืองจกั รนกั ศึกษาตอ้ งขออนุญาตต่ออาจารยผ์ ูร้ ับผดิ ชอบทุกคร้ัง 2.7 นกั ศึกษาตอ้ งไม่หยอกลอ้ หรือเล่นกนั ขณะปฏิบตั ิงาน 2.8 นกั ศึกษาตอ้ งไมน่ าทรัพยส์ มบตั ิของแผนกไปใชส้ ่วนตวั 2.9 นกั ศึกษาตอ้ งทาความสะอาดหลงั เลิกปฏิบตั ิงานทุกคร้ัง 2.10 นกั ศึกษาตอ้ งช่วยกนั เป็ นหูเป็นตา ผลที่จะเกิดข้ึนต่อแผนกและวทิ ยาลยั สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเครื่องมือกลเบอ้ื งต้น หน่วยที่ 4 เร่ือง “เคร่ืองเจาะและงานเจาะ” 537 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตลู 3. เตรียมความพร้อมของผู้เรียนโดยครูผู้สอนเช็คชื่อและตรวจการแต่งกายของ ผู้เรียนให้ถูกต้องตามระเบียบของสถานศึกษา รูปท่ี 5.4 แสดงการเตรียมความพร้อมของผเู้ รียน ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 4. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน รูปที่ 5.5 แสดงการทาแบบทดสอบก่อนเรียน ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเครื่องมอื กลเบอื้ งต้น หน่วยที่ 4 เรื่อง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 538 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตูล เนื้อหาสาระ เครื่องเจาะ (Drilling Machine) งานเจาะจดั เป็นกระบวนการผลิตข้นั พ้นื ฐาน ที่มีลกั ษณะการทางานแบบง่าย ๆ ไมย่ งุ่ ยาก ซบั ซอ้ น แต่มีความสาคญั มาก โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในงานโลหะ การเจาะเป็นกระบวนการตดั เฉือน วสั ดุงานออก โดยใชด้ อกสวา่ น รูที่ไดจ้ ากการเจาะดว้ ยดอกสวา่ นจะมีลกั ษณะเป็นรูกลม เช่น รูยดึ เหลก็ ดดั ประตูหนา้ ต่างบานพบั กลอนประตูบา้ น ตลอดจนชิ้นส่วนรถจกั รยาน รถยนตต์ า่ ง ๆ มีรู สาหรับการจบั ยดึ มากมาย ในการเจาะรูบนชิ้นงานสามารถทาไดด้ ว้ ยเครื่องจกั รกลหลายชนิด เช่น การเจาะรูบนเคร่ืองกลึง เคร่ืองกดั เป็นตน้ แตใ่ นการเจาะรูที่ประหยดั รวดเร็ว และนิยมใชก้ นั มากท่ีสุด คือ การเจาะรูดว้ ยเครื่องเจาะ ดงั น้นั เครื่องจกั รกลพ้ืนฐานที่จะกล่าวในที่น้ี คือ เคร่ืองเจาะ 1. ชนิดของเคร่ืองเจาะ เคร่ืองเจาะแบ่งออกเป็ น 5 ชนิด คือ 1.1 เคร่ืองเจาะต้งั โต๊ะ เป็นเครื่องเจาะขนาดเล็กเจาะรูขนาดไม่เกิน 13 มม. จะมีความเร็วรอบสูง ใชเ้ จาะงานที่มี ขนาดรูเลก็ ๆ ทว่ั ๆ ไป การส่งกาลงั โดยทว่ั ไปจะใชส้ ายพานและปรับความเร็วรอบดว้ ยลอ้ สายพาน 2-3 ข้นั รูปที่ 5.6 แสดงเคร่ืองเจาะต้งั โตะ๊ ที่มา : http://engineerknowledge.blogspot.com/2009/01/blog-post_08.html, 2552 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเคร่ืองมือกลเบอื้ งต้น หน่วยท่ี 4 เร่ือง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 539 สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตลู 1.2 เครื่องเจาะต้งั พืน้ เป็นเคร่ืองเจาะขนาดใหญ่และเจาะรูบนชิ้นงานท่ีมีขนาดใหญ่ เจาะรูไดต้ ้งั แตข่ นาดเล็ก จนถึงขนาดใหญ่สุดเทา่ ที่ดอกสวา่ นมี และใชง้ านอื่น ๆ ไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวางการส่งกาลงั ปกติจะใช้ ชุดเฟื องทด จึงสามารถปรับความเร็วรอบไดห้ ลายระดบั และรับแรงบิดไดส้ ูง รูปที่ 5.7 แสดงเครื่องเจาะต้งั พ้ืน ท่ีมา : http://engineerknowledge.blogspot.com/2009/01/blog-post_08.html , 2552 1.3 เคร่ืองเจาะรัศมี เป็นเคร่ืองเจาะขนาดใหญ่และเจาะรูบนชิ้นงานที่มีขนาดใหญ่กวา่ เครื่องเจาะต้งั พ้ืน โดยที่ หวั จบั ดอกสวา่ นจะเลื่อนไป-มาบนแขนเจาะ (Arm) จึงสามารถเจาะงานไดท้ ุกตาแหน่ง โดยติดต้งั งานอยกู่ บั ท่ี การส่งกาลงั ปกติจะใชช้ ุดเฟื องทด สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเคร่ืองมอื กลเบ้ืองต้น หน่วยท่ี 4 เรื่อง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 540 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนคิ สตูล รูปที่ 5.8 แสดงเคร่ืองเจาะรัศมี ที่มา : http://engineerknowledge.blogspot.com/2009_01_01_archive.html, 2552 1.4 เคร่ืองเจาะหลายหัว เป็นเคร่ืองเจาะท่ีออกแบบมาสาหรับการทางานอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ เครื่องเจาะจะมี หลายหวั จบั ดงั น้นั จึงสามารถจบั ดอกสวา่ นไดห้ ลายขนาด หรือจบั เครื่องมือตดั อื่น ๆ เช่น รีมเมอร์ หรือหวั จบั ทาเกลียวใน จึงทางานไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว รูปที่ 5.9 แสดงเคร่ืองเจาะหลายหวั ท่ีมา : http://www.chtmachinery.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=199377&Ntype=2 , 2552 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเครื่องมอื กลเบื้องต้น หน่วยที่ 4 เร่ือง “เคร่ืองเจาะและงานเจาะ” 541 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนคิ สตูล 1.5 เครื่องเจาะแนวนอน เป็นเครื่องเจาะที่ออกแบบมาเพอื่ ใหส้ ามารถทางานไดห้ ลายลกั ษณะ ท้งั การเจาะรู การ ควา้ นรู การกดั และการกลึง มกั จะพบในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ รูปท่ี 5.10 แสดงเคร่ืองเจาะแนวนอน ที่มา : http://www.machine-tool.asia/Horizontal-Boring-Machine_TPX611.html , 2552 2. ส่วนประกอบและหลกั การทางานของเคร่ืองเจาะ 2.1 ส่วนประกอบต่าง ๆ ของเคร่ืองเจาะต้งั โต๊ะ 2.1.1 ฐานเครื่อง (Base) ทาดว้ ยเหล็กหล่อ เป็ นส่วนที่รองรับน้าหนกั ท้งั หมดของ เครื่องจะยดึ ติดแน่นบนโตะ๊ ป้องกนั การส่ันสะเทือนในขณะปฏิบตั ิงาน รูปที่ 5.11 แสดงส่วนประกอบตา่ ง ๆ ของเครื่องเจาะต้งั โตะ๊ ท่ีมา : ดดั แปลงจาก http://engineerknowledge.blogspot.com/2009/01/blog-post_08.html, 2552 สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเครื่องมือกลเบอ้ื งต้น หน่วยที่ 4 เรื่อง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 542 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตูล 2.1.2 เสาเคร่ืองเจาะ (Column) จะเป็นเหลก็ รูปทรงกระบอกกลวง เป็นส่วนที่ยดึ ติดกบั ฐานเคร่ือง เพ่ือรองรับชุดหวั เคร่ืองและรองรับโตะ๊ งาน 2.1.3 โตะ๊ งาน (Table) ส่วนใหญท่ าดว้ ยเหล็กหล่อ เป็นส่วนที่รองรับชิ้นงานที่จะ นามาเจาะหรืออาจรองรับอุปกรณ์จบั ยดึ สาหรับจบั ยดึ ชิ้นงาน เช่น ปากกาจบั งาน เป็นตน้ สามารถ เล่ือนข้ึนลงไดบ้ นเสาเครื่องดว้ ยการหมุนแขนส่งกาลงั ดว้ ยชุดเฟื องสะพาน เมื่อไดต้ าแหน่งท่ี ตอ้ งการกส็ ามารถยดึ ให้แน่นกบั เสาเคร่ืองได้ 2.1.4 ชุดหวั เคร่ือง (Drilling Head) จะอยบู่ นสุดของเคร่ืองเจาะ ประกอบดว้ ยส่วน ต่าง ๆ ที่สาคญั ดงั น้ี - มอเตอร์ส่งกาลงั (Motor) - สายพานและลอ้ สายพานส่งกาลงั (Belt & Pulley) - ฝาครอบ (Pulley Guard) มีไวค้ รอบสายพานเพ่ือป้องกนั อนั ตราย - หวั จบั ดอกสวา่ น (Drill Chuck) ใชจ้ บั ดอกสวา่ นกา้ นตรง ส่วนใหญม่ ี ขนาดไม่เกิน ½ นิ้ว หรือประมาณ 12.7 มม. - แขนหมุนป้อนเจาะ (Hand Feed Level) - สวติ ซ์ปิ ดเปิ ด (Switch) 2.2 ส่วนประกอบทสี่ าคัญของเคร่ืองเจาะต้งั พืน้ เคร่ืองเจาะต้งั พ้นื จะมีส่วนประกอบท่ีสาคญั เหมือนเคร่ืองเจาะแบบต้งั โตะ๊ จะตา่ งกนั ตรง ขนาดและความสามารถในการเจาะรูและระบบส่งกาลงั ซ่ึงมีส่วนประกอบต่าง ๆ ดงั น้ี 2.2.1 ฐานเคร่ือง (Base) ทาดว้ ยเหล็กหล่อ เป็ นส่วนที่รองรับน้าหนกั ท้งั หมดของ เครื่องจะวางอยบู่ นพ้ืนโรงงาน 2.2.2 เสาเครื่องเจาะ (Column) จะเป็นเหล็กรูปทรงกระบอกกลวง เป็นส่วนท่ียดึ ติดกบั ฐานเครื่อง เป็ นส่วนที่รองรับชุดหวั เคร่ืองและรองรับโตะ๊ งาน สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเครื่องมอื กลเบ้อื งต้น หน่วยท่ี 4 เรื่อง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 543 สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ วทิ ยาลยั เทคนคิ สตลู รูปท่ี 5.12 แสดงส่วนประกอบตา่ ง ๆ ของเครื่องเจาะต้งั พ้ืน ท่ีมา : ดดั แปลงจาก http://engineerknowledge.blogspot.com/2009/01/blog-post_08.html, 2552 2.2.3 โตะ๊ งาน (Table) ส่วนใหญ่ทาดว้ ยเหล็กหล่อ มีท้งั ที่เป็นรูปวงกลมหรือเป็น รูปสี่เหลี่ยมเป็นส่วนท่ีรองรับชิ้นงานที่ตอ้ งการเจาะ หรืออาจจะรองรับอุปกรณ์จบั ยดึ ชิ้นงาน เช่น ปากกาจบั งาน 2.2.4 ชุดหวั เคร่ือง จะอยบู่ นสุดของเคร่ืองเจาะประกอบดว้ ยส่วนตา่ ง ๆ ท่ีสาคญั ดงั น้ี - มอเตอร์ส่งกาลงั - ระบบส่งกาลงั จะมีการส่งกาลงั ดว้ ยสายพานและฟันเฟื อง การส่งกาลงั ดว้ ย ฟันเฟื องจะมีคนั โยกบงั คบั เปลี่ยนความเร็วรอบ - ฝาครอบ เพ่ือป้องกนั อนั ตราย - แกนเพลา (Spindle) ภายในเป็นรูเรียวสาหรับจบั ยดึ กา้ นเรียวของหวั จบั ดอกสวา่ น หรือจบั กา้ นเรียวของดอกสวา่ นที่มีขนาดมากกวา่ 12.7 มม. ข้ึนไป - แขนหมุนป้อนเจาะ จะมีท้งั แบบป้อนเจาะดว้ ยมือและการป้อนเจาะ อตั โนมตั ิ - แกนต้งั ระยะป้อนเจาะ ใชส้ าหรับต้งั ความลึกเพ่ือเจาะงาน สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเครื่องมือกลเบื้องต้น หน่วยท่ี 4 เรื่อง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 544 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตลู 2.3 ส่วนประกอบทสี่ าคญั ของเครื่องเจาะแบบรัศมี รูปท่ี 5.13 แสดงส่วนประกอบตา่ ง ๆ ของเคร่ืองเจาะรศั มี ท่ีมา : ดดั แปลงจากhttp://www.radialdrillingmachine.net/, 2552 2.3.1 ฐานเคร่ือง (Base) เป็นส่วนที่ติดต้งั อยกู่ บั พ้ืนโรงงาน ทาดว้ ยเหลก็ หล่อ เป็น ส่วนท่ีรองรับน้าหนกั ท้งั หมดของเคร่ือง 2.3.2 เสาเครื่อง (Columm) มีลกั ษณะเป็นเสากลมใหญ่กวา่ เสาเคร่ืองเจาะธรรมดา จะยดึ ติดอยกู่ บั ฐานเคร่ือง จะเป็นท่ีเคลื่อนข้ึนลงและจบั ยดึ ของแขนรัศมี 2.3.3 แขนรัศมี (Radial Arm) สามารถเลื่อนข้ึนลงไดบ้ นเสาเคร่ือง และสามารถ หมุนรอบเสาเครื่องไดเ้ พ่ือหาตาแหน่งเจาะงาน เป็ นส่วนท่ีรองรับชุดหวั เครื่อง 2.3.4 ชุดหวั เครื่อง (Drilling Head) อยบู่ นรัศมี สามารถเลื่อนเขา้ ออกไดต้ ามความ ยาวของแขนรัศมี เพื่อหาตาแหน่งเจาะรู 2.3.5 แกนเพลา (Spindle) เป็นรูปทรงกระบอก ภายในเป็นรูเรียวสาหรับจบั ยดึ กา้ นเรียวของหวั จบั ดอกสวา่ น หรือจบั กา้ นเรียวของดอกสวา่ นที่มีขนาดใหญ่ 2.3.6 โตะ๊ งาน (Table) เป็นอุปกรณ์ท่ียดึ ติดอยบู่ นฐานเครื่อง จะมีร่องตวั -ที เพือ่ ใช้ จบั ยดึ ชิ้นงานโดยตรง หรือใชส้ าหรับจบั ยดึ ปากกาจบั งาน หรืออุปกรณ์อ่ืน ๆ 2.3.7 มอเตอร์ (Motor) เป็นตน้ กาลงั ที่ส่งกาลงั ไปหมุนแกนเพลาเพอ่ื หมุนดอก สวา่ นเจาะงานหรือส่งกาลงั เพ่อื ขบั เคลื่อนส่วนต่าง ๆ อตั โนมตั ิ เน่ืองจากชิ้นส่วนแต่ละส่วนมีขนาด ใหญ่ สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเครื่องมือกลเบอ้ื งต้น หน่วยท่ี 4 เร่ือง “เคร่ืองเจาะและงานเจาะ” 545 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตลู 2.4 ส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ทสี่ าคัญอ่ืน ๆ ของเครื่องเจาะ 2.4.1 ดอกสว่าน (Drills) 2.4.1.1 รูปร่างลกั ษณะ และชื่อเรียก รูปท่ี 5.14 แสดงการเรียกชื่อส่วนตา่ ง ๆ ของสวา่ น ที่มา : โครงการพฒั นาอตุ สาหกรรมแมพ่ ิมพ์ ,2548 สวา่ นลกั ษณะน้ีจะมีคมอยู่ 2 คม มีร่องคายเศษอยู่ 2 ร่อง คมตดั จะข้ึนเป็นขอบเส้น มีแนวหลบหลงั คมไปตามลาตวั คมจะเกิดข้ึนรอบ ๆ ลาตวั สวา่ นเป็นแนวเอียงมุมเหมือนกบั เกลียว ฟันไปรอบ ๆ ลาตวั 2.4.1.2 กา้ นจบั และร่องคายเศษโลหะ สวา่ นกา้ นตรง สวา่ นกา้ นตรงแบบมีกน่ั สวา่ นกา้ นจบั เรียว สวา่ นกา้ นจบั ส่ีเหลี่ยม รูปที่ 5.15 แสดงถึงลกั ษณะของกา้ นจบั สวา่ นที่มีใชง้ านกนั อยทู่ ว่ั ไป ที่มา : โครงการพฒั นาอตุ สาหกรรมแม่พิมพ์ ,2548 สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเคร่ืองมอื กลเบอื้ งต้น หน่วยท่ี 4 เร่ือง “เคร่ืองเจาะและงานเจาะ” 546 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตลู โดยทวั่ ๆ ไปจะใชง้ านกนั อยู่ 2 ประเภท คือ แบบกา้ นจบั ตรงและกา้ นจบั เรียว กา้ นจบั ของดอกสวา่ นน้ีจะทาหนา้ ที่จบั ยดึ เขา้ กบั อุปกรณ์การจบั ของเคร่ืองเจาะ เช่น พวกหวั จบั (Drill Chuck) สาหรับสวา่ นกา้ นตรง และปลอกจบั เรียว (Taper Sleeve) สาหรับสวา่ นกา้ นเรียว 2.4.1.3 คมตดั ของสวา่ น ชนิดคมตดั ของสว่าน เกิดข้ึนจากการกัดร่องคายเศษเจาะ คมตัดน้ีจะมี 2 ช่วง คือ ดา้ นหนา้ ของสวา่ น และคมตดั รอบ ๆ ลาตวั ในลกั ษณะของเกลียวหรือเป็ นคมตดั ตรง ซ่ึงคมตดั ของ สว่านน้ีจะแบ่งชนิดของคมออกไดเ้ ป็ น 2 ชนิด คือ คมตดั ตรงและคมตดั เล้ือย กรณีของคมตดั เล้ือยส่วนใหญ่ทวั่ ๆ ไปของการใช้งานจะมีคมรอบลาตวั อยู่ 2 คม หมายถึง มีร่องคายเศษอยู่ 2 ร่องนนั่ เอง จะมีสวา่ นกรณีพิเศษที่มีร่องคายเศษ 3 ร่องหรือ 4 ร่องข้ึนไป สาหรับเจาะงานเฉพาะซ่ึง จะให้คุณสมบตั ิที่ดี คือ ยง่ิ คมตดั มากความเท่ียงตรงในการเจาะจะสูง และผวิ รูเจาะจะเรียบ แต่ก็มี ขอ้ เสียคือ ความแขง็ แรงของคมตดั ดา้ นหนา้ จะนอ้ ยลง รูปที่ 5.16 แสดงถึงคมตดั สวา่ นชนิด 2 คม 2 ร่องคายเศษ ที่มา : โครงการพฒั นาอตุ สาหกรรมแม่พิมพ์ ,2548 รูปท่ี 5.17 แสดงถึงคมตดั สวา่ นชนิด 3 คม 3 ร่องคายเศษ ท่ีมา : โครงการพฒั นาอตุ สาหกรรมแม่พิมพ์ ,2548 ส่วนระหวา่ งลาตวั สวา่ น (BODY) กบั กา้ นจบั สวา่ น (SHANK) ของสวา่ น บางบริษทั จะตกร่องไว้ เรียกส่วนน้ีวา่ คอสวา่ น (NECK) สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเครื่องมือกลเบอ้ื งต้น หน่วยท่ี 4 เรื่อง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 547 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนคิ สตลู 2.4.1.4 เส้นแกนสวา่ น (WEB) รูปท่ี 5.18 แสดงถึงเสน้ แกนของส่วน ที่มา : โครงการพฒั นาอตุ สาหกรรมแม่พมิ พ์ ,2548 เส้นแกนของสว่านน้นั เกิดจากการกดั ร่องคายเศษเจาะและการข้ึนคมตดั ของสวา่ น ร่อง คายเศษจะเป็ นตวั ทาใหเ้ กิดเส้นแกน ข้ึน มีลกั ษณะเป็นแนวเรียว ดา้ นคมตดั จะมีความหนานอ้ ยกวา่ ดา้ นโคนของสวา่ น เส้นแกนน้ีจะเป็ นร่องบิดไปรอบ ๆ ลาตวั สวา่ น และความหนาของเส้นแกนจะ ค่อย ๆ เรียวเลก็ ลงไปจากโคนหาปลายคมตดั ดูตามภาพ (ก) และ (ข) 2.4.1.5 มุมคมตดั ดอกสวา่ น การลบั ดอกสวา่ น ดอกสวา่ นมีความจาเป็นมากในงานช่าง ด้งั น้นั ช่างทุกคนควรจะตอ้ ง ลบั ดอกสวา่ นเป็น เพื่อที่จะไดล้ บั ดอกสวา่ นไดเ้ ม่ือดอกสวา่ นไม่คม มุมจิกหรือมุมรวมปลายดอก สวา่ นท่ีใชง้ านทว่ั ๆไปจะมีมุมรวม 118 องศา รูปท่ี 5.19 มมุ ตา่ ง ๆ ของดอกสวา่ น ท่ีมา : โครงการพฒั นาอตุ สาหกรรมแมพ่ มิ พ์ ,2548 สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเคร่ืองมือกลเบื้องต้น หน่วยที่ 4 เรื่อง “เคร่ืองเจาะและงานเจาะ” 548 สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ วทิ ยาลยั เทคนคิ สตลู ตามภาพมุมคมตดั ของดอกสวา่ นโดยทว่ั ๆ ไปจะประกอบดว้ ยมุมที่เก่ียวขอ้ งกบั การตดั เฉือน เพื่อจะให้ผลดีต่อการตดั เฉือน คมตดั ทาการตดั เฉือนไดด้ ีจะตอ้ งมี (1) มุมคมตดั (Cutting Angle) (2) มุมหลบ(Lip Clearance Angle) (3) มุมคายเศษ (Rake Angle) (4) มุมจิก (Point Angle) แต่ละมุมจะมีความสาคญั ตอ่ การทางาน และมีความเก่ียวขอ้ งซ่ึงกนั และกนั - มุมคมตดั จะมีลกั ษณะเหมือนกบั ล่ิม ทาหนา้ ท่ีตดั เฉือนเน้ือโลหะ - มุมหลบ ทาหนา้ ที่ลดการเสียดสี และลดแรงตา้ นบริเวณผวิ หนา้ ของมุมจิก ของดอกสวา่ น ถา้ ไม่มีมุมคายเศษ ดอกสวา่ นจะไมส่ ามารถตดั เฉือนผวิ งานได้ - มุมคายเศษ ทาหนา้ ที่ใหเ้ ศษตดั เฉือนเคล่ือนที่คายออกจากผวิ งานท่ีถูกตดั - มุมจิก ในการตดั โลหะทว่ั ไปจะใชม้ ุมคมตดั น้ี 118 องศา สาหรับโลหะตดั เฉือนชิ้นงานซ่ึงสว่านส่วนใหญ่ทามาจากเหล็กรอบสูง(High Speed Steel,HSS) มุมจิกมีผลต่อแรง กดเจาะ ถา้ มุมจิกโตมากแรงตา้ นเจาะก็มากข้ึนตามลาดบั แตม่ ุมจิกก็ช่วยในการนาศูนยใ์ นการเจาะ งานในขณะเร่ิมเจาะดว้ ย ขนาดของมุมจิกน้ีจะข้ึนกบั วสั ดุงานที่นามาเจาะ 2.4.2 หวั จับดอกสว่านและประแจขันหัวจับ รูปท่ี 5.20 ประแจขนั หวั จบั ดอกสวา่ น รูปท่ี 5.19 หวั จบั ดอกสวา่ น ที่มา : http://www.tarad.com/product/3850551 ,2552 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเครื่องมอื กลเบือ้ งต้น หน่วยที่ 4 เรื่อง “เคร่ืองเจาะและงานเจาะ” 549 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตลู รูปที่ 5.21 แสดงการจบั ดอกสวา่ นขนาดเลก็ ดว้ ยหวั จบั (DRILL CHUCK) ที่มา : โครงการพฒั นาอตุ สาหกรรมแม่พมิ พ์ ,2548 การทางานของหวั จบั ดอกสวา่ นแบบใชป้ ระแจขนั แน่น โดยการประกอบดอกสวา่ นเขา้ กบั หัวจบั แลว้ ใชป้ ระแจเลื่อนเขา้ ไปในรูหัวจบั โดยฟันของหัวจบั จะสับเขา้ กบั ร่องฟันเฟื องที่หวั จบั ถา้ หมุนตามเข็มนาฬิกาจะเป็ นการจบั ยึดสว่านแน่น ถา้ หมุนทวนเข็มนาฬิกาจะเป็ นการคลาย ดอกสว่านออก ลกั ษณะของประแจขนั หัวจบั ดอกสว่านจะเป็ นลกั ษณะของฟันเฟื องดอกจอก (BEVEL GEAR) ดงั ในภาพที่มีกา้ นจบั ขนั และแกนสาหรับเสียบเขา้ กบั หวั จบั ดอกสวา่ น ตวั กา้ น จบั จะมีแขนหมุน สาหรับใหม้ ือจบั หมุนบิดไป-มา 2.4.3 ปลอกจับสว่านก้านเรียว (Sleeve) รูปท่ี 5.22 แสดงปลอกจบั สวา่ นกา้ นเรียว ที่มา : http://www.tarad.com/product/3850551 ,2552 สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเคร่ืองมือกลเบ้อื งต้น หน่วยที่ 4 เร่ือง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 550 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตูล ดอกสวา่ นที่มีขนาดใหญ่ ๆ การจบั ดว้ ยหวั จบั แบบต่าง ๆ ทาไดล้ าบาก ในการแกป้ ัญหา ให้ทางานไดส้ ะดวกและยงั คงประสิทธิภาพเท่าเดิม โดยการออกแบบกา้ นสวา่ นให้มีลกั ษณะเป็ น กา้ นเรียวใช้ประกอบเขา้ กบั เพลาเจาะของเคร่ืองเจาะขนาดเล็ก หรือใช้ประกอบเขา้ กบั ปลอกจบั ดอกสวา่ น แลว้ จึงประกอบเขา้ กบั เพลาเคร่ืองเจาะ ปลอกจบั น้ีมีหลายขนาด สาหรับกา้ นดอกสวา่ น ที่มีขนาดต่างกนั เม่ือใชง้ านสามารถนามาประกอบร่วมกนั ได้ รูปที่ 5.23 แสดงการถอดหวั จบั ดอกสวา่ นออก ที่มา : โครงการพฒั นาอตุ สาหกรรมแมพ่ ิมพ์ ,2548 กรรมวิธีการถอดหัวจบั ออกจะเหมือนกนั หมดไม่วา่ จะเป็ นหวั จบั ชนิดใดก็ตาม รวมท้งั การถอดสว่านก้านเรียวอีกดว้ ย โดยการใช้เหล็กถอด (DRILL DRIFT OR TAPER DRIFT) มือ หน่ึงจะประคองหัวจบั ไว้ อีกมือหน่ึงถือคอ้ นเคาะเหล็กถอดออก การเคาะจะตอ้ งเคาะเบา ๆ ไม่ใช่ ในลกั ษณะของการตี เหล็กถอดจะเสียบเขา้ ไปในรูเพลาโดยเอาดา้ นตรงไวด้ า้ นบน เมื่อเคาะดา้ น เรียวจะดนั หวั จบั ออก 2.4.4 ดอกเจาะนาศูนย์ ดอกเจาะนาศูนย์ (Center Drill) เป็นดอกเจาะที่ใชส้ าหรับการเจาะรูเรียวในช่วงเริ่มตน้ ของการทางาน เพื่อจะนาไปใชง้ านตอ่ หรือเจาะต่อ ซ่ึงเรียกการเจาะน้ีวา่ เจาะนา ลกั ษณะของรูเจาะ จะมีรูปร่างตามรูปแบบของคมดอกเจาะ ดอกเจาะนาศูนยม์ ีหลายขนาดใหเ้ ลือกใชง้ าน และข้ึนอยู่ กบั ผผู้ ลิตจะผลิตออกมาใชง้ าน ซ่ึงในบางคร้ังเม่ือขาดแคลนสามารถจะนาเอาดอกสวา่ นหกั หรือ ดอกสวา่ นเก่าท่ีเลิกใชง้ านแลว้ มาลบั แตง่ ใหไ้ ดม้ ุมกรวยแหลมตามตอ้ งการ และมีมุมคายเศษดว้ ย ใชเ้ จาะแทนดอกเจาะนาศูนยไ์ ด้ ความเร็วรอบท่ีใชก้ บั ดอกเจาะจะข้ึนอยกู่ บั ขนาดของดอกเจาะนาศูนยเ์ อง โดยใชค้ ่า ความเร็วในการหมุนตดั เช่นเดียวกบั ดอกสวา่ น สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเครื่องมือกลเบ้ืองต้น หน่วยที่ 4 เรื่อง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 551 สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตูล รูปท่ี 5.24 แสดงลกั ษณะและส่วนประกอบดอกนาศูนย์ ท่ีมา : โครงการพฒั นาอุตสาหกรรมแมพ่ มิ พ์ ,2548 2.4.5 เหลก็ ตอกนาศูนย์ - ก่อนจะทาการเจาะจะตอ้ งกาหนดตาแหน่งรูโดยใชเ้ หล็กขีดหมายตาแหน่ง ไวก้ ่อน - ใชเ้ หลก็ นาศูนยต์ อกนารูตรงตาแหน่งเจาะ แลว้ จึงจบั ยดึ ชิ้นงานบนแท่นวาง ชิ้นงาน รูปที่ 5.25 แสดงเหลก็ ตอกนาศนู ย์ ท่ีมา : http://www.arkarnsin.com/category_new_id.php?, 2552 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเคร่ืองมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 4 เร่ือง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 552 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนคิ สตลู รูปที่ 5.26 แสดงการขีดหมายและตอกรูนาศูนย์ ที่มา : โครงการพฒั นาอตุ สาหกรรมแมพ่ มิ พ์ ,2548 2.4.6 อุปกรณ์จับยดึ อุปกรณ์จบั ยึด ใชจ้ บั ยดึ ชิ้นงานใหแ้ น่นก่อนเจาะซ่ึงมีหลายชนิดดงั ต่อไปน้ี 2.4.6.1 ปากกาจบั งานเจาะ (VISE) ใชส้ าหรับจบั งานเจาะรูปทรงต่าง ๆ รูปที่ 5.27 แสดงปากกาจบั งานเจาะ ที่มา : http://www.arkarnsin.com/category_new_buy.php? ,2552 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเคร่ืองมือกลเบอ้ื งต้น หน่วยที่ 4 เรื่อง “เคร่ืองเจาะและงานเจาะ” 553 สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตูล 2.4.6.2 อุปกรณ์ช่วยจบั ยดึ ใชจ้ บั ชิ้นงานในกรณีที่ปากกาจบั งานไม่สามารถ จบั ได้ ซ่ึงมีหลายอยา่ ง เช่น รูปท่ี 5.28 แสดงแท่งขนาน ที่มา : https://www.monotaro.co.th/g/01180458/,2563 รูปท่ี 5.29 แสดงซี-แคลม็ ป์ ที่มา : http://www.taradplaza.com/kraichet/ ? ,2552 รูปท่ี 5.30 แสดงย-ู แคลม็ ป์ ที่มา : http://www.te-co.com/U+Clamp-C-PG1019-C-.aspx ,2552 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเคร่ืองมอื กลเบอ้ื งต้น หน่วยที่ 4 เร่ือง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 554 สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ วทิ ยาลยั เทคนคิ สตลู รูปที่ 5.31 แสดงแคลม็ ป์ แบบคอห่าน ท่ีมา : http://www.te-co.com/Forged+Gooseneck+Clamps-C-PG1096-C-.aspx ,2552 รูปท่ี 5.32 แสดงเหลก็ มุมฉากรองขีด ท่ีมา : http://www.goldyindustries.com/Angle%20Plates.htm ,2552 สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเคร่ืองมือกลเบื้องต้น หน่วยท่ี 4 เร่ือง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 555 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วทิ ยาลยั เทคนคิ สตูล รูปท่ี 5.33 แสดงแบบตวั ทีสลอ็ ต ท่ีมา : http://littlemachineshop.com/products/product_view.php?ProductID=2059,2552 รูปท่ี 5.34 แสดงชุดอปุ กรณ์จบั ยดึ ท่ีมา : http://www.google.co.th/imgres? 1T4MOOI ,2552 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเคร่ืองมือกลเบื้องต้น หน่วยท่ี 4 เรื่อง “เคร่ืองเจาะและงานเจาะ” 556 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตลู รูปที่ 5.35 แสดงแจคสกรู ท่ีมา :http://mohanbrothers.tradeindia.com/Exporters_Suppliers/ExporterCompound-Screw-Jack.html,2552 รูปท่ี 5.36 แสดงชุด วี-บลอ็ ก ท่ีมา :http://www.flexbar.com/shop/pc/PRECISION-V-BLOCKS-CLAMPS-1-66p3106.htm,2552 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเครื่องมือกลเบอ้ื งต้น หน่วยท่ี 4 เรื่อง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 557 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตลู 3. การคานวณในงานเจาะ การคานวณความเร็วในงานเจาะ จะมีความเร็วท่ีสาคญั 2 ชนิด คือ ความเร็วรอบและ ความเร็วตดั 3.1 การคานวณความเร็วตดั มีสูตรการคานวณดงั น้ี V  dn เมตร/นาที 1000 เม่ือกาหนด V = ความเร็วตดั งานเจาะ เมตร/นาที n = ความเร็วรอบดอกสวา่ น รอบ/นาที d = ความยาวเส้นผา่ ศูนยก์ ลางดอกสวา่ น มม. ตวั อย่าง จงคานวณหาค่าความเร็วตดั ท่ีเจาะงานดว้ ยดอกสวา่ นมีความยาว เส้นผา่ ศูนยก์ ลาง 10 มม. ดว้ ยความเร็วรอบ 800 รอบ/นาที วธิ ีทา V   d n เมตร/นาที 1,000  3.1416 x 10 x 800 1,000 ความเร็วตัดทใี่ ช้เจาะงาน = 25.13 เมตร / นาที สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเครื่องมือกลเบ้ืองต้น หน่วยที่ 4 เร่ือง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 558 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตูล 3.2 การคานวณความเร็วรอบ ในกรณีตอ้ งการหาความเร็วรอบก็ยา้ ยสมการจากสูตร ขา้ งตน้ ก็จะไดส้ ูตรการคานวณดงั น้ี n  1000V รอบ/นาที d ตวั อย่าง จงคานวณหาค่าความเร็วรอบในการเจาะเหล็กใชท้ าเครื่องมือ (Tool Steel) ดว้ ยดอกสวา่ นขนาดความยาวเส้นผา่ ศูนยก์ ลาง 15 มม. ดว้ ยความเร็วตดั 18 เมตร / นาที วธิ ีทา n  1000V d n  100018 3.1416  15 ความเร็วรอบทใ่ี ช้เจาะงาน = 382 รอบ / นาที การเลือกความเร็วรอบจากตาราง จากตวั อยา่ ง จงเลือกใชค้ า่ ความเร็วรอบจากตารางท่ี 5.1 วธิ ีเลือกมีข้นั ตอนดงั น้ี 1. เลือกขนาดความยาวเส้นผา่ ศูนยก์ ลางดอกสวา่ นที่ใชเ้ จาะ ในที่น้ีคือ 15 มม. 2. ดูใหต้ รงกบั วสั ดุงานท่ีเจาะในตวั อยา่ งคือTool Steel คา่ ความเร็วตดั = 18 เมตร/นาที 3. ผลลพั ธ์ท่ีได้ คือ 380 รอบ/นาที สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเครื่องมือกลเบือ้ งต้น หน่วยที่ 4 เรื่อง “เคร่ืองเจาะและงานเจาะ” 559 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตลู ตารางท่ี 5.1 ตารางความเร็วตัดงานสาหรับดอกสว่านเหลก็ รอบสูง Steel Tool Cast Iron Machine Brass and Aluminum Casting Steel Steel 60 ขนาดดอก ความเร็วตัด (เมตร/นาท)ี 9,550 6,365 สว่าน 4,775 3,820 นิ้ว มม. 12 18 24 30 3,180 2,730 1/16 2 1,910 2,865 3,820 4,775 2,390 2,120 1/8 3 1,275 1,910 2,545 3,185 1,735 1,275 3/16 4 955 1,430 1,910 2,385 955 765 1/4 5 765 1,145 1,530 1,910 5/16 6 635 955 1,275 1,590 3/8 7 545 820 1,090 1,365 7/16 8 475 715 955 1,195 1/2 9 425 635 850 1,060 5/8 10 350 520 695 870 3/4 15 255 380 510 635 7/8 20 190 285 380 475 1 25 150 230 305 380 3.3 การคานวณความสัมพนั ธ์การเจาะรูด้วยดอกสว่าน (Processing Time for Drilling) I = ความลึกของรู (Drilling Depth, Hoole Depth) Ia = ความลึกกน้ รู (Initial Out, Drill Tip Height) L = ระยะเจาะรวม (Total Drilling Distance) n = ความเร็วดอกสวา่ น (r.p.m. of the Twist Drill) s = ระยะป้อน มม. (Feed) s’ = ความเร็วป้อน มม./นาที (Feed Speed) I = จานวนรูเจาะ (No. of Operations) th = ช่วงเวลาเจาะนาที (Processing Time) สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเคร่ืองมือกลเบือ้ งต้น หน่วยที่ 4 เร่ือง “เคร่ืองเจาะและงานเจาะ” 560 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตูล 3.3.1 การหาความเร็วป้อน s’ รูปท่ี 5.37 แสดงการหาความเร็วป้อน s’ ที่มา : โครงการพฒั นาอตุ สาหกรรมแม่พมิ พ์ ,2548 ระยะป้อนต่อ 1 รอบ=s (มม.) ระยะป้อนต่อ ก รอบ=s x n (มม./นาที) ได้สูตร z x n = ความเร็วป้อน (s’) 3.3.2 การหาคา่ th รูปท่ี 5.38 แสดงการหาค่า th ท่ีมา : โครงการพฒั นาอตุ สาหกรรมแม่พมิ พ์ ,2548 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเครื่องมอื กลเบื้องต้น หน่วยที่ 4 เร่ือง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 561 สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตูล จากขนาดความเร็วป้อนจะได้ ความเร็วป้อน  ระยะป้อน ช่วงเวลาเจาะ หรือ ช่วงเวลาเจาะ  ระยะป้อน ความเร็วป้อน th  L  L s sxn ถา้ จานวนเจาะเป็น i th  Lxi sxn 3.3.3 การหาค่า la รูปท่ี 5.39 แสดงการหาค่า la ท่ีมา : โครงการพฒั นาอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ ,2548 จากรูป มุมจิก = 1180 ขนาดดอกสวา่ น d = 60 มม. จะไดค้ วามยาวปลายดอกสวา่ น Ia = 20 มม. ได้สูตร Ia = d/3 ข้ึนอยกู่ บั เส้นผา่ นศูนยก์ ลางและมุมจิก (Point Angle) ดงั น้ัน ระยะเจาะรวม = ความลึกของรู + ความลึกกน้ รู L = I + 0.3 x d สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเคร่ืองมือกลเบ้อื งต้น หน่วยที่ 4 เรื่อง “เคร่ืองเจาะและงานเจาะ” 562 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตลู 3.3.4 สรุป สาหรับการคานวณค่าการเจาะจะได้ th  L x i มม. x นาที s x n มม. x 1 ตวั อย่าง จงหาช่วงเวลาเจาะรูขนาด 18 มม. ชิ้นงานเหลก็ หนา 45 มม. ดว้ ยระยะป้อน 0.3 มม. ความเร็ว 530 รอบ/นาที กาหนดให้ d = 18 มม. พิจารณาจาก L = 45 มม. เวลา = ระยะป้อน/ความเร็วป้อน i=3 s = 0.3 มม. n = 530 รอบ/นาที จากสมการ th  Lxi  50.4 มม. x 3  0.95 นาที sxn 0.3 มม. x 530 รอบ/นาที L  I  0.3 x d L  45 มม.  0.3 x 18 มม.  50.4 มม. 3.4 การป้อนเจาะงานของดอกสว่าน อตั ราป้อนเจาะงาน หมายถึง การป้อนลึกลงไปในงานต่อการหมุนของดอกสวา่ น 1 รอบ เช่น อตั ราป้อนเจาะ 0.2 มม./รอบ หมายถึง เม่ือดอกสวา่ นหมุนไปครบ 1 รอบ จะ สามารถป้อนกินลึกลงไปในงาน 0.2 มม. ในการป้อนอตั โนมตั ิถา้ เครื่องเจาะไมส่ ามารถป้อนอตั โนมตั ิไดก้ ็ตอ้ งป้อนการกินลึกดว้ ย มือจะตอ้ งอาศยั ประสบการณ์และความรู้สึก ถา้ เครื่องสามารถป้อนอตั โนมตั ิก็จะมีตารางสาหรับให้ เลือกในการป้อนความลึกเจาะงาน สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเคร่ืองมอื กลเบอ้ื งต้น หน่วยที่ 4 เร่ือง “เคร่ืองเจาะและงานเจาะ” 563 สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตูล ตารางที่ 5.2 ตารางอตั ราป้อนเจาะของดอกสว่าน ขนาดดอกสว่าน อตั ราป้อนต่อรอบ นิว้ มม. นิว้ มม. เล็กกวา่ ถึง 1/8 เล็กกวา่ ถึง 3 0.001-0.002 0.02-0.05 1/8-1/4 3-6 0.002-0.004 0.05-0.10 1/4-1/2 6-13 0.004-0.007 0.10-0.18 1/2-1 13-25 0.007-0.015 0.18-0.38 1-1/2 25-38 0.015-0.025 0.35-0.63 4. ความปลอดภัยในการใช้เคร่ืองเจาะ 4.1 ก่อนใชเ้ คร่ืองเจาะทุกคร้ังจะตอ้ งตรวจดูความพร้อมของเคร่ืองก่อนใชเ้ สมอ ถา้ เครื่องชารุดอาจเป็นอนั ตรายตอ่ ผปู้ ฏิบตั ิงานได้ 4.2 การจบั ยดึ ชิ้นงานจะตอ้ งจบั ยดึ ใหแ้ น่นและจะตอ้ งจบั ใหถ้ ูกวธิ ี 4.3 ศึกษาข้นั ตอนและวธิ ีการใชเ้ ครื่องเจาะ และวธิ ีการทางานใหถ้ ูกตอ้ ง 4.4 จะตอ้ งแต่งกายใหร้ ัดกุมถูกตอ้ งตามกฎความปลอดภยั 4.5 จะตอ้ งสวมแวน่ ตานิรภยั ป้องกนั เศษโลหะกระเด็นเขา้ ตา รูปท่ี 5.40 แสดงการจบั ยดึ ชิ้นงานไมแ่ น่นเพียงพอ ท่ีมา : โครงการพฒั นาอตุ สาหกรรมแมพ่ มิ พ์ ,2548 สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเคร่ืองมอื กลเบื้องต้น หน่วยท่ี 4 เร่ือง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 564 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนคิ สตูล รูปที่ 5.41 แสดงการจบั ดอกสวา่ นท่ีไมแ่ น่นเพยี งพอ ท่ีมา : โครงการพฒั นาอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ ,2548 รูปท่ี 5.42 แสดงการทาความสะอาดเศษเจาะที่ไมถ่ ูกตอ้ ง ที่มา : โครงการพฒั นาอตุ สาหกรรมแมพ่ มิ พ์ ,2548 สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเครื่องมอื กลเบื้องต้น หน่วยท่ี 4 เร่ือง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 565 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตูล รูปท่ี 5.43 แสดงการแต่งกายไมเ่ หมาะสมสาหรับงานเจาะ ท่ีมา : โครงการพฒั นาอุตสาหกรรมแมพ่ มิ พ์ ,2548 5. การบารุงรักษาเคร่ืองเจาะ ไม่วา่ จะเป็นเคร่ืองเจาะชนิดใด ในการบารุงรักษากจ็ ะใชห้ ลกั การเดียวกนั จะต่างกนั ก็ ตรงจุดบารุงรักษาจะมากนอ้ ยแตกต่างกนั ไป ซ่ึงวธิ ีการบารุงรักษามีดงั น้ี คือ 5.1 จะตอ้ งตรวจสอบระบบไฟฟ้าใหอ้ ยใู่ นสภาพท่ีสมบูรณ์ตลอดเวลา เม่ืออุปกรณ์ ไฟฟ้าเกิดชารุดเสียหายจะตอ้ งซ่อมแซมหรือเปลี่ยนใหใ้ ชไ้ ดด้ ี 5.2 จะตอ้ งตรวจสอบชิ้นส่วนต่าง ๆ ของเครื่องใหพ้ ร้อมใชง้ านตลอดเวลา 5.3 ก่อนใชง้ านจะตอ้ งหยดน้ามนั หล่อล่ืนในส่วนที่เคล่ือนท่ี 5.4 ควรมีแผนการบารุงรักษาเป็นระยะตามระยะเวลาท่ีกาหนด เป็ นการบารุงรักษาเชิง ป้องกนั 5.5 หลงั จากเลิกใชง้ านจะตอ้ งทาความสะอาดและชโลมดว้ ยน้ามนั สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเครื่องมอื กลเบอื้ งต้น หน่วยที่ 4 เรื่อง “เคร่ืองเจาะและงานเจาะ” 566 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วทิ ยาลยั เทคนคิ สตูล 6. ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิงานเจาะ 6.1 ข้นั ตอนเตรียมความพร้อม 6.1.1 เปิ ดไฟใหแ้ สงสวา่ งภายในโรงงานในบริเวณท่ีจาเป็ นเพ่อื การประหยดั พลงั งานโดยคานึงถึงการปฏิบตั ิงานที่มีความปลอดภยั รูปที่ 5.44 แสดงการเปิ ดไฟใหแ้ สงสวา่ งก่อนทางาน ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 รูปที่ 5.45 แสดงแสงสวา่ งภายในโรงงาน ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเคร่ืองมือกลเบอื้ งต้น หน่วยที่ 4 เรื่อง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 567 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตลู รูปที่ 5.46 แสดงแสงสวา่ งป้ายความปลอดภยั ไวก้ ่อนเป็ นความปลอดภยั เบ้ืองตน้ ในการปฏิบตั ิงานในโรงงาน ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 6.1.2 ตรวจดูความพร้อมในการใชง้ านของเครื่องเจาะ เช่น หยอดน้ามนั หล่อเฟื อง รูปท่ี 5.47 แสดงการหล่อลื่นเฟื องสะพานเคร่ืองเจาะ ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเครื่องมือกลเบอื้ งต้น หน่วยท่ี 4 เร่ือง “เคร่ืองเจาะและงานเจาะ” 568 สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตูล 6.2 ข้นั ตอนการเบิก - จ่ายเครื่องมือ รูปที่ 5.48 แสดงการเก็บเครื่องมือในหอ้ งเคร่ืองมืออยา่ งเป็ นระเบียบ ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 รูปท่ี 5.49 แสดงใบเบิก - จ่ายเคร่ืองมือ และวสั ดุ ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 ข้นั ตอนการเบิก – จา่ ยเครื่องมือ คือ ผูเ้ บิกเขียนใบเบิกให้ครบถว้ นส่งท่ีผรู้ ับผิดชอบใน การจา่ ยเครื่องมือในวนั น้นั ๆ ผจู้ ่ายเก็บใบเบิกไว้ เมื่อผเู้ บิกนาเคร่ืองมือไปใชแ้ ลว้ ใหส้ ่งคืนท่ีผจู้ ่าย ผจู้ ่ายขีดเครื่องหมายถูกลงในช่องคืนแลว้ จากน้นั ส่งใหค้ รูผรู้ ับผดิ ชอบในตอนเลิกปฏิบตั ิงาน สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเคร่ืองมอื กลเบอ้ื งต้น หน่วยที่ 4 เร่ือง “เคร่ืองเจาะและงานเจาะ” 569 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตูล รูปท่ี 5.50 แสดงกิจกรรมการเบิก - จ่ายเครื่องมือ ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 6.3 เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการปฏิบตั ิเจาะ 6.3.1 ดอกสวา่ น รูปท่ี 5.51 แสดงดอกสวา่ น ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเครื่องมอื กลเบื้องต้น หน่วยท่ี 4 เรื่อง “เคร่ืองเจาะและงานเจาะ” 570 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนคิ สตูล 6.3.2 จาปา รูปท่ี 5.52 แสดงจาปา ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 6.3.3 ปากกาจบั งาน รูปท่ี 5.53 แสดงปากกาจบั งาน ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเครื่องมอื กลเบอ้ื งต้น หน่วยที่ 4 เร่ือง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 571 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วทิ ยาลยั เทคนคิ สตูล 6.3.4 เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ รูปท่ี 5.54 แสดงเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 6.3.5 เวอร์เนียร์ไฮเกจ รูปท่ี 5.55 แสดงเวอร์เนียร์ไฮเกจ ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเครื่องมือกลเบอ้ื งต้น หน่วยที่ 4 เรื่อง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 572 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตูล 6.3.6 เหลก็ ตอกนาศูนย์ รูปที่ 5.56 แสดงเหลก็ ตอกนาศูนย์ ที่มา : : http://www.arkarnsin.com/category_new_id.php?, 2552 6.3.7 คอ้ นเหล็ก รูปท่ี 5.57 แสดงคอ้ นเหลก็ ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเคร่ืองมอื กลเบื้องต้น หน่วยท่ี 4 เร่ือง “เคร่ืองเจาะและงานเจาะ” 573 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตูล 6.3.8 เหลก็ แท่งขนาน รูปท่ี 5.58 แสดงแท่งขนาน ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 6.3.9 กาหยอดน้ามนั รูปท่ี 5.59 แสดงกาหยอดน้ามนั ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเคร่ืองมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 4 เร่ือง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 574 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตลู 6.3.10 ประแจหมุนปากกาจบั งาน รูปท่ี 5.60 แสดงมือหมนุ ปากกาจบั งาน ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 6.3.11 สีหรือน้ายาร่างแบบ รูปที่ 5.61 แสดงสีพน่ หรือน้ายาร่างแบบ ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเครื่องมือกลเบอ้ื งต้น หน่วยท่ี 4 เร่ือง “เคร่ืองเจาะและงานเจาะ” 575 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนคิ สตลู 6.3.12 ตะไบ รูปที่ 5.62 แสดงตะไบใชล้ บคมชิ้นงาน ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 6.3.13 แปรงกวาด รูปที่ 5.63 แสดงแปรงใชก้ วาดเศษเหลก็ ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเครื่องมือกลเบื้องต้น หน่วยที่ 4 เร่ือง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 576 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนคิ สตลู 6.3.14 ไมก้ วาดดอกหญา้ รูปที่ 5.64 แสดงไมก้ วาดดอกหญา้ ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 6.4 ข้นั ตอนการปฏบิ ัติงานเจาะ 6.4.1 พน่ สีหรือน้ายาร่างแบบบนชิ้นงานเม่ือร่างแบบจะเห็นเส้นชดั เจน รูปที่ 5.65 แสดงการพน่ สีหรือน้ายาร่างแบบ ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเคร่ืองมือกลเบื้องต้น หน่วยท่ี 4 เรื่อง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 577 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ วทิ ยาลยั เทคนคิ สตลู 6.4.2 ร่างแบบขีดดว้ ยเวอร์เนียร์ไฮเกจบนแทน่ ระดบั เพื่อจุดตดั ของเส้น รูปที่ 5.66 แสดงการขีดร่างแบบหาจุดตดั ของเสน้ ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 6.4.3 ตอกนาศูนยช์ ิ้นงานดว้ ยเหลก็ ตอกนาศูนยโ์ ดยใชค้ อ้ นเหล็กเป็นเครื่องมือตอก รูปท่ี 5.67 แสดงการตอกนาศูนยต์ รงจุดตดั ของเสน้ ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเคร่ืองมือกลเบือ้ งต้น หน่วยท่ี 4 เรื่อง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 578 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตูล 6.4.4 จบั ชิ้นงานบนปากกาจบั งานซ่ึงรองดว้ ยแท่งขนาน หมุนมือหมุนปากกาจบั งาน ใหแ้ น่น รูปที่ 5.68 แสดงการจบั งานดว้ ยปากกาจบั งานใหแ้ น่น ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 6.4.5 จบั ดอกสวา่ นขนั ดว้ ยจาปาใหแ้ น่น รูปท่ี 5.69 แสดงการจบั ดอกสวา่ น ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บัวดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเคร่ืองมอื กลเบื้องต้น หน่วยท่ี 4 เรื่อง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 579 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตูล 6.4.6 ปรับความเร็วรอบใหเ้ หมาะสมกบั ขนาดของดอกสวา่ นและชนิดของวสั ดุ รูปท่ี 5.70 แสดงการปรับความเร็วรอบ ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 6.4.7 เล่ือนปากกาจบั งานเพ่ือขยบั ใหช้ ิ้นงานตรงศูนยข์ องดอกสวา่ น รูปท่ี 5.71 แสดงการเช็คศูนยเ์ พอ่ื เจาะ ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเครื่องมอื กลเบอ้ื งต้น หน่วยท่ี 4 เรื่อง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 580 สุธา บวั ดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนคิ สตูล 6.4.8 เปิ ดสวติ ซ์เคร่ือง รูปท่ี 5.72 แสดงการเปิ ดสวติ ซเ์ คร่ือง ท่ีมา : สุธา บวั ดา, 2563 6.4.9 ป้อนเจาะโดยกดแขนหมุนลง ดอกสวา่ นกเ็ ริ่มเจาะงาน รูปท่ี 5.73 แสดงการหมนุ แขนป้อนเจาะ ท่ีมา : สุธา บวั ดา,2563 สุธา บวั ดา ครู เช่ียวชาญ

เอกสารประกอบการสอน วชิ างานเคร่ืองมือกลเบ้ืองต้น หน่วยที่ 4 เร่ือง “เครื่องเจาะและงานเจาะ” 581 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคสตูล 6.4.10 ป้อนเจาะความลึกเทา่ กบั ขนาดท่ีระบุในแบบงานโดยการปรับสเกลลิมิต รูปที่ 5.74 แสดงการปรับสเกลป้อนลึกของการเจาะ ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 6.4.11 ป้อนเจาะจนกวา่ จะไดข้ นาดหรือเจาะจนทะลุข้ึนอยกู่ บั แบบงาน รูปท่ี 5.75 แสดงการเจาะชิ้นงาน ที่มา : สุธา บวั ดา, 2563 สุธา บัวดา ครู เชี่ยวชาญ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook