รายงานสรปุ ผลการดาํ เนินงานการจดั การความรู้ กลมุ่ ความรู้ กลุม่ งานบคุ คล องคค์ วามรเู้ รือ่ ง กล่มุ งานติดตามและบนั ทึกผลการอบรมพฒั นาบคุ ลากร ประจาํ ปีงบประมาณ 2561
คํานาํ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ได้ดําเนินการจัดการความรู้ภายในมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 โดยมีการจัดประชุมบุคลากร ทบทวนระบบและกลไกการจัดการความรู้โดย กําหนดองค์ความรู้ที่จําเป็นสําหรับด้านการจัดการเรียนการสอน การวิจัย และการพัฒนาคุณภาพ การให้บริการ พร้อมท้งั แผนการจัดการความร้ทู ี่ม่งุ เน้นสนบั สนนุ ให้มีการดําเนินการในทิศทางเดียวกัน และก่อให้เกิดการพัฒนาในระบบการทํางาน กล่มุ งานบคุ คล ได้กาํ หนดองค์ความรู้ และแลกเปลีย่ นเรียนรู้ โดยได้มีการทบทวนองค์ความรู้ หลักที่จาํ เป็น และสนบั สนุนประเด็นยุทธศาสตร์ เพื่อต่อยอดองค์ความรู้จากการดําเนินงานในปีที่ผ่าน มา ให้เกิดการพัฒนาทีเ่ ปน็ ระบบมากยิง่ ขึ้น และมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพ กลุ่มงานบุคคล (งานติดตามและบันทึกผลการอบรมพัฒนาบุคลากร) จึงได้จัดทํา คู่มือกลุ่ม งานติดตามและบันทึกผลการอบรมพัฒนาบุคลากรขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการดําเนินการ ซึ่งเป็น เครื่องมือในการติดตามงาน เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพบุคลากรในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน อย่าง เป็นระบบเพื่อให้งานบรรลุเป้าหมายตามวัตถุประสงค์ หวังเป็นอย่างยิ่งว่างานติดตามและบันทึกผล การอบรมพัฒนาบุคลากรจะเป็นประโยชน์สําหรับผู้สนใจ และขอขอบคุณผู้ปฏิบัติงานด้านบุคคลทุก ท่านที่ร่วมเปน็ สมาชิกกล่มุ มา ณ ที่นี้ ห้องงานติดตามและบนั ทึกผลการอบรมพฒั นาบุคลากร
สารบัญ เร่อื ง หน้า ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลพน้ื ฐานของกล่มุ ความรู้…………………………………………………………………………..…… 5 ความเปน็ มาของกลุ่มความรู้…………………………………………………………………………………………………………… 5 สมาชิกชุมชนนักปฏิบัติและบทบาทหน้าทีข่ องสมาชิก……………………………………………………………...…… 8 สว่ นท่ี 2 การดาํ เนินงานจัดการความร.ู้ ..................................................................................... 9 การกาํ หนดองค์ความรู้หลกั ท่ีจําเป็นหรือสาํ คัญต่องานหรือกิจกรรมของหน่วยงาน และกําหนด เป้าหมายของการจดั การความรู.้ .......................................................................................................... 14 การเสาะแสวงหาความรู้ทต่ี ้องการ………………………………………………………………………………..……….… 21 การปรับปรุง ดัดแปลง ความรู้บางส่วนให้เหมาะสมต่อการดําเนินงานของหน่วยงาน………………… 44 การนาํ ความรู้ท่ีได้จากการจัดการความรู้มาปรับใช้ในการปฏิบัติงานจริง……………………….…………. 49 การนําประสบการณจ์ ากการทํางาน และการประยกุ ต์ใช้ความรู้มาแลกเปลย่ี นเรียนรู้ และสกัด ออกมาเป็นขุมความรู้………………………………………………………………………………………………………………………………… 51 การรวบรวมความรู้และจดั เก็บอย่างเป็นระบบโดยเผยแพร่ออกมาเปน็ ลายลกั ษณ์อักษร…………… 53 ส่วนท่ี 3 ผลผลิตและผลลพั ธ์…………………………………………………………………………………………… 57 ความรู้ทไ่ี ด้และการกลนั่ กรองความรู้…………………………………………………………………………………………… 57 การนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ ……………………………………………………………………………………………………….. 58 สรุปผลการดําเนินการจดั การความร.ู้ ........................................................................................ 59 การต่อยอดองค์ความรหู้ รือนวัตกรรมทีเ่ กิดขึ้น.......................................................................... 59 ภาคผนวก เอกสารทีเ่ กีย่ วข้อง 61
สารบัญตาราง หน้า 8 ตารางที่ 1 สมาชิกชุมชนนักปฏิบตั ิและบทบาทหน้าที่ของสมาชิก 16 ตารางที่ 2 ตารางแสดงข้อมลู การจัดทาํ และปรับปรงุ กระบวนการใหม่ 22 ตารางที่ 3 แผนการดาํ เนินงานแลกเปลีย่ นเรียนร้ขู องกล่มุ งานติดตามและบนั ทึกผล การอบรมพฒั นาบุคลากร 29 ตารางที่ 4 การเล่าเรือ่ งจากกล่มุ ชมุ ชนนกั ปฏิบัติ (การเล่าเรือ่ งตามแบบการติดตาม 30 และบันทึกผลการอบรมพฒั นาบุคลากร) 38 ตารางที่ 5 สรปุ องค์ความร้เู ทคนิค/ผลทีไ่ ด้หลงั จากการนาํ กระบวนการใหม่ไปใช้ 42 ตารางที่ 6 ตารางข้อมูลจากการสัมภาษณ์ (บุคลากรด้านการเงินและบุคลากรด้าน 44 งานบคุ คลถึงวิธีการปฏิบตั ิงาน/กระบวนการปฏิบัติงาน) 50 ตารางที่ 7 จากการศึกษาดูงาน (วิธีการปฏิบตั ิงาน/กระบวนการปฏิบตั ิงาน) 51 ตารางที่ 8 ตารางแสดงการศึกษาข้อมลู จากแหลง่ อื่นๆ (เซ็บไซต์,การศึกษาข้อมลู ) 53 ตารางที่ 9 องค์ความร้คู วามร้ทู ี่ปรบั ปรงุ ให้เหมาะสมต่อการปฏิบตั ิงาน ตาราง 10 ผลการนําความรู้การติดตามและบันทึกผลการอบรมพฒั นาบคุ ลากรไปใช้ ตารางที่ 11 การประยุกต์ใช้ความรมู้ าแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตารางที่ 12 การรวบรวมความร้แู ละจัดเก็บอย่างเปน็ ระบบ
ส่วนที่ 1 ขอ้ มลู พื้นฐานของกล่มุ ความรู้ 1. ความเปน็ มาของชุมชนนกั ปฏิบัติ (กลมุ่ ความร)ู้ ดังนี้ การพัฒนาบุคลากรเป็นการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล ตลอดจนเทคนิคในการ ทํางานที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ คนที่มีความรู้ความสามารถเหมาะสมกับตําแหน่งหน้าที่ในสมัยหนึ่ง ก็ อาจกลายเป็นคนที่หย่อนความสามารถไปในอีกสมัยหนึ่งก็ได้ เพื่อให้ผ้ปู ฏิบัติงานเปน็ ผ้ทู ีม่ ีความร้คู วาม เหมาะสมกับตําแหน่งหน้าที่อยู่เสมอ การพัฒนาบุคลากร Development of Personnel หมายถึง กระบวนการทีม่ ่งุ จะเปลีย่ นแปลงวิธีการทํางาน ความรู้ความสามารถ ทักษะและทัศนคติของบุคลากร ให้เป็นไปทางที่ดีขึ้นเพื่อให้บุคลากรที่ได้รับการพัฒนาแล้วน้ันปฏิบัติงานได้ผลตามวัตถุประสงค์ของ หน่วยงานอย่างมีประสิทธิภาพ ความสําคัญของการพัฒนาบุคลากร การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์มีความสําคัญต่อองค์การ สรุปได้หลากหลายประการดังนี้ 1) ช่วยทําให้ระบบและวิธีปฏิบตั ิงานมีสมรรถภาพดียิง่ ขึ้น มีการติดต่อ ประสานงานดียิ่งขึ้น 2) ช่วยทําให้เกิดการประหยัด ลดความสิ้นเปลืองของวัสดุที่ใช้ในการปฏิบัติงาน 3) ช่วยลดระยะเวลาของการเรียนรู้งานให้น้อยลง 4) ช่วยแบ่งเบาภาระหน้าที่ของผู้บังคับบัญชาหรือ หัวหน้าหน่วยงานต่าง ๆ ในการตอบคําถามหรือให้คําแนะนําแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาของตน 5) ช่วย กระตุ้นบุคลากรให้ปฏิบัติงานเพื่อความเจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงาน 6) ช่วยทําให้บุคคลน้ันๆ มี โอกาสได้รับคามรู้ ความคิดใหม่ๆเป็นคนทันสมัยต่อความเจริญก้าวหนี้ทางเทคโนโลยีใหม่ๆ แนวคิด พ้ืนฐานของการพัฒนาทรัพยากรบุคคลดังกล่าว เป็นไปตามปรัชญาของการพัฒนาบุคคลที่สําคัญคือ 1) บุคคลทุกคนมีศักยภาพของตนเองที่สามารถพัฒนาให้เพิ่มพูนขึ้นได้ท้ังด้านความรู้ ทักษะและ ทัศนคติ ถ้าหากมีแรงจูงใจที่ดีพอ 2) การพัฒนาศักยภาพของบุคคล ควรดําเนินการโดยยึดหลัก สมรรถนะ (Competency Based Development) 3) การพัฒนาทรพั ยากรบคุ คลจะต้องดาํ เนินการอย่าง เปน็ กระบวนการต่อเนื่องเป็นระบบ ต้ังแต่การสรรหา การคัดเลือก สู่ระบบการพัฒนาขององค์การ 4) วิธีการในการพัฒนาบุคคลมีหลายวิธี จะต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะของบุคคลและภารกิจ ขององค์การ 5) จัดให้มีระบบการประเมินการพัฒนาความสามารถของบุคคลเป็นระยะๆเพื่อพัฒนาบุ คลบางกล่มุ ให้มีความสามารถเพิ่มขึ้น และในขณะเดียวกนั ก็สนบั สนุนให้ผ้มู ีความร้คู วามสามารถสูงได้ ก้าวหน้าไปสู่ตําแหน่งใหม่ที่ต้องใช้ความสามารถสูงข้ึน 6) ระบบข้อมูลบุคคลขององค์การจะต้อง ครบถ้วน ถูกต้องและทันสมัยสามารถตรวจสอบความก้าวหน้ารายบุคคลได้ 7) การพัฒนาบุคคล จะต้องทําทุกด้าน คือ สุขภาพอนามัย ความรู้ ความสามารถจิตใจและคุณธรรม ควบคู่กันไป 8) องค์การต้องคาํ นึงถึงความม่ันคงและความก้าวหน้าของบุคคลควบคู่ไปกับความก้าวหน้าขององค์การ องค์การจะอยู่ไม่ได้ถ้าขาดบุคคลที่มีกําลังกาย กําลังใจและสติปัญญาที่ทุ่มเทให้กับองค์การ ดังน้ัน วัตถุประสงค์หลักของการพัฒนาบุคลากรไม่ว่าจะในภาคเอกชนหรือภาครัฐก็คือ การมุ่งให้เกิดความ เปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติงานตามที่องค์การต้องการ ซึ่งโดยท่ัวไปแล้ว การที่เราจะ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการทํางานของบุคคลเพื่อให้เป็นไปในทางที่ต้องการได้น้ัน เราจําเป็นต้อง พัฒนาบุคลากรในด้านต่างๆอย่างน้อย 3 ด้าน ประกอบด้วย ความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) และ ทัศนคติ (Attitude) หรือ KSA หรือในบางตําราบอกว่าจะมี ความเข้าใจ (Understanding) และก็จะรวม เรียกว่า KUSA KUSA เป็นหัวใจสําคัญของการพัฒนาบุคลในทุกองค์กร ประกอบด้วย 1) การพัฒนา ให้มีความรู้ (Knowledge) เรียนรู้ทําความเข้าใจแล้วจึงนําแนวคิดมาประยุกต์ใช้ การเรียนรู้ จึงไม่ใช่ เพียงการรับรู้ที่จําๆมาโดยไม่เข้าใจ 2) การพัฒนาให้มีความเข้าใจ (Understanding) ต้องทําความ เข้าใจข้อมูลต่างๆทบทวนวิเคราะห์ให้เห็นจุดต่างๆเพื่อตอบตัวเองให้ได้ แล้วจึงเชื่อในแนวคิดน้ันๆ พร้อมจะนําไปปฏิบัติได้เสมอ 3) การพัฒนาให้มีทักษะความชํานาญ (Skill) เมื่อเรียนรู้และเข้าใจใน ข้อมูลแล้วต้องมีโอกาสนําความรู้ไปใช้ให้เกิดประสบการณ์ด้วยตัวเอง ฝึกฝนและปฏิบัติบ่อยๆจนเกิด ความชํานาญ เพิ่มพูนสติปัญญาและมีความรอบรู้มากยิ่งขึ้น 4) การพัฒนาให้มีทัศนคติที่ดี (Attitude) มีความคิดเชิงสร้างสรรค์คนเราอาจมีความคิดทัศนคติที่เหมือนหรือต่างกันได้ การเปลี่ยนทัศนคติเป็น สิ่งที่ยาก หากองค์กรใดต้องการประสบความสําเร็จในการพัฒนาคุณภาพองค์กร ก็จําเป็นจะต้อง ปรับเปลี่ยนทัศนคติของบุคลากรด้วยการหาเทคนิคหรือแนวทางใหม่ๆ จัดการความแตกต่างทาง ความคิดและสร้างวัฒนธรรมหรือมาตรฐานใหม่ เป็นเครื่องมือในการเปลี่ยนแปลงทัศนคติของคนใน องค์กรให้ไปสู่สิ่งที่ดีกว่า การพัฒนาบุคลากรด้านความรู้น้ันควรให้ความรู้เกี่ยวกับนโยบายของ องค์การหรือนโยบายของรัฐในกรณีที่เป็นราชการ ความรู้ด้านวิชาชีพ ความรู้เสริมที่เป็นประโยชน์ต่อ การบริหารและความรู้ใหม่ๆที่จะช่วยให้บุคคลเหล่าน้ันสามารถปรับตัวให้ทันกับความก้าวหน้าทาง วิทยาการส่วนในด้านทักษะหรือความชํานาญงานหากเน้นการพัฒนาบุคลากรให้ได้ฝึกปฏิบัติงานให้ เกิดทักษะความชํานาญเพิ่มข้ึน จะทําให้บุคคลเหล่าน้ันสามารถทํางานได้ดีตามมาตรฐาน เป้าหมาย หรือตามความคาดหวังของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทํางานได้อย่างคล่องแคล่วรวดเร็วข้ึนกว่าเดิม ทํางานได้ อย่างมีคุณภาพทีด่ ีข้ึน (ชชั วาล อรองค์สภุ ทัต, 2552) มหาวิทยาลัยราชภัฏราชภัฏสวนสุนันทา เป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพช้ันนําเพื่อปวงชน “A Leading Quality University for All” ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพระดับแนวหน้า ตรงกับความต้องการของชุมชน และสังคมยุคเศรษฐกิจความรู้และเป็นประชากรโลก (global citizen) การดําเนินงานของบุคลากรจึงเป็นแรง ขับเคลื่อนให้องค์กรดําเนินไปสู่ความสําเร็จ ผู้บริหารองค์การจึงมีนโยบายให้ทุกหน่วยงานภายใต้ สังกัดของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดให้มีงบประมาณส่วนหนึ่งเพื่อไว้พัฒนาบุคลากรโดย แบ่งเป็น บุคลากรสายวิชาการ จํานวน 10,000 บาท และบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ 5,000 บาท ต่อปีงบประมาณ ซึ่งบุคลากรทุกคนสามารถขออนุมัติใช้งบประมาณดังกล่าวสําหรับพัฒนาตนเองใน สายอาชีพได้อย่างเท่าเทียมกัน และเหตุผลดังกล่าวจึงทําให้บุคลากรที่ได้รับการพิจารณาอนุมัติ งบประมาณให้ไปพัฒนาบุคลากรตามที่ได้ขออนุญาตแล้ว ไม่นําส่งรายงานหลังอบรมพัฒนาบุคลากร ต่อฝ่ายบุคคลของหน่วยงานซึ่งจําเป็นต้องเก็บเป็นฐานข้อมูลในระบบ ERP ของมหาวิทยาลัยเพื่อ ประกอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ และใช้ในการอ้างอิงการตรวจประเมินต่าง ๆ ของ
มหาวิทยาลัย จึงทําให้ฝ่ายบุคคลของหน่วยงานปฏิบัติงานล่าช้าและไม่สามารถรายงานต่อกอง บริหารงานบุคคลได้ทันเวลา จากเหตุผลดังกล่าวกลุ่มงานบุคคล (งานติดตามและบันทึกผลการอบรมพัฒนาบุคลากร) ได้ เล็งเห็นถึงความสําคัญในการจัดส่งรายงานหลังการอบรมพัฒนาบุคลากร ซึ่งต้องใช้เป็นหลักฐานใน การดําเนินงานท้ังของมหาวิทยาลัย และหน่วยงาน กลุ่มงานบุคคลจึงจําเป็นต้องสร้างกระบวนการ ดําเนินงานที่ทําให้บุคลากรสามารถส่งรายงานหลังอบรมได้ทันเวลา และสามารถรายงาน มหาวิทยาลัยได้โดยไม่จําเป็นต้องมีการติดตามทวงถาม เพื่อลดระยะเวลาในการปฏิบัติงาน และเป็น แนวปฏิบัติที่ทุกหน่วยงานสามารถนําไปใช้ในการปฏิบตั ิงานได้จริงต่อไป ชมุ ชนนกั ปฏิบัติ (กลมุ่ ความรูง้ านติดตามและบนั ทึกผลการอบรมพัฒนาบคุ ลากร) งานบุคคล ประกอบด้วย 2 ห้อง ดงั นี้ ห้อง 1) ติดตามและบันทึกผลการอบรมพัฒนาบุคลากร และ 2) ลาอย่างไรให้ถูกระเบียบ เกิดจากการรวมตัวของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการที่ปฏิบัติงาน ด้านบุคลากร มีการกําหนดองค์ความรู้ที่จําเป็นในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้คือได้มีการถอดบทเรียนการ ปฏิบตั ิงานเป็นรายบุคคล และนํามาแลกเปลี่ยนและเขียนเทคนิค/วิธีการปฏิบัติ จากน้ันนํามาสกัดองค์ ความรู้เพื่อให้ได้ข้ันตอนที่ลดระยะเวลาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งตอบสนองตามยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนามหาวิทยาลัยให้เป็นเอตทัคคะอย่างย่ังยืน และเป้าประสงค์ในเรื่อง มหาวิทยาลัยมีการ บริหารงานที่สอดคล้องตามหลักธรรมาภิบาลสมาชิกกลุ่มประกอบด้วย บุคลากรสายสนับสนุนจาก หน่วยงานดงั นี้ 1) คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ 2) คณะครุศาสตร์ 3) คณะวิทยาการจัดการ 4) คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 5) คณะศิลปกรรมศาสตร์ 6) บัณฑิตวิทยาลัย 7) วิทยาลัยนวัตกรรม และการจัดการ 8) วิทยาลัยนานาชาติ 9) กองพัฒนานักศึกษา 10) สํานักงานวิทยบริการและ เทคโนโลยีสารสนเทศ 11) ศูนย์ให้การศึกษาจังหวัดนครปฐม 12) ศูนย์ให้การศึกษาจังหวัด สมุทรสงคราม 13) กองบริหารงานบคุ คล และ 14) สถาบนั สร้างสรรค์ฯ กลุ่มงานบุคคล (งานติดตามและบันทึกผลการอบรมพัฒนาบุคลากร) ได้ดําเนินงานจัดการ ความรู้ตามแนวทาง ที่มหาวิทยาลัยกําหนดมีการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สกัดองค์ความรู้ และ นําองค์ความรู้ที่ได้ไปใช้ในการปฏิบัติงานเป็นข้ันตอน Flowchart งานติดตามและบันทึกผลการอบรม พัฒนาบคุ ลากร และสามารถนาํ ไปปฏิบตั ิในหน่วยงานของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตารางที่ 1 สมาชิกชุมชนนกั ปฏิบัติและบทบาทหนา้ ที่ของสมาชิก ลาํ ดบั ชือ่ -นามสกุล หน่วยงานทีส่ งั กดั บทบาทหน้าที่ 1 นางสาวหสั ทยา นวลสวุ รรณ คณะมนุษย์ศาสตร์และ คุณอํานวย สงั คมศาสตร์ (ประธาน) 2 นางสาวณิชกานต์ เพชรปานกนั บณั ฑิตวทิ ยาลยั คณุ ประสาน คณะวิทยาการจดั การ คุณประสาน 3 นางสาวมาลยั ปั้นทรัพย์ ศูนย์ฯ จงั หวัดสมทุ รสงคราม คุณลิขิต พรรณ คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณุ กิจ กองพัฒนานกั ศึกษา คุณกิจ 4 นายวฒุ ิไกร ประวตั ิพงษ์ คณะครศุ าสตร์ คณุ กิจ วิทยาลัยนวัตกรรมการจดั การ คุณลิขิต 5 นางสาวณิชาภทั ร เป้าคาํ ศรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คุณกิจ สถาบันสร้างสรรค์ฯ คณุ วิศาสตร์ 6 นางสาวร่งุ รตั น์ พฒั นกลน่ั ศูนย์ฯ จงั หวดั นครปฐม คุณกิจ วิทยาลัยนวตั กรรมการจัดการ คุณกิจ 7 นางกฤตติกา ไกรแก้ว คณะวิทยาการจดั การ คุณกิจ 8 นางสาวสุภาพ พฤฒิสาริกร กองบริหารงานบุคคล คุณกิจ กองบริหารงานบคุ คล 9 นางสาวสุพัสวี โมรากลุ คณะวิทยาการจดั การ คณุ กิจ กองบริหารงานบคุ คล คุณกิจ 10 นางสาวจินตนา ดาํ รงสันติธรรม คุณกิจ 11 นางสาวปยิ ะรตั น์ เศวตะดุล 12 ว่าที่ ร.ต.หญิง พาหาสิงห์ บญุ ญาดา 13 นางสวุ ิมล วจีทองรัตนา 14 นางสาวสนุ ารี ลาํ ใย 15 นางเกศินี จันทร์หอม 16 นางสาวพชั ราภรณ์ สีลาดเลา 17 นางสาวจารณา แสงทอง * บทบาทหน้าท่ี ระบุตําแหน่ง : คุณอํานวย คุณลิขิต คุณกิจ คุณประสาน คุณวิศาสตร์
ส่วนที่ 2 การดาํ เนินงานจดั การความรู้ การจดั การความรู้ หรือเคเอ็ม (KM = Knowledge Management) คือ การรวบรวมองค์ ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมท้ังปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสงู สุด โดยที่ความรูม้ ี 2 ประเภท คือ 1) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์ หรือสญั ชาติญาณของแต่ละบคุ คลในการทําความเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ เป็นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอด ออกมาเป็นคําพูดหรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการทํางาน งานฝีมือ หรือการคิดเชิง วิเคราะห์ บางคร้งั จึงเรียกว่าเป็นความร้แู บบนามธรรม 2) ความรู้ทีช่ ัดแจง้ (Explicit Knowledge) เปน็ ความร้ทู ีส่ ามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดย ผ่านวิธีต่าง ๆ เช่น การบนั ทึกเปน็ ลายลกั ษณ์อักษร ทฤษฎี ค่มู ือต่าง ๆ และบางคร้งั เรียกว่าเป็นความรู้ แบบรปู ธรรม การกล่าวถึง องค์กร ในที่น้ีหมายถึง สถาบันการศึกษา (มหาวิทยาลัย ฯลฯ) องค์กรภาครัฐ (กระทรวง กรม ฯลฯ) องค์กรภาคเอกชน (กลุ่มบริษัท บริษัท ห้าง ฯลฯ) และองค์กรภาคประชาสังคม (มูลนิธิ เครือข่าย กลุ่ม ฯลฯ) ส่วนคําว่า ความรู้ น้ัน หมายถึง ความรู้ที่ใช้ในการทํางานภายในองค์กร เหล่าน้ัน ดังน้ัน ผู้ใดทางานในองค์กรใด ไม่ว่าจะเป็นผู้ปฏิบัติงานหรือผู้บริหารก็ต้องมีส่วนในการ จัดการความรู้ อาจจะอยู่ในฐานะที่เป็น เครื่องมือ หรือ “ตัวช่วย” ให้สามารถทํางานได้มากขึ้นและดี ข้ึน โดยการสร้างความม่ันใจ สะดวก ง่าย รวดเร็วมากยิ่งขึ้น ซึ่งผลที่ตามมาคือ องค์กรอยู่รอดและ เติบโตอยา่ งย่งั ยืนในสถานการณ์ที่มีการแข่งขนั สูงอย่างในปัจจบุ ัน ทําไมต้องมีตัวช่วย ”การจัดการความรู้“ โลกยุคปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วใน ด้านต่างๆ เช่น สารสนเทศ ความรู้ เทคโนโลยี การตลาด ความต้องการของลูกค้า คู่แข่ง ฯลฯ โดยมี การเปลี่ยนแปลงทีส่ าํ คญั ๆ ได้แก่ • สินค้าและการผลิตที่ต้องพึ่งพาความร้แู ละสารสนเทศ เช่น สินค้าไฮเทคต่างๆ มีความสําคัญ ท้ังด้าน คุณค่าและมูลค่ามากกว่าสินค้าและการผลิตที่พึ่งพาแรงงาน เครื่องจักร และ ทรัพยากรธรรมชาติ • การแข่งขนั เปลี่ยนจากใครมีขนาดใหญ่กว่ามาเปน็ ใครเร็วกว่า • ความได้เปรียบด้านการผลิตทีอ่ าศัยความรู้ ทักษะและเทคโนโลยี สําคัญกว่าด้านเครื่องจักร เครื่องมืออุปกรณ์ • ความคิดสร้างสรรค์ใช้สร้างความได้เปรียบได้ดีกว่าการใช้ทนุ
• การสร้าง การกระจาย และการใช้ความรู้ซึ่งอาจเรียกรวมกันว่าการจัดการความรู้ กลายเป็นตัว ขับเคลื่อนหลักของเศรษฐกิจยุคปัจจุบัน เพื่อให้เกิดการเติบโต สร้างความม่ังค่ัง และ สร้างงานใน อุตสาหกรรมทกุ รปู แบบ โลกของการทํางานกเ็ ปลี่ยนแปลงไป เช่น • งานที่ใช้แรงงานกลายเป็นงานทีต่ ้องใช้ความรู้ • งานทีท่ าํ ซ้าเหมือนเดิมทกุ วันกลายเปน็ งานสร้างสรรค์ • งานที่ใช้ทักษะเพียงด้านเดียวกลายเปน็ งานทีจ่ ําเปน็ ต้องใช้ทักษะหลากๆ ด้าน • งานตายตวั ตามหน้าที่กลายเป็นงานยืดหย่นุ ตามโครงการ • งานใครงานมนั เปลี่ยนเปน็ งานของทีม ในปจั จุบนั การทาํ งานกม็ ีปญั หาเกี่ยวกับความรู้ เช่น • เวลามีปัญหาในการทาํ งานไม่ทราบว่าจะไปถามผ้ทู ี่เก่งในเรือ่ งน้นั ๆ ได้ทีไ่ หน • การแบ่งปัน แลกเปลีย่ นความร้ทู าในวงแคบ เฉพาะคนที่สนิทสนมกนั เท่าน้ัน • ไม่ได้ถือว่าการแลกปนั ความร้เู ป็นส่วนหนึ่งของการทํางาน จึงต้องให้มีปัญหาเสียก่อนถึงจะ มีการแลกปนั และจะแลกปันกนั เฉพาะเรือ่ งที่เปน็ ปญั หาเท่าน้ัน • ไม่มีการเผยแพร่แบ่งปันความรู้ที่ได้จากการไปร่วมประชุม อบรม สัมมนา ให้แก่คนอื่นๆ ที่ ไม่ได้ไป • การค้นหาข้อมูลทีต่ ้องการส่วนใหญ่ใช้เวลานาน หาไม่ค่อยพบ • ข้อมลู ทีห่ าได้มกั จะไม่ทันสมยั ไม่สมบรู ณ์หรือไม่ตรงตามความต้องการ • การทํางานไม่เกิดการต่อยอดงาน ต้องเริม่ ทีศ่ ูนย์อย่เู รื่อยไป • มกั มีการทาํ งานผิดพลาดซ้ าๆ ในเรื่องเดิมๆ เพราะขาดความร้ทู ี่ถกู ต้อง • ไม่ค่อยมีความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ ส่วนมากจะซ้าๆ กัน • การฝึกอบรมอย่างเดียวไม่เพียงพอ เพราะจะมีการนําไปใช้ประโยชน์แค่ 10 % และภายใน 2 สัปดาห์ หากไม่ได้นาํ กลบั มาใช้อีก ทักษะหรือความร้ตู ่างๆ จะหายไปร่วม 87 % • ความรู้อยู่ที่ตัวบุคลากร เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น เกษียณอายุ ลาออก ย้าย เปลี่ยน หน้าที่ ก็เกิดผล กระทบกบั งานและองค์กร • องค์กรมี “ หรือ ”วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ“Best Practice” แต่ไม่ค่อยนํามาใช้ไม่เคยนําไปขยาย ผลให้กับ หน่วยงานอืน่ และบางทีองค์กรกไ็ ม่รู้ว่า Best Practice ของตนคืออะไร • องค์กรไม่มีการเกบ็ รวบรวมประสบการณ์ทีไ่ ด้จากการทํางานโดยเฉพาะการดาํ เนินโครงการ สําคญั ๆ การเปลี่ยนแปลงของโลกยุคปัจจุบันและโลกของการทํางาน รวมท้ังปัญหาในการทํางานใน ปัจจุบัน ผลักดันให้องค์กรต้องมีการค้นหา สร้าง รวบรวม กลั่นกรอง จัดเก็บ ความรู้อย่างเป็นระบบ
เพื่อให้บุคลากรที่ ต้องการใช้เข้าถึงความรู้น้ันได้ตลอดเวลา บุคลากรท้ังผู้ปฏิบัติงานและผู้บริหารก็ จะต้องมีการเรียนรู้ มีการ 4 สร้างและใช้ความรู้ในการทํางานอย่างสม่ําเสมอและต่อเนื่อง ซึ่งไม่เพียง จะช่วยให้องค์กรอยู่รอดปลอดภัยใน โลกที่เปลี่ยนแปลงเร็วและมีการแข่งขันสูง ยังมีความเติบโต ก้าวหน้าอย่างย่ังยืนอีกด้วย นอกจากน้ียังมีเหตุผลอื่นๆ อีกอย่างน้อย 3 ประการที่สนับสนุนการนํา การจัดการความร้มู าเป็น ตัวช่วยในการทาํ งานในองค์กร 1. องค์กรช้ันนําระดับโลก เช่น Microsoft, Xerox, Roche, Chevron ฯลฯ ล้วนแต่ใช้การจัดการ ความรู้เป็นตัวขับเคลื่อนงานในมิติแง่มุมต่างๆ กัน ซึ่งอาจกล่าวอีกอย่างหนึ่งได้ว่า การใช้การจัดการ/ มรู้ควา เป็นตัวขับเคลื่อนงาน ทําให้องค์กรอย่าง Microsoft, Xerox, Roche, Chevron ฯลฯ ก้าวไปเป็น องค์กร ระดับโลก 2. เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา) MBNQA : The Malcolm Baldrige National Quality Award) ซึ่งเป็นต้นแบบรางวัลคุณภาพแห่งชาติให้กับประเทศต่างๆ ทั่วโลก รวมท้ัง ประเทศไทย)TQA : Thailand Quality Award สําหรับองค์กรภาคเอกชน, PMQA : Public Sector Management Quality Award สาํ หรบั องค์กรภาคราชการก (ำหนดเรื่องการจัดการความรู้ไว้ใน หมวด 4 จากองค์ประกอบสาํ คญั 9 หมวด ข้อนี้ก็เปน็ การยืนยนั อย่างชดั เจนว่า การจัดการความรู้เป็น เครือ่ งมือหรือ ตวั ช่วยสําคัญสาํ หรับองค์กรที่ม่งุ ความเปน็ เลิศ 3. พระราชกฤษฎีกา (พ.ร.ฎ.) ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 กําหนดให้องค์กรภาคราชการมีหน้าที่ในการจัดการความรู้โดยมีเกณฑ์รางวัลคุณภาพ PMQA ที่สํานกั งาน ก.พ.ร. ประยุกต์มาจาก MBNQA เป็นตวั ชี้วดั ในคาํ รบั รองการปฏิบตั ิราชการประจําปี ข้อนี้ ก็เปน็ หลกั ฐาน ยืนยันว่า การจดั การความร้เู ปน็ เครื่องมือหรือตัวช่วยสําคัญขององค์กรภาคราชการใน การยกระดบั คุณภาพ มาตรฐานการทํางานไปส่รู ะดับมาตรฐานสากล รู้จักตัวช่วย ”ความรู้“และ ”การจัดการความรู้“ หัวข้อแรกท าให้รู้จักการจัดการความรู้ใน มุมมองหนึ่งว่า การจัดการความรู้เป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้ องค์กรปรับตัวเข้ากับโลกยุคปัจจุบันและ โลกของการทํางานที่เปลี่ยนไป แก้ปัญหาเดิมๆ ในการทํางาน ช่วย ให้องค์กรก้าวหน้าสู่ระดับโลก มี ความเป็นเลิศ และองค์กรภาคราชการสามารถตอบสนองพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี พ .ศ.2546 รวมท้งั ตวั ชี้วดั PMQA ของ ก.พ.ร.ด้วย มุมมองอืน่ ๆ เกีย่ วกับการจัดการความรู้ 1. การจัดการความรู้คือ การบริหารจัดการเพื่อให้ ”ความรู้“ที่ต้องการใช้ความรู้ ได้รับ”คน“ ที่ ต้องการใช้ ใน) ที่ต้องการ”เวลา“Right Knowledge, Right People, Right Time) (American Promotion and Quality Center, APQC) 2. การจัดการความรู้คือ การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในส่วนราชการซึ่งกระจัดกระจายอยู่ ในตัว บุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบเพื่อให้ทุกคนในองค์การสามารถเข้าถึงความรู้และ
พัฒนาตนเองให้ เป็นผู้รู้ รวมท้ังปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์การมี ความสามารถในเชิงแข่งขันสงู สดุ (ก.พ.ร.) 3. การจัดการความรู้คือ เครื่องมือที่ใช้ในการบรรลุเป้าหมายอย่างน้อย 4 ประการไปพร้อมๆ กัน ได้แก่ 1) บรรลุเป้าหมายของงาน 2) บรรลุเป้าหมายการพัฒนาคน 3) บรรลุเป้าหมายการพัฒนา องค์กรไปส่กู ารเปน็ องค์กรแห่งการเรียนรู้ และ 4) บรรลคุ วามเป็นชมุ ชน เป็นหม่คู ณะมีความเอื้ออาทร ระหว่างกันในที่ทํางาน การจัดการความรู้เป็นกระบวนการที่ดําเนินการร่วมกันโดยผู้ปฏิบัติงานใน องค์กรหรือหน่วยงานย่อยขององค์กร เพื่อสร้างและใช้ความรู้ในการทํางานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ดีข้ึน กว่าเดิม (วิจารณ์ พาณิช) 4. กิจกรรมที่ถือว่า เปน็ ส่วนหนึง่ ของการจดั การความร้ไู ด้แก่ (วิจารณ์ พาณิช) (1) การพฒั นาฐานข้อมูลเกีย่ วกับลูกค้า ปญั หาที่พบบ่อย และแนวทางแก้ปัญหา (2) กําหนดผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งที่เป็นคนภายในองค์กร ทําตารางรายชื่อและวิธี ติดต่อ (3) ดึงเอาความร้อู อกมาจากผ้เู ชี่ยวชาญเหล่านี้และกระจายความร้ใู ห้แก่ผ้อู ืน่ (4) จดั ทาํ โครงสร้างความร้เู พื่อให้ข้อมลู เปน็ ระบบ เข้าถึงง่าย และนําไปใช้ได้ง่าย (5) จัดให้มีการประชุมแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความคิดเห็น โดยอาจเป็นการประชุม ตามปกติ หรือผ่านการสื่อสารทางไกลรปู แบบต่างๆ (6) จัดกระบวนการกลุ่มให้คนจากต่างพื้นที่ได้ทํางานแก้ปัญหาร่วมกัน และผลัดกันทํา หน้าทีผ่ ู้จดั การ ความรู้ (7) ค้นหาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษในความรู้และทักษะที่เป็นหัวใจของ ความสาํ เรจ็ ของ องค์การ และหาทางให้ได้อย่ใู นองค์การไปนานๆ (8) ออกแบบการฝึกอบรมและกิจกรรมเพื่อการพัฒนาคนในรูปแบบต่างๆ เพื่อประเมินและ พฒั นา ความร้ขู องแต่ละคนในองค์การ (9) ส่งเสริม ให้รางวัล หรือยกย่อง ปฏิบัติการที่นําไปสู่การแบ่งปันข้อมูลและดําเนินการเพื่อ ป้องกนั ไม่ให้มีการปิดบังข้อมลู (10) สร้างเครื่องอํานวยความสะดวกในการค้นหาและประยกุ ต์ใช้ความรู้ (11) วัดเพื่อหาทางจัดการความร้ใู ห้ดีขึ้น “ต้นทุนทางปญั ญา” (12) ทําความเข้าใจแนวโน้มของลูกค้า โดยศึกษาข้อมูลจากจุดให้บริการเกี่ยวกับความ ต้องการความพึง พอใจ และรสนิยมของลูกค้า จดุ หมายปลายทางของการจดั การความร้ไู ม่ใช่ความเป็นเลิศของการจดั การความรู้ เช่น การมี คลัง ความรู้ที่ทันสมัยครบถ้วน การมีวัฒนธรรมที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ การมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างบุคลากร อย่างท่ัวถึง ฯลฯ ความเป็นเลิศของการจัดการความรู้เป็นสิ่งที่พึงประสงค์ แต่ไม่ใช่
จุดประสงค์ของการ จัดการความรู้ องค์กรต่างๆดําเนินการจัดการความรู้เพื่อสิ่งต่อไปน้ี (เรียงลําดับ ตามจํานวนผ้เู หน็ ด้วยจากมากไปน้อย) 1. ยกระดบั คณุ ภาพและมาตรฐานการให้บริการ 2. ผลกั ดนั ให้เกิดการสร้างนวัตกรรม 3. เพิ่มประสิทธิภาพในการทาํ งาน 4. ช่วยให้เกิดการเรียนร้แู ละพัฒนาบุคลากร 5. เรียนร้เู กีย่ วกับความต้องการของผ้ใู ช้บริการได้ดีขึ้นและเรว็ ขึ้น เปา้ หมายของการจัดการความรู้ มี 3 ประการ ดังนี้ 1. การพัฒนาคน ได้แก่ ผู้ปฏิบัติงานและผู้บริหาร ให้มีสมรรถนะ ซึ่งประกอบด้วย ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ สูงข้ึน ปฏิบัติงานได้ดีข้ึน โดยที่บุคลากรระดับต้น ระดับกลางจะได้ประโยชน์มาก ทีส่ ดุ 2. การพัฒนางาน ทําให้การทํางานมีประสิทธิภาพ เช่น ผิดพลาดน้อยลง รวดเร็วขึ้น มี ประสิทธิผล เช่น ลดต้นทนุ ผลผลิตสูงขึ้น เกิดนวัตกรรม 3. การพัฒนาองค์กร ทําให้องค์กรสามารถบรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ยุทธศาสตร์ มี/ ศักยภาพ ในการแข่งขันสูง สามารถเติบโตก้าวหน้าอย่างย่ังยืน การจัดการความรู้จะต้องทํา อะไรบ้าง และทําอย่างไร เรื่องน้ีจะเข้าใจได้ดีข้ึนถ้ารู้ว่าความรู้คืออะไรเสียก่อน มีหลายความเห็น หลายมมุ มองเกี่ยวกับความรู้ เช่น 1. ความรู้ คือ 1) สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้าหรือประสบการณ์ รวมท้ัง ความสามารถเชิงปฏิบตั ิและทกั ษะ 2) ความเข้าใจหรือสารสนเทศทีไ่ ด้รับมาจากประสบการณ์ 3) สิ่งที่ ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิดหรือการปฏิบัติ 4) องค์วิชาในแต่ละสาขา พจนานุกรมฉบั)บ ราชบัณฑิตยสถาน (พ.ศ.2542) 2. ความรู้ คือ สารสนเทศที่ผ่านกระบวนการคิด เปรียบเทียบ เชื่อมโยงกับความรู้อื่น จนเกิด เป็นความเข้าใจและนําไปใช้ประโยชน์ในการสรุปและตัดสินใจในสถานการณ์ต่างๆ โดยไม่จํากัด ช่วงเวลา ส่วนสารสนเทศเป็นข้อมูลที่ผ่านกระบวนการสังเคราะห์ วิเคราะห์ เพื่อนํามาใช้ประโยชน์ใน การบริหารจัดการและการตัดสินใจ มีบริบทซึ่งเกิดจากความเชื่อ สามัญสํานึกหรือประสบการณ์ของ ผู้ใช้สารสนเทศ น้ันๆ มักจะอยู่ในรูปข้อมูลที่วัดได้หรือจับต้องได้ สารสนเทศอาจมีข้อจํากัดเรื่อง ช่วงเวลาที่จะใช้และขอบข่ายของงานที่จะนํามาใช้ ส่วนข้อมูลเป็นข้อเท็จจริง ข้อมูลดิบ หรือตัวเลข ต่างๆ ทีย่ ังไม่ได้ผ่านการแปลความ (Hideo Yamazaki) 3. ความรู้คือ 1) สิ่งที่เมื่อนําไปใช้จะไม่หมดหรือสึกหรอแต่จะยิ่งงอกเงยหรืองอกงามข้ึน 2) สารสนเทศที่นําไปสู่การปฏิบัติ 3) สิ่งที่คาดเดาไม่ได้ 4) สิ่งที่เกิดขึ้น ณ จุดที่ต้องการใช้ความรู้น้ัน 5) สิ่งที่ข้ึนกับบริบท และกระตุ้นให้เกิดขึ้นโดยความต้องการ ความรู้มี 2 ยุค ความรู้ที่เราคุ้นเคยกัน เป็น ความรู้ยุคที่ 1 แต่ความรู้ที่เน้นในเรื่องการจัดการความรู้เป็นความรู้ยุคที่ 2 ความรู้ยุคที่ 1 เป็น
ความรู้ที่ สร้างขึ้นโดยนักวิชาการ มีความเป็นวิทยาศาสตร์ เน้นความเป็นเหตุเป็นผล พิสูจน์ได้โดย วิธีการทางวิทยาศาสตร์ หรือวิชาการ มีการจําแนกแยกแยะ เป็นความรู้เฉพาะสาขาวิชาการ เป็น ความรู้ที่เน้นความลึก ความเป็นวิชาการเฉพาะด้าน ความรู้ยุคที่ 2 เป็นความรู้ที่ผูกพันอยู่กับงานหรือ กิจกรรมของบุคคลและองค์กร เป็นความรู้ที่ใช้งานและสร้างข้ึนโดยผู้ปฏิบัติงานหรือกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน เอง โดยอาจสร้างขึ้นจากการเลือกเอาความรู้เชิงทฤษฎี หรือความรู้จากภายนอกมาปรับแต่งเพื่อการ ใช้งาน หรือสร้างข้ึนโดยตรงจากประสบการณ์ในการทํางาน ความรู้เหล่าน้ีมีลักษณะบูรณาการและมี ความจาํ เพาะต่อบริบทของงาน กล่มุ ผ้ปู ฏิบัติงาน หน่วยงาน และองค์กรน้นั ๆ (นพ.วิจารณ์ พานิช) 1. การกําหนดองค์ความรู้หลักที่จําเป็นหรือสําคัญต่องานหรือกิจกรรมของหน่วยงาน และกาํ หนดเปา้ หมายของการจดั การความรู้ 1.1 รายละเอียดผลการดาํ เนินงาน : สืบเนื่องจากที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาโดยกองนโยบายและแผน ได้จัด ประชุมคณะกรรมการจัดการความรู้เพื่อกําหนดกรอบองค์ความรู้หลักที่จําเป็นในการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ที่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย และได้ชี้แจงให้หน่วยงานนําไปสู่การ กําหนดองค์ความรู้หลักที่จําเป็นในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยองค์ความรู้หลักที่จําเป็นในการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ที่มหาวิทยาลัยกําหนดตามลักษณะงานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ คือ 1) แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงาน 2) แนวทางการยกระดับผลการดําเนินงานการประกันคุณภาพ การศึกษาภายใน 3) เทคนิคการขับเคลื่อนกระบวนการปฏิบัติงาน 4) การจําแนกหมวดรายจ่าย 5) การจัดทําต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 6) การให้บริการผ่าน Social Media 7) การพัฒนาระบบการ ให้บริการด้านการขอสําเร็จการศึกษาของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต 8) เทคนิคการใช้งานระบบวิจยั ออนไลน์ และ 9) จัดกิจกรรมอย่างไรให้โดนใจนกั ศึกษา กลุ่มงานบุคคล (งานติดตามและบันทึกผลการอบรมพัฒนาบุคลากร) ประกอบด้วย บคุ ลากร ที่ปฏิบัติงานด้านบุคลากรจากคณะ / สํานัก/กอง/วิทยาลัยต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทา โดยมีภาระหน้าที่เหมือนๆกันไม่ว่าจะเป็นเรื่องการจัดทํากรอบอัตรากําลัง การ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ การจัดทําหนังสือรับรอง การติดตามและบันทึกผลการอบรม การจัด อบรม ฯลฯ : โดยจากการเข้าร่วมกลุ่มชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice : CoP) เมื่อ ปีงบประมาณ 2560 ของบุคลากรผู้ปฏิบัติงานด้านบุคคล ซึ่งสมาชิกกลุ่มได้ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ในการทํางาน และปัญหาที่พบในการปฏิบัติงาน เทคนิคที่สําคัญในการปฏิบัติงาน โดย ได้มีการถอดบทเรียนจาก สมาชิกภายในกลุ่มที่มีประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญ จนได้องค์ความรู้ ที่จําเป็นในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และทําให้เห็นว่าเทคนิคของคณะวิทยาการจัดการเกี่ยวกับการ ติดตามและบนั ทึกผลการอบรมพฒั นาบุคลากรของบคุ ลากรในสังกัดคณะ มีกระบวนการปฏิบัติงาน ทีเ่ ป็นข้นั ตอนชดั เจน ชมุ ชนนักปฏิบัติ (Community of Practice : CoP) กลุ่มงานบุคคลจึงได้กําหนดองค์ ความรู้ที่จําเป็นในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ คือ การติดตามและบันทึกผลการอบรมพัฒนาบุคลากร
ซึ่งตอบสนองตาม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนามหาวิทยาลัยให้เป็นเอตทัคคะอย่างย่ังยืน เป้าประสงค์เรื่องมหาวิทยาลัยมีการ บริหารงานที่สอดคล้องตามหลักธรรมาภิบาล ได้ดําเนินการ จัดทําแผนการดําเนินงานการจัดการความรู้ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เพื่อวางแผนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างหน่วยงาน และสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคลากรผู้ปฏิบัติงานจาก คณะ / สํานัก/กอง/วิทยาลัย นําไปสู่การถ่ายทอดประสบการณ์ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อให้ได้ เทคนิคและ องค์ความร้มู าพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพ กลุ่มงานบุคคล ดําเนินการในการกําหนดองค์ความรู้ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือการต่อ ยอดองค์ความร้เู ดิมโดยการ จากการแลกเปลีย่ นเรียนร้อู งค์ความรทู้ ีจ่ ําเปน็ ในการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ คือ งานอบรมพฒั นา บคุ ลากรในเรือ่ งการติดตามและบนั ทึกผลการอบรมพฒั นาบคุ ลากร ความรทู้ ี่ได้และการกลน่ั กรอง ความรู้ มีดังน้ี 1.ประชุมบุคลากรเพื่อชี้แจงข้นั ตอนการไปอบรมพัฒนาตนเอง 2. บนั ทึกข้อความชี้แจงข้นั ตอนการขออนญุ าตอบรมต้นปีงบประมาณ 3. ติดตามรายงานหลงั อบรมผ่านสือ่ Social Media ได้แก่ Line, Facebook, E-mail 4. บันทึกประวตั ิการอบรมลงในระบบ ERP 5. รายงานทีป่ ระชุมบุคลากรในแต่ละเดือนเพือ่ ติดตามผล ซึ่งจากข้ันตอนดังกล่าวน้ัน สมาชิกได้เพิ่มข้ันตอนในการรับเอกสารที่เกี่ยวข้องจากการไป อบรมพัฒนาบุคลากรของแต่ละคนท้ังที่ใช้งบประมาณและไม่ได้ใช้งบประมาณในการไปอบรมฯ ซึ่ง ต้องนําเอกสารที่เกี่ยวข้องท้ังหมด ซึ่งประกอบด้วย 1) บันทึกข้อความที่ได้รับอนุมัติ 2) สําเนาคําส่ังไป ราชการ 3) ใบเสร็จ (ฉบับจริง) 4) สําเนาวุฒิบัตร และ 5) แบบฟอร์มรายงานหลังการอบรม ไปยื่นให้ เจ้าหน้าที่การเงินของหน่วยงานเพื่อทําเรื่องการเบิกจ่าย จากน้ันเจ้าหน้าที่การเงินก็จะนําเอกสาร ท้ังหมดมามอบให้ฝ่ายบุคคลเพื่อดําเนินการบันทึกข้อมูลการอบรมในระบบ ERP ของบุคลากรคน ดังกล่าวและเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อเป็นหลักฐานประกอบตัวชี้วัดหรือด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องต่อไป จาก ข้ันตอนดังกล่าวมีการจัดทําและปรับปรุงกระบวนการใหม่ในเรื่องการจัดส่งเอกสารให้เป็นมาตรฐาน เดียวกันของผู้ปฏิบัติงานด้านบุคลากรของหน่วยงาน ท้ังน้ีเพื่อช่วยให้การรายงานผลการปฏิบัติงาน และการเบิกจ่ายมีความรวดเร็วเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทําให้การบันทึกข้อมูลในระบบ ERP การ จัดเกบ็ ตลอดจนการใช้ข้อมูลดงั กล่าวมีความสะดวกและรวดเร็วขึ้น ดังตาราง
ตารางที่ 2 ตารางแสดงขอ้ มูลการจัดทาํ และปรบั ปรงุ กระบวนการใหม่ กระบวนการเดิม กระบวนการใหม่ สิ่งทีป่ รบั ปรุง 1. ประชมุ ชี้แจงรายละเอียด 1. ประชมุ ชี้แจงรายละเอียด - 2. บันทึกแจ้งรายละเอียด 2. บนั ทึกแจ้งรายละเอียด - 3. บนั ทึกติดตามประจําเดือน 3. บนั ทึกติดตามประจําเดือน - 4. รบั ทราบและดําเนินการ 4. รับทราบและดําเนินการ - 5. ตรวจสอบ 5. จัดทาํ ฎีกาส่งเบิก ผ้ขู ออนญุ าตอบรมส่งเอกสารให้กับ 6.รบั ทราบและดําเนินการ 6. ดาํ เนินการบันทึกข้อมูล ฝ่ายการเงินของหน่วยงาน ดังนี้ 7.รายงานผลผ้บู ริหาร 7. รายงานผล 1. บนั ทึกข้อความที่ได้รับอนุมัติ 2. สาํ เนาคําส่ังไปราชการ 3. ใบเสรจ็ (ฉบบั จริง) 4. สําเนาวุฒิบัตร 5. แบบฟอร์มรายงานหลังการ อบรม - - ผลจากการกําหนดองค์ความรู้และร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ดังกล่าว กลุ่มชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice : CoP) กลุ่มงานบุคคล ได้ร่วมจัดส่งองค์ความรู้ของกลุ่มฯ เพื่อร่วมการสรร หา Best Practice กลุ่มความรู้ ประจําปีงบประมาณ 2560 เมื่อวันที่ 11 เดือน กันยายน 2560 ณ ห้อง
ประชมุ ช่อแก้ว มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสุนันทา ผลการสรรหา กลุ่มงานบุคคลได้รับรางวัลแบบอย่าง ทีด่ ี (Challenger Practice) สําหรับการกําหนดองค์ความรู้หลักของงบประมาณ 2561 กลุ่มงานบุคคล ได้กําหนดองค์ ความรู้ที่จําเป็นในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ คือ การติดตามและบันทึกผลการอบรมพัฒนาบุคลากร ซึ่ง เป็นการดําเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่มซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่ต่อยอดจากปีที่ผ่าน (ปีงบประมาณ 2560) กรณีกล่มุ ที่ได้รบั รางวัลแบบอย่างทีด่ ี (Good Practice) และตอบสนองตามประเดน็ ยุทธศาสตร์ ที่ 1 พัฒนามหาวิทยาลัยให้เป็นเอตทัคคะอย่างย่ังยืนเป้าประสงค์เรื่องมหาวิทยาลัยมีการบริหารงานที่ สอดคล้องตามหลักธรรมาภิบาล สมาชิกกลุ่มจึงได้ดําเนินการจัดการแลกเปลี่ยนความรู้ โดยมี วัตถุประสงค์การแลกเปลี่ยนเพื่อลดระยะเวลาในการติดตามแบบสรุปรายงานการอบรม ลด ข้ันตอนการปฏิบัติงาน ข้อมูลถูกต้องและเป็นปัจจุบัน ตลอดจนลดความขัดแย้งระหว่าง ผู้ปฏิบัติงานกับบุคลากร เป็นระบบที่มีการปรับปรุงอยู่เสมอ รวมถึงการต่อยอดองค์ความรู้ หรือนวตั กรรมทีเ่ กิดขึน้ สมาชิกกลุ่มได้ร่วมกันทบทวนองค์ความรู้เดิมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องติดตามและ บนั ทึกผลการอบรมพัฒนาบคุ ลากรอีกคร้ัง จากการเล่าเรื่องทีไ่ ด้นํากระบวนการใหม่ไปใช้ แล้วเกิดผล อย่างไรบ้าง เพื่อให้การต่อยอดองค์ความร้ใู นคร้งั นี้เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน สามารถนํามาเป็นแนว ปฏิบัติที่เป็นไปในทิศทางเดียวกันของผู้ปฏิบัติงานด้านบุคลากรของคณะ/สถาบัน/สํานัก/กอง อีกท้ัง เพื่อเปน็ การพฒั นาตวั เองท้งั ในด้านการปฏิบตั ิงานและพัฒนาเป็นนวตั กรรมใหม่ได้ คําจาํ กดั ความ การติดตามการปฏิบัติงาน หมายถึง การเก็บรวบรวมข้อมูลการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ นํามาวิเคราะห์ว่าเป็นไปตามแผนที่กําหนดไว้หรือไม่ มีปัญหาอุปสรรคอย่างไร เพื่อนําสารสนเทศที่ได้ ไปใช้ในการตดั สินใจแก้ไขปญั หาที่เกิดขึ้น เพือ่ ให้ได้ผลงานเป็นไปตามเป้าหมายที่กาํ หนดไว้ การตรวจสอบการดําเนินการ หมายถึง การตรวจสอบที่มุ่งเน้นตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ของงาน (Result) เพื่อให้ทราบว่าผลผลิต (Output) และผลลัพธ์ (Outcome) เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และ เป้าหมายที่กําหนดไว้หรือไม่ การดําเนินงานโครงการ และการใช้ทรัพยากรเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ประหยัด และค้มุ ค่าหรือไม่ รวมถึงการปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง การบันทึกผล หมายถึง การบันทึกรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน ปัญหาที่พบ และวิธีแก้ปัญหา อาจบันทึกเป็นรายวัน หรือรายสัปดาห์ก็ได้ เพื่อนําเป็นหลักฐานไปประเมินผลงาน และปรับปรุงแก้ไขการทํางานในครั้งต่อไป นอกจากนั้นอาจบันทึกข้อมูลรายรับ -รายจ่ายของการ ปฏิบัติงานไว้เพื่อเป็นข้อมูลในการประเมินผล การปฏิบัติงานเมื่อส้ินสุดโครงการน้ัน ๆ การอบรม หมายถึง กิจกรรมการเรียนรู้เฉพาะบุคคลที่มุ่งเน้นกระบวนการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมอย่างมีระบบ เพื่อพัฒนาทักษะ ความชํานาญ ความสามารถ และทัศนคติของบุคคล ให้ไปตาม
วัตถปุ ระสงค์ทกี่ ําหนดไว้ เพื่อชว่ ยให้การปฏิบัติงานและภาระหน้าที่ต่าง ๆ ในปัจจุบันและอนาคตเป็นไปอย่าง มปี ระสิทธิภาพมากข้นึ พัฒนาบุคลากร หมายถึง กระบวนการที่มุ่งจะเปลี่ยนแปลงวิธีการทํางาน ความรู้ ความสามารถ ทักษะและ ทัศนคติของบุคลากรใหเป็นไปทางที่ดีข้ึนเพื่อให้บุคลากรที่ได้รับการพัฒนา แล้วน้นั ปฏิบตั ิงานได้ผลตามวัตฎถปุ ระสงค์ ของหน่วยงานอย่างมีประสิทธิภาพ 1.2 เอกสารหลักฐานอ้างอิง: 1) รายงานการประชมุ คณะกรรมการจัดการความรู้ คร้งั ที่ 1/2560 วนั ที่ 24 ตุลาคม 2560 2) ใบงานที่ 1 กล่มุ ชุมชนนกั ปฏิบัติตรวจสอบรายชือ่ อีกคร้ัง (เช็คตามใบงานทเี่ ราส่ง กองแผน)
แผนการดาํ เนินงานแลกเปลี่ยนเรียนร้ขู องกลุม่ บคุ คล (งานติดตามและบนั ท (Good Practice) และรางวลั ทา้ ทาย (Challenger Award) ใหเ้ น้นการต่อ ตารางที่ 3 แผนการดําเนินงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่มงานติดตามและบ ลาํ ดบั กิจกรรม วิธีการสู่ความสาํ เรจ็ 1 ก า ร กํ า ห น ด อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ห ลั ก ที่ ป ร ะ ชุ ม ทํ า ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ เ พื่ อ ต่ อ ย อ ด จํ า เ ป็ น ห รื อ สํ า คั ญ ต่ อ ง า น ห รื อ ความรู้ 2 กิ จ ก ร ร ม ข อ ง ห น่ ว ย ง า น แ ล ะ กํ า ห น ด เ ป้ า ห ม า ย ข อ ง ก า ร - เพื่อทบทวนองค์ความรู้ที่มีอย จดั การความรู้ องค์ความรู้ทีต่ ้องใช้ ก า ร เ ส า ะ แ ส ว ง ห า ค ว า ม รู้ ที่ - กํ า ห น ด กิ จ ก ร ร ม ข อ ง ก า ร จั ด ต้องการ ความรู้ - กํ า ห น ด เ ป้ า ห ม า ย ข อ ง ก า ร จั ด ความรู้ ป ร ะ ชุ ม เ พื่ อ ต่ อ ย อ ด อ ง ค์ ค ว า ม รู้ เ ดิ ม วิธีการ - ใช้วิธีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากเท การเล่าเรื่อง - วิธีการสัมภาษณ์ผ้มู ีประสบการณ์ - วิธีการศึกษาดงู าน
ทึกผลการอบรมพัฒนาบคุ ลากร) (กรณีกลุม่ ที่ไดร้ บั รางวลั แบบอยา่ งทีด่ ี อยอดองคค์ วามรูจ้ ากปีทผี่ า่ นมา) บนั ทึกผลการอบรมพฒั นาบคุ ลากร ด อ ง ค์ ระยะเวลา ผลลพั ธท์ ีไ่ ด้ ผรู้ บั ผิดชอบ ยู่ แ ล ะ ต.ค. 60 - ประชุมสมาชิกกลุ่มงานบุคคล เพื่อทําการ สมาชิกกล่มุ ดการ วิเคราะห์ ทบทวนองค์ความร้ทู ี่มีอยู่และองค์ ทกุ คน ดการ พ.ย. 60 ความรู้ที่ต้องใช้ 1) รายการองค์ความร้ทู ี่แลกเปลีย่ น สมาชิกกล่มุ โดย 2) เป้าหมายของการจดั การความรู้ ทกุ คน ทคนิค - พฒั นาตนเอง - พฒั นาการปฏิบตั ิงาน - พฒั นาการสร้างสรรค์นวตั กรรมใหม่ องค์ความรู้
ลาํ ดบั กิจกรรม วิธีการสูค่ วามสําเร็จ 3 การปรับปรุง ดัดแปลง ความรู้ ประชุมเพื่อร่วมกันวิเคราะห์ความจําเป็น บ า ง ส่ ว น ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม ต่ อ ก า ร การพฒั นาองค์ความรู้ ดาํ เนินงานของหน่วยงาน 4 ก า ร นํ า ค ว า ม รู้ ที่ ไ ด้ จ า ก ก า ร สมาชิกทดลองนํา อ ง ค์ ค ว า ม รู้ไ ป ใ ช้ใ น จัดการความรู้มาปรับใช้ในการ ปฏิบัติงาน โดยมีการประชุมเพื่อแลกเป ปฏิบตั ิงานจริง เรียนรู้กนั 5 การนําประสบการณ์จากการ ประชุมผลการนาํ องค์ความร้ไู ปใช้ ทํ า ง า น แ ล ะ ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ - ทบทวนความถกู ต้อง ค ว า ม รู้ ม า แ ล ก เ ป ลี่ ย น เ รี ย น รู้ - ความทันสมยั และสกดั ออกมาเป็นขุมความรู้ สรุปประเด็นองค์ความรู้ที่ได้เป็นลายลัก อักษร 6 การรวบรวมความรู้และจัดเก็บ จัดทําทะเบียน และจัดเก็บองค์ความรู้ อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ โ ด ย เ ผ ย แ พ ร่ - เป็นรูปเล่ม ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร - website
นของ ระยะเวลา ผลลพั ธท์ ีไ่ ด้ ผู้รบั ผิดชอบ นการ ธ.ค. 60 องค์ความร้ทู ีเ่ หมาะสมกบั การปฏิบัติงาน สมาชิกกล่มุ ปลี่ยน ทกุ คน ม.ค. – - แนวปฏิบตั ิ กษณ์ มี.ค. 61 - ผงั กระบวนการ สมาชิกกล่มุ - ค่มู ือการปฏิบัติงานเพือ่ นาํ ไปใช้ ทุกคน เม.ย. 61 - ร้อยละของสมาชิกที่ได้นําองค์ความรู้ไป ใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่า 80% สมาชิกกล่มุ - รายงานผลการนาํ องค์ความร้ไู ปใช้ ทกุ คน - รายงานการปฏิบตั ิการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ องค์ความรู้ - ค่มู ือ - กระบวนการ มิ.ย. 61 ช่องทางการเผยแพร่ สมาชิกกล่มุ - เปน็ รปู เล่ม ทกุ คน - website
2. การเสาะแสวงหาความรู้ที่ตอ้ งการ 2.1 รายละเอียดผลการดําเนินงาน: กลุ่มงานบุคล (งานติดตามและบันทึกผลการอบรมพัฒนาบุคลากร) ได้กําหนดแผนการ ดําเนินการจัดการความรู้และองค์ความรู้ว่าจะดําเนินการพัฒนาการติดตามและบันทึกผลการอบรม พัฒนาบุคลากรมาประยุกต์ใช้ในการติดตามปฏิบัติงานของกลุ่มงานบุคคล โดยดําเนินการการแสวงหา ความรู้ ดงั นี้ เมื่อกล่มุ ได้มีการกําหนดความต้องการความรู้ (Need of Knowledge) เพือ่ ให้ทราบว่าความรู้ ใดบ้างทีต่ ้องมี อย่ทู ี่ใด อย่กู ับใคร และจะไปเสาะแสวงหาความรู้จากแหล่งสารสนเทศที่ไหน และจะถอด ความรู้ที่อยู่ในตัวคน (Tacit Knowledge) ออกมาได้อย่างไร โดยเริ่มจากการประชุมเพื่อต่อยอดองค์ ความร้เู ดิม โดยวิธีการ ดงั นี้ 1) ใชว้ ิธีการแลกเปลี่ยนเรียนรจู้ ากเทคนิคการเลา่ เรือ่ ง โดยสมาชิกกลุ่มได้มีการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้คร้ังที่ 1 เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2560 เวลา 13.30 - 16.00 น. ณ ห้องประชุมคณะวิทยาการจัดการ ประเด็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ คือ เทคนิค/วิธีปฏิบัติในเรื่องการติดตามและบันทึกผลการอบรมพัฒนาบุคลากรที่เคยปฏิบัติโดยสมาชิกได้ ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียน เทคนิค/วิธีปฏิบัติในเรื่องการติดตามและบันทึกผลการอบรม พัฒนาบุคลากร จากการนํากระบวนการของ Flow chart กระบวนการปฏิบัติงานติดตามและบันทึกผล การอบรมพัฒนาบุคลกรใหม่ไปใช้ทุกหน่วยงาน
เทคนิคการเล่าเรื่อง ตารางที่ 4 การเลา่ เรื่องจากกลุม่ ชุมชนนักปฏิบัติ (การเลา่ เรือ่ งตามแบบการติดตามและบันทึก ผลการอบรมพัฒนาบคุ ลากร) ชื่อบคุ คล ขอ้ มูลที่ได้ 1. นางสุวิมล วจีทองรตั นา การปฏิบัติงานที่ผ่านมาของคณะวิทยาการจัดการ ถ้า 2. นางสาวพัชราภรณ์ บุคลากรไปประชุม/ฝึกอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน ต้องดําเนินการ สีลาดเลา จัดส่งรายงานการพัฒนาตนเอง (ซึ่งต้องติดตามทวงถามจากเจ้าของ 3. นางสาวมาลัยพรรณ เรื่องหรือรอช่วงการประเมินผลการปฏิบัติราชการบุคลากรถึงจะ ป้ันทรัพย์ ดาํ เนินการส่งแบบรายงานฯ) นางสาวสพุ ัสวี โมลากุล จากการเข้าร่วมกลุ่ม KM และนําความรู้ที่ได้มาใช้ปฏิบัติเป็น แนวทางซึ่งคณะวิทยาการจัดการได้ให้คณาจารย์และเจ้าหน้าที่จัดส่ง แบบรายงานการฝึกอบรม และแบบติดตามผลการนําความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ถ้าเป็นการจัดสัมมนา/ฝึกอบรมโดยคณะฯ เองจะจัดเตรียม แบบให้คณาจารย์และบคุ ลากรกรอกข้อมลู เมื่อเสร็จส้ินโครงการทันที ในกรณีที่ไปฝึกอบรม/สัมมนาโดยใช้งบพัฒนาตนเอง สามารถติดตาม ข้อมูลและรายงานผลได้ทันทีหลังจากการไปประชุม/ฝึกอบรม/ สัมมนา/ศึกษาดูงาน เนื่องจากบุคลากรทุกคนต้องทําการเบิกจ่ายเงิน ยืมที่นําไปใช้ในการพัฒนาตนเอง อีกท้ังยังช่วยลดข้ันตอนในการ ปฏิบตั ิงานรวมถึงการลดระยะเวลาในการปฏิบัติงานให้สะดวกรวดเรว็ ข้ึนด้วย การปฏิบัติงานที่ผ่านมาของคณะฯ ถ้าบุคลากรไปประชุม/ ฝึกอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน ต้องดําเนินการจัดส่งรายงานการ พัฒนาตนเอง (ซึ่งต้องติดตามทวงถามจากเจ้าของเรื่องหรือรอช่วง การประเมินผลการปฏิบัติราชการบุคลากรถึงจะดําเนินการส่งแบบ รายงานฯ) หลังจากการร่วมกลุ่ม KM และนําความรู้ที่ได้มาใช้ปฏิบัติเป็น แนวทางในคณะฯ พบว่า การติดตามแบบรายงานการพัฒนาตนเอง สามารถติดตามข้อมูลและรายงานผลได้ทันทีหลังจากการไปประชุม/ ฝึกอบรม/สัมมนา/ศึกษาดงู าน เนือ่ งจากบุคลกรทุกคนต้องทําการเบิก จ่ายเงินยืมที่นําไปใช้ในการพัฒนาตนเอง อีกท้ังยังช่วยลดข้ันตอนใน
ชื่อบุคคล ขอ้ มลู ที่ได้ นางสาวณิชาภัทร เป้าคาํ ศรี การปฏิบัติงานรวมถึงการลดระยะเวลาในการปฏิบัติงานให้สะดวก รวดเร็วขึ้นด้วย นางสาวณิชากานต์ เพชร ปานกนั การปฏิบตั ิงานที่ผ่านมาของคณะฯ ถ้าบุคลากรไปประชุม/ ฝึกอบรม/สัมมนา/ศึกษาดงู าน ต้องดาํ เนินการจดั ส่งรายงานการ พฒั นาตนเอง (ซึ่งต้องติดตามทวงถามจากเจ้าของเรอื่ งหรือรอช่วง การประเมินผลการปฏิบตั ิราชการบุคลากรถึงจะดําเนินการส่งแบบ รายงานฯ) หลงั จากการร่วมกลมุ่ KM และนาํ ความรทู้ ีไ่ ด้มาใช้ปฏิบตั ิเปน็ แนวทางในคณะฯ พบว่า การติดตามแบบรายงานการพัฒนาตนเอง สามารถติดตามข้อมลู และรายงานผลได้ทนั ทีหลงั จากการไปประชมุ / ฝึกอบรม/สมั มนา/ศึกษาดูงาน ลดข้นั ตอนในการปฏิบตั ิงานรวมถึงการ ลดระยะเวลาในการปฏิบัติงานให้สะดวกรวดเร็วขน้ึ ดว้ ย จากทีไ่ ด้มีการต่อยอดองค์ความร้ใู นระยะแรก ได้มีการถอด องค์ความร้จู ากบุคลากรของหน่วยงานต่างๆ ทีป่ ฏิบตั ิงานด้านบุคคล โดยได้องค์ความรู้ดังน้ี 1. นําแบบฟอร์มรายงานหลงั การอบรมข้ึนหน้าเวบ็ ไซต์ เพือ่ ให้ บคุ ลากรดาวน์โหลด 2. ประชุมบคุ ลากรเพือ่ ชี้แจงข้นั ตอนการไปอบรมพฒั นาตนเอง 3. ติดตามรายงานหลงั อบรมผ่านสื่อ Social Media ได้แก่ Line, Facebook, E-mail 4. บันทึกข้อความชี้แจงข้นั ตอนการขออนญุ าตอบรมต้น ปีงบประมาณ 5. บนั ทึกข้อความติดตามผลการรายงานหลงั อบรม 6. บันทึกประวตั ิการอบรมลงในระบบ ERP รายงานทีป่ ระชุม บคุ ลากรในแต่ละเดือนเพื่อติดตามผล กล่มุ จึงได้มีการจัดลําดบั ความสาํ คัญ และเขียนข้นั ตอนการ ดําเนินงานได้ดงั นี้ เพือ่ นาํ ไปเปน็ แนวปฏิบตั ิใช้ดําเนินงาน กระบวนการเดิม กระบวนการใหม่ สงิ่ ที่ปรบั ปรุง .1ประชมุ ชี้แจง .1ประชุมชี้แจง - รายละเอียด รายละเอียด .2บันทึกแจ้ง .2บนั ทึกแจ้ง -
ชื่อบคุ คล ข้อมลู ที่ได้ รายละเอียด รายละเอียด 3บันทึกติดตาม . 3บันทึกติดตาม . - ประจําเดือน ประจาํ เดือน 4. รบั ทราบและ 4. รับทราบและ - ดาํ เนินการ ดาํ เนินการ 5. ตรวจสอบ 5. จดั ทาํ ฎีกาส่งเบิก ผู้ขออนุญาตอบรมส่ง เ อ ก ส า ร ใ ห้ กั บ ฝ่ า ย การเงินของหน่วยงาน ดังนี้ 1. บั น ทึ ก ข้ อ ค ว า ม ท่ี ไดร้ ับอนุมตั ิ 2. สํ า เ น า คํ า ส่ั ง ไ ป ราชการ 3. ใบเสรจ็ (ฉบับจริง) 4. สาํ เนาวฒุ ิบตั ร 5. แบบฟอร์มรายงาน หลังการอบรม 6.รับทราบและ 6. ดาํ เนินการบนั ทึก - ดาํ เนินการ ข้อมลู 7.รายงานผล 7. รายงานผล - ผู้บริหาร 1. นางสาวสนุ ารี ลําใย จากเดิมที่ได้จัดโครงการอบรม/สัมมนาแต่ละโครงการมาน้ัน 2. นางเกศินี จนั ทร์หอม 3. นางสาวจารณา แสงทอง เรามีวิธีดําเนินการบันทึกข้อมลู รายชือ่ ผ้เู ข้าอบรมในระบบ ERP ให้เลย ถ้าบุคลากรน้นั มาเซ็นชื่อ ปัจจุบันเรามีวิธีใหม่รูปแบบใหม่ ท้ังนี้ ตามนโยบายของ มหาวิทยาลัย กองบริหารงานบุคคลได้รับมอบหมายให้ดําเนินการ บันทึกประวตั ิการพฒั นาตนเอง จะดําเนินการบนั ทึกข้อมูลประวัติการ พัฒนาตนเองให้กับผู้เข้าร่วมโครงการที่จัดทํารายงานผลการเข้าร่วม โครงการ เท่าน้ัน โดยมีแบบฟอร์มการอบรมพัฒนาบุคลากร อยู่ 2 แบบ คือ1.แบบรายงานการประชุม/ฝึกอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน และ2.แบบติดตามการนําความรู้จากการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน/ ไปใช้ประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอนและนําไปใช้ประโยชน์ใน การปฏิบัติงาน (รายบุคคล) ซึ่งบุคลากรที่เข้าร่วมโครงการอบรม/ สัมมนาทุกคนจะต้องทําแบบรายงานและแบบติดตามน้ี มาใช้ ประกอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เมื่อผู้เข้าร่วมโครงการฯ จัดทําและนําส่งรายงานผลการเข้าร่วมโครงการให้หน่วยงานและ ผู้รับผิดชอบที่มีส่วนเกี่ยวข้องก็จะดําเนินการบันทึกข้อมูลการเข้า อบรมของบุคลากรในระบบ ERP
ชือ่ บคุ คล ข้อมลู ที่ได้ นางสาวสุภาพ พฤฒิสาริกร เดิมจากการที่การส่งรายงานการพัฒนาตนเองของบุคลากร นายวฒุ ิไกร ประวัตพิ งษ์ วิทยาลัยภายหลังจากมีการเข้าร่วมโครงการอบรม การประชุม การ สัมมนา ท้ังที่ใช้และไม่ใช้งบพัฒนาบุคลากร น้ัน ไม่เป็นไปตาม เป้าหมาย ไม่ได้รับการความร่วมมือจากบุคลากร จึงเป็นอุปสรรคใน การติดตามเป็นอย่างมาก จากปัญหาดังกล่าวข้างต้น จึงได้มีการเข้าร่วมกลุ่ม KM ซึ่ง กําหนดหัวข้อปัญหาเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว โดยกลุ่มได้นําวิธีการ ดําเนินการของคณะวิทยาการจัดการ เป็นวิธีการต้นแบบในการ จัดการปัญหา ซึ่งจากการนําวิธีการไปปรับใช้กับหน่วยงาน โดยเริ่ม จากการทําบันทึกข้อความแจ้งการส่งแบบรายงานพร้อมเกณฑ์การ ดําเนินการ คือ ให้บุคลากรหลังจากที่เข้าร่วมโครงการ/ฝึกอบรม ต่างๆ แล้ว ให้ส่งแบบการพัฒนาตนเองในระบบ กรณีที่ไม่มีการ เบิกจ่าย หรือหากมีการเบิกจ่ายงบประมาณก็ให้แนบแบบรายงาน พร้อมการเบิกจ่าย จากการใช้วิธีการดําเนินการดังกล่าว พบว่า บุคลากรส่งรายงานการพัฒนาตนเองเพิ่มข้ึน จากร้อยละ 40 เป็น ร้อยละ 80 ของบคุ ลากรในหน่วยงานท้งั หมด 1. จัดประชมุ บคุ ลากรเพือ่ ชี้แจงข้นั ตอนการไปอบรมพัฒนาตนเอง และการรายงานผลหลังการไปอบรม ต้นปงี บประมาณ 2. บันทึกข้อความติดตามผลการรายงานหลังอบรมของพนกั งาน 3. ติดตามรายงานหลงั อบรมผ่านสื่อ Social Media ได้แก่ Line, Facebook, E-mail 4. บันทึกประวตั ิการอบรมลงในระบบ ERP รายงานทีป่ ระชมุ บคุ ลากร ในแต่ละเดือนเพื่อติดตามผล 5. จัดประชมุ เพือ่ หารือ และผลักดนั ให้พนักงานไปอบรมพฒั นาตนเอง ได้ตามเวลาทกี่ าํ หนดตามตวั ชี้วัดของมหาวิทยาลยั
ชื่อบุคคล ขอ้ มลู ทีไ่ ด้ นางสาวรงุ่ รัตน์ พัฒนกล่นั จากการดําเนินงานที่ผ่านมา บุคลากรไปเข้าร่วมฝึกอบรม/ นางกฤตตกิ า ไกรแก้ว ประชุม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน จะต้องส่งเอกสารการรายงาน ภายใน 7 นางสาวหสั ทยา นวลสวุ รรณ วัน ปรับเปลี่ยนการดําเนินงานใหม่ คือ หลังจากการเข้าร่วม ฝึกอบรม/ประชุม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน จะต้องส่งเอกสารการรายงาน ภายใน 3 วัน หลังจาก 3 วัน ไม่จัดส่งเอกสาร งานบริหารทรัพยากร บุคคลของกองฯ จะบันทึกติดตาม และแจ้งทางไลท์ของกองฯ ด้วย เหตุผลคือเพื่อรายงานตามตัวช้ีวัด และจัดเก็บเป็นข้อมูลในการจัดทํา ตําแหน่งทีส่ ูงขึ้น และ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ ทําให้มีผลลัพธ์ดี ข้ึน การดาํ เนินงานทีผ่ ่านมาถ้าบุคลากรไปประชมุ /ฝึกอบรม/ สัมมนา/ศึกษาดงู าน ต้องดาํ เนินการจัดส่งรายงานดงั กล่าวภายใน 15 วนั หลงั จากกลบั มา แต่ในปัจจบุ นั ได้ดาํ เนินการใหม่คือ ทางงานบุคคลคณะได้ ติดตามจากการทบี่ คุ ลากรคนไหนไปประชมุ /ฝึกอบรม/สมั มนา/ศึกษา ดูงาน เสรจ็ แล้วจะกรอกรายละเอียดให้ในแบบรายงานและแบบ ติดตามการนาํ ความร้ไู ปใช้ประโยชน์และส่งให้แต่ละคนกรอก รายละเอียดเพิม่ เติมแล้วสง่ กลับมาให้งานบุคคลดําเนินการบนั ทึกผล ในระบบ ERP ในเรื่องของการติดตามและบันทึกผลการอบรมพัฒนาบุคลากร ข้ันตอนเดิมของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์น้ันได้ดําเนินการ โดยให้บุคลากรในสังกัดจัดส่งแบบติดตามและรายงานผลการอบรม พัฒนาบุคลากรได้ที่ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ของคณะฯ หลังจากที่ไปเข้ารับ การอบรม (ท้ังที่ใช้งบประมาณและไม่ได้ใช้งบประมาณในการไป อบรม) โดยไม่ได้กําหนดเงื่อนเวลาในการจัดส่งน้ันจากการที่การส่ง รายงานการพัฒนาตนเอง ซึ่งทําเกิดความล่าช้าในการบันทึกผลการ ไปพัฒนาของบคุ ลากร จากปญั หาดงั กล่าวข้างต้น จึงได้มีการเข้าร่วมกล่มุ KM ซึ่ง กาํ หนดหัวข้อปญั หาเพื่อแกป้ ญั หาดังกล่าว โดยกล่มุ ได้นําวิธีการ ดําเนินการของคณะวิทยาการจดั การ เปน็ วิธีการต้นแบบในการ
ชือ่ บคุ คล ขอ้ มลู ทีไ่ ด้ จัดการปญั หา ซึ่งจากการนาํ วิธีการตาม Flow Chart Flowchart กระบวนการใหม่ (ใช้ไดก้ ับกรณีใชง้ บและไม่ใชง้ บประมาณดว้ ย) งาน คณาจารย์/ จนท 1. ประชมชี้แจง 2. บนั ทกึ แจง้ 3. บันทึกตดิ ตาม 4. รบั ทราบและ 5.จดั ทําฎกี าสง่ 6.ดําเนินการบนั ทึก ไม่ 7. รายงานผล ตรวจส ถูก โดยได้ทาํ การปรบั ปรงุ ข้นั อนบางข้นั ตอนใน 7 ข้นั ตอน ดงั นี้ วิธีปฏิบตั ิท่ตี ้องการปรับปรุง เทคนิคการปรบั ปรุง วิธีปฏิบตั ิท่ี 1 ต้องจัดประชุมก่อนต้นปีงบประมาณ ดังนี้ ประชมุ บคุ ลากรเพอื่ ชแ้ี จงขนั้ ตอนการไปอบรม - สร้างข้อตกลงร่วมกันในหน่วยงา พัฒนาตนเอง เก่ยี วกบั ข้ันตอนการปฏิบัติ - จั ด ทํ า บั น ทึ ก ข้ อ ค ว า ม พ ร้ อ ม แ น (ช่วงเวลาท่ปี ฏิบัต:ิ ต้นปีงบประมาณ) แบบฟอร์มรายงานหลงั อบรม *** มีกฏ ระเบียบ ประกาศ ข้อบังคั วิธีปฏิบัติท่ี 2 คู่มือต่างๆ มารองรับเพื่อเป็นข้อมู บนั ทึกข้อความข้ันตอนการขออนุญาตอบรม ประกอบพิจารณาก่อนการอบรม ต้นปีงบประมาณ และบนั ทึกตดิ ตามรายงานผล บันทึกถึงบุคลากรทุกคนในหน่วยงานเพื่ หลงั การอบรม แจ้งรายละเอียดให้ทราบ พร้อมแน (ชว่ งเวลาท่ปี ฏิบตั :ิ หลังจากประชมุ ชี้แจง แบบฟอร์มรายงานหลงั การอบรม เสรจ็ ) วิธีปฏิบัติท่ี 3 สร้างกลุ่ม Line บุคลากรท้ังหมดเพื่อง่า ติดตามรายงานหลังอบรมผ่านสือ่ Social ต่อการติดตาม
ชื่อบคุ คล ขอ้ มลู ที่ได้ Media ได้แก่ Line, Facebook, E-mail ผู้ขออนุญาตอบรมส่งเอกสารให้กับฝ่าย (ชว่ งเวลาท่ปี ฏิบตั :ิ ทกุ วนั ท่ี 15 และ 30 การเงินของหน่วยงาน ดงั นี้ ของทกุ เดือน) 1. บันทึกข้อความที่ได้รับอนมุ ัติ วิธีปฏิบัติท่ี 4 2. สําเนาคําสง่ั ไปราชการ คณาจารย์ เจา้ หน้าที่ รบั ทราบและ 3. ใบเสรจ็ (ฉบบั จริง) ดําเนินการ 4. สาํ เนาวฒุ ิบตั ร (ทกุ ครงั้ ทม่ี ีการไปอบรม) 5. แบบฟอร์มรายงานหลังการอบรม บันทึกประวัติการอบรมเป็นรายบุคคล วิธีปฏิบัติท่ี 5 โดยระบบ ERP บันทึกประวัติการอบรมลงระบบ ERP (ช่วงเวลาทป่ี ฏิบัต:ิ ทุกวนั ของทกุ เดือน) เจ้าหน้าท่กี ารเงินตรวจสอบเอกสาร ดังนี้ วิธีปฏิบัติท่ี 6 1. บนั ทึกข้อความทีไ่ ด้รบั อนมุ ัติ จัดทาํ ฎีกาส่งเบิก 2. สาํ เนาคําสงั่ ไปราชการ 3. ใบเสรจ็ (ฉบบั จริง) วิธีปฏิบัติท่ี 7 4. สาํ เนาวฒุ บิ ัตร รายงานคณะกรรมการบริหารหน่วยงานในที่ 5. แบบฟอร์มรายงานหลงั การอบรม (ต้อง ประชมุ ในแตล่ ะเดือนเพื่อติดตามผล ม)ี (ช่วงเวลาทป่ี ฏิบัติ: ทุกเดือน) *** มีกฏ ระเบียบ ประกาศ ข้อบังคับ คู่มือต่างๆ มารองรับเป็นข้อมูลในการ เบิกจ่าย สรุปและรายงานผลในที่ประชุมบุคลากร ทุกเดือนเพื่อติดตามผลการอบรมพัฒนา บุคลากร จากการใช้วิธีการดําเนินการดังกล่าว พบว่าบุคลากรส่งรายงาน การพัฒนาตนเองเพิ่มข้ึน จากร้อยละ 30เป็น ร้อยละ 95 ของ บคุ ลากรในหน่วยงานท้งั หมด สรปุ ประเด็นความรู้ที่ได้จากการเลา่ เรือ่ ง จากการร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยวิธีการเล่าเรื่องหลังจากการนําไปใช้ของสมาชิกกลุ่ม ทุก หน่วยงาน ถึงเทคนิค/วิธีปฏิบัติในเรื่องการติดตามและบันทึกผลการอบรมพัฒนาบุคลากร จากการ รวบรวมผลสามารถสรปุ องค์ความรู้ได้ ดงั นี้
ตารางที่ 5 สรุปองคค์ วามรเู้ ทคนิค/ผลทีไ่ ดห้ ลงั จากการนํากระบวนการใหม่ไปใช้ การปฏิบัติงานแบบเดิม การนํากระบวนการใหม่ไป เทคนิค/ผลที่ได้หลังจากการ ปรับใช้ นาํ กระบวนการใหม่ไปใช้ 1.ไม่ได้รับความร่วมมือในการส่ง 1. ได้รับความร่วมมือในการ เทคนิค แบบรายงานผลการติดตามฯ ติดตามและส่งแบบรายงานการ - เทคนิคการเบิกจ่ายมาเป็น ก่อให้เกิดอุปสรรคในการติดตาม พฒั นาตนเอง ตัวกําหนดในการตัดยอดการ 2. ให้ดําเนินการส่งแบบรายงาน 2. ให้ดําเนินการส่งแบบรายงาน เบิกจ่ายกรณีอบรมโดยใช้ ผลการติดตามภายใน 15 วัน ผลการติดตามฯ พร้อมท้ังจัดส่ง งบประมาณ หลังจากไปพัฒนาฯ แ บ บ ก า ร นํ า ค ว า ม รู้ ไ ป ใ ช้ - กําหนดระยะเวลาการส่ง ประโยชน์ แบบมีเงื่อนไข 3. กําหนดให้ผู้เข้ารับการพัฒนา 3.ผู้เข้ารับการพัฒนาส่งแบบ ผลทีไ่ ด้ ส่งแบบรายงานภายใน 7 วัน รายงานภายใน 3 วันหลังจาก - ลดข้นั ตอนในการปฏิบตั ิงาน หลังจากกลับมาปฏิบัติงาน กลบั มา - ลดระยะเวลาในการ 4. การติดตามรายงานการไป 4.การติดตามรายงานการไป ปฏิบตั ิงาน พัฒนาตนเองฯ จะติดตามช่วงที่จะ พัฒนาตนเองฯ จะติดตามทันที - ก า ร จั ด ส่ ง ร า ย ง า น ก า ร มี ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ หลังจากกลับมาปฏิบติงาน พัฒนาตนเองเพิ่มข้ึนจากร้อย ราชการในแต่ละปีงบประมาณ ละ 40 เปน็ ร้อยละ 80 5. ไม่ได้กําหนดเงื่อนเวลาในการ 5. นํากระบวนการตาม Flow - ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ส ะ ด ว ก ส่งแบบรายงานการพัฒนาตนเอง Chart ไปทดลองใช้โดยมีการ รวดเรว็ ขึ้น เปลี่ยนแปลงในบางข้ันตอนของ - ก า ร จั ด ส่ ง ร า ย ง า น ก า ร กระบวนการ พัฒนาตนเองเพิ่มขึ้นจากร้อย ละ 30 เปน็ ร้อยละ 95
2.จากการสัมภาษณ์ (บุคลากรด้านการเงินและบุคลากรด้านงานบุคคลถึงวิธีการปฏิบัติงาน/ กระบวนการปฏิบตั ิงาน) กลุ่มงานบุคคล (งานติดตามและบันทึกผลการอบรมพัฒนาบุคลากร) ได้ดําเนินการสัมภาษณ์ นางสาวพัชราภรณ์ สีลาดเลา ตําแหน่ง บุคลากร ปฏิบัติงานด้านบุคลากรของคณะวิทยาการจัดการ รวมท้ังสัมภาษณ์นางสาวอรรถจิรา สงจันทร์ และนางสาววีณา กันหญีต ตําแหน่ง นักวิชาการเงินและ บัญชี ผู้ปฏิบัติงานด้านการเงินของคณะวิทยาการจัดการ ซึ่งเป็นผู้มีประสบการณ์จากกระบวนการ ปฏิบัติงานที่มีข้ันตอนการปฏิบัติที่ดีเป็นระบบ เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2560 เวลา 13.30 -16.00 น. ณ ห้องประชมุ คณะวิทยาการจัดการ ได้ข้อมูลดงั ตาราง ตารางที่ 6 ตารางข้อมูลจากการสัมภาษณ์ (บุคลากรด้านการเงินและบุคลากรด้านงานบุคคลถึง วิธีการปฏิบตั ิงาน/กระบวนการปฏิบตั ิงาน) หนว่ ยงาน ขอ้ มลู ที่ได้ 1. นางสวุ ิมล วจีทองรตั นา - ผ้อู บรมเขียนแบบแจ้งขอส่งเอกสารการเบิกจ่าย(เอกสารเบิกจ่าย 2. นางสาวพัชราภรณ์ สี ทัว่ ไป) แนบบนั ทึกขออนุมัติให้ไปอบรม/สมั มนา ใบคาํ สงั่ แบบ ลาดเลา รายงานการฝกึ อบรม/สัมมนา และแบบติดตามผลการนาํ ความรู้ 3. นางสาวมาลยั พรรณ ไปใช้ประโยชน์ ใบสําคัญรบั เงิน มาทีฝ่ ่ายการเงิน เพื่อทาํ การเบิก ปั้นทรพั ย์ จ่ายเงิน ทางฝ่ายการเงินนาํ แบบรายงานการฝึกอบรม/สมั มนา และแบบติดตามผลการนําความร้ไู ปใช้ประโยชน์ส่งให้กบั เจ้าหน้าที่ ฝกึ อบรมเพือ่ บนั ทึกการพฒั นาตนเอง นางสาวสุพัสวี โมลากุล ผู้อบรมเขียนแบบแจ้งขอส่งเอกสารการเบิกจ่าย(เอกสารเบิกจ่าย ทั่วไป) แนบบันทึกขออนุมัติให้ไปอบรม/สัมมนา ใบคําส่ัง แบบ รายงานการฝึกอบรม/สัมมนา และแบบติดตามผลการนําความรู้ไป ใช้ประโยชน์ ใบสําคัญรับเงิน มาที่ฝ่ายการเงิน เพื่อทําการเบิก จ่ายเงิน ทางฝ่ายการเงินนําแบบรายงานการฝึกอบรม/สัมมนา และ แบบติดตามผลการนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ส่งให้กับเจ้าหน้าที่ ฝึกอบรมเพือ่ บนั ทึกการพฒั นาตนเอง นางสาวณิชาภทั ร์ เป้าคํา - ส่งบนั ทึกข้อความติดตามแบบรายงานการประชุม/ฝึกอบรม/ ศรี สัมมนา/ศึกษาดูงาน พร้อมแนบแบบรายงานและแบบติดตามการ นาํ ความร้ไู ปใช้ประโยชน์
หนว่ ยงาน ขอ้ มูลที่ได้ นางสาวณิชากานต์ เพชร - บุคลากรที่ไปอบรมที่ขอใช้งบประมาณจากงบพัฒนาบุคลากร ปานกนั ดาํ เนินการส่งเอกสารต้งั เบิกให้ฝ่ายการเงินคณะ 1. นางสาวสนุ ารี ลาํ ใย การบนั ทึกขอ้ มลู การเข้าอบรมของบคุ ลากรในระบบ ERP 2. นางเกศินี จันทร์หอม ข้นั ตอนการปฏิบัติ 3. นางสาวจารณา แสง - นาํ วาระติดตามการรายงานผลการอบรมเข้าที่ประชมุ บคุ ลากร ทอง - สร้างบันทึกข้อความติดตามรายงานผลการเข้าร่วมโครงการ - ส่งบันทึกข้อความติดตามทวงถามการรายงานผล/ ติดตามในที่ ประชุมบุคลากร/ รายงานผ้บู ริหารรบั ทราบ การเบิกจา่ ยคา่ ใชจ้ ่ายในการดาํ เนินโครงการฯ ข้นั ตอนการปฏิบัติ - ประสานสถานที่เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการอบรม/สัมมนา เมื่อเสร็จ ส้ินการอบรม ในแต่ละโครงการ - ตรวจสอบค่าใช้จ่ายในการอบรม/สัมมนา - ตรวจสอบใบลงเวลาของผ้เู ข้าร่วมอบรม/สัมมนา แต่ละคร้งั /วนั - ตรวจสอบใบสําคัญรบั เงินของวิทยากร - รวบรวมเอกสาร ในการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายของการอบรม/สัมมนา แต่ละโครงการเพื่อเสนอฝ่ายบริหารงานทั่วไป(ใบเสร็จ+ใบลงเวลา+ ค่าน้าํ มัน+ค่าอาหาร) - ดาํ เนินการเบิกจ่ายตามค่าใช้จ่ายโครงการที่เกี่ยวข้องท้งั หมด - คืนเงินยืมกรณีมีการยืมเงินจดั โครงการ บนั ทึกขอ้ มูลการเขา้ อบรมของบคุ ลากรในระบบ ERP ข้นั ตอนการปฏิบัติ - สร้างบันทึกข้อความติดตามรายงานผลการเข้าร่วมโครงการ ถึง บุคลากรทุกคนที่เข้าร่วมอบรม เพื่อแจ้งรายละเอียดให้ทราบพร้อม แนบแบบฟอร์มรายงานหลงั อบรม - สร้างบันทึกข้อความติดตามรายงานผลการเข้าร่วมโครงการ โดย เรียนถึง คณบดีผู้อํานวยการ/ เพื่อแจ้งรายละเอียดให้ทราบพร้อม แนบเอกสารรายชื่อบุคลากรที่เข้าร่วมโครงการ และแบบฟอร์ม รายงานหลังอบรม - สร้างกลุ่ม line แต่ละโครงการที่จัดอบรม และดึงบุคลากรท้ังหมด เพื่อง่ายและสะดวกต่อการติดตาม
หน่วยงาน ขอ้ มูลที่ได้ - สร้างแบบฟอร์มแบบรายงานนาํ ความร้ไู ปใช้ โดยสามารถดาวน์ นางสาวสุภาพ พฤฒิสาริ โหลดได้ที่ กร http://www.personnel.ssru.ac.th/news/view/news0805611 นายวฒุ ิไกร ประวตั ิพงษ์ - ส่งข้อมูลการจัดทําแบบติดตามรายงานผลการเข้าร่วมโครงการ และนําส่งรายงานผลการเข้าร่วมโครงการให้หน่วยงานและ ผู้รับผิดชอบที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ดําเนินการบันทึกข้อมูลการเข้าอบรม ของบุคลากรในระบบ ERP การเบิกจา่ ยค่าใช้จา่ ยในการดาํ เนินโครงการฯ ข้นั ตอนการปฏิบตั ิ - ประสานสถานที่เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการอบรม/สัมมนา เมื่อเสร็จ สิ้นการอบรม ในแต่ละโครงการ - ตรวจสอบค่าใช้จ่ายในการอบรม/สัมมนา - ตรวจสอบใบลงเวลาและใบกจ.9 ของผู้เข้าร่วมอบรม/สัมมนา แต่ ละคร้งั /วนั - ตรวจสอบใบสําคัญรบั เงินของวิทยากร - รวบรวมเอกสาร ในการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายของการอบรม/สัมมนา แต่ละโครงการเพื่อเสนอฝ่ายบริหารงานท่ัวไป (ใบเสร็จ+ใบลงเวลา+ ค่าน้าํ มนั +ค่าอาหาร) - สําเนาเอกสารโครงการอบรม/สัมมนา ใบลงทะเบียน - ค่าใช้จ่าย ต่างๆ ไว้เป็นหลักฐาน - ตรวจสอบความถูกต้องและแยกประเภท เพื่อส่งให้ฝ่ายบริหารงาน ทั่วไปในการทําการเบิกจ่ายและคืนเงินยืม (กรณีเงินเหลือ) จากการสัมภาษณ์บุคลากรด้านการเงินและบคุ ลากรด้านงานบคุ คล ถึงวิธีการปฏิบัติงานในการดาํ เนินงาน มขี ้นั ตอนดงั นี้ 1. บคุ ลากรที่เข้าร่วมโครงการฝึกอบรม/สมั มนา ส่งเอกสารรายงาน การพฒั นาตนเอง พร้อมกบั เอกสารเบิกจ่าย 2. บุคลากรด้านการเงินตรวจสอบเอกสาร 3. คีย์เอกสารเบิกจ่ายในระบบ ERP 4. ส่งเอกสารใบรายงานพัฒนาตนเองให้ฝ่ายบุคคลคีย์ในระบบ ERP เพื่อบันทึกประวัติการพฒั นาตนเอง การบันทึกข้อมลู การเข้าอบรมของบุคลากรในระบบ ERP
หน่วยงาน ขอ้ มลู ที่ได้ ข้นั ตอนการปฏิบัติ นางสาวรุ่งรตั น์ พฒั นกล่นั 1. ติดตามรายงานผลหลังการไปอบรมพัฒนาตนเองของพนักงาน นางกฤตติกา ไกรแก้ว นางสาวหัสทยา นวล เมื่อประชมุ ประจําเดือนของหน่วยงาน สวุ รรณ 2. บันทึกข้อความติดตามรายงานผล 3. ส่งบันทึกข้อความติดตามทวงถามการรายงานผล/ ติดตามในที่ ประชมุ บุคลากร/ รายงานผ้บู ริหารรับทราบ 4. บนั ทึกข้อมูลลงในระบบ ERP 5. สรุปผลรายงานให้ผู้บริหาร และกองบริหารงานบุคคลทราบ ประจาํ ไตรมาส การเบิกจา่ ยค่าใช้จ่ายในการดําเนินโครงการฯ ข้นั ตอนการปฏิบัติ 1. ตรวจสอบค่าใช้จ่ายในการอบรม/สมั มนา 2. ตรวจสอบเอกสารในการเบิกจ่าย ของค่าใช้จ่ายการอบรม/ สัมมนา ในแต่ละโครงการพนักงานให้เป็นไปตามระเบียบการ เบิกจ่าย 3. เบิกจ่ายตามค่าใช้จ่ายโครงการที่เกี่ยวข้องท้ังหมดให้เสร็จสิ้นทุก กระบวนการ รายงานให้กบั ผ้บู ริหารหน่วยงานทราบในการประชมุ หน่วยงาน - งานบริหารทรพั ยากรบุคคลส่งบนั ทึกการติดตามรายงานผล การเข้าร่วมอบรม ให้กบั บคุ ลากรและส่งถึงงานการเงิน พร้อมท้งั แนบบนั ทึกขออนุมตั เข้าร่วมการอบรม - งานการเงินแจ้งในไลน์ให้บคุ ลากร รับทราบ - บุคลากรจัดส่งเอกสารค่าใช้จ่าย และรายงานผลมายัง การเงินและ งานบริหารทรัพยากรบคุ คล - ส่งบันทึกข้อความติดตามแบบรายงานการประชุม/ฝึกอบรม/ สัมมนา/ศึกษาดงู าน พร้อมแนบแบบรายงานและแบบ ติดตามการนาํ ความร้ไู ปใช้ประโยชน์ - บคุ ลากรทีไ่ ปอบรมทีข่ อใช้งบประมาณจากงบพฒั นา บคุ ลากรดาํ เนินการส่งเอกสารต้งั เบิกให้ฝ่ายการเงินคณะ ผ้เู ข้ารบั การอบรมเขียนแบบแจ้งขอส่งเอกสารการเบิกจ่าย (เอกสารเบิกจ่ายท่ัวไป) ให้กบั ฝ่ายการเงินของหน่วยงาน โดยแนบ
หน่วยงาน ข้อมูลที่ได้ เอกสารทีเ่ กีย่ วข้อง ดังนี้ 1. บนั ทึกข้อความทีไ่ ด้รบั อนุมัติให้เข้ารับการอบรม 2. สําเนาคาํ สั่งไปราชการ 3. ใบเสรจ็ (ฉบับจริง) 4. สําเนาวฒุ ิบัตร 5. แบบรายงานการฝึกอบรม/สัมมนา 6. แบบติดตามผลการนําความร้ไู ปใช้ประโยชน์ โดยนาํ ใบสําคญั รบั เงิน มาทีฝ่ ่ายการเงิน เพือ่ ทําการเบิกจ่ายเงิน ทาง ฝ่ายการเงินนาํ แบบรายงานการฝึกอบรม/สมั มนา และแบบติดตาม ผลการนาํ ความร้ไู ปใช้ประโยชน์ส่งให้กับเจ้าหน้าทีฝ่ กึ อบรมเพื่อ บนั ทึกการพฒั นาตนเอง ซึ่งนอกเหนือจากน้ันนางสาวอรรถจิรา สงจันทร์ และนางสาววีณา กันหญีต ตําแหน่ง นักวิชาการเงินและบัญชี ผู้ปฏิบัติงานด้านการเงินของคณะวิทยาการจัดการ ได้แสดง Flow Chart ด้าน การปฏิบตั ิงานในเรือ่ งดงั กล่าวฯให้สมาชิกกล่มุ ได้เหน็ พร้อมท้งั อธิบายข้นั ตอนตาม Flow Chart และสิง่ ที่ ได้ปฏิบัตินอกเหนือจากงานใน Flow Chart ด้วย
จากนอกเหนือจาก Flow Chart การปฏิบตั ิงานของฝ่ายการเงินด้านการเบิกจ่ายเอกสารเกี่ยวกับ ข้นั ตอนการเบิกจ่ายหลงั จากไปอบรมฯ ของผ้เู บิกแล้ว ยงั ได้ดาํ เนินการโดย 2.1 ให้ผู้ส่งเบิกส่งเอกสารที่เกี่ยวข้อง (บันทึกขออนุมัติการใช้งบพัฒนาบุคลากร, คําสั่ง เดินทางไปราชการ,ใบเสร็จการลงทะเบียน ( ฉบบั จริง), ใบรายงานผลการไปอบรมซึง่ จะต้องมีทกุ คร้ังใน การส่งเบิก) 2.2 ส่งเอกสารท้งั หมดไปยังเจ้าหน้าทีฝ่ ่ายนโยบายและแผนของคณะฯ เพือ่ ตดั ยอดเงิน 2.3 เมื่อเจ้าหน้าที่ฝ่ายนโยบายและแผนดาํ เนินการตดั ยอดเสร็จเรียบร้อยแล้วกจ็ ะดําเนินการ คีย์เบิกในระบบ ERP นําเอกสารให้ผู้ขอเบิกลงชื่อนําเสนอผู้บริหารและนําส่งกองคลังเพื่อดําเนินการ เบิกจ่ายต่อไป แต่จะมีการแยกใบรายงานผลการฝึกอบรมนําส่งเจ้าหน้าที่บุคลากรของคณะเพื่อ ดําเนินการบันทึกข้อมูลการไปพัฒนาตนเองในระบบ ERP จึงทําให้มีการรายงานหลังการอบรมได้ตรง และทันเวลา และไม่ต้องมีการติดตามทวงถาม
สรุปองค์ความรู้ทีไ่ ดจ้ ากการสัมภาษณ์ หลังจากที่สมาชิกกลุ่มฯ ได้ดําเนินการสัมภาษณ์นางสาวพัชราภรณ์ สีลาดเลา ตําแหน่ง บุคลากรผู้ปฏิบัติงานด้านบุคลากรของคณะวิทยาการจัดการ เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการรายงานผลการ ปฏิบัติงานและการเบิกจ่ายมีความรวดเร็วเป็นไปในทิศทางเดียวกัน และนางสาวอรรถจิรา สงจันทร์ และนางสาววีณา กันหญีต ตําแหน่ง นักวิชาการเงินและบัญชี ผู้ปฏิบัติงานด้านการเงินของคณะ วิทยาการจัดการ ได้นําข้อมูลของสมาชิกแต่ละคนที่ได้จากการสัมภาษณ์ท้ัง 3 ท่านมาสรุปเป็นองค์ ความรู้ ดงั นี้ การบันทึกข้อมูลการเข้าอบรมของบุคลากรในระบบ ERP ข้นั ตอนการปฏิบัติ - นําวาระติดตามการรายงานผลการอบรมเข้าที่ประชมุ บุคลากร - สร้างบนั ทึกข้อความติดตามรายงานผลการเข้าร่วมโครงการ - ส่งบันทึกข้อความติดตามทวงถามการรายงานผล/ ติดตามในที่ประชุมบุคลากร/ รายงาน ผ้บู ริหารรับทราบ การเบิกจ่ายคา่ ใช้จา่ ยในการดําเนินโครงการฯ ข้นั ตอนการปฏิบัติ - ประสานสถานที่เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการอบรม/สัมมนา เมื่อเสร็จสิ้นการอบรม ในแต่ละ โครงการ - ตรวจสอบค่าใช้จ่ายในการอบรม/สัมมนา - ตรวจสอบใบลงเวลาของผ้เู ข้าร่วมอบรม/สัมมนา แต่ละคร้ัง/วนั - ตรวจสอบใบสาํ คญั รบั เงินของวิทยากร - รวบรวมเอกสาร ในการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายของการอบรม/สัมมนา แต่ละโครงการเพื่อเสนอ ฝ่ายบริหารงานทั่วไป(ใบเสรจ็ +ใบลงเวลา+ค่าน้าํ มนั +ค่าอาหาร) - ดําเนินการเบิกจ่ายตามค่าใช้จ่ายโครงการที่เกี่ยวข้องท้งั หมด - คืนเงินยืมกรณีมีการยืมเงินจดั โครงการ จากนอกเหนือจาก Flow Chart การปฏิบัติงานของฝ่ายการเงินด้านการเบิกจ่ายเอกสารเกี่ยวกบั ข้นั ตอนการเบิกจ่ายหลงั จากไปอบรมฯ ของผ้เู บิกแล้ว ยงั ได้ดําเนินการโดย 1. ให้ผู้ส่งเบิกส่งเอกสารที่เกี่ยวข้อง (บันทึกขออนุมัติการใช้งบพัฒนาบุคลากร, คําส่ัง เดินทางไปราชการ,ใบเสร็จการลงทะเบียน ( ฉบับจริง), ใบรายงานผลการไปอบรมซึ่งจะต้องมีทุกคร้ังใน การส่งเบิก) 2. ส่งเอกสารท้งั หมดไปยังเจ้าหน้าทีฝ่ ่ายนโยบายและแผนของคณะฯ เพื่อตดั ยอดเงิน 3. เมื่อเจ้าหน้าที่ฝ่ายนโยบายและแผนดําเนินการตัดยอดเสร็จเรียบร้อยแล้วก็จะดําเนินการ คีย์เบิกในระบบ ERP นําเอกสารให้ผู้ขอเบิกลงชื่อนําเสนอผู้บริหารและนําส่งกองคลังเพื่อดําเนินการ
เบิกจ่ายต่อไป แต่จะมีการแยกใบรายงานผลการฝึกอบรมนําส่งเจ้าหน้าที่บุคลากรของคณะเพื่อ ดําเนินการบันทึกข้อมูลการไปพัฒนาตนเองในระบบ ERP จึงทําให้มีการรายงานหลังการอบรมได้ตรง และทนั เวลา และไม่ต้องมีการติดตามทวงถาม 3) มีการเข้าไปศึกษาดูงานการปฏิบตั ิงานของนางสาวพชั ราภรณ์ สีลาดเลา ตาํ แหน่ง บุคลากร ผู้ปฏิบัติงานด้านบุคลากรของคณะวิทยาการจัดการ เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการรายงานผลการปฏิบัติงาน และการเบิกจ่ายมีความรวดเร็วเป็นไปในทิศทางเดียวกัน และนางสาวอรรถจิรา สงจันทร์ และนางสาว วีณา กันหญีต ตําแหน่ง นักวิชาการเงินและบัญชี ผู้ปฏิบัติงานด้านการเงินของคณะวิทยาการจัดการ เมือ่ วันที่ 30 เดือนพฤษภาคม 2561 ณ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันท เพื่อ ศึกษาเกี่ยวกับการบันทึกข้อมูลในระบบ ERP การจัดเก็บ ตลอดจนการใช้ข้อมูลเพื่อบันทึกผลการอบรม พัฒนาบุคลากรมีความสะดวกและรวดเร็วข้ึน หลังจากน้ันสมาชิกกลุ่มจึงมาร่วมประชุมแลกเปลี่ยน เรียนร้กู นั เกี่ยวกบั ความร้ทู ีไ่ ด้จากการศึกษาดงู าน ตารางท่ี 7 จากการศกึ ษาดงู าน (วธิ ีการปฏิบัติงาน/กระบวนการปฏบิ ัติงาน) หนว่ ยงาน ขอ้ มูลทีไ่ ด้ 1. นางสุวิมล วจีทองรตั นา - ส่งบันทึกข้อความติดตามการรายงานการประชมุ /ฝกึ อบรม/ 2. นางสาวพชั ราภรณ์ สี สมั มนา/ศึกษาดูงานและการนําความร้ไู ปใช้ประโยชน์ โดยให้จดั ส่ง ลาดเลา ข้อมลู การฝึกอบรมภายใน 5 วนั ทําการหลังจากเสร็จสิ้นการ 3. นางสาวมาลัยพรรณ ฝึกอบรม/สัมมนา ปนั้ ทรัพย์ แนบไฟล์แบบรายงานการประชมุ /ฝกึ อบรม/สมั มนา/ศึกษาดูงาน และแบบติดตามการนาํ ความร้ไู ปใช้ประโยชน์ นางสาวสพุ ัสวี โมลากลุ - ส่งบนั ทึกข้อความติดตามรายงานการประชมุ /ฝึกอบรม/สัมมนา/ ศึกษาดูงานและการนําความร้ไู ปใช้ประโยชน์ ทกุ ๆ 15 วนั - ส่งแบบรายงานการประชมุ /ฝึกอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงานและ การนําความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์พร้อมท้งั รายละเอียดการอบรม คร่าวๆ เพื่อให้ผ้เู ข้าอบรมเพิ่มเติม - ส่งแบบฟอร์มรายงานการประชุม/ฝกึ อบรม/สัมมนา/ศึกษาดงู าน และการนําความร้ไู ปใช้ประโยชน์ นางสาวณิชาภัทร เป้าคํา - ส่งบันทึกข้อความติดตามรายงานการประชุม/ฝึกอบรม/สมั มนา/ ศรี ศึกษาดงู านและการนาํ ความร้ไู ปใช้ประโยชน์ ทกุ ๆ 15 วนั - ส่งแบบรายงานการประชมุ /ฝึกอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงานและ การนาํ ความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์พร้อมท้งั รายละเอียดการอบรม
หน่วยงาน ขอ้ มลู ทีไ่ ด้ คร่าวๆ เพือ่ ให้ผ้เู ข้าอบรมเพิ่มเติม - ส่งแบบฟอร์มรายงานการประชมุ /ฝกึ อบรม/สมั มนา/ศึกษาดูงาน และการนาํ ความร้ไู ปใช้ประโยชน์ นางสาวณิชากานต์ เพชร จากทีไ่ ด้ศึกษาตามแนวปฏิบตั ิในการดําเนินงานของคณะวิทยาการ ปานกนั จดั การ บคุ ลากรทีด่ าํ เนินงานท้งั ด้านบคุ คลและบุคลากรด้าน การเงินสามารถปฏิบตั ิงานร่วมกนั ได้อย่างเปน็ ข้นั ตอน และ 1. นางสาวสุนารี ลําใย สามารถคีย์ข้อมูลและรบั ทราบถึงบคุ ลากรท่านใดทีไ่ ปเข้ารบั การ 2. นางเกศินี จนั ทร์หอม อบรมโดยติดตามได้จากบนั ทึกข้อความของบคุ ลากรท่านน้นั ที่ 3. นางสาวจารณา แสง ได้รบั การอนญุ าตให้เข้ารบั การอบรม โดยจะติดตามถึงการ ทอง เบิกจ่ายและการส่งรายงานการอบรม ซึง่ จําเปน็ ต้องส่งพร้อมกนั โดยหากขาดอย่างใดอย่างหนึ่งก็ไม่สามารถเบิกจ่ายงบประมาณได้ นางสาวสุภาพ พฤฒิสาริ โดยมีการนาํ ระเบียบข้อบังคบั ต่างๆ เข้ามาเปน็ เอกสารอ้างอิงได้ กร อย่างมีประสิทธิภาพ - สร้างบันทึกข้อความติดตามรายงานผลการเข้าร่วมโครงการ ถงึ บุคลากรทกุ คนทีเ่ ข้าร่วมอบรม เพื่อแจ้งรายละเอียดให้ทราบพร้อม แนบแบบฟอร์มรายงานหลังอบรม - สร้างบันทึกข้อความติดตามรายงานผลการเข้าร่วมโครงการ โดยเรียนถึง คณบดีผู้อํานวยการ/ เพือ่ แจ้งรายละเอียดให้ทราบ พร้อมแนบเอกสารรายชือ่ บคุ ลากรทีเ่ ข้าร่วมโครงการ และ แบบฟอร์มรายงานหลงั อบรม - สร้างกลุ่ม line แต่ละโครงการที่จดั อบรม และดึงบุคลากร ท้งั หมด เพื่อง่ายและสะดวกต่อการติดตาม - สร้างแบบฟอร์มแบบรายงานนาํ ความร้ไู ปใช้ โดยสามารถดาวน์ โหลดได้ที่ http://www.personnel.ssru.ac.th/news/view/news0805611 จากการศึกษาดงู านการปฏิบตั ิงานบคุ ลากรด้านการเงินและ บคุ ลากรด้านงานบคุ คลถึงวิธีการปฏิบตั ิงานในการดําเนินงาน มี ข้นั ตอนดงั นี้ 1. บุคลากรที่เข้าร่วมโครงการฝึกอบรม/สมั มนา ส่ง เอกสารรายงานการพัฒนาตนเอง พร้อมกับเอกสารเบิกจ่าย
หนว่ ยงาน ขอ้ มูลที่ได้ นายวุฒิไกร ประวตั ิพงษ์ 2. บคุ ลากรด้านการเงินตรวจสอบเอกสาร 3. คีย์เอกสารเบิกจ่ายในระบบ ERP นางสาวร่งุ รตั น์ พัฒนกลนั่ 4. ส่งเอกสารใบรายงานพฒั นาตนเองให้ฝ่ายบคุ คลคีย์ในระบบ ERP เพื่อบันทึกประวตั ิการพัฒนาตนเอง นางกฤตติกา ไกรแก้ว จากทีไ่ ด้ศึกษาตามแนวปฏิบตั ิในการดําเนินงานของศูนย์การศึกษา จังหวัดสมุทรสงคราม บุคลากรที่ดําเนินงานท้ังด้านบุคคล และ นางสาวหสั ทยา นวล บคุ ลากรด้านการเงินสามารถปฏิบัติงานร่วมกนั ได้อย่างดี สุวรรณ ติดปัญหาของการปฏิบัติงานก็เพียง พนักงานผู้ไปอบรม พัฒนาตนเองส่งรายงานผลการไปอบรม และส่งหลักฐานการ เบิกจ่ายล่าช้าบ้าง หลงั จากการเข้าร่วมฝึกอบรม/ประชมุ /สมั มนา/ศึกษาดูงานและการ นาํ ความร้ไู ปใช้ประโยชน์ และแบบฟอร์มรายงานสรปุ เนื้อหาและ ความรทู้ ี่ได้รบั ภายใน 3 วนั หลงั จาก 3 วนั ไม่จัดส่งเอกสาร งานบริหารทรพั ยากรบุคคลของกองฯ จะบนั ทึกติดตาม และแจ้ง ทางไลท์ของกองฯ ด้วยเหตผุ ลคือเพื่อรายงานตามตวั ช้ีวัด และ จดั เกบ็ เปน็ ข้อมลู ในการจัดทําตําแหน่งทีส่ งู ขึ้น ทําใหม้ ผี ลลพั ธ์ดีขึ้น - ส่งบนั ทึกข้อความติดตามรายงานการประชมุ /ฝึกอบรม/สมั มนา/ ศึกษาดูงานและการนาํ ความร้ไู ปใช้ประโยชน์ ทกุ ๆ 15 วัน - ส่งแบบรายงานการประชมุ /ฝึกอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงานและ การนําความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์พร้อมท้งั รายละเอียดการอบรม คร่าวๆ เพือ่ ให้ผ้เู ข้าอบรมเพิม่ เติม - ส่งแบบฟอร์มรายงานการประชมุ /ฝกึ อบรม/สัมมนา/ศึกษาดงู าน และการนําความร้ไู ปใช้ประโยชน์ จากการศึกษาดูงานการปฏิบตั ิงานบคุ ลากรด้านการเงินและ บุคลากรด้านงานบคุ คลของคณะวิทยารจดั การ ถึงวิธี/ กระบวนการปฏิบัติงานในการดาํ เนินงาน มีข้นั ตอนดงั นี้ กรณีใช้งบประมาณ 1. บุคลากรที่เข้าร่วมโครงการฝึกอบรม/สมั มนา ส่ง เอกสารรายงานการพฒั นาตนเอง พร้อมกบั เอกสารเบิกจ่ายไปยงั เจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน 2. เจ้าหน้าที่การเงินตรวจสอบความถกู ต้อง ครบถ้วน ของเอกสาร
หนว่ ยงาน ข้อมูลทีไ่ ด้ 3. หากเอกสารมีความถูกต้อง ครบถ้วน จะดําเนินการบนั ทึก เอกสารเบิกจ่ายในระบบ ERPพร้อมส่งไปยังฝ่ายแผนงานและ ประกนั คณุ ภาพเพือ่ ดําเนินการตัดยอดในระบบ ERP (หากไม่ ถกู ต้องส่งกลบั เจ้าของเรือ่ งเพื่อแก้ไข) 4. ส่งแบบฟอร์มรายงานการประชมุ /ฝกึ อบรม/สมั มนา/ศึกษาดงู าน และการนาํ ความร้ไู ปใช้ประโยชน์ไปยังฝ่ายการเจ้าหน้าทีข่ อง คณะฯ เพือ่ ดาํ เนินการบนั ทึกข้อมลู การพฒั นาตนเองในระบบ ERP ต่อไป กรณีไมใ่ ช้งบประมาณ ผ้เู ข้ารบั การอบรมจะเนินการส่งแบบฟอร์มรายงานการประชุม/ ฝึกอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงานและการนาํ ความร้ไู ปใช้ประโยชน์ไป ยงั ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ของคณะฯ เพื่อดําเนินการบันทึกข้อมูลการ พัฒนาตนเองในระบบ ERP ต่อไป สรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาดูงาน ณ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวน สนุ ันทา หลังจากที่สมาชิกกลุ่มฯ ได้เข้าไปศึกษาดูงานในการปฏิบัติงานของนางสาวพัชราภรณ์ สี ลาดเลา ตาํ แหน่ง บคุ ลากรผ้ปู ฏิบัติงานด้านบุคลากรของคณะวิทยาการจัดการ เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการ รายงานผลการปฏิบัติงานและการเบิกจ่ายมีความรวดเร็วเป็นไปในทิศทางเดียวกัน และนางสาวอรรถจิ รา สงจันทร์ และนางสาววีณา กันหญีต ตําแหน่ง นักวิชาการเงินและบัญชี ผู้ปฏิบัติงานด้านการเงิน ของคณะวิทยาการจัดการ ได้นําข้อมูลของสมาชิกแต่ละคนที่ได้จากการศึกษาดูงานมาสรุปเป็นองค์ ความรู้ จัดส่งข้อมูลการฝึกอบรมภายใน 5 วันทําการหลังจากเสร็จส้ินการฝึกอบรม/สัมมนาพร้อมกับ เอกสารหลกั ฐานเอกสารการเบิกจ่าย ดังนี้ กรณีใชง้ บประมาณ 1. บุคลากรที่เข้าร่วมโครงการฝึกอบรม/สมั มนา ส่งเอกสารรายงานการพัฒนาตนเอง พร้อมกับ เอกสารเบิกจ่ายไปยงั เจ้าหน้าทีฝ่ ่ายการเงิน 2. เจ้าหน้าที่การเงินตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน ของเอกสาร 3. หากเอกสารมีความถูกต้อง ครบถ้วน จะดําเนินการบันทึกเอกสารเบิกจ่ายในระบบ ERP พร้อมส่งไปยังฝ่ายแผนงานและประกันคุณภาพเพื่อดําเนินการตัดยอดในระบบ ERP (หากไม่ถูกต้อง ส่งกลับเจ้าของเรื่องเพือ่ แก้ไข)
4. ส่งแบบฟอร์มรายงานการประชุม/ฝึกอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงานและการนําความรู้ไปใช้ ประโยชน์ไปยังฝ่ายการเจ้าหน้าที่ของคณะฯ เพื่อดําเนินการบันทึกข้อมูลการพัฒนาตนเองในระบบ ERP ต่อไป กรณีไมใ่ ช้งบประมาณ ผู้เข้ารับการอบรมจะเนินการส่งแบบฟอร์มรายงานการประชุม/ฝึกอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงานและ การนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ไปยังฝ่ายการเจ้าหน้าที่ของคณะฯ เพื่อดําเนินการบันทึกข้อมูลการพัฒนา ตนเองในระบบ ERP ต่อไป ท้ังนี้ อาจมีติดปัญหาของการปฏิบัติงานก็เพียงเพราะพนักงานผู้ไปอบรมพัฒนาตนเองส่ง รายงานผลการไปอบรม และส่งหลกั ฐานการเบิกจ่ายล่าช้าบ้างเป็นบางราย ตารางที่ 8 ตารางแสดงการศึกษาข้อมูลจากแหลง่ อืน่ ๆ (เซบ็ ไซต,์ การศึกษาข้อมูล) หนว่ ยงาน ขอ้ มูลทีไ่ ด้ 1. นางสวุ ิมล วจีทองรตั นา - เวบ็ ไซต์กองบริหารงานบคุ คล มหาวิทยาลัยราชภฏั สวน 2. นางสาวพชั ราภรณ์ สีลาดเลา สนุ นั ทา (ศึกษาระเบียบ, แบบฟอร์มต่าง ๆ) 3. นางสาวมาลัยพรรณ ปั้นทรพั ย์ - ไลน์กล่มุ คณาจารย์และเจ้าหน้าที่คณะวิทยาการจดั การ นางสาวสุพัสวี โมลากุล - ไลน์กล่มุ KM งาน HR บันทึกการอบรม - เวบ็ ไซต์กองบริหารงานบคุ คล มหาวิทยาลัยราชภฏั สวน นางสาวณิชาภัทร เป้าคาํ ศรี สุนนั ทา (ศึกษาระเบียบ, แบบฟอร์มต่าง ๆ) - ไลน์กล่มุ อาจารย์คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม - - ไลน์กลุ่ม KM งาน HR บันทึกการอบรม - เวบ็ ไซต์กองบริหารงานบคุ คล มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวน สนุ ันทา (ศึกษาระเบียบ, แบบฟอร์มต่าง ๆ) - ไลน์กล่มุ อาจารย์คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม - ไลน์กล่มุ KM งาน HR บันทึกการอบรม นางสาวณิชากานต์ เพชรปานกนั ศึกษาจากบุคลากรทเี่ กีย่ วข้องด้านการเงิน และบุคลากร 1. นางสาวสนุ ารี ลาํ ใย ด้านงานบุคคล http://www.personnel.ssru.ac.th/news/view/news0805611
หนว่ ยงาน ขอ้ มูลทีไ่ ด้ 2. นางเกศินี จนั ทร์หอม 3. นางสาวจารณา แสงทอง 1. บนั ทึกส่งเส้นทางและแนวทางการปฏิบตั ิ/การติดตาม ใน นางสาวสภุ าพ พฤฒิสาริกร ระบบหนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ 2. ไลน์กล่มุ ของหน่วยงาน นายวุฒิไกร ประวตั ิพงษ์ 3. เว็บไซต์หน่วยงาน ศึกษาจากคู่มือการปฏิบัติงานของฝ่ายการเงินและบัญชี นางสาวร่งุ รตั น์ พัฒนกลนั่ และฝ่ายบริหารงานบุคคล ศูนย์การศึกษาจังหวัด นางกฤตติกา ไกรแก้ว สมุทรสงคราม นางสาวหัสทยา นวลสุวรรณ บันทึกข้อความในระบบ E-office และกล่มุ ไลน์กองพฒั นา นกั ศึกษา บนั ทึกข้อความในระบบ E-office’ กล่มุ ไลน์บคุ ลากรคณะครุ ศาสตร์ เว็บไซต์ของหน่วยงานภายนอก ซึ่งจากการศึกษาข้อมูลส่วน ใหญ่จะเปน็ การจดั ทําแผนพัฒนาบุคลากร,การติดตามการ ไปพฒั นาตนเองของบคุ ลากร ซึง่ จะมิได้พูดถึงการ ดําเนินการบนั ทึกข้อมลู ในระบบทะเบียนประวัติของ บคุ ลากร สรุปประเด็นความร้ทู ีไ่ ด้จากการศึกษาขอ้ มลู จากแหลง่ ข้อมูลอืน่ ๆ - เวบ็ ไซต์กองบริหารงานบคุ คล มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสุนนั ทา (ศึกษาระเบียบ, แบบฟอร์ม ต่าง ๆ) - ไลน์กล่มุ คณาจารย์และเจ้าหน้าทีค่ ณะวิทยาการจดั การ - ไลน์กลุ่ม KM งาน HR บันทึกการอบรม - เวบ็ ไซต์ของหน่วยงานภายนอก ส่วนใหญ่จะเปน็ การจัดทาํ แผนพฒั นาบคุ ลากร,การติดตาม การไปพฒั นาตนเองของบคุ ลากร ซึง่ จะมิได้พดู ถึงการดําเนินการบนั ทึกข้อมลู ในระบบทะเบียนประวตั ิ ของบคุ ลากร
3. การปรบั ปรงุ ดดั แปลง ความรบู้ างส่วนให้เหมาะสมต่อการดาํ เนินงานของหน่วยงาน 3.1 รายละเอียดผลการดาํ เนินงาน : กลุ่มงานบุคคล (งานติดตามและบันทึกผลการอบรมพัฒนาบุคลากร) ได้มีการแสวงหา ความรู้ในเรื่องการติดตามและบันทึกผลการอบรมพัฒนาบุคลากรโดยประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ สมาชิกในกลุ่มคร้ังที่ 2 เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2560 โดยนําความรู้ที่ได้จากการสกัดความรู้ มา แลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกัน ปรับปรุงดัดแปลงความรู้ให้ เหมาะสมกับการนําไปปฏิบัติ ของ หน่วยงาน ลดระยะเวลาในการปฏิบัติงาน โดยองค์ความรู้ที่ได้อาจจะจัดทําเป็นแนวทางการปฏิบัติงาน ผังกระบวนการ หรือค่มู ือการปฏิบัติงานทีท่ กุ หน่วยงานสามารถนาํ ไปใช้ในการปฏิบัติงานได้จริงต่อไป ตารางที่ 9 องคค์ วามรคู้ วามร้ทู ี่ปรบั ปรุงใหเ้ หมาะสมต่อการปฏิบตั ิงาน ความร้ทู ีไ่ ด้จากการแสวงหาความรู้ ความร้ทู ีป่ รบั ปรุงให้เหมาะสมต่อการปฏิบตั ิงาน 1.จากการเล่าเรื่อง (การเลา่ เรื่องตามแบบ 1.กรณีเบิกจ่ายงบประมาณของหน่วยงาน ประสานงาน การติดตามและบันทึกผลการอบรม กับฝ่ายการเงินให้ผู้เข้ารับการอบรมแนบแบบรายงาน พฒั นาบุคลากร) การฝึกอบรมมาพร้อมกับเอกสารการเบิกจ่าย สรุปองค์ความรทู้ ีไ่ ด้ 2. กรณีทีห่ น่วยงานจัดการอบรมเอง ผู้ดาํ เนินการจัด เทคนิค โครงการอบรม จะเปน็ ผู้จดั เตรยี มแบบรายงานการ - เทคนิคการเบิกจ่ายมาเป็นตัวกําหนดใน ฝึกอบรมให้ผ้รู ับการอบรมกรอกเมือ่ เสรจ็ สิ้นโครงการ การตัดยอดการเบิกจ่ายกรณีอบรมโดยใช้ งบประมาณ - กําหนดระยะเวลาการส่งแบบมีเงื่อนไข เช่น หากเลยระยะเวลากําหนดการส่งจะ ให้มีการจัดทําบันทึกข้อความอีกคร้ังเพื่อ ขอบนั ทึกผลการไปอบรมฯ ในระบบ ERP ผลที่ได้ - ลดข้นั ตอนในการปฏิบัติงาน - ลดระยะเวลาในการปฏิบัติงาน - การจัดส่งรายงานการพัฒนาตนเอง เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 40 เปน็ ร้อยละ 80 - การปฏิบัติงานสะดวกรวดเรว็ ขึ้น - การจัดส่งรายงานการพฒั นาตนเอง เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 30 เปน็ ร้อยละ 95
ความร้ทู ีไ่ ด้จากการแสวงหาความรู้ ความรู้ทีป่ รบั ปรุงใหเ้ หมาะสมตอ่ การปฏิบัติงาน 2.จากการสัมภาษณ์ (บุคลากรด้าน การเงินและบุคลากรด้านงานบุคคลถึง วิ ธี ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น / ก ร ะ บ ว น ก า ร ปฏิบตั ิงาน) สรุปองค์ความรทู้ ีไ่ ด้ หลั ง จ า ก ที่ ส ม า ชิ ก ก ลุ่ ม ฯ ไ ด้ ดําเนินการสัมภาษณ์นางสาวพัชราภรณ์ สีลาดเลา ตําแหน่ง บุคลากรผู้ปฏิบัติงาน ด้านบุคลากรของคณะวิทยาการจัดการ เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการรายงานผลการ ปฏิบัติงานและการเบิกจ่ายมีความรวดเรว็ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และนางสาว อรรถจิรา สงจันทร์ และนางสาววีณา กันหญีต ตําแหน่ง นักวิชาการเงินและ บัญชี ผู้ปฏิบัติงานด้านการเงินของคณะ วิทยาการจัดการ ได้นําข้อมูลของสมาชิก แต่ละคนที่ได้จากการสัมภาษณ์ท้งั 3 ท่าน มาสรุปเป็นองค์ความรู้ ดงั นี้ การบันทึกข้อมูลการเข้าอบรม ของบุคลากรในระบบ ERP ข้นั ตอนการปฏิบัติ - นําวาระติดตามการรายงานผล การอบรมเข้าทีป่ ระชุมบุคลากร - สร้างบันทึกข้อความติดตาม รายงานผลการเข้าร่วมโครงการ - ส่งบันทึกข้อความติดตามทวง ถามการรายงานผล/ ติดตามในที่ประชุม บคุ ลากร/ รายงานผ้บู ริหารรบั ทราบ การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการ ดาํ เนินโครงการฯ ข้นั ตอนการปฏิบตั ิ
ความรู้ทีไ่ ดจ้ ากการแสวงหาความรู้ ความร้ทู ีป่ รบั ปรุงให้เหมาะสมต่อการปฏิบัติงาน - ป ร ะ ส า น ส ถ า น ที่ เ กี่ ย ว กั บ ค่าใช้จ่ายในการอบรม/สัมมนา เมื่อเสร็จ ส้ินการอบรม ในแต่ละโครงการ - ตรวจสอบค่าใช้จ่ายในการ อบรม/สมั มนา - ตรวจสอบใบลงเวลาของ ผ้เู ข้าร่วมอบรม/สมั มนา แต่ละคร้งั /วัน - ตรวจสอบใบสําคัญรับเงินของ วิทยากร - รวบรวมเอกสาร ในการ เบิกจ่ายค่าใช้จ่ายของการอบรม/สัมมนา แต่ละโครงการเพื่อเสนอฝ่ายบริหารงาน ท่ัวไป(ใบเสร็จ+ใบลงเวลา+ค่าน้ํามัน+ ค่าอาหาร) - ดําเนินการเบิกจ่ายตาม ค่าใช้จ่ายโครงการทีเ่ กี่ยวข้องท้งั หมด - คืนเงินยืมกรณีมีการยืมเงินจัด โครงการ จากนอกเหนือจาก Flow Chart การปฏิบัติงานของฝ่ายการเงินด้านการ เบิกจ่ายเอกสารเกี่ยวกับข้ันตอนการ เบิกจ่ายหลังจากไปอบรมฯ ของผู้เบิกแล้ว ยังได้ดาํ เนินการโดย 1 . ใ ห้ ผู้ ส่ ง เ บิ ก ส่ ง เ อ ก ส า ร ที่ เกี่ยวข้อง (บันทึกขออนุมัติการใช้งบ พฒั นาบคุ ลากร, คําสั่งเดินทางไปราชการ ,ใบเสร็จการลงทะเบียน ( ฉบับจริง), ใบ รายงานผลการไปอบรมซึ่งจะต้องมีทุก คร้งั ในการส่งเบิก) 2 . ส่ ง เ อ ก ส า ร ท้ั ง ห ม ด ไ ป ยั ง เจ้าหน้าที่ฝ่ายนโยบายและแผนของคณะฯ
ความรทู้ ี่ได้จากการแสวงหาความรู้ ความร้ทู ีป่ รบั ปรุงใหเ้ หมาะสมต่อการปฏิบตั ิงาน เพื่อตัดยอดเงิน 3. เมื่อเจ้าหน้าที่ฝ่ายนโยบายและ แผนดําเนินการตัดยอดเสร็จเรียบร้อย แล้วก็จะดําเนินการคีย์เบิกในระบบ ERP นําเอกสารให้ผู้ขอเบิกลงชื่อนําเสนอ ผู้ บ ริ ห า ร แ ล ะ นํ า ส่ ง ก อ ง ค ลั ง เ พื่ อ ดําเนินการเบิกจ่ายต่อไป แต่จะมีการแยก ใ บ ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ฝึ ก อ บ ร ม นํ า ส่ ง เ จ้ า ห น้ า ที่ บุ ค ล า ก ร ข อ ง ค ณ ะ เ พื่ อ ดําเนินการบันทึกข้อมูลการไปพัฒนา ตนเองในระบบ ERP จึงทําให้มีการ รายงานหลงั การอบรมได้ตรงและทันเวลา และไม่ต้องมีการติดตามทวงถาม 3.จากการศึกษาดงู าน (วิธีการปฏิบัติงาน/ จัดส่งข้อมูลการฝึกอบรมภายใน 5 วนั ทาํ การหลังจาก กระบวนการปฏิบัติงาน) เสรจ็ สิ้นการฝึกอบรม/สัมมนาพร้อมกับเอกสารหลักฐาน สรปุ องคค์ วามร้ทู ี่ได้ เอกสารการเบิกจ่ายท้งั ที่ใช้งบประมาณและไม่ใช้ หลังจากที่สมาชิกกลุ่มฯ ได้เข้าไป งบประมาณ ศึกษาดูงานในการปฏิบัติงานของนางสาว พั ช ร า ภ ร ณ์ สี ล า ด เ ล า ตํ า แ ห น่ ง บุคลากรผู้ปฏิบัติงานด้านบุคลากรของ คณะวิทยาการจัดการ เพื่อศึกษาเกี่ยวกับ การรายงานผลการปฏิบัติงานและการ เบิกจ่ายมีความรวดเร็วเป็นไปในทิศทาง เดียวกัน และนางสาวอรรถจิรา สงจันทร์ และนางสาววีณา กันหญีต ตําแหน่ง นกั วิชาการเงินและบัญชี ผู้ปฏิบัติงานด้าน การเงินของคณะวิทยาการจัดการ ได้นํา ข้ อ มู ล ข อ ง ส ม า ชิ ก แ ต่ ล ะ ค น ที่ ไ ด้ จ า ก การศึกษาดูงานมาสรุปเป็นองค์ความรู้ จัดส่งข้อมูลการฝึกอบรมภายใน 5 วันทํา ก า ร ห ลั ง จ า ก เ ส ร็ จ สิ้ น ก า ร ฝึ ก อ บ ร ม /
ความร้ทู ี่ไดจ้ ากการแสวงหาความรู้ ความร้ทู ี่ปรบั ปรงุ ใหเ้ หมาะสมตอ่ การปฏิบตั ิงาน สั ม ม น า พ ร้ อ ม กั บ เ อ ก ส า ร ห ลั ก ฐ า น เอกสารการเบิกจ่าย ดังนี้ กรณีใช้งบประมาณ 1. บคุ ลากรที่เข้าร่วมโครงการ ฝึกอบรม/สัมมนา สง่ เอกสารรายงานการ พฒั นาตนเอง พร้อมกับเอกสารเบิกจ่าย ไปยงั เจ้าหน้าทีฝ่ ่ายการเงนิ 2. เจ้าหน้าที่การเงินตรวจสอบ ความถูกต้อง ครบถ้วน ของเอกสาร 3. หากเอกสารมีความถูกต้อง ครบถ้วน จะดาํ เนินการบนั ทึกเอกสาร เบิกจ่ายในระบบ ERPพร้อมส่งไปยังฝ่าย แผนงานและประกนั คณุ ภาพเพือ่ ดําเนินการตดั ยอดในระบบ ERP (หากไม่ ถูกต้องส่งกลบั เจ้าของเรือ่ งเพือ่ แก้ไข) 4. ส่งแบบฟอร์มรายงานการ ประชุม/ฝกึ อบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงานและ การนาํ ความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ไปยงั ฝ่าย การเจ้าหน้าทีข่ องคณะฯ เพือ่ ดาํ เนินการ บันทึกข้อมูลการพัฒนาตนเองในระบบ ERP ต่อไป กรณีไม่ใช้งบประมาณ ผ้เู ข้ารับการอบรมจะดําเนินการส่ง แบบฟอร์มรายงานการประชมุ /ฝึกอบรม/ สมั มนา/ศึกษาดงู านและการนาํ ความร้ไู ป ใช้ประโยชน์ไปยงั ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ของ คณะฯ เพือ่ ดาํ เนินการบนั ทึกข้อมลู การ พัฒนาตนเองในระบบ ERP ต่อไป ท้ังน้ี อาจมีติดปัญหาของการ ปฏิบัติงานก็เพียงเพราะพนักงานผู้ไป อบรมพัฒนาตนเองส่งรายงานผลการไป
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112