Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ห้างหุ้นส่วน

ห้างหุ้นส่วน

Published by suwapa256029, 2020-03-03 01:33:50

Description: ห้างหุ้นส่วน

Search

Read the Text Version

การคานวณทนุ ถัวเฉลยี่ เปน็ ดงั น้ี วนั เดือน ปี จานวนทุน ระยะเวลาทนุ คงท่ี ผลคณู 1 ม.ค. 2557 360,000 2 720,000 1 มี.ค. 2557 480,000 3 1,440,000 1 มิ.ย. 2557 388,000 3 1,164,000 1 ก.ย. 2557 336,000 1 336,000 1 ต.ค. 2557 460,000 3 1,380,000 12 5,040,000 ทุนเฉลีย่ ของเพชร = 5,040,000/12 = 420,000 วัน เดือน ปี จานวนทนุ ระยะเวลาทนุ คงท่ี ผลคณู 1 ม.ค. 2557 300,000 1 300,000 1 ม.ี ค. 2557 200,000 3 600,000 1 มิ.ย. 2557 240,000 4 960,000 1 ก.ย. 2557 320,000 3 960,000 1 ต.ค. 2557 540,000 1 540,000 12 3,360,000 ทนุ เฉลี่ยของแพท 3,360,000/12 = 280,000

ดงั นั้น อัตราส่วนทุนถวั เฉลีย่ ของเพชรและแพท 420,000 : 280,000 = 3:2 การคานวณส่วนแบ่งกาไรขาดทุน - เพชร = 120,000x3 = 72,000 5 - แพท = 120,000x2 = 48,000 5 การบนั ทกึ บัญชเี ปน็ ดงั นี้ *** ห้างหุน้ ส่วนใช้บนั ทกึ บญั ชวี ธิ ที ุนคงท่ี สมุดรายวนั ทวั่ ไป พ.ศ.2557 รายการ เดบิต เครดิต เดือน วันท่ี เลขท่ี บาท สต. บัญชี บาท สต. ธ.ค. 31 กาไรขาดทุน 75,000 - กระแสทนุ -เพชร 72,000 - 48,000 - กระแสทนุ -แพท แบง่ ผลกาไรขาดทนุ ตามอตั ราสว่ น ถัวเฉลี่ย

 คิดดอกเบ้ียทุนและ/หรือเงินเดือน และ/หรือโบนสั และแบ่งกาไรขาดทุนที่เหลือตาม ข้อตกลงแบง่ ตามอตั ราส่วนทนุ 2.4.1 การคิดดอกเบี้ยทุน ให้หุ้นส่วนถือเป็นการแบ่งกาไรอย่างหน่ึงโดยคานึงถึงว่าทุนเป็น ส่วนสาคัญในการหารายได้ จึงแบ่งส่วนของกาไรให้แก่หุ้นส่วนตามความมากน้อยของจานวนเงินที่ ลงทุนและส่วนของกาไรที่เหลือจึงนามาแบ่งตามอัตราส่วนที่ตกลงกัน การคิดดอกเบ้ียทุนสามารถ คานวณได้ 4 วธิ ีคือ  วิธีที่ 1 คิดดอกเบยี้ ทนุ จากทนุ ณ วันเร่มิ กิจการ  วธิ ที ่ี 2 คิดดอกเบีย้ ทนุ จากทนุ ณ วนั ต้นงวด  วิธที ่ี 3 คดิ ดอกเบยี้ ทนุ จากทนุ ณ วันสน้ิ งวด  วิธที ่ี 4 คดิ ดอกเบยี้ ทุนจากทุนถวั เฉล่ยี

 2.4 คิดดอกเบ้ียทุนและ/หรือเงินเดือน และ/หรือโบนัส และแบ่งกาไรขาดทุนที่เหลือ ตามขอ้ ตกลงแบง่ ตามอตั ราสว่ นทุน (ตอ่ ) วิธีที่ (1) การคิดดอกเบ้ียทนุ จากทนุ ณ วันเรม่ิ กจิ การและแบง่ กาไรขาดทนุ ทีเ่ หลอื ตามอัตราสว่ นที่ตกลงกนั ตวั อยา่ งท่ี 7 ออยล์และอายเป็นหุ้นส่วนกัน มีทุน ณ วันเร่ิมกิจการดังน้ี ออยล์ 200,000 บาท และอาย 300,000 บาท ในวันท่ี 31 ธันวาคม 2558 กิจการมีกาไรสุทธิประจาปี 100,000 บาท ผู้เป็นหุ้นส่วนทั้งสองมีข้อตกลงในการแบ่ง กาไรขาดทนุ กันดังน้ี 1. คิดดอกเบี้ยทนุ 6% ของทนุ ณ วนั เร่ิมกจิ การ 2. กาไรหรือขาดทนุ ท่ีเหลอื ให้แบ่งเทา่ กนั

การบันทกึ บัญชกี ารแบง่ ผลกาไรขาดทุนในสมุดรายวนั ทั่วไป โดยวธิ ีทนุ เปล่ยี นแปลงจะเปน็ ดังน้ี

 คิดดอกเบ้ียทุนและ/หรือเงินเดือน และ/หรือโบนัส และแบ่งกาไรขาดทุนที่เหลือตามข้อตกลง แบง่ ตามอตั ราส่วนทนุ (ตอ่ ) วิธที ี่ (2) การคดิ ดอกเบี้ยทุนจากทนุ ณ วันต้นงวดและแบง่ กาไรขาดทุนท่ีเหลอื ตามอัตราส่วนทตี่ กลงกนั ตวั อยา่ งท่ี 8 ฟา้ และฝนเป็นหนุ้ สว่ นกนั มีทุน ณ วันต้นงวดบัญชดี ังนี้ ฟา้ 500,000 บาท และฝน 200,000 บาท ในวันท่ี 31 ธนั วาคม 2558 กจิ การมกี าไรสุทธิประจาปี 125,000 บาท ผู้เปน็ หุน้ สว่ นทั้งสองมขี อ้ ตกลงในการแบง่ กาไร ขาดทุนกันดงั น้ี 1. คิดดอกเบยี้ ทุน 8% ของทุน ณ วนั ต้นงวดบญั ชี 2. กาไรหรอื ขาดทุนท่ีเหลอื ให้แบง่ เท่ากนั



 คดิ ดอกเบ้ยี ทุนและ/หรือเงินเดือน และ/หรอื โบนัส และแบง่ กาไรขาดทนุ ทเี่ หลือตามขอ้ ตกลงแบ่งตามอัตราสว่ นทุน (ตอ่ ) วธิ ที ่ี (3) การคดิ ดอกเบีย้ ทนุ จากทุน ณ วันสนิ้ งวดและแบ่งกาไรขาดทนุ ท่ีเหลอื ตามอัตราส่วนที่ตกลงกนั ตัวอยา่ งที่ 9 ดาและขาเปน็ หุ้นสว่ นกัน มที นุ ณ วนั ส้ินงวดบญั ชดี ังน้ี ดา 160,000 บาท และขา 208,000 บาท ในวันที่ 31 ธันวาคม 2558 กิจการมีกาไรสุทธิประจาปี 340,000 บาท ผู้เป็นหุ้นส่วนท้ังสองมีข้อตกลง ในการแบง่ กาไรขาดทุนกันดงั นี้ 1. คดิ ดอกเบีย้ ทุน 10% ของทนุ ณ วนั สน้ิ งวดบญั ชี 2. กาไรหรอื ขาดทุนทีเ่ หลือใหแ้ บง่ 1:3



 คิดดอกเบี้ยทุนและ/หรือเงินเดือน และ/หรือโบนัส และแบ่งกาไรขาดทุนท่ีเหลือตามข้อตกลงแบ่งตามอัตราส่วนทุน (ต่อ) วิธีท่ี (4) การคิดดอกเบี้ยทุนจากทนุ ถัวเฉลี่ยและแบง่ กาไรขาดทนุ ที่เหลอื ตามอัตราสว่ นทต่ี กลงกนั ตวั อย่างที่ 10 ก้องและแก้มเป็นหุ้นส่วนกันมีทุนถัวเฉล่ียดังนี้ ก้อง 582,000 บาท และแก้ม 596,000 บาท ในวันท่ี 31 ธันวาคม 2558 กิจการมีกาไรสุทธิประจาปี 250,000 บาท ผู้เป็นหุ้นส่วนท้ังสองมีข้อตกลงในการแบ่งกาไร ขาดทนุ กนั ดังน้ี 1. คดิ ดอกเบ้ียทุน 10% ของทุนถัวเฉล่ีย 2. กาไรหรือขาดทนุ ท่ีเหลอื ให้แบง่ เทา่ กัน



 คิดดอกเบี้ยทุนและ/หรือเงินเดือน และ/หรือโบนัส และแบ่ง กาไรขาดทุนท่ีเหลอื ตามขอ้ ตกลงแบ่งตามอัตราสว่ นทนุ 2.4.2 การคานวณโบนัส 1) คานวณจากกาไรสุทธิ (โบนสั ไมถ่ อื เปน็ คา่ ใช้จา่ ย) สูตร โบนัส = % ของโบนัส ×กาไรสทุ ธกิ อ่ นหักโบนัส 100 2) คานวณจากกาไรสุทธิหลงั หักโบนัส (โบนัสถือเปน็ คา่ ใชจ้ า่ ย) สูตร โบนสั = % ของโบนัส ×กาไรสุทธิหลงั หกั โบนัส 100 +% ของโบนัส

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 ก า ร รั บ หุ้ น ส่ ว น ใ ห ม่

การรับ การรับห้นุ ส่วนใหม่ ห้นุ ส่วนใหม่ ห้นุ ส่วนใหม่ซือ้ สทิ ธิส่วนได้เสียจากหุ้นส่วนเดมิ ห้นุ ส่วนใหม่นาสินทรัพย์มาลงทุน ข้อแตกต่างระหว่างการคดิ ค่าความนิยมหรือโบนัส

การรับหุ้นส่วนใหม่ในกฎหมายไทยระบุไว้ว่าต้องได้รับความเห็นชอบหรือการยินยอม จากผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมทุกคน ถ้าเป็นห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนจะต้องจดทะเบียนการรับ หุ้นส่วนใหม่ด้วยและสัญญาห้างหุ้นส่วนเดิมจะส้ินสุดลง ดังนั้นข้อตกลงต่าง ๆ ในสัญญา ห้างหุ้นส่วน จึงต้องจัดทาข้ึนใหม่ทั้งหมดซึ่งต้องระบุให้ชัดเจนเป็นลายลักษณ์อักษรใน เร่ืองเก่ียวกับเงินลงทุนอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุนและส่วนในทุน โดยถือว่าสัญญาห้าง หุ้นส่วนเดมิ เป็นอนั สนิ้ สดุ ลง การรับหนุ้ สว่ นใหมม่ ี 2 วธิ ี คอื  1. หนุ้ ส่วนใหมซ่ ื้อสว่ นทุนของหุ้นส่วนเดมิ  2. ห้นุ ส่วนใหม่นาเงินสด หรือสินทรพั ย์อืน่ มาลงทุน

ในกรณีหุ้นส่วนใหม่จะซ้ือทุนจากหุ้นส่วนเดิมคนเดียวหรือหลายคนก็ได้น้ัน หุ้นส่วนเดิมอาจจะขายทุนบางส่วนหรือขายหมดก็ได้ หุ้นส่วนใหม่จ่ายเงินโดยตรง ให้กับหุ้นส่วนเดิมโดยไม่ผ่านสมุดบัญชีของห้างหุ้นส่วนจึงไม่ต้องบันทึกบัญชี การ ซ้ือขายสิทธิส่วนได้เสียเป็นเร่ืองยินยอมระหว่างหุ้นส่วนเดิมและหุ้นส่วนใหม่ไม่ เก่ียวข้องกับสินทรัพย์ของห้างหุ้นส่วนในการบันทึกบัญชี จะมีเพียงรายการเดียว ในการจ่ายเงนิ ซอ้ื ขายสว่ นทุนสามารถทาได้3 ลักษณะ คอื  1. ซื้อสทิ ธสิ ่วนได้เสยี เท่ากับราคาตามบญั ชี  2. ซ้ือสิทธสิ ว่ นไดเ้ สยี สงู กว่าราคาบญั ชี  3. ซอ้ื สิทธิส่วนได้เสยี ตา่ กว่าราคาบญั ชี

การบันทึกบญั ชีในการรับหุ้นส่วนใหม่มีวิธปี ฏิบัติได้ 2 วิธคี อื  2.1 วธิ กี ารรับหุ้นส่วนใหมโ่ ดยไมป่ รับปรุงบัญชีของกจิ การ กรณีน้ีหุ้นส่วนเดิมไม่ต้องการปรับปรุงบัญชีของกิจการก่อนรับหุ้นส่วนใหม่ ดังน้ัน สมุดบัญชีของกิจการจะบันทึกเฉพาะรายการท่ีเกี่ยวกับการโอนทุนของหุ้นส่วนผู้ขาย ไปเขา้ บญั ชที ุนของหนุ้ สว่ นผ้ซู ื้อ

ตวั อยา่ งท่ี 1 วันที่ 1 มกราคม 2558 ขวัญและปูเป็นหุ้นส่วนกัน ขวัญมีทุน 20,000 บาท ปูมีทุน 30,000 บาท เมอ่ื 1 มีนาคม 2558 ตกลงรับปุ้ยเข้า มาเป็นหุ้นส่วนใหม่ โดยปุ้ยซื้อส่วนทุนจากขวัญและปูคนละ ������ และจ่ายเงินให้ 32,000 ������ บาท หุ้นส่วนเดมิ แบง่ กาไรขาดทุนเท่ากนั การบันทึกบัญชรี ับหุ้นสว่ นใหม่ในสมุดรายวันทวั่ ไปจะเป็นดังนี้

การคานวณเงินท่ขี วัญและปูจะได้รับทาได้ดงั น้ี ตารางคานวณทนุ หลงั รบั หนุ้ สว่ นใหม่

การบันทกึ บัญชใี นการรับห้นุ ส่วนใหมม่ วี ธิ ีปฏิบัตไิ ด้ 2 วธิ ีคือ  2.2 วธิ ีการรับหุ้นสว่ นใหมโ่ ดยปรับปรุงบญั ชขี องกจิ การ กรณีนี้หุ้นส่วนใหม่ซื้อส่วนทุนในราคาสูงหรือราคาต่ากว่าทุน ท่ีได้รับโอน อาจเปน็ เพราะค่าความนิยมหรือราคาสินทรัพย์ตามบัญชี สูงหรอื ตา่ กวา่ ความจริง ถา้ ปรับปรุงสนิ ทรพั ย์ตา่ ง ๆ ก่อนรับหุ้นสว่ นใหม่ เพือ่ ใหท้ นุ ที่หนุ้ สว่ นใหม่ได้รับโอนมามีจานวนเท่ากับจานวนเงนิ ที่จา่ ย ให้ผู้เป็นหุน้ สว่ นเดมิ

ตวั อยา่ งที่ 2 หน่ึงและหนุ่มเป็นหุ้นส่วนกัน แบ่งกาไรขาดทุนเท่ากัน หน่ึงมีทุน 60,000 บาท หนุ่มมีทุน 20,000 บาท ในวันท่ี 1 เมษายน 2558 ตกลงรับหนุ่ยเข้ามาเป็นหุ้นส่วนใหม่ โดยหนุ่ยขอซ้ือส่วนทุนจากหนึ่งและหนุ่ม คนละครึ่ง หนุย่ จา่ ยเงินใหห้ นุ้ ส่วนเดิมจานวน 44,500 บาท กอ่ นรบั หนยุ่ เข้ามาเป็น หนุ้ ส่วนใหม่ กิจการตอ้ งการปรบั ปรุงบญั ชดี ังนี้ 1. สนิ ค้าตีราคาตา่ ไป 3,000 บาท 2. ค่าเสื่อมราคาสะสมอาคารตีราคาสงู เกนิ ไป 9,000 บาท 3. ตัดลูกหน้เี ปน็ หน้สี ญู 1,000 บาท 4. ค่าใช้จา่ ยค้างจา่ ย 2,000 บาท

บันทึกรายการปรับปรุงบัญชีก่อนรับหุ้นสว่ นใหม่ในสมุดรายวันท่ัวไปจะ เปน็ ดงั นี้

บนั ทกึ บัญชกี ารรบั ห้นุ สว่ นใหม่ในสมดุ รายวนั ทั่วไปจะเป็นดงั น้ี

ตารางคานวณทนุ หลังรบั ห้นุ สว่ นใหม่

กรณเี ชน่ น้ีผลการปรับปรุงจะทาใหย้ อดทนุ ท่โี อนให้แกห่ ุน้ สว่ นใหม่ มีจานวนเท่ากับราคาท่ีหุ้นส่วนใหม่จ่ายให้แก่หุ้นส่วนเดิม หรือถ้า ปรากฏว่าจานวนเงินที่หุ้นส่วนใหม่จ่ายให้สูงกว่าหรือต่ากว่าทุน ที่ได้รบั โอน อาจแยกพจิ ารณาได้อีก 3 กรณี  การบันทกึ ค่าความนยิ มไว้ในบญั ชีของห้าง  การไมบ่ นั ทึกค่าความนิยม  การลดบัญชีค่าความนิยมทห่ี า้ งหนุ้ ส่วนมอี ยลู่ ง

วธิ คี านวณ ฟางจา่ ยเงนิ ให้ฟูและฟอง = 40,000 บาท อัตราสิทธิสว่ นไดเ้ สียของฟาง = ������ ������ *** มูลคา่ ของหา้ งหุน้ ส่วน ทนุ ของฟูและฟอง = ������ × 40,000 = 100,000 บาท ������ = 20,000 + 30,000 = 50,000 บาท ค่าความนยิ มท่คี ดิ ให้ฟแู ละฟอง = 100,000 - 50,000 = 50,000 บาท วธิ ีคดิ ฟางมสี ทิ ธิส่วนได้เสีย 2 ส่วน คดิ เป็นมลู ค่า = 40,000 บาท ดงั น้ัน มลู ค่าหา้ งฯ มี 5 ส่วน คิดเป็นมูลค่า ������ × 40,000 = 100,000 บาท ������

บนั ทกึ ค่าความนยิ มกอ่ นรบั หุ้นสว่ นใหมใ่ นสมุดรายวนั ทั่วไปจะเป็นดงั น้ี

บนั ทกึ บัญชกี ารรบั ห้นุ สว่ นใหม่ในสมดุ รายวนั ทั่วไปจะเป็นดงั น้ี

ตารางคานวณทนุ หลังรบั ห้นุ สว่ นใหม่

กรณที ี่ 2 ไมบ่ ันทึกคา่ ความนิยมไวใ้ นบัญชี ตัวอยา่ งที่ 4 จากตวั อย่าง 3 จะมวี ิธกี ารคานวณดงั น้ี ฟางซ้ือสิทธิสว่ นได้เสยี จากฟู = ������ × 20,000 = 8,000 บาท ������ ฟางซื้อสิทธสิ ่วนไดเ้ สยี จากฟอง = ������ × 30,000 = 12,000 บาท ������ การบันทกึ บัญชกี ารรบั หุ้นส่วนใหม่ในสมุดรายวันทั่วไปจะเป็นดังน้ี

ตารางคานวณทนุ หลงั รบั หุน้ สว่ นใหม่ การคานวณเงนิ ทฟ่ี ูและฟองจะได้รบั ทาไดด้ ังน้ี

กรณีที่ 3 การลดบัญชคี า่ ความนยิ มลง ตัวอยา่ งท่ี 5 ต้นขา้ วและตน้ อ้อเป็นหุ้นสว่ นกนั แบง่ กาไรขาดทนุ กันในอัตรา 2:1 มีทุน 80,000 บาท และ 104,000 บาท ตามลาดับ รับตน้ นา้ เข้ามาเป็นหุ้นส่วนใหม่ เมอื่ วันท่ี 1 เมษายน 2558 โดยต้นน้าจ่ายเงิน ซ้อื สิทธสิ ว่ นไดเ้ สียจากต้นขา้ วและต้นออ้ 43,000 บาท เพ่ือให้มีสิทธสิ ่วนไดเ้ สีย ������ ของทุนรวมของหา้ งหุ้นสว่ น ������

วิธีคานวณ ต้นนา้ จา่ ยเงนิ ใหต้ ้นขา้ วและตน้ อ้อ = 43,000 บาท อัตราสทิ ธิสว่ นได้เสยี ของตน้ นา้ = ������ ������ *** มลู คา่ ของห้างหุน้ สว่ น ทุนของตน้ ข้าวและตน้ ออ้ = ������ × 43,000 = 172,000 บาท ������ = 80,000 + 104,000 = 184,000 บาท ลดค่าความนิยมของต้นขา้ ว = 184,000 - 172,000 และตน้ อ้อ = 12,000 บาท วิธีคดิ ต้นน้ามสี ิทธสิ ว่ นได้เสีย 1 สว่ น คดิ เป็นมลู ค่า = 43,000 บาท ดังนน้ั มลู คา่ หา้ งฯ มี 4 สว่ น คดิ เปน็ มูลค่า ������ × 43,000 = 172,000 บาท ������

บนั ทึกลดค่าความนยิ มของหา้ งห้นุ ส่วนลงกอ่ นรับห้นุ ส่วนใหมใ่ นสมุดรายวนั ทั่วไปจะเปน็ ดังน้ี

บนั ทกึ บัญชกี ารรบั ห้นุ สว่ นใหม่ในสมดุ รายวนั ทั่วไปจะเป็นดงั น้ี

ตารางคานวณทนุ หลังรบั ห้นุ สว่ นใหม่

 3.1 ห้นุ ส่วนใหม่ไดร้ ับสว่ นในทุนเท่ากับเงนิ สด หรือสนิ ทรัพย์อืน่ ทนี่ ามาลงทนุ ผู้ เ ป็ น หุ้ น ส่ ว น ทุ ก ค น ต้ อ ง ต ก ล ง กั น ใ ห้ ชั ด เ จ น เ ร่ื อ ง ส่ ว น ใ น ทุ น แ ล ะ ส่วนแบง่ กาไรขาดทนุ ของหุ้นสว่ นแต่ละคนทจี่ ะได้รบั ในหา้ งห้นุ ส่วน  การบนั ทกึ บัญชเี มือ่ หุน้ สว่ นใหมน่ าเงนิ สดหรอื สนิ ทรัพยอ์ ่ืนมาลงทนุ  การคานวณหาอตั ราสว่ นแบ่งกาไรขาดทุนของผู้เป็นหนุ้ ส่วนทุกคนใหม่  การคานวณหาเงินทนุ ของหุ้นสว่ นใหมท่ ต่ี อ้ งนาเงนิ สดหรือสินทรัพยอ์ ่ืนมาลงทนุ

3.1.1 การบนั ทกึ บัญชเี มอื่ หุ้นสว่ นใหมน่ าเงนิ สดหรือสินทรัพย์อ่นื มาลงทนุ การบนั ทกึ บญั ชีในสมดุ รายวันทัว่ ไปจะเปน็ ดังน้ี

3.1.1 การบันทกึ บัญชีเมอ่ื หนุ้ สว่ นใหมน่ าเงนิ สดหรือสนิ ทรัพย์อน่ื มาลงทุน ตัวอย่างท่ี 6 วาสนาและแววตาตกลงเป็นหุ้นสว่ นกัน วาสนามีทุน 200,000 บาท และแววตามที ุน 100,000 บาท แบ่งกาไรขาดทุน 3:2 ตามลาดับ ได้รับวารีเข้าเป็นหุ้นส่วนใหม่ ในวันที่ 1 พฤษภาคม 2558 โดยวารีนา เงินสดมาลงทุน 200,000 บาท และจะมีส่วนในทุนเท่ากับยอดเงินทุนที่นามาลงทุนซ่ึงเท่ากับ ������ ของทุนของ ������ หา้ งห้นุ สว่ น วาสนา แววตา และวารี ตกลงแบ่งกาไรขาดทนุ เท่ากัน

บนั ทกึ บัญชกี ารรบั ห้นุ สว่ นใหม่ในสมดุ รายวนั ทั่วไปจะเป็นดงั น้ี

ตารางคานวณทนุ หลังรบั ห้นุ สว่ นใหม่

3.1.2 การคานวณหาอัตราสว่ นแบ่งกาไรขาดทุนของผเู้ ปน็ หุ้นสว่ นทกุ คนใหม่ ตวั อย่างท่ี 7 เมตตาและมฑุ ติ าเปน็ หนุ้ สว่ นกัน แบง่ กาไรขาดทุนในอัตรา 2:3 ต่อมารับอุเบกขาเข้ามา เป็นหุ้นส่วนใหม่ กาหนดให้อุเบกขามีส่วนในกาไรขาดทุน ������ การคานวณอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุนของ ������ หุน้ ส่วนมดี ังนี้

วธิ คี านวณ อุเบกขาไดร้ ับสว่ นแบง่ กาไรขาดทนุ = ������ ������ เมตตาและมุฑติ ามีสว่ นแบง่ กาไรขาดทุน อตั ราส่วนแบ่งกาไรขาดทุนของเมตตาและมุฑติ า = ������ ������ = 2:3 เมตตามอี ตั ราสว่ นแบง่ กาไรขาดทนุ ใหม่ = × =������ ������ ������������ มฑุ ติ ามอี ัตราสว่ นแบง่ กาไรขาดทนุ ใหม่ ������ ������ ������������ อเุ บกขามอี ัตราสว่ นแบง่ กาไรขาดทุนใหม่ อตั ราส่วนแบ่งกาไรขาดทุน เมตตา มุฑติ าและอเุ บกขา = × =������ ������ ������������ ������ ������ ������������ = × =������ ������ ������ ������ ������ ������������ = 10:15:5 = 2:3:1

3.1.3 การคานวณหาเงนิ ทนุ ของหุน้ สว่ นใหม่ท่ตี อ้ งนาเงนิ สดหรือสินทรัพยอ์ ื่นมาลงทนุ ตัวอยา่ งท่ี 8 นกและนัดเป็นห้นุ สว่ นกนั มีทุน 50,000 บาท และ 40,000 บาท แบง่ กาไรขาดทนุ เท่ากันต่อมาท้ังสอง เตงกินลทงุนรัทบ่ีนนุกุกนเขา้ามมาาลเงปท็นุนหุ้นกสา่วรคนาในหวมณ่ขอหงาหเง้าินงหทุ้นุนสข่วอนงนโุกดทย่ีตให้อ้นงนุกามมีสา่วลนงใทนุนทุนสเมปม็นติใ������������หข้ทอุนงทห้ัง้าสงิ้นหขุ้นอสง่วหน้างจหงุ้คนาสน่ววนณ=ห1า นกุ มีส่วนในทุน = ������ เหลือเปน็ สว่ นในทุน นก และ นดั = ������ ������ ������ สว่ นในทนุ ของ นก และ นัด มที ุน = 90,000 บาท ทนุ ของหา้ งห้นุ สว่ นใหม่ = 135,000 บาท จานวนเงินท่ีนกุ มาลงทุน (135,000 × ������ ) = 45,000 บาท ������

 3.2 รับหุ้นส่วนใหม่โดยคิดค่าความนิยมหรือโบนัสให้แก่หุ้นส่วนเดิมหรือหุ้นส่วนใหม่ โดยระบไุ วอ้ ย่างชดั เจน 3.2.1 คิดคา่ ความนยิ มให้แกห่ ุน้ สว่ น คา่ ความนิยม การคานวณหาคา่ ความนยิ ม จะเปน็ ดงั น้ี

 คิดค่าความนิยมให้แก่หุ้นส่วนเดิม ให้ต้ังค่าความนิยมของห้างหุ้นส่วนก่อนรับหุ้นส่วนใหม่ โดย เพ่ิมยอดทุนของหุ้นส่วนเดิมด้วยจานวนค่าความนิยมตามอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุนและบันทึกการ รบั หุน้ ส่วนใหม่ การบนั ทกึ บัญชใี นสมดุ รายวนั ทวั่ ไปจะเป็นดังนี้

 คิดค่าความนิยมให้แก่หุ้นส่วนใหม่ ให้ต้ังค่าความนิยมให้หุ้นส่วนใหม่ไว้ในสมุดบัญชีของห้าง หุ้ น ส่ ว น ก ร ณี น้ี ทุ น ข อ ง หุ้ น ส่ ว น ใ ห ม่ จ ะ สู ง ก ว่ า เ งิ น ทีน่ ามาลงทนุ เท่ากับจานวนคา่ ความนยิ มทห่ี ้างหนุ้ ส่วนคิดให้ การบนั ทกึ บัญชีในสมดุ รายวนั ทั่วไปจะเป็นดงั นี้

 3.2 รับหุ้นส่วนใหม่โดยคิดค่าความนิยมหรือโบนัสให้แก่หุ้นส่วนเดิมหรือหุ้นส่วนใหม่ โดยระบุไว้อย่างชัดเจน (ต่อ) 3.2.2 คิดโบนัสให้แก่ห้นุ สว่ น การคานวณหาคา่ ความนยิ ม จะเปน็ ดังนี้

 คิดโบนัสให้แก่หุ้นส่วนเดิม โดยเพิ่มยอดบัญชีทุนตามอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุนและบันทึกรับ หุ้นส่วนใหม่ การบันทึกบญั ชใี นสมดุ รายวนั ทว่ั ไปจะเป็นดังนี้

 คดิ โบนัสใหแ้ ก่หุ้นส่วนใหม่ โดยหุ้นส่วนใหม่นาเงินสดหรือสินทรัพย์อ่นื มาลงทุนต่ากวา่ จานวนทุน ที่จะมีในห้างหุ้นส่วนและจานวนเงินผลต่าง คือโบนัสที่คิดให้หุ้นส่วนใหม่ ซึ่งผลต่างจะนาไปลดยอด บัญชีทนุ ของห้นุ สว่ นเดมิ ตามอตั ราสว่ นแบง่ กาไรขาดทนุ และบนั ทึกรับหุน้ สว่ นใหม่ใหม่ การบันทึกบัญชใี นสมดุ รายวันทวั่ ไปจะเปน็ ดังน้ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook