Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือประเมินคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กร SMART EXAT v1

คู่มือประเมินคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กร SMART EXAT v1

Published by Thanarat TAEWATTANA, 2022-01-03 14:37:38

Description: คู่มือนี้สำหรับแนวทางของระบบประเมินคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กร SMART EXAT v1

Keywords: SMART EXAT

Search

Read the Text Version

คู่มือการประเมินผลคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กร

คำนำ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) มีส่วนในการพัฒนาและสนับสนุนการพัฒนาประเทศในด้าน การสนับสนุนการขนส่งมาอย่างต่อเนือ่ ง มีการขยายการให้บริการและระบบงานเพื่อให้บริการประชาชนอยา่ ง เต็มศักยภาพ เพ่ือให้การขับเคลื่อนเป้าหมายสู่ความสาเร็จ จึงต้องอาศัยการรวมศูนย์จิตใจมาผูกรวมกันจาก ความแตกต่างของบุคคลให้มีเป้าหมายในทิศทางเดียวกันและมีวิถีชีวิตในการทางานท่ีสอดคล้องกัน ผ่าน คณุ ลกั ษณะวฒั นธรรมของ กทพ. SMART EXAT การติดตามและประเมินผลคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. นับว่าเป็นเร่ืองสาคัญเน่ืองจาก วัฒนธรรมองค์กรเป็นกลไกท่ีสาคัญในการกาหนดพฤติกรรมในการทางานของบุคลากรเพื่อให้องค์กร กทพ. สามารถดาเนินการสกู่ ารบรรลวุ ิสยั ทัศน์ ผลการสง่ เสรมิ กจิ กรรมในการพฒั นาคณุ ลกั ษณะวฒั นธรรมองค์กรของ กทพ. จะกระทบกับการดาเนินงานขององค์กรในหลายมิติขึ้นอยู่กับภารกิจของแต่ละหน่วยงานท่ีได้รับ การ ติดตามและประเมินผลจึงถือว่าเป็นเคร่ืองมือที่สาคัญในการวัดสัมฤทธ์ิผล (Achievement) ของการส่งเสริม การพัฒนาคุณลักษณะวัฒนธรรมองคก์ รของ กทพ. เปน็ กลไกที่สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถึงความสาเร็จหรือความล้มเหลว ของการดาเนินกจิ กรรมตามแผนพฒั นาคุณลักษณะของวัฒนธรรมองคก์ รของ กทพ. คู่มือการประเมินผลคุณลักษณะวัฒนะธรรมองค์กรของ กทพ. จึงจัดทาข้ึนเพื่อใช้เป็นแนวทางการ ประเมินผลและการวิเคราะห์ผลที่มีประสิทธิภาพ และสามารถนาผลไปใช้ในการกาหนดนโยบายของการขับ เครอ่ื งวฒั นธรรมองคก์ รต่อไป การทางพิเศษแห่งประเทศไทย

สำรบญั 1. บทนา หน้า 1.1 ความเป็นมา 1 1.2 กรอบการทบทวนวัฒนธรรมองคก์ รของ กทพ. 1 1.3 วัฒนธรรมองคก์ ร กทพ. 2 3 2. วฒั นธรรมองคก์ ร กทพ. 5 2.1 วัฒนธรรมองค์กร 5 2.2 พฤติกรรมท่ีพึงประสงคแ์ ละไม่พึงประสงค์ของวัฒนธรรมองค์กร 8 3. การตดิ ตามและประเมินผล 13 3.1 รูปแบบกระบวนการตดิ ตามและประเมนิ ผล 15 3.2 กระบวนการประเมินผลคุณลกั ษณะวัฒนธรรมองคก์ รของ กทพ. 17 3.3 แผนปฏิบัติการการประเมินคณุ ลกั ษณะวัฒนธรรมองคก์ รของ กทพ. 19 19 4. แบบประเมินคณุ ลักษณะวัฒนธรรมองคก์ รของ กทพ. 20 4.1 องค์ประกอบของแบบประเมนิ 23 4.2 วิธกี ารใชแ้ บบประเมินคุณลกั ษณะวฒั นธรรมองค์กร 25 4.3 วิธกี ารตรวจยนื ยันของผปู้ ระเมินท่ีไดร้ ับแต่งต้ัง 25 27 5. การรายงานผลประเมินคณุ ลักษณะวฒั นธรรมองคก์ รของ กทพ. 28 5.1 ภาพรวมขอ้ มลู ของการประเมิน 34 5.2 ผลการประเมินการรบั ร้แู ละความเข้าใจ 39 5.3 ผลการประเมินการนาพฤตกิ รรมคณุ ลกั ษณะวัฒนธรรมองค์กรไปปฏิบัติ 42 5.4 ผลการวิเคราะห์การประเมนิ คณุ ลกั ษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. 43 5.5 สรุปจดุ เดน่ จุดท่คี วรพัฒนา และขอ้ เสนอแนะ 51 6. ภาคผนวก 6.1 แบบประเมินแบบประเมินผลตามคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของการทางพิเศษ แหง่ ประเทศไทย 6.2 ตัวอย่างการใช้แบบประเมินผลตามคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของการทางพิเศษ แห่งประเทศไทย ข

1. บทนำ 1.1 ควำมเปน็ มำ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) จัดต้ังข้ึนต้ังแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๑๕ ตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี ๒๙๐ ลงวันท่ี ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๑๕ เดิมเป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงมหาดไทย ภายหลังการ ปฏิรูประบบราชการ ต้ังแต่วันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๔๕ ได้มีการโอน กทพ. มาสังกัดกระทรวงคมนาคม และต่อมา ได้มีการปรับปรุงกฎหมายโดยการประกาศใช้บังคับพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (พ.ร.บ. กทพ.) พ.ศ. ๒๕๕๐ มีผลบังคับใช้ ต้ังแต่วันที่ ๙ มกราคม ๒๕๕๑ กทพ. มีอานาจหน้าที่กระทากิจการภายใต้ ขอบเขตวตั ถุประสงคข์ อง พ.ร.บ.กทพ. พ.ศ. ๒๕๕๐ ดงั น้ี ๑) สร้างหรือจัดให้มที างพิเศษดว้ ยวธิ ีใด ๆ ตลอดจนบารงุ และรักษาทางพเิ ศษ ๒) ดาเนินงานหรอื ธรุ กิจเกี่ยวกับทางพิเศษและธุรกิจอื่นท่ีเกี่ยวเน่ืองกับทางพิเศษหรือท่ีเป็นประโยชน์ แก่ กทพ. ปัจจุบันเป็นระยะเวลากว่า 49 ปี ที่ทาง กทพ. มีส่วนในการพัฒนาและสนับสนุนการพัฒนาประเทศ ในด้านการสนับสนุนการขนส่งมาอย่างต่อเน่ือง มีการขยายการให้บริการและระบบงานเพื่อให้บริการ ประชาชนอย่างเต็มศักยภาพ กทพ.เองจะต้องอาศัยพนักงานในการขับเคล่ือนเป้าหมายสู่ความสาเร็จ จึงต้อง อาศัยการรวมศูนย์จิตใจมาผูกรวมกันจากความแตกต่างของบุคคลให้มีเป้าหมายในทิศทางเดียวกันและมีวิถี ชวี ิตในการทางานท่สี อดคล้องกนั สง่ิ นั้นกค็ ือ วัฒนธรรมของ กทพ. น้นั เอง วัฒนธรรมองค์กรเป็นแบบแผนพฤติกรรมที่พนักงานในองค์กรยึดถือเป็นแนวทางในการประพฤติ ปฏิบัติมีพื้นฐานมาจากค่านิยม ความเช่ือ และความคาดหวังท่ีผู้ปฏิบัติงานในองค์กรมีร่วมกัน จึงเป็นปัจจัย สาคัญทีน่ าไปสู่ประสิทธผิ ลขององค์กร เนอ่ื งจากเปน็ กลไกท่ีมีผลต่อพฤติกรรมการทางานของพนักงานและเป็น ปัจจัยที่นาไปสู่ผลการดาเนินงานขององค์กร โดยในการเปล่ียนแปลงและพัฒนาวัฒนธรรมองค์กรมีปัจจัยแห่ง ความสาเร็จ คือ ผู้บริหารและพนักงานจะต้องอาศัยการสนับสนุนท้ังในรูปแบบ Top-Down Approach และ Bottom-Up Support ประกอบด้วย แรงสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง ความเข้าใจและความรู้สึกของ พนักงานถึงการมีส่วนร่วมต่อเป้าหมายขององค์กร ประสิทธิภาพในการสื่อสารกับพนักงานทุกระดับช้ัน ระบบงานและกระบวนการทางานท่ีเอื้อต่อวัฒนธรรมองค์กรที่สามารถสร้างแรงจูงใจ และจะต้องดาเนินการ อย่างตอ่ เนือ่ งในระยะยาว ปัจจุบันการบริหารองค์กรในยุคดิจิทัลมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งในเร่ืองนโยบายรัฐบาล เศรษฐกิจ สังคม การเมือง และโดยเฉพาะการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีที่มีอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ กทพ. จะต้องปรับทิศทางและกลยุทธ์ ท่ีต้องรองรับการเปล่ียนแปลงและความท้าทายท่ีต้องเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร ภาครัฐที่ต้องสนับสนุนใหป้ ระเทศไทยสามารถแข่งขันกับโลกภายนอก กทพ. จึงได้ทาการศึกษาทิศทางองค์กร ใหม่ และจดั ทาแผนวิสาหกิจ ปงี บประมาณ ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ มีการปรับทิศทางองคก์ รของ กทพ. ดงั น้ี วสิ ยั ทศั น์ (Vision) องคก์ รนวตั กรรมเพื่อการเดินทางและคณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ขี ึน้ (Innovation for better drive and better life)

ภำรกิจ (Mission) (๑) จัดให้มี พฒั นา/ปรบั ปรงุ ทางพิเศษให้เปน็ ไปตามมาตรฐานและปลอดภยั (๒) บรกิ ารอย่างมีนวัตกรรมและคุณค่าเพ่ิม (๓) บรหิ ารจัดการสินทรพั ย์อย่างมปี ระสิทธภิ าพ เพ่อื เสรมิ สรา้ งศักยภาพการดาเนนิ ธรุ กิจทาง พเิ ศษและประโยชนต์ ่อสังคม (๔) พัฒนาระบบการบริหารจัดการและการลงทุนเพื่อเพิ่มมูลคา่ องค์กร ค่ำนยิ ม (Value) “บริการที่ดี พฒั นาก้าวไกล ภาพลกั ษณ์ใสสะอาด” วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ ยุทธศำสตร์ (Strategic Objective :SO) แบ่งเปน็ ๔ ประเดน็ ดงั นี้ (๑) ยกระดับโครงข่ายและการให้บรกิ ารทางพิเศษด้วยเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม (๒) เพมิ่ ศักยภาพในการใช้สนิ ทรพั ย์ และพัฒนาธุรกจิ เชงิ พาณิชย์ (๓) สร้างความย่งั ยืนต่อผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย (๔) พลกิ โฉมการบริหารจดั การเพอ่ื รองรบั การเปลีย่ นแปลง ยุทธศำสตร์กำรดำเนินงำน ปงี บประมำณ ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ ประกอบด้วย ๙ ยทุ ธศาสตร์ ไดแ้ ก่ (๑) การเสริมสร้างความม่นั คงของระบบโครงข่ายดว้ ยเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม (๒) การส่งเสรมิ นวตั กรรมในการให้บรกิ าร (๓) การสร้างความผูกพันกับลกู คา้ (๔) การแสวงหาโอกาสในการใช้สินทรัพย์ และการลงทนุ ธรุ กจิ เชงิ พาณชิ ย์ (๕) การสง่ เสรมิ ภาพลักษณอ์ งคก์ รสกู่ ารเติบโตอย่างยัง่ ยืน (๖) การยกระดบั การตอบสนองตอ่ กลมุ่ ผูม้ สี ่วนได้สว่ นเสยี (๗) การสง่ เสรมิ และพัฒนาขดี ความสามารถด้วยเทคโนโลยีเพือ่ การขบั เคลื่อนองค์กรอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ (Digital Transformation) (๘) การยกระดับระบบจดั การนวตั กรรมองคก์ ร (Corporate Innovation System : CIS) (๙) การพลิกโฉมการบริหาร และศักยภาพของทุนมนษุ ย์เพ่ือรองรับการเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมองค์กรมีความสาคัญเป็นอย่างมากเน่ืองจากเป็นรากฐานการกาหนดพฤติกรรม เป็นแบบ แผนสาหรับการประพฤติปฏิบัติหรือพฤติกรรมในการทางาน การอยู่ร่วมกันของคนในองค์กร ซ่ึงเป็นส่วน สนบั สนนุ ใหอ้ งค์กรสามารถปฏบิ ตั ิงานไดบ้ รรลวุ สิ ยั ทัศน์ พันธกจิ และเป้าหมายขององค์กร ด้วยเหตุผลดงั กล่าว กทพ. จึงได้มีการทบทวนวัฒนธรรมองค์กรใหม่ท่ีมุ่งเน้นพฤติกรรมความคิดสร้างสรรค์ให้สอดรับกับบริบทของ กทพ. และพร้อมรองรบั การเปล่ยี นแปลงในปจั จุบันและอนาคต 1.2 กรอบกำรทบทวนวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. การศึกษาทิศทางและแผนกลยุทธ์ใหม่ของ กทพ. โดยทิศทางใหม่ดังกล่าวมีคาท่ีสาคัญ (Keyword) คือ การบริการ ความผูกพันกับลูกค้า นวัตกรรม เทคโนโลยีดิจิทัล การลงทุนเชิงพาณิชย์ ภาพลักษณ์องค์กร และการตอบสนองผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซ่ึงคาสาคัญเหล่านี้จะมีผลต่อการพิจารณาตัดสินใจกาหนดวัฒนธรรม องค์กรใหม่ของ กทพ. เพื่อให้ได้วัฒนธรรมที่สอดคล้องกับทิศทางขององค์กรตามแผนวิสาหกิจ ปีงบประมาณ ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ จึงกาหนดให้มีการทบทวนวัฒนธรรมองค์กรใหม่ให้สอดคล้อง โดยมีกรอบการทบทวน ดัง ภาพที่ 1.1 2

ภำพท่ี 1.1 กรอบการทบทวนวฒั นธรรมองคก์ รของ กทพ. ตามแผนวิสาหกิจ ปงี บประมาณ ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ 1.3 วฒั นธรรมองค์กร กทพ. หลังจากรวบรวม และสรุปประเด็นที่สาคัญเพ่ือนามาใช้เป็นกรอบการทบทวนวัฒนธรรมองค์กรใหม่ ของ กทพ. ตามกระบวนการกาหนดวัฒนธรรมองค์กรใหม่ของ กทพ. สามารถกาหนดคา (ภาษาองั กฤษ) ทีเ่ ป็น คาบง่ ช้ถี งึ ความหมายของประเด็น เป็นคาท่ีสวย งา่ ยต่อการจดจา ง่ายต่อการทาความเข้าใจ และสามารถนาไป ปฏบิ ัติจรงิ ได้ และนาอกั ษรภาษาอังกฤษตัวแรกของแต่ละคา มาเรียงร้อย โดยคานงึ ถงึ ความสอดคล้อง สามารถ สะกดคาได้ เมื่อรวมกันแล้วสามารถอ่านออกเสยี งได้งา่ ย มคี วามหมายที่ดี และบ่งชีถ้ งึ องค์กรได้ คอื SMART EXAT โดยประกอบด้วยคา ความหมายของคา และนยิ ามของคา ดังน้ี S = Service Excellence : การบรกิ ารทีเ่ ป็นเลิศ M = Move toward Innovation : การขับเคลอื่ นองคก์ รด้วยนวัตกรรม A = Able to work with Digital Solution : ความสามารถทางานโดยใช้ดจิ ทิ ลั โซลชู ั่น R = Ready to Change with Teamwork : ความพร้อมรับการเปลย่ี นแปลงดว้ ยการทางานเปน็ ทีม 3

T = Transparency : ความโปรง่ ใสตามหลกั ธรรมาภิบาล EXAT = EXAT Identities : อตั ลักษณ์ของคน กทพ.เป็นคนที่ “มุ่งมนั่ บรกิ าร สร้างสรรค์ส่คู วามเป็นเลิศ” โดยมีสัญลักษณ์ของวัฒนธรรมองค์กร เพื่อให้การส่ือสารวัฒนธรรมองค์กร SMART EXAT สามารถ สร้างการรับรู้ และความสามารถในการจดจาให้แก่บุคลากรใน กทพ. ได้ง่ายขึ้น จึงได้ออกแบบสัญลักษณ์ วัฒนธรรมองคก์ ร SMART EXAT ดงั ภาพที่ 1.2 ภำพที่ 1.2 สัญลกั ษณ์ SMART EXAT ในการสอ่ื สารประชาสมั พันธ์ และสง่ เสริมวัฒนธรรมองค์กร 4

2. วฒั นธรรมองคก์ ร กทพ. 2.1 วฒั นธรรมองค์กร ปัจจุบันเป็นระยะเวลากว่า 49 ปี ภายใต้การบริหารองค์กรในยุคดิจิทัลมีการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็ว ทง้ั ในเรอื่ งนโยบายรัฐบาล เศรษฐกจิ สังคม การเมือง และโดยเฉพาะการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยีที่ มีอย่างต่อเน่ือง ส่งผลให้ กทพ. จะต้องปรับทิศทางและกลยุทธ์ บนความท้ายทายกับทิศทางองค์กรใหม่ และ จัดทาแผนวิสาหกิจ ปีงบประมาณ ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ ที่มีการปรับเปล่ียนวิสัยทัศน์อีก 5 ปีข้างหน้า กทพ. จะสู่ “องค์กรนวตั กรรมเพอ่ื การเดินทางและคุณภาพชวี ิตที่ดขี ึ้น (Innovation for better drive and better life)” ทีย่ ดึ คา่ นิยมท่วี ่า “บริการที่ดี พัฒนาก้าวไกล ภาพลกั ษณ์ใสสะอาด” วัฒนธรรมองค์กรเดิมจึงไม่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ท่ีมีการปรับเปล่ียนใหม่ จึงได้ทาการทบทวน ตาม กระบวนการกาหนดวัฒนธรรมองค์กรใหม่ของ กทพ. ท่ีเป็นคาบ่งชี้ถึงความหมายของประเด็น เป็นคาท่ีสวย ง่ายต่อการจดจา ง่ายต่อการทาความเข้าใจ และสามารถนาไปปฏิบัติจริงได้ วัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ใหม่ ได้กาหนดเป็นคาใหม่ ดังภาพท่ี 2.1 ภาพที่ 2.1 ความหมายของคา ในวฒั นธรรมองคก์ ร SMART EXAT

ความหมายของคาในวัฒนธรรมองค์กร SMART EXAT แตล่ ะตัวอักษร ไดแ้ ก่ S = Service Excellence (การบรกิ ารท่เี ปน็ เลิศ) การบรกิ ารด้วยการเอาใจใส่ ชว่ ยเหลืออานวยความ สะดวก และกระตือรอื ร้นในการใหบ้ ริการลกู ค้าและผรู้ ่วมงาน รวมถึงการเสนอแนวทางการพัฒนาการบรกิ าร M = Move toward Innovation (การขับเคลื่อนองค์กรด้วยนวัตกรรม) กล้าคิด กล้าทา และกล้า นาเสนอสิ่งใหม่ท่ีสร้างสรรค์เพื่อให้เกิดการพัฒนาการบรกิ าร และแนวทางการดาเนินงานท่ีสามารถปฏบิ ัติจริง ได้ A = Able to work with Digital Solution (ความสามารถทางานโดยใช้ดิจิทัลโซลูชั่น) การพัฒนา ตนเองใหส้ ามารถเรียนรู้ และมีความพร้อมในการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการแก้ปัญหา หรือเพิม่ ประสิทธภิ าพใน การทางาน R = Ready to Change with Teamwork (ความพร้อมรับการเปล่ียนแปลงด้วยการทางานเป็นทีม) ร่วมผนึกกาลังและความสามารถ เพื่อสร้างความเป็นหน่ึงเดียวด้วยการทางานที่สอดประสานร่วมมือกันในทุก ระดบั ทั่วทง้ั องคก์ ร เพ่อื รองรบั กับการเปลี่ยนแปลงในทกุ สถานการณ์ T = Transparency (ความโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาล) ปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความถูกต้อง สุจริต ยตุ ธิ รรม สามารถตรวจสอบได้ มคี วามรับผดิ ชอบตอ่ การกระทา ใหค้ วามร่วมมอื ในการประพฤตปิ ฏบิ ัติตามตาม กฎระเบียบ วัฒนธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของ กทพ. ดว้ ยความเตม็ ใจ EXAT = EXAT Identities (อัตลักษณ์ของคน กทพ.) เป็นคนที่ “มุ่งม่ันบริการ สร้างสรรค์สู่ความเป็น เลิศ” การเชือ่ มโยงวฒั นธรรมองค์กร SMART EXAT กับคา่ นิยม (Value) ตามทแ่ี ผนวิสาหกิจ ปีงบประมาณ ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ ของ กทพ. ยังคงกาหนดค่านิยม (Value) ตามค่านิยมเดิมของ กทพ. คือ “บริการท่ีดี พัฒนา กา้ วไกล ภาพลักษณ์ใสสะอาด” ซง่ึ สามารถเช่อื มโยงกบั วัฒนธรรมองค์กร ดังภาพที่ 2.2 ภาพที่ 2.2 การเชือ่ มโยงวฒั นธรรม SMART EXAT กบั คา่ นิยม ของกทพ. 6

วัฒนธรรมองค์กร SMART EXAT ของ กทพ. ยังสามารถส่งเสริมการขับเคล่ือนความสาเร็จของการบริหาร รัฐวิสาหกิจ ตามระบบประเมินผลรัฐวิสาหกิจ State Enterprise Assessment Model : SE - AM โดย พิจารณาจากเกณฑ์การประเมินผลการดาเนินงานรัฐวิสาหกิจ (ฉบับปรับปรุง ปี ๒๕๖๕) วัฒนธรรม SMART EXAT มีความสัมพนั ธ์กับเกณฑก์ ารประเมิน ดังภาพที่ 2.3 ภาพที่ 2.3 แสดงความสัมพันธ์ของวัฒนธรรม SMART EXAT กบั เกณฑก์ ารประเมินผลรัฐวสิ าหกิจ 7

2.2 พฤติกรรมทพ่ี ึงประสงคแ์ ละไมพ่ งึ ประสงคข์ องวัฒนธรรมองค์กร การเสริมสร้างให้เกิดวัฒนธรรมองค์กร SMART EXAT ของ กทพ. ให้สาเร็จจาเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้อง ไดร้ บั ความร่วมมือ ร่วมใจของบุคลากรทกุ ระดบั ช้ันของ กทพ. ในการปรบั เปลี่ยนท้ังแนวความคิด แนวทางการ ปฏิบัติงาน ซ่ึงจะแสดงออกมาให้เห็นเป็นพฤติกรรมในการทางานของบุคลากรในทุกระดับช้ัน และเพ่ือให้ง่าย ต่อการปรับพฤติกรรมให้สอดรับกับวัฒนธรรมองค์กรใหม่น้ัน กทพ.จะต้องจาแนกพฤติกรรมที่พึงประสงค์และ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ เพ่ือกระตุ้นเตือนให้บุคลากรได้รับรู้และปรับเปล่ียนพฤติกรรมให้เป็นไปตาม พฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ และพยายามลด ละ เลิก พฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์ จนกลายเป็นวัฒนธรรมองค์กร ใหม่ตามทกี่ าหนด โดย พฤติกรรมทีพ่ งึ ประสงค์ คือ วฒั นธรรมท่ีช่วยให้การดาเนนิ งานขององค์กรเป็นไปตามเป้าหมายท่ีวางไว้ พฤตกิ รรมท่ีไม่พงึ ประสงค์ คอื วฒั นธรรมทีไ่ ม่ช่วยให้การดาเนินงานขององค์กรเปน็ ไปตามเป้าหมายท่ี ได้วางไว้ การจาแนกพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ และพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของวัฒนธรรมองค์กร SMART EXAT ของ กทพ. ในแตล่ ะด้านดงั น้ี S: Service Excellence (การบริการที่เป็นเลศิ ) นิยาม : การบริการด้วยการเอาใจใส่ ช่วยเหลืออานวยความสะดวก และกระตือรือร้นในการให้บริการลูกค้า และผ้รู ว่ มงาน รวมถึงการเสนอแนวทางการพัฒนาการบริการ พฤตกิ รรมที่พึงประสงค์ พฤติกรรมที่ไม่พงึ ประสงค์ ๑. เตรียมความพร้อมทั้งทางร่างกายและจิตใจก่อน ๑. ขาดความกระตือรือร้น ไม่เตรียมความพร้อมใน การใหบ้ รกิ ารทกุ ครั้ง การให้บริการลกู คา้ ๒. มีพฤติกรรมในการใหบ้ รกิ ารท่ีแสดงออกถึงความ ๒. แสดงกริยาไมส่ ุภาพ ใชค้ าพดู ทไ่ี ม่ใหเ้ กยี รติลูกค้า ตั้งใจ เอาใจใส่ และมีความจริงใจต่อลูกค้าและ และผ้รู ว่ มงาน ผ้รู ว่ มงาน ๓. ให้บรกิ ารไมเ่ ทา่ เทียมกนั เลอื กปฏิบัติ และมอี คติ ๓. มีความอดทน อดกลั้น สามารถเก็บอารมณ์ ๔. ไม่ให้ความสาคัญต่อข้อเสนอแนะ ข้อร้องเรียน ในขณะให้บรกิ ารได้ ของลูกค้าและผรู้ ่วมงาน ๔. มีความสามารถในการส่ือสารที่ดี ด้วยการใช้ ๕. ไม่ใฝ่หาความรู้ในเร่ืองเทคโนโลยี และเทคนิค ภาษาท่ีง่าย ใช้อากัปกิริยาท่ีเหมาะสม (ยิ้ม ใช้ การบริการ เพ่ิมเตมิ ศรีษะ ใช้สายตา และมือ) และสรุปหาแนว ๖. ไม่สามารถให้ข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับงานในหน้าท่ี ทางการให้บริการ หรอื ช่วยเหลือทีด่ ี ของตนแก่คนในองคก์ ร และลูกคา้ ผูร้ ับบริการได้ ๕. มีทกั ษะในการฟงั เพ่อื นาขอ้ มูลไปใชใ้ นการแก้ไข ๗. ประสานงานล่าช้า เลือกปฏิบัติ ไม่เห็นปัญหา ปรบั ปรงุ และพฒั นาการบรกิ ารใหด้ ขี ึน้ กว่าเดิม จากมุมมองของผู้มาติดต่อประสานงานหรือ ๖. ช่างสังเกต และสามารถรวบรวมข้อมูลจากการ ผูใ้ ช้บริการ สังเกตมาวิเคราะห์ความต้องการที่แท้จริงของ ๘. ปัดภาระ รวมถึงปิดบังข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อ ลูกค้าหรือผู้รับบริการ เพ่ือนามาพัฒนาแนว ผู้มาติดต่อประสานงานหรือผู้ใชบ้ ริการ ทางการบริการท่ีตรงต่อความต้องการได้อย่าง ตอ่ เนอ่ื ง ๗. คดิ หาวิธกี าร แนวทางในการปรับปรุง กระบวนการทางานเพอ่ื พฒั นาคุณภาพของการ บรกิ าร อยเู่ สมอ 8

พฤติกรรมที่พึงประสงค์ พฤตกิ รรมท่ไี ม่พงึ ประสงค์ ๘. ตดิ ตามประสานงานจนทาให้ผู้มาติดตอ่ ประสานงานหรือผูใ้ ช้บริการได้รับขอ้ มลู หรือ ผลสาเร็จตามทต่ี ้องการ ๙. สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในมาช่วยในการ บรกิ ารใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพและคณุ ภาพมากย่ิงขนึ้ ๑๐.สามารถจดั การความเส่ยี งในการใหบ้ รกิ ารได้ อยา่ งเหมาะสม M: Move toward Innovation (การขบั เคลื่อนองค์กรดว้ ยนวตั กรรม) นิยาม : กล้าคิด กล้าทา และกล้านาเสนอส่ิงใหม่ท่ีสร้างสรรค์เพ่ือให้เกิดการพัฒนาการบริการ และแนวทาง การดาเนนิ งานที่สามารถปฏบิ ตั ิจรงิ ได้ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ พฤตกิ รรมทไี่ ม่พึงประสงค์ ๑. ชอบการเรยี นรู้ แสวงหาความรใู้ หม่ ๆ เพ่มิ เติม ๑.ทางานดว้ ยความรู้เดิม ตามกรอบวธิ กี ารเดิมตาม อยูต่ ลอดเวลา มีความกระตอื รอื รน้ ทจี่ ะพฒั นา ประสบการณ์เดิม ไมป่ รบั ใหท้ ันกบั สถานการณ์ ตนเองอยา่ งสม่าเสมอ ต่าง ๆ ทเ่ี ปลยี่ นแปลงไป ๒. เปดิ รบั ความรูแ้ ละทักษะใหม่ๆ ทเ่ี ก่ียวข้องกับงาน ๒.เชอื่ ม่ันวา่ ตนเองมคี วามรู้ความสามารถสูงไม่ และพฒั นาตนเองให้มีความรู้ความสามารถใน เปดิ รับความรู้ใหม่และหลีกเล่ียงการเข้ารบั การ เรื่องต่าง ๆ เหลา่ นั้น อบรมสมั มนาตา่ ง ๆ ๓. มีความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะหใ์ นเร่ืองท่ีดี ๓.ท่มุ เทกับการทางานที่ไม่เกดิ ประโยชน์ มีประโยชน์ กลา้ คิดนอกกรอบ กล้าแสดงความ ๔.รกั ษาความร้เู ฉพาะด้านไว้เป็นความลบั อยู่กับ คดิ เห็นท่ีแตกตา่ ง ตนเองไมถ่ ่ายทอดให้คนอื่นรู้ ๔. สามารถนาความรู้มาสรา้ งความคิด (Idea ๕.ตดั สนิ ใจอย่างรวดเรว็ ตามสัญชาตญาณโดยไม่มี Generation) ทส่ี รา้ งสรรคเ์ พอ่ื หาแนวทางในการ ขอ้ มลู ประกอบการพจิ ารณาที่เพยี งพอ ทางานใหม่ ๆ หรือพฒั นาธุรกิจใหม่ ๆ ให้แก่ ๖.มคี วามคิดสร้างสรรคห์ ลากหลายแตไ่ ม่ประยุกต์ องค์กร ความคิดให้เกิดผลในทางปฏบิ ัติ ๕. มีความสามารถคดิ วเิ คราะห์ประเด็นที่เกี่ยวข้อง ๗.ไมแ่ สดงความคิดเห็น และไม่กลา้ นาเสนอสง่ิ ใหม่ กบั การทางานและสามารถตัดสินใจแกไ้ ข ทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ องค์กร สถานการณเ์ ฉพาะหนา้ ได้ ๘.ไมเ่ ปดิ โอกาสให้คนอน่ื แสดงความคิดเหน็ และ ๖. กล้าเสนอแนวความคดิ ทเี่ ป็นประโยชน์อยา่ ง ครอบงาความคดิ เห็นของผู้อืน่ อิสระ ในเรื่องทีส่ ามารถนาไปพฒั นาเพ่ือให้เกดิ ส่ิง ๙.ไม่สามารถบรรยายถ่ายทอดในเรื่องที่เกีย่ วกบั งาน ใหม่ทส่ี อดคล้องกบั ทิศทางการดาเนนิ งานของ ในหนา้ ทข่ี องตนเองได้ ไมส่ ามารถให้ข้อมลู หรอื องค์กร ความเห็นทเ่ี ป็นประโยชน์ได้ ๗. สามารถนาเสนอ ชักจงู ให้บคุ คลอน่ื รว่ มมือหรอื ๑๐. ไมส่ ามารถใหข้ ้อมูลหรอื ความเห็นทเ่ี ปน็ เห็นชอบในกระบวนการทางาน หรอื ธรุ กจิ ทีค่ ิด ประโยชน์ได้ ข้นึ ใหม่ ๘. สามารถทาให้ความคิดสร้างสรรค์เกดิ เปน็ นวตั กรรมทีเ่ ปน็ จรงิ ได้ด้วยการผลติ ตวั ตน้ แบบ 9

พฤตกิ รรมที่พงึ ประสงค์ พฤติกรรมท่ไี ม่พึงประสงค์ (Prototype) หรอื ทดลองปฏิบัตติ ามวธิ กี ารที่ คิดคน้ ขึน้ ใหม่ ๙. สามารถถ่ายทอดแบง่ ปันความรู้ใหก้ บั ผ้รู ่วมงาน แลกเปลย่ี นความรูค้ วามถนัดกับผรู้ ้ดู ้านอ่นื ๆ เพือ่ ให้เกิดการร่วมมือกันในการสร้างนวัตกรรมใน การขบั เคลื่อนองค์กร ๑๐. สามารถจัดการความเส่ยี งในด้านนวัตกรรม ได้อยา่ งเหมาะสม A: Able to work with Digital Solution (ความสามารถทางานโดยใช้ดจิ ทิ ลั โซลูชั่น) นิยาม : การพัฒนาตนเองให้สามารถเรียนรู้ และมีความพร้อมในการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการแก้ปัญหา หรือ เพิม่ ประสทิ ธภิ าพในการทางาน พฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ พฤติกรรมท่ีไม่พงึ ประสงค์ ๑. ใชข้ อ้ มูล หรือขอ้ เท็จจรงิ ในการปฏิบัตงิ าน ๑. ไม่สนใจเรียนรู้ หรือศกึ ษาเก่ียวกับเทคโนโลยี ๒. ตัดสินใจเรอื่ งตา่ ง ๆ ท่มี ีความสาคัญได้บนพน้ื ดิจทิ ัล ฐานขอ้ มลู (Fact-based Management) ๒. ไม่เปดิ ใจยอมรับเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลที่จะนามาใชใ้ น ๓. รวบรวมและจดั ระเบยี บขอ้ มูลหรอื องคค์ วามรทู้ ี่ การปฏบิ ตั งิ าน สาคญั เพื่อให้ง่ายตอ่ การนาไปใช้ประโยชน์ ๓. ไมส่ ามารถเข้าถึงและใช้งานเคร่อื งมือดิจิทัลหรือ ๔. เขา้ ถึงและสามารถใช้งานเคร่ืองมือดจิ ิทัลหรอื แอพพลเิ คชัน่ ขน้ั ตน้ สาหรับการทางาน แอพพลิเคชน่ั ข้ันตน้ สาหรบั การทางาน ๔. ไมส่ ามารถใช้เทคโนโลยีดิจทิ ลั เพือ่ ทางานร่วมกัน ๕. สามารถนาเทคโนโลยีดิจทิ ลั มาปรับใช้เพื่อเพม่ิ ได้ ประสทิ ธภิ าพในการทางาน ๕. ไมส่ นใจศึกษาและทาความเข้าใจ เก่ียวกบั ๖. สามารถใชโ้ ปรแกรมดจิ ิทลั เพ่ือการวเิ คราะห์ นโยบาย กฎหมาย รวมถึงมาตราฐานท่เี กี่ยวกับ ข้อมลู สาหรับงานประจา เทคโนโลยดี ิจิทัล ๗. สามารถใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพ่ือการทางาน ๖. ไม่ใหค้ วามสาคญั ในเรอ่ื งความเส่ียงทางดา้ น รว่ มกันได้ เทคโนโลยีดิจทิ ลั ๘. สามารถปรับใช้เทคโนโลยเี พ่ือพัฒนางานให้เกิด ๗. การใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัลในทางทที่ าให้เกดิ ความ ประสทิ ธผิ ล เสยี หายตอ่ องคก์ ร ๙. สามารถใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั สรา้ งกระบวนการ ใหม่ในการพัฒนางานได้อยา่ งต่อเน่ือง ๑๐. สามารถจัดการความเส่ยี งในเรือ่ งเทคโนโลยี ดิจิทัลไดอ้ ย่างเหมาะสม ๑๑. ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย กรอบธรรมาภิบาล (Governance Framework) และหลักปฏิบัติ (Principles) ทดี่ ีดา้ นเทคโนโลยีดิจิทลั 10

R: Ready to Change with Teamwork (ความพรอ้ มรบั การเปล่ียนแปลงด้วยการทางานเปน็ ทีม) นิยาม : ร่วมผนึกกาลังและความสามารถ เพ่ือสร้างความเป็นหน่ึงเดียวด้วยการทางานท่ีสอดประสานร่วมมือ กันในทกุ ระดบั ทว่ั ทง้ั องคก์ ร เพอ่ื รองรับกับการเปลี่ยนแปลงในทกุ สถานการณ์ พฤติกรรมที่พงึ ประสงค์ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ๑. ติ ด ต า ม ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร ใ ห้ ทั น ต่ อ ก า ร ๑. ไม่สนใจเรียนรู้ และศึกษาหาข้อมูลท่ีมีประโยชน์ เปลยี่ นแปลงทงั้ ภายในและภายนอกองคก์ ร เพ่มิ เตมิ ๒. พร้อมเรียนรู้และสามารถปรับตัวได้ทันกับ ๒. ไม่ใส่ใจเป้าหมายหรือสถานการณ์ที่เปล่ียนแปลง สถานการณ์การเปล่ียนแปลงที่เกิดในปัจจุบัน ไป ยังคงทางานทีเ่ คยทาโดยไม่ปรับตัว และแนวโนม้ ในอนาคต ๓. ละเลยหน้าท่ีความรับผิดชอบและเป้าหมายของ ๓. สนุกกับการทางาน มีมุมมองการปฏิบัติงานท่ี ตนเอง และส่วนรวม เปน็ บวก (Positive Thinking) ๔. ยึดถือความคิดของตัวเองเป็นหลัก ไม่ให้เกียรติ ๔. มีความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเองว่ามี และไมร่ บั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผ้อู ืน่ ส่วนสาคัญต่อทีมอย่างไรและต้ังใจปฏิบัติหน้าที่ ๕. โยนความผิดให้ผู้อื่น กล่าวโทษซ่ึงกันและกันเมอ่ื เพอื่ ความสาเรจ็ ของทมี เกดิ ข้อผดิ พลาด ๕. มีเป้าหมายของการทางานร่วมกัน และร่วมมือ ๖. ให้ความสาคัญเฉพาะผู้บังคับบัญชาหรือผู้ท่ี กันในการกาหนดแนวทางในการทางาน เพื่อให้ สามารถใหป้ ระโยชนห์ รอื ใหค้ ุณและโทษเทา่ นนั้ บรรลเุ ป้าหมาย ๗. ให้ความสาคัญต่อผลสาเร็จของงานโดยไม่สนใจ ๖. รับฟังความคิดเห็น แบ่งปัน และแลกเปลี่ยน ความสัมพันธก์ ับเพ่อื นร่วมงานหรือบคุ คลอื่น เรียนรู้ขอ้ มลู ซึง่ กันและกัน ๘. ไม่ส่ือสารหรือถ่ายทอดข้อมูลที่เกี่ยวกับงานให้ ๗. กล่าวชมเชย ให้กาลังใจ และสนับสนุนเพ่ือให้ ทมี งานทราบ เพอ่ื นรว่ มงานรสู้ กึ มีความสาคัญ ๙. ไม่ปฏิบัติหน้าท่ีในส่วนของตนเองเม่ือทางานเป็น ๘. การช่วยเหลือซึ่งกันและกันภายในองค์กร ทีม สามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อ่ืนทั้งภายในและ ๑๐. มุ่งแข่งขันการทางานกับผู้อ่ืนหรือส่วนงาน ภายนอกส่วนงานอย่างเต็มกาลังความสามารถ อื่นพยายามสร้างความเด่นดังให้ตนเองละเลย ด้วยความเต็มใจ เสยี สละและอดทนเพอ่ื ให้งานท่ี การให้ความร่วมมอื กับบคุ คลอน่ื หรอื สว่ นงานอื่น รับผิดชอบบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ๑๑. เอ้ือประโยชน์ให้กับเพื่อนพ้องหรือคนสนิท รว่ มกนั ของตนเอง ๙. มีความสามัคคี เป็นหน่ึงเดียวกัน ทางานร่วมกัน อย่างเป็นระบบ สามารถคลี่คลาย หรือแก้ไขข้อ ขัดแยง้ ท่เี กิดขึ้นในทีมได้ ๑๐. ให้ความสาคัญในการจัดการความเส่ียงทุก ดา้ นรว่ มกันได้ 11

T: Transparency (ความโปร่งใสตามหลักธรรมาภบิ าล) นิยาม : ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความถูกต้อง สุจริต ยุติธรรม สามารถตรวจสอบได้ มีความรับผิดชอบต่อการกระทา ให้ความร่วมมือในการประพฤติปฏิบัติตามกฎระเบียบ วัฒนธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของ กทพ. ดว้ ยความเต็มใจ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ พฤตกิ รรมท่ไี ม่พึงประสงค์ ๑. มีความรู้ ความเข้าใจในระเบียบวิธีปฏบิ ตั งิ าน ๑. ทุจริต ประพฤติมิชอบในหน้าท่ี และเพิกเฉย ข้อบงั คับ จรรยาบรรณในการทางานของ ตอ่ การประพฤตมิ ชิ อบของผู้อืน่ องค์กร และหลักธรรมาภบิ าล ๒. ไม่ปฏิบัติตามระเบียบวิธีการปฏิบัติงาน ๒. ประพฤติปฏบิ ัติตามกฎ ระเบียบ จริยธรรมและ ขอ้ บังคบั และจรรยาบรรณในการทางาน จรรยาบรรณวชิ าชพี ด้วยความเต็มใจและ ๓. ขโมยผลงานของคนอื่นมาเป็นผลงานของ ปฏบิ ตั ไิ ด้อย่างสมา่ เสมอจนเป็นกจิ วตั รประจา ตนเอง ๓. ทางานดว้ ยความซ่ือสตั ยส์ จุ ริต ไม่มีความคดิ ท่ี ๔. ไม่รักษาผลประโยชน์ขององค์กร เพิกเฉยเม่ือ จะทจุ รติ หรอื คดโกง เหน็ ผู้อนื่ ฉกฉวยผลประโยชนข์ ององคก์ ร ๔. ทางานดว้ ยความโปรง่ ใสสามารถเปดิ เผยขอ้ มลู ๕. ใช้ตาแหน่งหน้าที่เพื่อแสวงหา และเอ้ือ ในการทางานและพร้อมรับการตรวจสอบ ประโยชนใ์ หแ้ ก่ตนเองและพวกพ้อง ๕. รับผดิ ชอบ และเอาใจใสม่ ุ่งมั่นทางานที่ได้ ๖. เบียดบังองคก์ ร ท้ังดา้ นทรพั ยากร และเวลา รบั ผิดชอบใหส้ าเร็จตามวัตถุประสงคอ์ยา่ ง ๗. ดาเนินงานให้บรรลุเป้าหมาย โดยไม่ใส่ใจ ครบถ้วน ถกู ต้อง และตรงต่อเวลา ผลกระทบตอ่ สังคม ๖. กล้านาเสนอข้อมูลทถ่ี กู ต้องและมคี วามเช่ือถือ ๘. นินทาว่าร้าย ตาหนิองค์กรของตนเองให้แก่ ได้ บคุ คลภายนอกรับรู้ ๗. เปิดเผยข้อมูลต่าง ๆ ท่ีชดั เจน เชื่อถอื ได้เพื่อให้ ๙. ละเลยไม่สนใจในการปฏิบัติงานให้เป็นไปตาม ผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสีย และผรู้ บั บริการได้พจิ ารณา เป้าหมายองคก์ ร และใช้ประโยชน์ ๘. ให้ความร่วมมือชว่ ยเหลอื ภารกิจทเ่ี ปน็ ประโยชน์ตอ่ สังคม ๙. รักษาผลประโยชน์ขององคก์ ร และปกป้อง ข้อมูลท่ีเป็นความลับขององค์กร ๑๐.รักและผูกพันกับองค์กร และร่วมสง่ เสริม ภาพลักษณ์ทด่ี ใี หแ้ ก่องค์กร ๑๑. ให้ความสาคญั กบั การประเมินความเสย่ี ง ตามหลกั ธรรมาภบิ าล และความเสีย่ งต่อการ ทุจริตประพฤติมิชอบของการปฏิบัติหน้าที่/การ ดาเนนิ งานใด ๆ รวมท้งั กาหนดแนวทางเพ่ือ ป้องกนั หรือลดความเสยี่ งน้นั 12

3. การตดิ ตามและประเมนิ ผล การติดตามและประเมินผลคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. นับว่าเป็นเร่ืองสาคัญเนื่องจาก วัฒนธรรมองค์กรเป็นกลไกท่ีสาคัญในการกาหนดพฤติกรรมในการทางานของบุคลากรเพื่อให้องค์กร กทพ. สามารถดาเนนิ การสูก่ ารบรรลุวสิ ัยทัศน์ ผลการสง่ เสริมกจิ กรรมในการพฒั นาคณุ ลักษณะวฒั นธรรมองค์กรของ กทพ. จะกระทบกับการดาเนินงานขององค์กรในหลายมิติข้ึนอยู่กับภารกิจของแต่ละหน่วยงานที่ได้รับ การ ติดตามและประเมินผลจึงถือว่าเป็นเคร่ืองมือที่สาคัญในการวัดสัมฤทธิ์ผล (Achievement) ของการส่งเสริม การพัฒนาคณุ ลักษณะวฒั นธรรมองค์กร กทพ. เป็นกลไกท่ีสะทอ้ นให้เห็นถึงความสาเรจ็ หรือความลม้ เหลวของ การดาเนินกจิ กรรมตามแผนพัฒนาคุณลกั ษณะวฒั นธรรมองค์กรของ กทพ. การดาเนินการติดตามและประเมินผลเป็นกระบวนการรวบรวมข้อมูลที่เป็นสาระตาม คุณลักษณะ พฤติกรรมที่กาหนดจากคุณลักษณะวฒั นธรรมองค์กร เพื่อนามาพิจารณาตัดสนิ คุณค่าของผลการดาเนินงานท่ี เทียบกับเป้าหมายที่กาหนดไว้ และเพื่อนาผลที่วิเคราะห์มาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาและปรับปรุงการ ดาเนินงานส่งเสริมของหน่วยงาน โดยมีรายละเอียดของกระบวนการติดตามและประเมินผลดงั น้ี 3.1 รูปแบบกระบวนการตดิ ตามและประเมินผล วัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ภายใต้คาที่ว่า SMART EXAT ถูกกำหนดขึ้นมำจำกกำรทบทวนและ เปลี่ยนแปลงตำมเพื่อให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ที่มีการปรับเปลี่ยนใหม่ ซ่ึงวัฒนธรรมองค์กรไม่ใช่เพียงแค่เป็น คาที่สวยงาม แต่จะต้องสะท้องถึงคุณลักษณะบุคลากรในองค์กรที่แสดงออกในเชิงพฤติกรรม เพื่อให้ทราบถึง สถานะของคุณลักษณะในเชงิ พฤติกรรมในการทางานของบุคลากรในทุกระดับชั้นเปน็ ไปตามเป้าหมายท่ี กทพ. กาหนดไวห้ รือไม่ เน่ืองจาก กทพ. มีบคุ ลากรจานวนมากและมีภารกจิ ท่แี ตกต่างกนั ไป จงึ ต้องมีการบริหารจัดการในการ ติดตามและประเมินผลคุณลักษณะของวัฒนธรรมองค์กร กทพ. ที่มีประสิทธิภาพ ด้วยการดาเนินตาม กระบวนการติดตามและประเมินผล โดยมีรูปแบบของกระบวนการและข้ันตอนในการดาเนินการ ตามภาพท่ี 3.1 รูปแบบกระบวนการติดตามและประเมินผลคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. จะมีข้ันตอน ทง้ั ส้นิ 8 ขั้นตอน โดยมรี ายละเอียด ดงั น้ี ขั้นตอนที่ 1 แต่งต้ังคณะกรรมการประเมินฯ ในแต่ละปีงบประมาณ กทพ. จะต้องแต่งต้ังตัวแทนฝา่ ย บรหิ ารทกุ ฝา่ ย ใหม้ ีหน้าที่จัดทาแผนการประเมินผลคุณลักษณะวฒั นธรรมองค์กรของ กทพ. เสนอรปู แบบและ วิธีการประเมิน เสนอรายชื่อผู้ประเมิน ดาเนินการจัดการประเมิน รวบรวมผลการประเมิน วิเคราะห์ผลการ ประเมนิ สรปุ ผลการประเมนิ และรายงานผลการประเมิน ขั้นตอนที่ 2 คณะกรรมการประเมินฯ ทาการประชุมเพื่อศึกษาคู่มือ วิธีการประเมิน และเป้าหมาย การประเมิน เพ่อื ทบทวนวธิ ีการประเมนิ ในแตล่ ะปงี บประมาณ เสอนตอ่ ผบู้ ริหาร กทพ. อนุมตั ิ ข้ันตอนท่ี 3 คณะกรรมการประเมินฯ จัดการประชุมเพื่อจัดทาแผนการประเมิน และจัดทารายชื่อผู้ ประเมิน เพอื่ เสนอผู้บริหาร กทพ. แตง่ ตง้ั และประชาสมั พนั ธ์ไปยังหน่วยงานภายในรบั ทราบ ข้ันตอนท่ี 4 จัดประชุมผู้ประเมินฯ ประจาปีท่ีได้รับการแต่งต้ัง เพื่อทาการช้ีแจงทาความเข้าใจใน วิธกี ารประเมนิ และการใช้แบบฟอรม์ ประเมนิ ฯ

ภาพท่ี 3.1 แสดงรปู แบบกระบวนการติดตามและประเมนิ ผลคณุ ลกั ษณะวฒั นธรรมองคก์ รของ กทพ. 14

ขน้ั ตอนท่ี 5 ผูป้ ระเมนิ ฯ ทาการลงพื้นท่ีเพ่อื ทาการประเมนิ ตามกาหนดการที่คณะกรรมการประเมินฯ กาหนด ตลอดระยะเวลาของการประเมนิ คณะกรรมการประเมนิ ฯ ทาการติดตามการประเมินและให้ คาปรึกษาแก่ผู้ประเมนิ ฯ ในกรณีท่มี ีปัญหาระหวา่ งการประเมนิ ขัน้ ตอนท่ี 6 รวบรวมข้อมูล คณะกรรมการประเมนิ ฯ ทาการรวบรวมขอ้ มลู และตรวจสอบข้อมลู ที่ได้ จากผู้ประเมนิ ว่าข้อมลู มีความถกู ต้องหรือผดิ ปกติหรอื ไม่ เพื่อดูความนา่ เช่ือถือของข้อมลู ประเมิน ขั้นตอนที่ 7 วเิ คราะหข์ ้อมูล คณะกรรมการทาการวิเคราะหข์ ้อมูลดว้ ยการเปรยี บเทยี บกับเปา้ หมายท่ี กทพ. กาหนด ทาการวิเคราะห์ผลทีไ่ ด้และเสนอแนวทางในการพฒั นาและสง่ เสริมวฒั นธรรมองค์กรให้แก่ หนว่ ยงาน ขั้นตอนที่ 8 สรุปผลและรายงานผลการประเมิน คณะกรรมการจดั การสรุปผลทไี่ ดจ้ ากการประเมนิ และผลการวิเคราะห์ของแตล่ ะหนว่ ยงาน และจดั ทารายงานเสนอผบู้ ริหาร กทพ. เพ่อื ใช้เป็นนโยบายในการ ขับเคลอ่ื นกจิ กรรมส่งเสริมวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ต่อไป 3.2 กระบวนการประเมนิ ผลคณุ ลักษณะของวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. การประเมินผลคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. จะเน้นการประเมินเพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีมีความ น่าเชื่อถือ และทาการตรวจสอบยืนยัน (Verify) คะแนนประเมิน เพื่อให้ผลการประเมินสามารถนาไปใช้ ประโยชน์ในการจัดทากิจกรรมการส่งเสริมวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. บรรลุเป้าหมายต่อไป ดังน้ัน กระบวนการประเมนิ ผลคุณลักษณะวฒั นธรรมองคก์ รของ กทพ. มี 5 ขนั้ ตอน ดังนี้ ข้ันตอนท่ี 1 ศึกษาคู่มือการประเมินฯ พนักงานประเมินตนเองจะต้องทาความเข้าใจกระบวนการ ประเมิน วธิ กี ารประเมิน แบบฟอรม์ การประเมนิ และเกณฑ์การประเมิน เพื่อใหก้ ารประเมินได้ข้อมูลท่ีถูกต้อง และเชอื่ ถอื ได้ ข้ันตอนที่ 2 ขอ้ มลู สถานภาพปจั จุบนั เร่มิ ตน้ จากการท่พี นกั งานนาแบบฟอรม์ การประเมนิ คุณลักษณะ วัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ด้วยการตอบคาถามข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสถานภาพของตนเอง ณ ปีปัจจุบันของ การประเมนิ ใหค้ รบทกุ รายการด้วยความจรงิ ขั้นตอนท่ี 3 ประเมินตนเอง ผู้ประเมินตนเองจะทาการตอบคาถามและให้คะแนนระดับตามเกณฑ์ ของคะแนนที่กาหนดในแบบประเมินระบุไว้ และทาการรวมผลคะแนนและคานวณหาค่าเฉล่ียของคะแนนที่ ประเมินตามสูตรท่ีกาหนด และทาการเปรียบเทียบคะแนนประเมินตนเองกับความคาดหวังท่ีทาง กทพ. กาหนด และดวู ่าผ้ปู ระเมนิ ตนเองมีจดุ เดน่ และจุดที่ควรพฒั นาพฤติกรรมตามคุณลักษณะวฒั นธรรมองค์กรของ กทพ. ในด้านใดเขียนลงในแบบฟอร์ประเมินดังกล่าวจะทาให้ผู้ประเมินตนเองได้ทราบว่าจะต้องปรั บปรุง พัฒนาในด้านใดและส่งกลบั ไปยงั ผบู้ ังคับบัญชาของตนตามกาหนดเวลา ขน้ั ตอนที่ 4 ตรวจสอบยืนยนั ข้อมลู ผปู้ ระเมินทีไ่ ดร้ ับการแตง่ ตั้ง จะทาการสมุ่ แบบประเมินทีพ่ นักงาน ไดท้ าการประเมนิ ตนเองเสร็จแลว้ ตามจานวนและวิธีการสมุ่ ผูป้ ระเมินจะลงพน้ื ที่ในการประเมินดว้ ยการสังเกตุ พฤติกรรม หรือการสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องเพ่ือหาข้อมูลท่ีน่าเชื่อถือได้ และทาการปรับข้อมูลประเมินตาม รายการท่ีระบใุ นแบบฟอร์มเดยี วกนั กับแบบประเมินของพนักงานคนนั้น เพือ่ เป็นการตรวจสอบยืนยัน (Verify) คะแนนผลการประเมนิ ของพนกั งาน ขั้นตอนท่ี 5 สรุปและประเมินผล คณะกรรมการประเมินฯ จะทาการรวบรวมข้อมูลวิเคราะห์จากผู้ ประเมินทัง้ หมดมาแยกรายงานสรุปผลประเมินรายหนว่ ยงาน รายตาแหน่ง และรายชว่ งอายุ และสรุปจุดเด่น และจุดทค่ี วรพฒั นา และ Gap ของคุณลกั ษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ในภาพของ SMART EXAT เสนอ เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมส่งเสริมต่อไป 15

ภาพที่ 3.2 แสดงกระบวนการประเมนิ ผลคณุ ลักษณะวฒั นธรรมองค์กรของ กทพ. 16

3.3 แผนปฏบิ ตั กิ ารการประเมินคุณลักษณะวัฒนธรรมองคก์ รของ กทพ. การประเมินคณุ ลักษณะวฒั นธรรมองค์กรของ กทพ. จะดาเนินการประเมนิ เพ สนิ้ กอ่ นกลางปงี บประมาณของแตล่ ะปี เนื่องจาก กทพ. จะต้องนาผลสรุปไปใช้ในการท ต่อไปงบประมาณในปีถัดไป โดยแผนปฏบิ ตั ิการของการประเมนิ ของแตล่ ะปจี ะมีกรอบ ตารางท่ี 3.1 แผนปฏบิ ตั ิการประจาปีการประเมินคุณลักษณะวัฒนธรรมองคก์ รของ ก กจิ กรรม วตั ถปุ ระสงค์ ผลผลติ ผูร้ แต่งตง้ั คณะกรรมการ เพือ่ ให้ได้ตวั แทนผูบ้ ริหาร คาสั่งแตง่ ตงั้ ฝา่ ย ประเมนิ ฯ ทุกฝา่ ยมสี ว่ นรว่ ม คณะกรรมการประเมิน ทวั่ ไ ฯ ทบทวนและเสนอ เพ่ือทบทวนวิธีการและคา่ ผลสรุปวธิ ีการและค่า คณ วิธกี ารประเมนิ และคา่ เปา้ หมายประเมินทีจ่ ะใช้ เป้าหมายของการ ประ เป้าหมาย ใหเ้ หมาะสมในแตล่ ะปี ประเมนิ เสนอรายชอ่ื ผ้ปู ระเมิน เพ่ือสรรหาผปู้ ระเมินที่ รายชอ่ื ผปู้ ระเมินจาก คณ เพอ่ื แต่งตัง้ เปน็ ตวั แทนแตล่ ะฝ่าย การแตง่ ตัง้ ประ ประชาสัมพันธไ์ ปยัง เพ่ือสรา้ งการรบั รู้เรอ่ื ง ความพร้อมรับการ คณ หน่วยงานและพนักงาน การประเมนิ ใหก้ บั ประเมินของพนักงาน ประ พนกั งานทกุ คน ประชมุ ผปู้ ระเมนิ เพ่ือ เพ่อื ให้ผปู้ ระเมินมคี วาม ผู้ประเมนิ มีความเข้าใจ คณ สรา้ งความเข้าใจวิธกี าร เขา้ ใจวิธีการและ ถึงวธิ กี ารประเมนิ และ ประ ประเมนิ แบบฟอร์มการประเมิน การใชแ้ บบฟอร์ม ประเมิน 17

พื่อดคู วามสาเร็จของกิจกรรมการส่งเสริมวฒั นธรรมองคก์ ร โดยจะดาเนนิ การใหเ้ สรจ็ ทบทวนกลยุทธแ์ ละจดั ทาแผนปฏิบัติการของการสง่ เสริมวฒั นธรรมองค์กรเพ่ือใหท้ นั บของแผนปฏบิ ตั กิ ารฯ ตามตารางที่ 3.1 กทพ. รับผดิ ชอบ 1 2 ระยะเวลาดาเนนิ การ(เมย.-มิย.): สัปดาห์ 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ยบริหาร ไป ณะกรรมการ ะเมินฯ ณะกรรมการ ะเมนิ ฯ ณะกรรมการ ะเมินฯ ณะกรรมการ ะเมนิ ฯ 17

ตารางที่ 3.1 (ต่อ) กิจกรรม วัตถปุ ระสงค์ ผลผลติ ผรู้ บั พนักงานประเมนิ เพ่ือใหพ้ นักงานทาการ ผลการประเมนิ ตนเอง หัวหน ตนเอง ประเมินตนเอง ของพนักงาน ผบู้ ังค ทกุ ห ผปู้ ระเมินทาการ เพื่อใหผ้ ปู้ ระเมนิ ลงพน้ื ท่ี ผลประเมนิ ทีไ่ ด้รับการ ผ้ปู ระ ประเมนิ ตรวจสอบ ตรวจสอบยนื ยันผล ตรวจสอบยืนยัน ได้รบั ยืนยนั ประเมนิ แต่งต รวบรวมข้อมูลผล เพอ่ื รวบรวมข้อมลู ข้อมูลท้ังหมดจากการ คณะ ประเมนิ ท้ังหมด ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ประเมินท่ีมคี วาม ประเ และความผดิ ปกตขิ อ น่าเช่อื ถอื วเิ คราะห์ข้อมลู ผลการ ข้อมูลผลการประเมนิ คณะ ประเมินทั้งหมด ทงั้ หมด ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล ประเ เพื่อเปรยี บเทยี บผลการ จากการประเมนิ สรุปผลและรายงานผล ประเมินกับค่าเปา้ หมาย ทง้ั หมด คณะ การประเมิน และวิเคราะหผ์ ลสัมฤทธิ์ รายงานสรปุ ประเ เพอ่ื จดั ทารายงาน ผลสมั ฤทธข์ิ องแนว สรปุ ผลสมั ฤทธิ์ของแนว ทางการสง่ เสริม ทางการส่งเสริม วัฒนธรรมองคก์ ร วัฒนธรรมองคก์ ร 18

บผดิ ชอบ 1 2 ระยะเวลาดาเนินการ(เมย.-มิย.): สัปดาห์ 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 น้า/ คบั บัญชา หนว่ ยงาน ะเมนิ ท่ี บการ ต้ัง ะกรรมการ เมินฯ ะกรรมการ เมนิ ฯ ะกรรมการ เมนิ ฯ 18

4. แบบประเมนิ คณุ ลักษณะ วฒั นธรรมองค์กรของ กทพ. 4.1 องคป์ ระกอบของแบบประเมนิ การดาเนินการติดตามและประเมินผลด้วยการรวบรวมข้อมูลที่เป็นสาระตามคุณลักษณะพฤติกรรมท่ี กาหนดจากคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กร และยังสอดคล้องตามหลักเกณฑ์การประเมินกระบวนการและการ จัดการรัฐวิสาหกิจ (SE-AM) จากการประเมินตนเองของพนักงานและการประเมินตรวจสอบยืนยันจากผู้ ประเมิน เพอ่ื นามาพิจารณาตัดสนิ คุณคา่ ของผลการดาเนินงานที่เทียบกับเปา้ หมายท่ีกาหนดไว้ และเพอื่ นาผล ท่ีวิเคราะหม์ าใช้ประโยชนใ์ นการพฒั นาและปรบั ปรุงการดาเนินงานส่งเสริมของหนว่ ยงานต่อไป จึงได้ออกแบบ แบบประเมินคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กร กทพ. มีองค์ประกอบเพื่อการนาข้อมูลวิเคราะห์ออกเป็น 4 ตอน ไดแ้ ก่ ตอนท่ี 1 ข้อมูลผู้ประเมินตนเอง เพ่ือการแยกกลุ่มข้อมูลของสถานะผู้ประเมินตนเอง และวิเคราะห์ เปรียบเทียบดูความแตกต่างของผลการประเมินระหว่างกลุ่ม ดังน้ันข้อคาถามในแบบประเมิน ประกอบด้วย เพศ ช่วงปี พ.ศ. ที่เกดิ ระดับการศกึ ษาสงู สดุ อายงุ านในการปฏิบตั ิหน้าที่ กทพ. สถานะภาพใน กทพ. ลักษณะ การปฏิบัตงิ าน กลมุ่ ตาแหนง่ และระดบั ฝ่ายท่สี ังกดั และกองทส่ี ังกดั ตอนที่ 2 ระดับของการรับรู้คุณลักษณะของวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. เพื่อต้องการทราบถึง ผลลัพธ์จากการจัดกิจกรรมการเสริมสร้างให้เกิดวัฒนธรรมองค์กร SMART EXAT ของ กทพ. ข้อมูลท่ีได้จะ นามาสรุปเปรียบเทียบระดับการรับรู้ของพนักงานกลุ่มต่าง ๆ และการหาความสัมพันธ์ของคะแนนเฉล่ียของ การรับรู้กับคะแนนเฉล่ียของการนาพฤติกรรมไปปฏิบัติให้เห็น ดังนั้นข้อคาถามในแบบประเมินจะมีรูปแบบ ของการประเมินตนเองด้วยการให้คะแนน 5 ระดับ มีรายการที่ต้องประเมินที่พนักงานทุกคนต้องรับรู้และ เข้าใจ ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ ค่านิยม วัฒนธรรมองค์กร สัญลักษณ์ และความหมายของคาแต่ละคาใน วฒั นธรรมองค์กร SMART EXAT ตอนท่ี 3 ระดับของการนาพฤติกรรมไปปฏิบัติใหเ้ หน็ ในองค์กร เพ่อื ต้องการทราบถึงพฤติกรรมตาม คุณลักษณะของวัฒนธรรมองค์กร SMART EXAT ของ กทพ. ได้ถูกนาไปปฏิบัติจนแสดงให้พบเห็นมากน้อย เพียงใด ข้อมูลท่ีได้จะนามาสรุปเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียผลการประเมินพฤติกรรมในแต่ละรายคุณลักษณะ และภาพรวมของคุณลักษณะของวัฒนธรรมองค์กรเพ่ือดูเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่องค์กรคาดหวัง และ เปรียบเทียบกลุ่มพนักงาน และการหาความสัมพันธ์ของคะแนนเฉล่ียของการรับรู้กับคะแนนเฉลี่ยของการนา พฤติกรรมไปปฏิบัติให้เห็น ดังน้ันข้อคาถามในแบบประเมินจะมีรูปแบบของการประเมินตนเองด้วยการให้ คะแนน 5 ระดบั มรี ายการประเมินพฤติกรรมย่อยแต่ละพฤติกรรมตามรายคุณลกั ษณะ ประกอบดว้ ย Service Excellence (การบริการที่เป็นเลศิ ) M: Move toward Innovation (การขบั เคล่ือนองค์กรดว้ ยนวัตกรรม) A: Able to work with Digital Solution (ความสามารถทางานโดยใช้ดิจิทัลโซลูชั่น) R: Ready to Change with Teamwork (ความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงด้วยการทางานเป็นทีม) และ T: Transparency (ความ โปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาล) ตอนที่ 4 สรุปผลการประเมิน เพื่อให้ผู้ประเมินได้ทราบถึงผลการนาพฤติกรรมไปปฏิบัติท่ีผ่านมา เทียบกับความคาดหวังขององค์กรที่ได้กาหนดว่ามีความแตกแต่งกันหรือไม่อย่างไร และมีจุดเด่นและจุดที่ควร

พัฒนาอะไรบ้างทั้งภาพรวม และตามรายคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กร กทพ. ผลของการสรุปนี้จะถูกนาไป รวบรวมในภาพรวมของระดับกอง ฝ่าย และภาพรวมทั้งหมด เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการทบทวนกลยุทธ์และ กิจกรรมส่งเสริมวฒั นธรรมของ กทพ. ตอ่ ไป 4.2 วธิ ีการใชแ้ บบประเมนิ คุณลกั ษณะวฒั นธรรมองค์กร การประเมนิ ถอื เปน็ กจิ กรรมทสี่ าคัญของการสง่ เสรมิ วัฒนธรรมองค์กร จะทาให้องคก์ รทราบถงึ ผลของ การจัดกิจจกรรมต่าง ๆ ที่จะทาให้พฤติกรรมของพนักงานในแต่ละระดับได้ปรับเปล่ียนเป็นไปตามเป้าหมาย ของทาง กทพ. หรือไม่ แบบประเมินคุณลักษณะของวัฒนธรรมองค์กรจึงเป็นเคร่ืองมือท่ีสาคัญในการเก็บ ข้อมูลจากพนักงาน ดังน้ันเพ่ือให้การใช้แบบประเมินคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรให้มีประสิทธิภาพ จึงต้อง เขา้ ใจวิธกี ารในการใชแ้ บบประเมนิ โดยมรี ายละเอียดดังน้ี ตอนที่ 1 ข้อมูลผู้ประเมินตนเอง เร่ิมต้นจากผู้ประเมินตนเองจะต้องกรอกรหัสประจาตัวพนักงานท่ี อยู่ขวามือบนหน้าแรกของแบบประเมินฯ จากน้ันให้ตอบข้อคาถามต่าง ๆ ด้วยข้อมูลที่เป็นความจริงเก่ียวกับ ตวั ท่าน ด้วยการเขยี น ✓ ลงในช่อง  ข้อความท่ีตรงกบั สถานภาพ ณ ปจั จบุ นั ใหค้ รบทกุ ข้อ ตอนที่ 2 ระดับของการรับรู้คุณลักษณะของวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ผู้ประเมินตนเองจะต้อง ตอบคาถามด้วยการทาเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องคะแนนระดับการรับรู้ และความเข้าใจ เกี่ยวข้องกับ คุณลักษณะวัฒนธรรมองคก์ รของ กทพ.ของท่าน โดยมเี กณฑ์ระดบั คะแนน ตารางที่ 4.1 ตารางที่ 4.1 แสดงเกณฑ์คะแนนของการประเมนิ ระดบั การรบั รแู้ ละความเข้าใจ ระดบั การรับรู้ เกณฑ์คะแนน และความเขา้ ใจ 5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน ความหมาย รบั รู้และเขา้ ใจ รับรู้และเข้าใจ รับรู้และเขา้ ใจ รับรแู้ ละเข้าใจ รับรู้และเขา้ ใจ ในทุกประเดน็ ในประเด็น ในบางประเด็น ในบางประเดน็ น้อยมาก มากที่สดุ ส่วนมาก น้อย หรอื ไมเ่ ขา้ ใจ เลย เม่อื ประเมินครบทุกข้อแล้วใหผ้ ปู้ ระเมิน กรอกคะแนนเฉล่ียระดับการรับรแู้ ละความเข้าใจ โดยมี วิธกี ารคานวณหาคะแนนระดับการรบั รแู้ ละความเขา้ ใจ ดังนี้ คะแนนเฉลี่ยระดบั การรบั รแู้ ละเข้าใจ = ผลรวมระดบั คะแนนท้งั หมด / 10 ตัวอยา่ งเช่น รวมคะแนนระดับการรบั รแู้ ละเข้าใจท้ังหมดได้ 35 คะแนน ดังนัน้ คะแนนเฉล่ียระดับการรบั รู้และความเข้าใจ = 41 /10 = 4.10 ตอนท่ี 3 ระดับของการนาพฤติกรรมไปปฏิบตั ิใหเ้ หน็ ในองค์กร ผปู้ ระเมินตนเองจะต้องตอบคาถาม ถึงพฤติกรรมตามคุณลักษณะของวัฒนธรรมองค์กร SMART EXAT ของ กทพ. ได้ถูกนาไปปฏิบัติจนแสดงให้ พบเห็นมากน้อยเพียงใด ด้วยการให้คะแนน 5 ระดับ มีรายการประเมินพฤติกรรมย่อยแต่ละพฤติกรรมตาม รายคุณลักษณะ ประกอบด้วย Service Excellence (การบริการที่เป็นเลิศ) M: Move toward Innovation (การขับเคล่ือนองค์กรด้วยนวัตกรรม) A: Able to work with Digital Solution (ความสามารถทางานโดยใช้ 20

ดิจิทัลโซลูช่ัน) R: Ready to Change with Teamwork (ความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงด้วยการทางานเป็น ทีม) และ T: Transparency (ความโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาล) ในการประเมินตนเองจะต้องใส่ทา เคร่ืองหมาย ✓ ลงในช่องคะแนนการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. SMART EXAT ไปปฏิบัติให้เห็น กทพ. เพ่ือให้การประเมินมีการให้คะแนนท่ีมีมาตรฐานจึงได้กาหนดของเกณฑ์การให้ คะแนนพฤตกิ รรมตามคุณลักษณะของวฒั นธรรม ดงั ตารางท่ี 4.2 ตารางท่ี 4.2 เกณฑ์การให้คะแนนพฤตกิ รรมตามคุณลกั ษณะของวัฒนธรรมองค์กร กทพ. การนาไป เกณฑ์คะแนน ปฏบิ ตั ิ 5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน ความหมาย นาพฤติกรรม นาพฤติกรรม นาพฤติกรรม นาพฤติกรรม นาพฤติกรรม นน้ั ไปปฏิบัตใิ ห้ นั้นไปปฏบิ ัติให้ นัน้ ไปปฏบิ ัติให้ นัน้ ไปปฏบิ ตั ใิ ห้ นั้นไปปฏบิ ตั ิให้ เหน็ มากท่ีสดุ เหน็ มาก เห็นปานกลาง เห็นน้อย เหน็ นอ้ ยมาก หรอื ไมเ่ ห็นเลย ลกั ษณะของ - สรา้ งนิสัย - วางระบบ - แนะนา เชญิ - เช่อื ฟัง ชน่ื ชม - รับรู้ ตดิ ตาม การนา มุ่งม่นั อุทิศ ระเบียบ ชวน และ ช่วยเหลอื ยอมรับ เข้า พฤติกรรมไป - ทาจนเปน็ กาหนด แบ่งปัน ร่วมมือ หรือมี ร่วม ปฏิบัติทีพ่ บ ธรรมชาติ เป็น แนวทาง - เช่ือมโยง ส่วนรว่ ม - ปฏบิ ัตติ ามสั่ง เหน็ ได้ ปกติ โดย - ชง่ั นา้ หนักใน ความคิด - ฝึกฝน หรอื อัตโนมัติ ข้อดีขอ้ เสีย - หาส่งิ เหมือน ทบทวน ลอกเลียนแบบ สมบรู ณ์แบบ - ตัดสินวิธกี าร มาใช้ทดแทน - ทาตาม - ไดท้ างเลือก แกป้ ญั หาไดด้ ี ปรบั ใชก้ ับ คาแนะนา ใหม่ วิธีการ - ผสมผสานไป บริบทหรือ - แสดงความ ใหม่ หรอื ในงาน รวดเร็ว สถานการณ์ คิดเห็น สงิ่ ประดิษฐ์ แน่นอน มนั่ ใจ ใหม่ ร้อยละของการ 91-100% 71-90% 51-70% 30-50% <30% นาไปใชป้ ฏิบัติ จากตารางท่ี 4.2 การพิจารณาให้คะแนนในแต่ละคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กร SMART EXAT นั้น ก่อนประเมินให้ดูว่าแต่ละพฤติกรรมท่ีอยู่ภายใต้วัฒนธรรมองค์กร SMART EXAT ประกอบด้วยอะไรบ้าง พนักงานสามารถนาไปปฏิบัติใช้จนพบเห็นได้มากหรือน้อยเพียงใด ตัวอย่างเช่น ท่ีคุณลักษณะของคาว่า S = Service Excellence (การบริการที่เป็นเลิศ) มีพฤติกรรมที่พนักงาน “ต้องเตรียมความพร้อมทั้งทางร่างกาย และจติ ใจก่อนการให้บริการทุกคร้ัง” พบวา่ พนกั งานผ้นู ้นั มีการแต่งกายที่สะอาดถูกต้องและมีการแสดงออก เมื่อพบปะผู้คนท่ียิมแย้มทักทายทุกคนจนพบเป็นนิสัย หรือถ้าหากมองเป็นความถี่ของการพบเห็นการ ปฏบิ ตั พิ บเหน็ ว่าพนักงานผ้นู ้ันปฏบิ ัตเิ กือบทกุ คร้ังที่พบ อย่รู ะหว่างร้อยละ 91 – 100 ในการใหค้ ะแนนใน พฤติกรรมนีพ้ นักงานคนนั้นจะได้ 5 คะแนน หรือคุณลักษณะ M: Move toward Innovation (การขับเคล่ือนองค์กรด้วยนวัตกรรม) พนักงานจะ “ตอ้ งมคี วามสามารถในการคิดเชิงวิเคราะหใ์ นเรื่องท่ีดมี ีประโยชน์ กล้าคดิ นอกกรอบ กลา้ แสดงความคิดเห็นที่ 21

แตกต่าง” พบว่าพนักงานผู้น้ันได้เพียงแค่รับรู้ว่าต้องปฏิบัติ และเข้าร่วมฟังผู้อื่นแสดงความคิดเห็นเทา่ นั้น หรือถ้ามองเป็นความถี่ของการพบเห็นการปฏิบัติพบว่าพนักงานผู้นั้นแถบจะไม่ทาอะไรเลย ซึ่งน้อยกว่า ร้อยละ 30 ในการให้คะแนนในพฤติกรรมนี้พนกั งานคนนัน้ จะได้ 1 คะแนน เม่ือประเมินการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. SMART EXAT ไปปฏิบัติ ให้เห็นครบทุกข้อแล้ว ท่ีช่องตารางคะแนนเฉลี่ยของแต่ละคุณลักษณะตาม SMART EXATจะต้องคานวณผล คะแนนเฉลี่ยแต่ละรายการ โดยมีวิธีคานวณหาคะแนนผลการประเมินตนเองระดับของการนาพฤติกรรมไป ปฏบิ ัติใหเ้ ห็นในองค์กร ดังน้ี 1. คานวณคะแนนเฉล่ียของแต่ละคุณลักษณะมสี ตู รคานวณ ไดแ้ ก่ คะแนนเฉล่ียของแตล่ ะคุณลักษณะ = ผลรวมคะแนนทัง้ หมดของรายคุณลกั ษณะ จานวนพฤตกิ รรมของรายคุณลกั ษณะ ตวั อยา่ งเชน่ S: Service Excellence รวมคะแนนประเมินได้ 35 คะแนน และจานวนพฤตกิ รรม ของรายคุณลกั ษณะมี 10 พฤติกรรม ดังน้นั คะแนนเฉลย่ี ของแต่ละคณุ ลักษณะของ S = 35 / 10 = 3.50 2. คานวณคะแนนเฉลย่ี ระดบั ของการนาพฤตกิ รรมไปปฏิบัติให้เห็น มีสูตรคานวณ ไดแ้ ก่ คะแนนเฉลย่ี ระดบั ของการนาพฤติกรรมไปปฏิบตั ิให้เหน็ = ผลรวมคะแนนทัง้ หมดทุกรายคณุ ลักษณะ จานวนพฤตกิ รรมทง้ั หมดทกุ รายคุณลักษณะ ตัวอยา่ งเช่น S: Service Excellence รวมคะแนนประเมนิ ได้ 39 คะแนน M: Move toward Innovation รวมคะแนนประเมนิ ได้ 45 คะแนน A: Able to work with Digital Solution รวมคะแนนประเมนิ ได้ 54 คะแนน R: Ready to Change with Teamwork รวมคะแนนประเมินได้ 41 คะแนน T: Transparency รวมคะแนนประเมินได้ 49 คะแนน จานวนพฤตกิ รรมทง้ั หมดทกุ รายคณุ ลกั ษณะมี 52 พฤติกรรม ดงั น้ัน คะแนนเฉลยี่ ระดบั ของการนาพฤติกรรมไปปฏบิ ัติให้เห็น = (39+45+54+41+49) / 52 = 4.38 3. ผลการคานวณคะแนนเฉลี่ยท่ีคานวณทุกรายคุณลักษณะได้จะมีค่าไมเ่ กิน 5.00 ตอนท่ี 4 สรปุ ผลการประเมิน หลงั จากท่ผี ูป้ ระเมินตนเองได้คานวณคะแนนเฉลยี่ ในการประเมินตอน ที่ 3 เสร็จแล้วให้นาผลคะแนนเฉล่ียดังกล่าวมาใส่ในตารางตามรายการท่ีกาหนดไว้ในตอนที่ 4 ทุกคอลัมน์ คณุ ลักษณะ ให้ใส่คะแนนความคาดหวังของ กทพ. และนามาเปรียบเทียบ (ลบ) กับผลประเมินท่ีได้จากตอนท่ี 3 ใส่ไว้ในช่องผลต่าง และท่ีคอลัมน์ข้อเสนอให้เขียน ✓ ที่ตัวเลือกในกรณีที่คอลัมน์ผลต่างเป็นค่าบวก ให้ เขียน  เดน่ หรือคอลมั น์ผลตา่ งเปน็ ค่าลบ ให้เขยี น  ควรพฒั นา แถวสุดท้ายของตารางสรปุ ใหผ้ ู้ประเมินตนเองทาการสรปุ ผลประเมินเฉล่ยี ดว้ ยการรวมคะแนนในแต่ ละคอลัมนแ์ ละหารดว้ ย 5 ก็จะได้คะแนนเฉลี่ยสรปุ ผลการประเมินท้งั หมด ส่วนคอลัมน์ระดับให้พิจารณาคะแนนเฉล่ียนแต่ละรายคุณลักษณะวัฒนธรรมของการนาพฤติกรรมไป ปฏิบตั ใิ ห้เหน็ ในองค์กร เปรยี บเทยี บกับเกณฑ์ ดังนี้ 22

คะแนนเฉลย่ี 4.51 – 5.00 หมายความวา่ มรี ะดับการนาพฤติกรรมไปปฏิบตั ิใหเ้ ห็นมากท่สี ดุ คะแนนเฉล่ยี 3.51 – 4.50 หมายความว่า มรี ะดับการนาพฤติกรรมนน้ั ไปปฏบิ ัติใหเ้ หน็ มาก คะแนนเฉล่ีย 2.51 – 3.50 หมายความว่า มีระดบั การนาพฤติกรรมนน้ั ไปปฏิบัติใหเ้ ห็นปานกลาง คะแนนเฉล่ีย 1.51 – 2.50 หมายความว่า มีระดับการนาพฤติกรรมนน้ั ไปปฏบิ ัติใหเ้ ห็นนอ้ ย คะแนนเฉล่ยี 1.00 – 1.50 หมายความว่า มรี ะดบั การนาพฤติกรรมนนั้ ไปปฏบิ ัติใหเ้ ห็นน้อยมาก สุดท้ายของการใช้แบบประเมินฯ ให้ผู้ประเมินตนเองทาการเขียนกราฟเรดาร์ โดยใช้ปากกาสีตามท่ี กาหนดเขียนกราฟตามค่าคะแนนเฉล่ียคุณลักษณะตาม SMART EXAT ปากกาสีดาจะแทนเส้นของคะแนน เต็มซึ้งก็คือคะแนน 5 ปากกาสีน้าเงินใช้เขียนเสน้ คะแนนของเกณฑ์ที่คาดหวงั จากองค์กร และปากกาสีแดงใช้ เขียนเส้นแทนคะแนนประเมินที่ได้ ท้ังหมดนี้เพื่อให้เห็นว่ารูปทรงของการประเมินคร้ังนี้มีความแตกต่างกับ ความคาดหวงั ขององค์กรหรือไม่ 4.3 วธิ ีการตรวจยนื ยันของผู้ประเมินทีไ่ ด้รบั แตง่ ตัง้ การตรวจสอบยืนยันข้อมูล จะดาเนินการหลังจากท่ีพนักงานได้ประเมินตนเองเสร็จแล้ว ผู้ประเมินที่ ได้รับการแต่งตั้งจะลงพื้นท่ีในการประเมินด้วยการสังเกตุพฤติกรรม หรือการสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องเพ่ือหา ขอ้ มลู ทนี่ ่าเชื่อถือได้ และทาการปรับปรุงขอ้ มลู ผลการประเมินตามรายการทีร่ ะบุในแบบฟอร์มเดยี วกันกับแบบ ประเมนิ ของพนักงานคนนน้ั เพอื่ เปน็ การตรวจสอบยืนยัน (Verify) คะแนนผลการประเมนิ ของพนักงาน จากการศกึ ษาข้อมลู จานวนพนักงานและลูกจ้างของ กทพ. พบว่า มจี านวนรวมท้งั ส้ิน ๕,๔๔๒ คน (ณ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๖๔) โดยมีจานวนพนักงานทั้งสิ้น ๔,๘๑๑ คน และมีจานวนลูกจ้างท้ังส้ิน ๖๓๑ คน ที่ ปฏบิ ัติงานตามส่วนงานในระดบั ฝา่ ย ๑๒ ฝา่ ย ระะดบั กอง ๔๕ กอง และระดับแผนก ๑๗๐ แผนก ทาให้ตอ้ งใช้ ผู้ประเมินจานวนมากและอาจต้องเสียเวลาในการตรวจสอบมากเน่ืองจากเวลาจากัด ดังน้ันการเลือกศึกษา ข้อมูลเฉพาะพนักงานบางส่วนของพนักงานท้ังหมดจึงเป็นเร่ืองท่ีมีความจาเป็น เพ่ือให้การเลือกข้อมูลจาก พนกั งานบางส่วนมาศึกษาแทนพนักงานทั้งหมด เราจะเรียกว่า กลุ่มตัวอย่าง (Sample) การท่มี กี ลุ่มตัวอย่างน้ี จะเป็นตัวแทนของพนักงานทั้งหมดเพ่ือการอ้างอิงไปยังพนักงานท้ังหมดขององค์กรอย่างน่าเช่ือถือได้ ผู้ ประเมินจะตอ้ งมีการเลือกตัวอย่างและขนาดตัวอยา่ งทเี่ หมาะสม ซ่ึงจะต้องอาศยั หลกั สถิตเิ ขา้ มาชว่ ยในการสุ่ม ตวั อยา่ งและการกาหนดขนาดของกลมุ่ ตวั อย่าง การสุ่มตัวอย่างในที่น้ีจะใช้ความนา่ จะเป็น (Probability sampling) จะใช้การสุ่มตัวอย่างแบบชน้ั ภมู ิ (Stratified sampling) โดยแยกพนักงานออกเป็นกลุ่มย่อย ๆ ตามแผนก กอง และฝ่าย แล้วทาการสุ่มอย่าง ง่ายเพราะถือว่าพนักงานทุก ๆ คนใน กทพ. มีโอกาสจะถูกเลือกเท่า ๆ กัน ด้วยการสุ่มจากแบบประเมินท่ี พนักงานได้ทาการประเมินตนเองเสร็จแล้ว เนือ่ งจากที่แบบประเมนิ จะมีรหสั ประจาตวั พนักงานกากับ ดังน้ันผู้ ประเมนิ ใช้วิธกี ารหยบิ ขนึ้ มาโดยทไ่ี ม่ทราบรายชอื่ วา่ เปน็ ของใครคลา้ ยกบั วธิ กี ารจับฉลาก ภาพท่ี 4.1 แสดงลักษณะของการสุ่มตวั อยา่ งแบบช้นั ภมู ิ (Stratified sampling) 23

การกาหนดขนาดกลุ่มตวั อยา่ งมีความสาคัญอยา่ งมากวา่ จานวนที่ขอ้ มลู ท่ีได้จากกล่มุ ตัวอยา่ งมีมาก พอท่จี ะทาให้การประเมนิ มคี ุณคา่ หรอื ไม่ ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่เหมาะสมจะข้ึนอยู่กับว่าผลการประเมินจะ ยอมให้เกิดความคลาดเคลื่อนมากน้อยเพยี งใดท่จี ะยอมรับได้ การหาขนาดตวั อย่างการประเมินน้ีจะใชส้ ูตร Taro Yamane คานวณหาขนากกลุ่มตัวอย่างทเี่ หมาะสม จากสมการ n = N  (1+Ne2) n คอื ขนาดของกลมุ่ ตัวอย่าง N คือ ขนาดประชากร (จานวนพนักงานทง้ั หมด) e คอื ค่าความคลาดเคล่อื น ตวั อย่างเชน่ พนกั งานของ กทพ. มจี านวนท้งั หมด 5,442 คน ผลการประเมินครั้งน้ใี ช้ความคลาด เคล่ือนที่ 0.05 เม่ือแทนค่าในสมการแต่ละตวั เทา่ กับ n = 5,442  (1+5,442 x 0.052) n = 372.61 คน ดงั นั้นเราทาการส่มุ แบบประเมินจากพนักงานจานวน 373 คน แทนการประเมินตรวจสอบที่ต้องทา ทงั้ หมด 5,442 คน นอกจากน้ยี ังสามารถหาไดจ้ ากตาราง Taro Yamane ทีม่ ลี กั ษณะเปน็ ตวั เลขกลม ๆ ตาม ระดับความคลาดเคลื่อนได้ ตามตารางที่ 4.3 ตารางที่ 4.3 แสดงขนาดของกล่มุ ตวั อย่างตาราง Taro Yamane ทรี่ ะดบั ความคลาดเคลื่อนต่าง ๆ ขนาดประชากร 1% ขนาดของกลุ่มตวั อย่างท่ีขนาดความคลาดเคล่ือน (e) 10% 2% 3% 4% 5% 500 222 83 1,000 385 286 91 1,500 638 441 316 94 2,000 714 476 333 95 2,500 1250 769 500 345 96 3,000 1364 811 517 353 97 3,500 1458 843 530 359 97 4,000 1538 870 541 364 98 4,500 1607 891 549 367 98 5,000 1667 909 556 370 98 6,000 1765 938 566 375 98 7,000 1842 959 574 378 99 8,000 1905 976 580 381 99 9,000 1957 989 584 383 99 10,000 5000 2000 1000 588 385 99 15,000 6000 2143 1034 600 390 99 20,000 6667 2222 1053 606 392 100 24

5. การายงานผลประเมนิ คณุ ลกั ษณะ วัฒนธรรมองคก์ รของ กทพ. การรายงานผลการประเมินคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. เป็นขั้นตอนของการวิเคราะห์ผล สรุปผลและรายงานผล หลังจากที่ผู้ประเมินได้ทาการตรวจสอบยืนยันข้อมูลเป็นที่เรียบร้อย คณะกรรมการ ประเมินฯ ทาการรวบรวมข้อมูล และทาการวิเคราะห์ข้อมูลและเปรียบเทียบผล โดยคณะกรรมการจัดการ สรุปผลท่ีได้จากการประเมินและผลการวิเคราะห์ของแต่ละหน่วยงาน และจัดทารายงานเสนอผู้บริหาร กทพ. เพอ่ื ใช้เปน็ นโยบายในการขบั เคลื่อนกิจกรรมสง่ เสริมวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ตอ่ ไป รายงานผลประเมินคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ในภาพของ SMART EXAT มีหัวข้อที่ จะต้องสรุปผลและตัวอย่างการสรุปเพ่ือใช้เป็นแนวทางในการนาเสนอต่อผู้บริหาร รายงานดังกล่าวจะ ประกอบด้วย 5 ตอน ดงั น้ี ตอนที่ 1 ภาพรวมขอ้ มูลสถานของการประเมนิ ตนเอง ตอนที่ 2 ผลการประเมนิ การรบั ร้แู ละความเข้าใจ ตอนที่ 3 ผลการประเมนิ การนาพฤติกรรมคณุ ลกั ษณะวฒั นธรรมองค์กรไปปฏิบัติ ตอนท่ี 4 ผลการวิเคราะหผ์ ลการประเมนิ คุณลักษณะวฒั นธรรมองคก์ รของ กทพ. ตอนที่ 5 สรุปจดุ เดน่ จดุ ท่ีควรพัฒนา และข้อเสนอแนะ 5.1 ภาพรวมขอ้ มูลของการประเมนิ เปน็ การพรรณนาการรายงานผลข้อมลู สถานภาพของพนักงานผู้ตอบแบบประเมิน ซ่งึ ข้อมลู ท่ไี ด้น้ีเป็น ข้อมูลท่ีอยู่ในรูปแบบมาตรานามบัญญัติ (Nominal Scale or Classification Scale) ท่ีสามารถจาแนกกลุ่ม หรือประเภทได้ ไม่เป็นค่าตัวเลขท่ีนามาบวก ลบ คูณ หาร กันได้ จึงเป็นการรายงานเพื่อให้เข้าใจถึงข้อมูลที่ รวบรวมมาได้มาเสนอแบง่ กล่มุ นบั จานวน และสดั สว่ น เท่าน้ัน ตัวอยา่ งการเขยี นรายงาน การรวบรวมผลการประเมินคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. จากแบบประเมินคุณลักษณะ วัฒนธรรมองค์กร กทพ. ด้วยการประเมินตนเองของพนักงานทุกระดับ จานวนที่คณะกรรมการประเมินฯ ได้ แจกแบบประเมินจานวนท้ังสนิ้ 4,200 ชดุ ได้กลบั มาท้งั หมด (N) 4,000 ชดุ คดิ เป็นร้อยละ 95.24 จานวน กลุ่มตัวอยา่ งทีท่ างผปู้ ระเมนิ ตรวจสอบยืนยัน จานวน (n) 373 คน ที่ความเช่อื มน่ั ร้อยละ 95 มผี ลการผลการ วิเคราะห์ข้อมลู สถานภาพของผู้ประเมินตนเอง ดังน้ี ตารางท่ี 5.1 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลสถานภาพของผูป้ ระเมินตนเอง รายการ จานวน ร้อยละ เพศ 55.00 45.00 ชาย 205 หญิง 168

รายการ จานวน รอ้ ยละ ช่วงปี พ.ศ. ทท่ี า่ นเกิด 30 8.00 2489 – 2507 190 51.00 2508 – 2522 153 41.00 2523 – 2540 0 0.00 หลงั ปี 2540 ระดบั การศกึ ษาสูงสุด 149 40.00 ต่ากว่าอนุปริญญา หรอื ปวส. 131 35.00 อนุปริญญา หรือ ปวส. 75 20.00 ปรญิ ญาตรี 18 5.00 สูงกว่าปริญญาตรี อายุงานในการปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ กทพ. 19 5.00 น้อยกวา่ 2 ปี 37 10.00 2 – 5 ปี 75 20.00 มากกวา่ 5 – 10 ปี 103 27.50 มากกวา่ 10 – 15 ปี 98 26.25 มากกว่า 15 – 20 ปี 41 11.25 มากกว่า 20 ปี สถานะภาพของทา่ นใน กทพ. 354 95.00 พนักงาน 19 5.00 ลูกจ้าง ลกั ษณะการปฏบิ ตั งิ าน 90 24.00 สายปฏบิ ตั ิงานสานักงาน 283 76.00 สายปฏิบัติการ กลุ่มตาแหน่งและระดับ 358 96.00 กลุ่มเทคนิคและปฏบิ ัติการ (ระดับ 1-6) 11 3.00 กลุ่มผูบ้ ริหารระดับต้น (ระดบั 7) 3 0.95 กลุ่มผบู้ ริหารระดับกลาง (ระดบั 8-9) 1 0.05 กลมุ่ ผบู้ ริหารระดับสงู (ระดับ 10-11) จากตารางท่ี 5.1 พบวา่ การรวบรวมผลการประเมนิ คณุ ลักษณะวฒั นธรรมองค์กรของ กทพ. พนกั งาน ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 55.00 ช่วงอายุที่ประเมินครั้งนี้มากที่สุดจะเป็นอายุเกิดในช่วง พ.ศ. 2508 – 2522 เป็นกลุ่ม Generation X ร้อยละ 51.00 ระดับการศึกษาของการประเมินคร้ังน้ีส่วนใหญ่ จะต่ากว่าระดับปริญญาตรี ร้อยละ 75.00 อายุงานในการปฏิบัติหน้าที่ใน กทพ. ส่วนใหญ่จะอยู่ช่วง 10 – 20 ปี ร้อยละ 53.75 สถานะภาพใน กทพ. ส่วนใหญ่เป็นพนักงานร้อยละ 95.00 ลักษณะการปฏิบัติงาน ส่วนใหญ่จะเป็นสายปฏิบัติการร้อยละ 76.00 และกลุ่มตาแหน่งและระดับส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มเทคนิคและ ปฏบิ ตั ิการ (ระดับ 1-6) ร้อยละ 96.00 26

5.2 ผลการประเมนิ การรับรแู้ ละความเขา้ ใจ การประเมินระดับของการรับรู้คุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. เพื่อต้องการทราบถึงผลลัพธ์ จากการจัดกิจกรรมการเสริมสร้างให้เกิดวัฒนธรรมองค์กร SMART EXAT ของ กทพ. ข้อมูลที่ได้จะอยู่ใน รูปแบบมาตราการวัดระดับชว่ ง (Interval Scale) ที่สามารถกาหนดค่าตัวเลขโดยมีช่วงห่างระหว่างตัวเลขเท่า ๆ กัน สามารถนาตัวเลขมาเปรียบเทียบกันได้ว่าว่ามีปริมาณมากน้อยเท่าใด แต่ไม่สามารถบอกได้ว่าเป็นกี่เท่า ของกันและกัน ผลการประเมินการรับรู้และความเข้าใจจะใช้อธิบายค่าเฉล่ียของคะแนนการประเมินและ เปรยี บเทียบระดับการรับรู้และความเข้าใจ ดงั นี้ คะแนนเฉลย่ี 4.51 – 5.00 หมายความวา่ มีระดบั การรับรู้และเขา้ ใจในทุกประเด็นมากทีส่ ดุ คะแนนเฉลยี่ 3.51 – 4.50 หมายความว่า มีระดบั การรับรแู้ ละเข้าใจในทกุ ประเดน็ สว่ นมาก คะแนนเฉล่ยี 2.51 – 3.50 หมายความว่า มีระดบั การรับรแู้ ละเข้าใจในบางประเดน็ คะแนนเฉลยี่ 1.51 – 2.50 หมายความว่า มีระดบั การรับรู้และเข้าใจในบางประเด็นน้อย คะแนนเฉลยี่ 1.00 – 1.50 หมายความว่า มรี ะดบั การรับรู้และเข้าใจน้อยมากหรือไมเ่ ข้าใจเลย ตวั อยา่ งการเขียนรายงาน ระดับของการรับรู้คุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. SMART EXAT จากการประเมินตนเอง ของพนักงาน ด้วยการให้คะแนน 5 ระดับ มีผลคะแนนเฉลี่ยรายการประเมินที่พนักงานทุกคนต้องรับรู้และ เขา้ ใจ ดังนี้ ตารางที่ 5.2 ระดับของการรับรคู้ ุณลกั ษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. SMART EXAT รายการประเมนิ ������̅ S.D. ระดบั มาก วิสัยทัศน์ (Vision) กทพ. “องค์กรนวัตกรรมเพ่ือการเดินทาง 4.02 0.56 มาก และคณุ ภาพชีวิตที่ดขี ึ้น” มาก ค่านิยม (Value) กทพ. “บริการท่ีดี พัฒนาก้าวไกล 4.13 0.65 มาก ภาพลกั ษณใ์ สสะอาด” มาก ความสาคัญของการมีวฒั นธรรมองคก์ ร SMART EXAT 4.33 0.86 มาก สญั ลกั ษณ์ของวฒั นธรรมองค์กร เพอ่ื ให้การสื่อสารวฒั นธรรม 4.15 0.83 มากทส่ี ุด องค์กร SMART EXAT มาก ความหมายของ S = Service Excellence: การบริการท่ีเป็น 4.23 0.66 มาก เลิศ ความหมายของ M = Move toward Innovation: การ 3.98 0.84 ขบั เคลื่อนองคก์ รดว้ ยนวัตกรรม ความหมายของ A = Able to work with Digital Solution: 4.65 0.72 ความสามารถทางานโดยใชด้ จิ ิทัลโซลชู ่ัน ความหมายของ R = Ready to Change with Teamwork 4.25 0.97 : ความพรอ้ มรับการเปล่ยี นแปลงดว้ ยการทางานเป็นทมี ความหมายของ T = Transparency: ความโปร่งใสตามหลกั 4.30 0.45 ธรรมาภิบาล 27

รายการประเมิน ������̅ S.D. ระดบั 3.96 0.68 มาก ความหมายของ EXAT = EXAT Identities: อัตลักษณ์ของ คน กทพ.เป็นคนที่ “มุ่งมั่นบริการ สร้างสรรค์สู่ความเป็น 4.20 0.72 มาก เลิศ” เฉล่ยี ภาพรวม จากตารางที่ 5.2 พบว่า คะแนนเฉล่ียภาพรวมของการรับรู้และเข้าใจคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กร ของ กทพ. SMART EXAT มีค่าเฉล่ีย 4.20 และมีค่าเบ่ียงเบน 0.72 ซึ่งค่าคะแนนจากการประเมินส่วนใหญ่ จะมีแนวโน้มไปในทิศทางเดียวกันเน่ืองจากความเบี่ยงเบนมีค่าไม่สูงมากนัก และภาพรวมมีระดับการรับรู้และ เข้าใจในทุกประเด็นส่วนมาก ถ้ามองเป็นรายการจะพบว่า ความหมายของ A = Able to work with Digital Solution: ความสามารถทางานโดยใช้ดจิ ิทลั โซลชู ่ัน มคี ะแนนเฉลี่ยการรับรู้และความเข้าใจในทุกประเด็นมาก ท่ีสุด มีค่าเฉล่ีย 4.65 และมีค่าเบ่ียงเบน 0.72 ท่ีเหลือจะอยู่ในระดับการรับรู้และเข้าใจในทุกประเด็น ส่วนมากตามลาดับ แสดงถึงกิจกรรมส่งเสริมคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ดาเนินการนั้นมี ประสทิ ธิภาพในภาพรวมอยใู่ นระดับมาก 5.3 ผลการประเมินการนาพฤติกรรมคณุ ลักษณะวัฒนธรรมองค์กรไปปฏิบตั ิ การประเมินผลการนาพฤติกรรมคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. เพื่อต้องการทราบถึง พฤติกรรมตามคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กร SMART EXAT ของ กทพ. ได้ถูกนาไปปฏิบัติจนแสดงให้พบเห็น มากน้อยเพียงใด ข้อมูลท่ีได้จะอยู่ในรูปแบบมาตราการวัดระดับช่วง (Interval Scale) ที่สามารถกาหนดค่า ตัวเลขโดยมีช่วงห่างระหว่างตัวเลขเท่า ๆ กัน สามารถนาตัวเลขมาเปรียบเทียบกันได้ว่าว่ามีปริมาณมากน้อย เท่าใด แต่ไมส่ ามารถบอกไดว้ ่าเป็นกี่เท่าของกันและกนั ขอ้ มลู ท่ไี ด้จะนามาสรุปและอธิบายคา่ คะแนนเฉลี่ย คา่ เบี่ยงเบน และการแปลผลระดับของคะแนนการนาพฤติกรรมไปปฏบิ ัติให้เห็น ดงั นี้ คะแนนเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายความว่า มรี ะดบั การนาพฤติกรรมไปปฏบิ ัติใหเ้ ห็นมากทสี่ ุด คะแนนเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายความว่า มรี ะดบั การนาพฤติกรรมนั้นไปปฏบิ ัตใิ ห้เหน็ มาก คะแนนเฉล่ีย 2.51 – 3.50 หมายความว่า มรี ะดับการนาพฤติกรรมนน้ั ไปปฏิบัตใิ หเ้ หน็ ปานกลาง คะแนนเฉลยี่ 1.51 – 2.50 หมายความว่า มีระดบั การนาพฤติกรรมนนั้ ไปปฏบิ ตั ิใหเ้ ห็นนอ้ ย คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายความว่า มรี ะดบั การนาพฤติกรรมนน้ั ไปปฏบิ ตั ใิ หเ้ ห็นน้อยมาก ตวั อย่างการเขยี นรายงาน การประเมินผลการนาพฤติกรรมคณุ ลักษณะวฒั นธรรมองค์กรของ กทพ. จากการประเมนิ ตนเองของ พนักงานด้วยการให้คะแนน 5 ระดับ มีรายการประเมินพฤติกรรมย่อยแต่ละพฤติกรรมตามรายคุณลักษณะ ประกอบด้วย Service Excellence (การบริการที่เป็นเลิศ) M: Move toward Innovation (การขับเคล่ือน องค์กรด้วยนวัตกรรม) A: Able to work with Digital Solution (ความสามารถทางานโดยใช้ดิจิทัลโซลูชั่น) R: Ready to Change with Teamwork (ความพร้อมรับการเปล่ียนแปลงด้วยการทางานเป็นทีม) และ T: Transparency (ความโปรง่ ใสตามหลักธรรมาภิบาล) มีผลสรปุ ดงั น้ี 28

ตารางท่ี 5.3 ระดับการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบ เหน็ ด้าน S: Service Excellence (การบริการที่เปน็ เลิศ) รายการประเมนิ ������̅ S.D. ระดบั 1. เตรียมความพร้อมทั้งทางร่างกายและจิตใจก่อนการ 4.02 0.56 มาก ให้บรกิ ารทกุ ครง้ั 2. มีพฤตกิ รรมในการใหบ้ รกิ ารที่แสดงออกถึงความตัง้ ใจ เอา 4.13 0.65 มาก ใจใส่ และมีความจริงใจตอ่ ลกู คา้ และผรู้ ่วมงาน 3. มีความอดทน อดกลั้น สามารถเก็บอารมณ์ในขณะ 4.33 0.86 มาก ใหบ้ ริการได้ 4. มีความสามารถในการส่ือสารท่ีดี ด้วยการใช้ภาษาท่ีง่าย 4.15 0.83 มาก ใช้อากัปกิริยาท่ีเหมาะสม และสรุปหาแนวทางการให้บริการ หรอื ชว่ ยเหลอื ที่ดี 5. มีทกั ษะในการฟงั เพอื่ นาขอ้ มูลไปใช้ในการแก้ไข ปรบั ปรงุ 4.23 0.66 มาก และพัฒนาการบรกิ ารให้ดขี ึ้นกว่าเดิม 6. ช่างสังเกต และสามารถรวบรวมข้อมูลจากการสังเกตมา 3.98 0.84 มาก วิเคราะห์ความต้องการท่ีแท้จริงของลูกค้าหรือผู้รับบริการ เพอ่ื นามาพฒั นาแนวทางการบริการท่ีตรงต่อความต้องการได้ อยา่ งต่อเนอื่ ง 7. คิดหาวิธีการ แนวทางในการปรับปรุงกระบวนการทางาน 4.65 0.72 มากท่ีสุด เพ่อื พัฒนาคณุ ภาพของการบรกิ ารอยู่เสมอ 8. ติดตามประสานงานจนทาให้ผู้มาติดต่อประสานงานหรือ 4.25 0.97 มาก ผใู้ ชบ้ รกิ ารได้รับขอ้ มลู หรอื ผลสาเรจ็ ตามทีต่ อ้ งการ 9. สามารถประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีในมาช่วยในการบริการให้มี 4.30 0.45 มาก ประสิทธภิ าพและคุณภาพมากยง่ิ ขึ้น 10. สามารถจัดการความเสี่ยงในการให้บริการได้อย่าง 3.96 0.68 มาก เหมาะสม เฉล่ียภาพรวม 4.20 0.72 มาก จากตารางท่ี 5.3 พบว่า คะแนนเฉล่ียภาพรวมของระดับการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะวฒั นธรรม องค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงใหพ้ บเหน็ ดา้ น S: Service Excellence (การบริการท่เี ปน็ เลศิ ) มคี ่าเฉลีย่ 4.20 และมีค่าเบ่ียงเบน 0.72 ซ่ึงค่าคะแนนจากการประเมินส่วนใหญ่จะมีแนวโน้มไปในทิศทางเดียวกัน เน่อื งจากความเบ่ียงเบนมีคา่ ไมส่ ูงมากนัก และภาพรวมมีการนาพฤติกรรมนั้นไปปฏิบัติให้เห็นมาก ถ้ามองเป็น รายการจะพบว่า การคิดหาวิธีการ แนวทางในการปรับปรุงกระบวนการทางานเพื่อพัฒนาคุณภาพของการ บริการอยู่เสมอ มีคะแนนเฉลี่ยการนาพฤติกรรมนั้นไปปฏิบัติให้เห็นมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.65 และมีค่า เบีย่ งเบน 0.72 ทเี่ หลือจะอยใู่ นระดบั การนาพฤตกิ รรมน้ันไปปฏิบตั ิใหเ้ หน็ มาก 29

ตารางท่ี 5.4 ระดับการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบ เห็น ด้าน M: Move toward Innovation (การขับเคลือ่ นองค์กรด้วยนวัตกรรม) รายการประเมนิ ������̅ S.D. ระดบั 1. ชอบการเรียนรู้ แสวงหาความรู้ใหม่ ๆ เพิ่มเติมอยู่ 4.02 0.56 มาก ตลอดเวลา มีความกระตือรือร้นท่ีจะพัฒนาตนเองอย่าง สมา่ เสมอ 2. เปิดรับความรู้และทักษะใหม่ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับงาน และ 4.13 0.65 มาก พัฒนาตนเองใหม้ ีความร้คู วามสามารถในเรือ่ งต่าง ๆ เหลา่ น้ัน 3. มีความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์ในเรื่องท่ีดีมี 4.33 0.86 มาก ประโยชน์ กล้าคิดนอกกรอบ กล้าแสดงความคิดเห็นที่ แตกต่าง 4. สามารถนาความรู้มาสร้างความคิด ท่ีสร้างสรรค์เพื่อหา 4.15 0.83 มาก แนวทางในการทางานใหม่ ๆ หรือพัฒนาธุรกิจใหม่ ๆ ให้แก่ องค์กร 5. มีความสามารถคิดวิเคราะห์ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการ 4.23 0.66 มาก ทางานและสามารถตัดสนิ ใจแกไ้ ขสถานการณ์เฉพาะหนา้ ได้ 6. กลา้ เสนอแนวความคิดทเ่ี ปน็ ประโยชน์อย่างอสิ ระ ในเรือ่ ง 3.98 0.84 มาก ที่สามารถนาไปพัฒนาเพื่อให้เกิดสิ่งใหม่ท่ีสอดคล้องกับทิศ ทางการดาเนนิ งานขององค์กร 7. สามารถนาเสนอ ชักจูง ให้บุคคลอ่ืนร่วมมือหรือเห็นชอบ 4.65 0.72 มากที่สุด ในกระบวนการทางาน หรือธรุ กิจที่คดิ ขึน้ ใหม่ 8. สามารถทาให้ความคิดสร้างสรรค์เกิดเป็นนวัตกรรมท่ีเปน็ 4.25 0.97 มาก จริงได้ด้วยการผลิตตัวต้นแบบ หรือทดลองปฏิบัติตามวิธีการ ทีค่ ดิ ค้นขนึ้ ใหม่ 9. สามารถถ่ายทอดแบ่งปันความรู้ให้กับผู้ร่ว มงาน 4.30 0.45 มาก แลกเปลี่ยนความรู้ความถนัดกับผู้รู้ด้านอื่น ๆเพ่ือให้เกิดการ ร่วมมอื กันในการสร้างนวตั กรรมในการขบั เคลื่อนองค์กร 10. สามารถจัดการความเสี่ยงในด้านนวัตกรรมได้อย่าง 3.45 0.68 ปานกลาง เหมาะสม เฉลี่ยภาพรวม 4.15 0.72 มาก จากตารางท่ี 5.4 พบว่า คะแนนเฉล่ียภาพรวมของระดบั การนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะวัฒนธรรม องค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบเห็น ด้าน M: Move toward Innovation (การขับเคล่ือนองค์กร ดว้ ยนวัตกรรม) มคี ่าเฉลี่ย 4.15 และมคี า่ เบยี่ งเบน 0.72 ซึ่งค่าคะแนนจากการประเมินส่วนใหญจ่ ะมแี นวโน้ม ไปในทิศทางเดียวกันเนื่องจากความเบ่ียงเบนมคี ่าไม่สูงมากนัก และภาพรวมมกี ารนาพฤติกรรมน้นั ไปปฏิบัติให้ เห็นมาก ถา้ มองเปน็ รายการจะพบว่า สามารถนาเสนอ ชกั จงู ให้บุคคลอ่ืนร่วมมือหรือเห็นชอบในกระบวนการ ทางาน หรือธุรกิจท่ีคิดขึ้นใหม่ มีคะแนนเฉล่ียการนาพฤติกรรมน้ันไปปฏิบัติให้เห็นมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย 4.65 และมีค่าเบ่ียงเบน 0.72 และพฤติกรรมที่สามารถจัดการความเส่ียงในด้านนวัตกรรมได้อย่างเหมาะสม มี 30

คะแนนเฉลี่ยของระดับการนาพฤติกรรมน้ันไปปฏิบัติให้เห็นปานกลาง มีค่าเฉล่ีย 3.45 และมีค่าเบ่ียงเบน 0.68 ตารางที่ 5.5 ระดับการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบ เหน็ ดา้ น A: Able to work with Digital Solution (ความสามารถทางานโดยใช้ดจิ ิทัลโซลูช่ัน) รายการประเมิน ������̅ S.D. ระดบั 1. ใชข้ อ้ มลู หรือขอ้ เท็จจริงในการปฏบิ ัตงิ าน 4.02 0.56 มาก 2. ตดั สนิ ใจเรอ่ื งต่าง ๆ ทม่ี คี วามสาคญั ได้บนพน้ื ฐานขอ้ มูล 4.13 0.65 มาก 3. รวบรวมและจัดระเบียบข้อมูลหรือองค์ความรู้ท่ีสาคัญ 4.33 0.86 มาก เพอื่ ให้งา่ ยตอ่ การนาไปใชป้ ระโยชน์ 4. เ ข้ า ถึ ง แ ล ะ ส า ม า ร ถ ใ ช้ง าน เค รื่ อ ง มื อ ดิ จิทั ลหรือ 4.15 0.83 มาก แอพพลิเคชัน่ ขั้นต้นสาหรับการทางาน 5. สามารถนาเทคโ นโ ลยีดิจิทัลมาปรับใช้เพื่อเพ่ิม 4.23 0.66 มาก ประสทิ ธิภาพในการทางาน 6. สามารถใช้โปรแกรมดิจทิ ัลเพ่ือการวเิ คราะห์ข้อมูลสาหรับ 3.98 0.84 มาก งานประจา 7. สามารถใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพ่อื การทางานรว่ มกันได้ 4.65 0.72 มากท่สี ดุ 8. สามารถปรับใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนางานให้เกิด 4.25 0.97 มาก ประสทิ ธผิ ล 9. สามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสร้างกระบวนการใหม่ในการ 4.30 0.45 มาก พัฒนางานได้อยา่ งตอ่ เน่ือง 10. สามารถจัดการความเสี่ยงในเร่ืองเทคโนโลยีดิจิทัลได้ 3.45 0.68 ปานกลาง อยา่ งเหมาะสม 11. ปฏบิ ัติตามกฎหมาย กรอบธรรมาภบิ าล และหลกั ปฏิบัติ 4.32 0.81 มาก ทีด่ ีดา้ นเทคโนโลยดี จิ ิทลั เฉลยี่ ภาพรวม 4.17 0.73 มาก จากตารางที่ 5.5 พบว่า คะแนนเฉลี่ยภาพรวมของระดบั การนาพฤติกรรมตามคุณลกั ษณะวฒั นธรรม องคก์ รของ กทพ. ไปปฏิบัตจิ นแสดงให้พบเห็น ด้าน A: Able to work with Digital Solution (ความสามารถ ทางานโดยใช้ดิจิทัลโซลชู ่ัน) มคี ่าเฉลี่ย 4.17 และมีค่าเบีย่ งเบน 0.73 ซ่ึงค่าคะแนนจากการประเมินสว่ นใหญ่ จะมีแนวโน้มไปในทิศทางเดียวกันเนื่องจากความเบ่ียงเบนมีค่าไม่สูงมากนัก และภาพรวมมีการนาพฤติกรรม นั้นไปปฏิบัติให้เห็นมาก ถ้ามองเป็นรายการจะพบว่า สามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการทางานร่วมกันได้ มี คะแนนเฉล่ียการนาพฤติกรรมน้ันไปปฏิบัติให้เห็นมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.65 และมีค่าเบ่ียงเบน 0.72 และ พฤติกรรมที่สามารถจัดการความเสี่ยงในเรื่องเทคโนโลยีดิจิทัลได้อย่างเหมาะสม มีคะแนนเฉล่ียของระดับการ นาพฤติกรรมนั้นไปปฏิบัตใิ หเ้ หน็ ปานกลาง มคี า่ เฉลี่ย 3.45 และมคี ่าเบ่ียงเบน 0.68 31

ตารางท่ี 5.6 ระดับการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบ เหน็ ด้าน R: Ready to Change with Teamwork (ความพร้อมรบั การเปลยี่ นแปลงดว้ ยการทางานเปน็ ทมี ) รายการประเมิน ������̅ S.D. ระดับ 1. ติดตามข้อมูล ข่าวสาร ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงทั้ง 4.02 0.56 มาก ภายในและภายนอกองคก์ ร 2. พร้อมเรียนรแู้ ละสามารถปรบั ตัวได้ทันกับสถานการณ์การ 4.13 0.65 มาก เปล่ียนแปลงที่เกดิ ในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต 3. สนกุ กบั การทางาน มมี มุ มองการปฏิบัตงิ านท่เี ปน็ บวก 4.33 0.86 มาก 4. มีความเข้าใจในบทบาทหน้าท่ีของตนเองว่ามีส่วนสาคัญ 4.15 0.83 มาก ต่อทีมอย่างไรและตั้งใจปฏบิ ตั ิหนา้ ท่เี พ่ือความสาเรจ็ ของทีม 5. มีเป้าหมายของการทางานร่วมกัน และร่วมมือกันในการ 4.23 0.66 มาก กาหนดแนวทางในการทางาน เพอ่ื ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย 6. รับฟังความคิดเห็น แบ่งปัน และแลกเปล่ียนเรียนรู้ข้อมูล 3.98 0.84 มาก ซง่ึ กนั และกัน 7. กล่าวชมเชย ให้กาลังใจ และสนับสนุนเพ่ือให้เพ่ือน 4.65 0.72 มากทส่ี ดุ ร่วมงานรสู้ ึกมีความสาคัญ 8. การช่วยเหลือซ่ึงกันและกันภายในองค์กร สามารถ 4.25 0.97 มาก ปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นทั้งภายในและภายนอกส่วนงานอย่าง เต็มกาลังความสามารถด้วยความเต็มใจ เสียสละและอดทน เพ่ือให้งานท่ีรับผิดชอบบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ร่วมกัน 9. มีความสามัคคี เป็นหนึ่งเดียวกัน ทางานร่วมกันอย่างเป็น 4.30 0.45 มาก ระบบ สามารถคลี่คลาย หรือแก้ไขข้อขัดแย้งที่เกิดข้ึนในทีม ได้ 10. ให้ความสาคญั ในการจัดการความเสีย่ งทกุ ดา้ นรว่ มกนั ได้ 3.45 0.68 ปานกลาง เฉลีย่ ภาพรวม 4.15 0.72 มาก จากตารางท่ี 5.6 พบว่า คะแนนเฉลี่ยภาพรวมของระดับการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะวฒั นธรรม องค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบเห็น ด้าน R: Ready to Change with Teamwork (ความพร้อม รับการเปลี่ยนแปลงด้วยการทางานเป็นทีม) มีค่าเฉลี่ย 4.15 และมีค่าเบี่ยงเบน 0.72 ซ่ึงค่าคะแนนจากการ ประเมินส่วนใหญ่จะมีแนวโน้มไปในทิศทางเดียวกันเน่ืองจากความเบี่ยงเบนมีค่าไม่สูงมากนัก และภาพรวมมี การนาพฤติกรรมนั้นไปปฏิบัติให้เห็นมาก ถ้ามองเป็นรายการจะพบว่า กล่าวชมเชย ให้กาลังใจ และสนับสนุน เพอ่ื ใหเ้ พื่อนร่วมงานรู้สึกมีความสาคญั มีคะแนนเฉล่ียการนาพฤติกรรมน้ันไปปฏบิ ัติให้เห็นมากทส่ี ุด มีคา่ เฉล่ีย 4.65 และมีค่าเบี่ยงเบน 0.72 และพฤติกรรมที่ให้ความสาคัญในการจัดการความเสี่ยงทุกด้านร่วมกันได้ มี คะแนนเฉลี่ยของระดับการนาพฤติกรรมน้ันไปปฏิบัติให้เห็นปานกลาง มีค่าเฉล่ีย 3.45 และมีค่าเบี่ยงเบน 0.68 32

ตารางที่ 5.7 ระดับการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบ เห็น ด้าน T: Transparency (ความโปรง่ ใสตามหลักธรรมาภิบาล) รายการประเมนิ ������̅ S.D. ระดับ 1. มีความรู้ ความเข้าใจในระเบียบวิธีปฏิบัติงาน ข้อบังคับ 4.02 0.56 มาก จรรยาบรรณในการทางานขององค์กร และหลักธรรมาภบิ าล 2. ประพฤติปฏิบัติตา มกฎ ระเบียบ จริยธรรมและ 4.13 0.65 มาก จรรยาบรรณวิชาชีพด้วยความเต็มใจและปฏิบัติได้อย่าง สมา่ เสมอจนเป็นกจิ วตั รประจา 3. ทางานด้วยความซ่ือสัตย์สุจริต ไม่มีความคิดท่ีจะทุจริต 4.33 0.86 มาก หรอื คดโกง 4. ทางานด้วยความโปร่งใสสามารถเปิดเผยข้อมูลในการ 4.15 0.83 มาก ทางานและพรอ้ มรับการตรวจสอบ 5. รับผิดชอบ และเอาใจใส่มุ่งมั่นทางานที่ได้รับผิดชอบให้ 4.23 0.66 มาก สาเร็จตามวัตถุประสงคอ์ย่างครบถ้วน ถูกต้อง และตรงต่อ เวลา 6. กล้านาเสนอข้อมลู ท่ีถูกต้องและมคี วามเชื่อถือได้ 3.98 0.84 มาก 7. เปิดเผยข้อมูลต่าง ๆ ที่ชัดเจน เช่ือถือได้เพ่ือให้ผู้มีส่วนได้ 4.65 0.72 มากท่สี ุด ส่วนเสีย และผู้รับบรกิ ารไดพ้ จิ ารณาและใชป้ ระโยชน์ 8. ให้ความร่วมมือช่วยเหลอื ภารกจิ ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ต่อสงั คม 4.25 0.97 มาก 9. รักษาผลประโยชน์ขององค์กร และปกป้องข้อมูลที่เป็น 4.30 0.45 มาก ความลับขององคก์ ร 10. รักและผูกพันกับองค์กร และร่วมส่งเสริมภาพลักษณ์ทดี่ ี 3.45 0.68 ปานกลาง ใหแ้ ก่องค์กร 11. ให้ความสาคัญกับการประเมินความเสี่ยงตามหลักธรร 4.32 0.81 มาก มาภบิ าล และความเส่ียงต่อการทจุ ริตประพฤตมิ ิชอบของการ ปฏิบัติหน้าท่ี/การดาเนินงานใด ๆ รวมทั้งกาหนดแนวทาง เพื่อปอ้ งกนั หรอื ลดความเส่ียงน้ัน เฉลีย่ ภาพรวม 4.17 0.73 มาก จากตารางที่ 5.7 พบว่า คะแนนเฉล่ียภาพรวมของระดับการนาพฤติกรรมตามคุณลกั ษณะวฒั นธรรม องค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบเห็น ด้าน T: Transparency (ความโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาล) มีค่าเฉลี่ย 4.15 และมีค่าเบี่ยงเบน 0.72 ซ่ึงค่าคะแนนจากการประเมินส่วนใหญ่จะมีแนวโน้มไปในทิศทาง เดียวกันเน่ืองจากความเบ่ียงเบนมีค่าไม่สูงมากนัก และภาพรวมมีการนาพฤติกรรมนั้นไปปฏบิ ัตใิ หเ้ ห็นมาก ถ้า มองเป็นรายการจะพบวา่ เปดิ เผยขอ้ มูลต่าง ๆ ทีช่ ัดเจน เชอื่ ถือได้เพื่อให้ผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสีย และผู้รับบริการได้ พิจารณาและใช้ประโยชน์ มคี ะแนนเฉล่ยี การนาพฤติกรรมนน้ั ไปปฏิบัตใิ หเ้ ห็นมากทส่ี ุด มีคา่ เฉล่ีย 4.65 และมี ค่าเบ่ียงเบน 0.72 และพฤติกรรมท่ีรักและผูกพันกับองค์กร และร่วมส่งเสริมภาพลักษณ์ท่ีดีให้แก่องค์กร มี คะแนนเฉลี่ยของระดับการนาพฤติกรรมนั้นไปปฏิบัติให้เห็นปานกลาง มีค่าเฉลี่ย 3.45 และมีค่าเบี่ยงเบน 0.68 33

ตารางท่ี 5.8 ภาพรวมระดับการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดง ใหพ้ บเหน็ SMART EXAT รายการประเมิน ������̅ S.D. ระดับ S: Service Excellence (การบริการทีเ่ ปน็ เลิศ) 4.20 0.72 มาก M: Move toward Innovation (การขับเคล่ือนองค์กรด้วย 4.15 0.72 มาก นวัตกรรม) A: Able to work with Digital Solution (ความสามารถ 4.17 0.73 มาก ทางานโดยใชด้ ิจทิ ลั โซลูช่ัน) R: Ready to Change with Teamwork (ความพร้อมรับ 4.15 0.72 มาก การเปล่ียนแปลงดว้ ยการทางานเปน็ ทีม) T: Transparency (ความโปร่งใสตามหลักธรรมาภบิ าล) 4.17 0.73 มาก เฉลยี่ ภาพรวม 4.17 0.73 มาก จากตารางที่ 5.8 พบว่า คะแนนเฉลี่ยภาพรวมของระดบั การนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะวฒั นธรรม องค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบเหน็ ของ SMART EXAT มคี า่ เฉล่ยี 4.17 และมีค่าเบีย่ งเบน 0.72 ซึ่งค่าคะแนนจากการประเมินส่วนใหญ่จะมีแนวโน้มไปในทิศทางเดียวกันเน่ืองจากความเบ่ียงเบนมีค่าไม่สูง มากนัก และภาพรวมมกี ารนาพฤตกิ รรมน้นั ไปปฏบิ ตั ใิ ห้เหน็ มาก 5.4 ผลการวิเคราะหผ์ ลการประเมินคุณลักษณะวฒั นธรรมองค์กรของ กทพ. นอกจากการสรุปข้อมูลที่ได้จากการประเมินข้างต้นท่ีผ่านมา จะเป็นการอธิบายหรือพรรณนาถึง ลักษณะของข้อมูลท้ังท่ีแยกเป็นรายการและสรุปในภาพรวมทั้งหมด แต่การรายงานเพียงข้อมูลดังกล่าวไม่ สามารถบอกถึงประสิทธภิ าพของการสง่ เสริมกิจกรรมตามคุณลักษณะวัฒนธรรมธรรมองค์กรของ กทพ. ได้ใน ระดับความเช่ือถือได้เชิงวิชาการ ในการหาประสิทธิภาพของการส่งเสริมกิจกรรมดังกล่าวจะต้องมีการ คาดคะเนคาตอบหรือทานายไว้ล่วงหน้าอย่างมีเหตุผล ด้วยการนาข้อมูลข้อมูลจริงท่ีได้จากการประเมินมา วิเคราะห์ทางสถติ ิเพ่ือดวู ่าผลที่ได้มีความสอดคล้องกับสิ่งที่องค์กรคาดคะเน (ตอ่ ไปนี้จะเรียบว่า สมมติฐานทาง สถติ )ิ หรือไม่ ด้วยการนาขอ้ มลู มาทดสอบสมมตฐิ านทางสถติ ิ ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะวฒั นธรรมขององค์กร ของ กทพ. จะใชต้ ั้งสมมติฐานทางสถิติทจ่ี ะยอมรบั หรือปฏิเสธนนั้ จะกาหนดความผิดพลาดประเภทท่ี 1 (Type I error) ที่ระดับนัยสาคัญ (Significant level) ค่า  = .05 โดยทาง กทพ. สามารถใช้โปรแกรมทางสถิติใน การวิเคราะห์ อาทเิ ช่น spss, pspp, jamovi หรือ excel เป็นตน้ การรายงานผลการวิเคราะหผ์ ลการประเมิน ตามคุณลกั ษณะของวัฒนธรรมองคก์ รของ กทพ. ประกอบดว้ ย 5.4.1 การเปรียบเทียบภาพรวมคะแนนเฉลีย่ การนาพฤติกรรมตามคุณลกั ษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัตจิ นแสดงให้พบเหน็ SMART EXAT กบั ความคาดหวงั ขององค์กร กทพ. ก า ร เ ป รี ย บ เ ที ย บ น้ี จ ะน า ข้ อมู ล ที่ ได้ จ า ก เ ฉ ลี่ ย ภ า พร วม ข อง ค ะแ น น เ ฉ ลี่ ย ก า ร น า พฤ ติ ก ร ร ม ตาม คุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ.(จากตารางท่ี 5.8) ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบเห็น SMART EXAT รายบุคคลเปรยี บเทียบกับคะแนนภาพรวมของความคาดหวังของ กทพ. ทีก่ าหนด จะใช้การทดสอบสมมติฐาน Z-test เนื่องจากกลุ่มตวั อยา่ ง >30 ,= .05 และท่ี ������������ = 1.65 ������̅−������0 ������ = ������������⁄√������ 34

สมมติว่าทาง กทพ. กาหนดความคาดหวังของพฤติกรรมตามคุณลักษณะวฒั นธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏบิ ัตจิ นแสดงให้พบเหน็ ไว้มากกวา่ 4.00 คะแนน ดงั นน้ั สมมตฐิ านทางสถิติ คอื H0: 0  4.00 H1: 0 4.00 ตัวอย่างการเขียนรายงาน ตารางที่ 5.9 การเปรียบเทียบภาพรวมคะแนนเฉล่ียการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏบิ ตั ิจนแสดงใหพ้ บเหน็ SMART EXAT กับความคาดหวังขององคก์ ร กทพ. รายการ n ������̅ S.D. Z ������������ การนาพฤติกรรมตามคณุ ลักษณะ 373 4.17 0.73 4.50 1.65 วัฒนธรรมองคก์ รของ กทพ. ไป ปฏบิ ัตจิ นแสดงใหพ้ บเหน็ *มีระดับนยั สาคัญทางสถติ ทิ ี่ .05 จากตารางที่ 5.9 พบว่าค่า Z > Z ดังน้ันภาพรวมคะแนนเฉลี่ยการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะ วัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏบิ ัตจิ นแสดงให้พบเหน็ SMART EXAT มีคะแนนเฉลีย่ นสูงกวา่ ความคาดหวัง ขององค์กร กทพ. คอื ไม่ตา่ กว่า 4.00 อยา่ งมีระดับนยั สาคัญทางสถติ ทิ ่ี .05 5.4.2 การเปรียบเทียบความแตกต่างของผลคะแนนเฉล่ียการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะ วัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบเห็น SMART EXAT แยกตามกลุ่มช่วงปี พ.ศ. ท่ีเกิด (Generation) การเปรยี บเทียบความแตกต่างของผลคะแนนเฉลีย่ การนาพฤติกรรมตามคุณลกั ษณะวฒั นธรรมองค์กร ของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบเห็น SMART EXAT กับกลุ่มข้อมูลสถานภาพของพนักงานแยกตามกลุ่ม ช่วงปี พ.ศ. ท่เี กิด (Generation) จะใช้รปู แบบการวิเคราะหค์ วามแปรปรวน (Analysis of Variance: ANOVA) เพื่อทดสอบคะแนนเฉลี่ยการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้ พบเห็นด้วยการหาความแตกต่างของคะแนนเฉล่ียระหว่างกลุ่มและภายในกลุ่ม ว่าภาพรวมของการนา พฤติกรรมตามคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏบิ ตั จิ นแสดงให้พบเห็นของกลุ่มช่วงปี พ.ศ. ทีเ่ กิด (Generation) มคี วามแตกต่างกนั หรือไม่ ถ้าแตกตา่ งกนั จะมีช่วงปีเกิดไหนท่ีแตกต่างบา้ ง ดังนัน้ สมมติฐานทาง สถิติ คือ H0: BB = X = Y =Z H1: มีค่าเฉลีย่ อยา่ งนอ้ ย 1 คทู่ ่ีแตกตา่ งกัน ตัวอย่างการเขียนรายงาน ตารางที่ 5.10 ความแตกต่างของผลคะแนนเฉลี่ยการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบเห็น SMART EXAT กับกลุ่มข้อมูลสถานภาพของพนักงานแยกตามกลุ่มช่วงปี พ.ศ. ท่เี กิด (Generation) แหล่งความแปรปรวน ss df MS F p ระหว่างกลุ่ม 2.85 5 0.57 2.90 .001 ภายในกลุ่ม 77.62 456 0.19 35

จากตารางที่ 5.10 พบว่า ค่า p < .05 แสดงว่าผลคะแนนเฉลี่ยการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะ วัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบเห็น SMART EXAT กับกลุ่มข้อมูลสถานภาพของ พนักงานแยกตามกลุ่มช่วงปี พ.ศ. ที่เกิด (Generation) จะมีคะแนนเฉล่ียที่แตกต่างกันอย่างน้อย 1 คู่ อย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ดังนั้นจึงทาการเปรียบเทียบพหุคูณ โดยวิธีทดสอบแบบ Tukey เพ่ือพิจารณา ว่าคะแนนเฉลยี่ ของค่ใู ดบา้ งทแ่ี ตกต่างกนั ดังตารางที่ 5.11 ตารางที่ 5.11 ผลการทดสอบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะวัฒนธรรม องคก์ รของ กทพ. ไปปฏิบัตจิ นแสดงใหพ้ บเหน็ SMART EXAT รายคู่ ชว่ งปี พ.ศ.ท่ีเกดิ ������̅ 2489 – 2507 2508 – 2522 2523 – 2540 หลังปี 2540 3.98 4.21 4.35 4.10 2489 – 2507 3.98 - .26 .36 .03* 2508 – 2522 4.21 - - .65 .04* 2523 – 2540 4.35 - - - .01* หลงั ปี 2540 4.10 - - -- *p < .05 จากตารางท่ี 5.11 ผลการเปรียบเทียบรายคู่ของการทดสอบความแตกต่างของคะแนนเฉล่ียการนา พฤตกิ รรมตามคุณลักษณะวฒั นธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏบิ ตั จิ นแสดงให้พบเหน็ SMART EXAT ตามชว่ งปี พ.ศ. ท่ีเกิด (Generation) พบว่า คะแนนเฉลี่ยการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบเห็น SMART EXAT ช่วงปีที่เกิด พ.ศ. 2489 – 2507 มีคะแนนเฉล่ียน้อยกว่า พนักงานที่เกิดในช่วงปี พ.ศ. อ่ืนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนการเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียของ พนักงานทเี่ กดิ ในชว่ งปี พ.ศ.อื่น ๆ ไมม่ ีความแตกตา่ งกนั 5.4.3 การเปรียบเทียบความแตกต่างของผลคะแนนเฉล่ียการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะ วัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบเห็น SMART EXAT แยกตามกลุ่มอายุงานในการปฏิบัติ หน้าท่ใี น กทพ. การเปรยี บเทยี บความแตกต่างของผลคะแนนเฉล่ยี การนาพฤติกรรมตามคุณลกั ษณะวฒั นธรรมองค์กร ของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบเห็น SMART EXAT กับกลุ่มอายุงานในการปฏิบัติหน้าท่ีใน กทพ. จะใช้ รูปแบบการวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance: ANOVA) เพ่ือทดสอบคะแนนเฉล่ียการนา พฤติกรรมตามคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบเห็นด้วยการหาความแตกต่าง ของคะแนนเฉลี่ยระหว่างกลุ่มและภายในกลุ่ม ว่าภาพรวมของการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะวัฒนธรรม องค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบเห็นของกลุ่มอายุงานในการปฏิบัติหน้าที่ใน กทพ. มีความแตกต่าง กนั หรอื ไม่ ถ้าแตกตา่ งกันจะมีชว่ งอายุไหนที่แตกตา่ งบา้ ง ดังน้ันสมมติฐานทางสถิติ คอื H0: 1 = 2 = 3 =4 = 5 =6 H1: มีค่าเฉลีย่ อย่างนอ้ ย 1 คูท่ ี่แตกตา่ งกัน 36

ตวั อยา่ งการเขยี นรายงาน ตารางที่ 5.12 ความแตกต่างของผลคะแนนเฉล่ียการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัตจิ นแสดงให้พบเห็น SMART EXAT แยกตามกลมุ่ อายุงานในการปฏบิ ตั ิหน้าท่ใี น กทพ. แหล่งความแปรปรวน ss df MS F p ระหว่างกลุ่ม 2.85 5 0.57 2.90 .001 ภายในกลมุ่ 77.62 456 0.19 จากตารางท่ี 5.12 พบว่า ค่า p < .05 แสดงว่าผลคะแนนเฉล่ียการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะ วัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบเห็น SMART EXAT กับกลุ่มอายุงานในการปฏิบัติหน้าที่ ใน กทพ. จะมคี ะแนนเฉล่ยี ทีแ่ ตกต่างกันอยา่ งน้อย 1 คู่ อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถติ ิที่ระดับ .05 ดงั นน้ั จงึ ทาการ เปรียบเทียบพหุคูณ โดยวิธีทดสอบแบบ Tukey เพ่ือพิจารณาว่าคะแนนเฉลี่ยของคู่ใดบ้างที่แตกต่างกัน ดัง ตารางท่ี 5.11 ตารางที่ 5.13 ผลการทดสอบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะวัฒนธรรม องค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบเห็น SMART EXAT รายคู่ อายุงานในการ <2 2-5 >5-10 >10-15 >15-20 >20 ปฏิบัติหน้าท่ีใน ������̅ 4.23 3.98 4.21 4.35 4.10 4.09 กทพ. (ปี) <2 4.23 - .26 .36 .41 .65 .07 2-5 3.98 - - .08 .02* .10 .07 >5-10 4.21 - - - .09 .21 .09 >10-15 4.35 - - - - .34 .10 >15-20 4.10 - - - - - .23 >20 4.09 - - - - - - *p < .05 จากตารางที่ 5.13 ผลการเปรียบเทียบรายคู่ของการทดสอบความแตกต่างของคะแนนเฉล่ียการนา พฤติกรรมตามคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบเห็น SMART EXAT ตามอายุ งานในการปฏิบัติหน้าท่ีใน กทพ. พบว่า คะแนนเฉลี่ยการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบเห็น SMART EXAT อายุงานในการปฏิบัติหน้าท่ีใน กทพ. 2-5 ปี มีคะแนน เฉล่ียน้อยกว่าพนักงานท่ีอายุงานในการปฏิบัติหน้าที่ใน กทพ. 10-15 ปี อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนการเปรยี บเทียบคะแนนเฉลี่ยของพนกั งานทเี่ กดิ ในช่วงปี พ.ศ.อน่ื ๆ ไม่มีความแตกต่างกนั 5.4.4 การเปรียบเทียบความแตกต่างของผลคะแนนเฉลี่ยการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะ วัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบเห็น SMART EXAT แยกตามกลุ่มตามลักษณะการ ปฏบิ ตั งิ าน ก า ร เ ป รี ย บ เ ที ย บ นี้ จ ะ น า ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ า ก เ ฉ ล่ี ย ภ า พ ร ว ม ข อ ง ค ะ แ น น เ ฉ ล่ี ย ก า ร น า พ ฤ ติ ก ร ร ม ตาม คุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบเห็น SMART EXAT รายบุคคลเปรียบเทียบ กับคะแนนภาพรวมของกลุ่มตามลักษณะการปฏิบัติงาน ซ่ึงจะมีเพียง 2 กลุ่ม จะใช้การทดสอบสมมติฐาน Z- 37

test แบบ Independent sample test เน่ืองจากกลุ่มตัวอย่าง >30 และท่ี ������������/2 ที่  = .05 มีค่า = 1.96 จะใชก้ ารทดสอบสมมติฐาน Z-test ������ = ���̅̅���̅1̅−���̅̅���̅2̅ √������������121+������������222 การเปรยี บเทยี บความแตกต่างของผลคะแนนเฉล่ียการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะวฒั นธรรมองค์กร ของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบเห็น SMART EXAT แยกเป็น 2 กลุ่มตามลักษณะการปฏิบัติงาน ได้แก่ สายปฏบิ ัติงานสานกั งานมีคะแนนเฉลย่ี (x1) ค่าเบยี่ งเบน (S1) จานวนกลุม่ ตัวอย่าง (n1) และสายปฏิบตั ิการมี คะแนนเฉลยี่ (x2) ค่าเบยี่ งเบน (S2) จานวนกลมุ่ ตวั อยา่ ง (n2) ดังนัน้ สมมตฐิ านทางสถติ ิ คือ H0: 1 = 2 H1: 1  2 ตัวอย่างการเขียนรายงาน ตารางที่ 5.14 การเปรยี บเทียบภาพรวมคะแนนเฉลี่ยการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏบิ ตั ิจนแสดงใหพ้ บเหน็ SMART EXAT กับความคาดหวังขององค์กร กทพ. รายการ n ������̅ S.D. Z ������������ สายปฏบิ ตั ิงานสานักงาน 90 4.17 0.73 0.9 1.96 สายปฏบิ ัติการ 283 4.08 1.12 *มีระดับนัยสาคญั ทางสถติ ทิ ่ี .05 จากตารางท่ี 5.14 การเปรียบเทียบความแตกต่างของผลคะแนนเฉล่ียการนาพฤติกรรมตาม คุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบเห็น SMART EXAT แยกตามกลุ่มตาม ลักษณะการปฏิบัติงาน พบว่าค่า Z < Z ดังนั้นภาพรวมคะแนนเฉล่ียการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะ วัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบเห็น SMART EXAT ของกลุ่มงานสานักงานมีคะแนน เฉล่ียนไมแ่ ตกต่างกับสายปฏบิ ัตกิ าร อย่างมีระดบั นยั สาคัญทางสถิติท่ี .05 5.4.5 การหาความสัมพันธ์ของคะแนนเฉลยี่ ของการรับรแู้ ละเข้าใจกบั คะแนนเฉล่ียการนาพฤติกรรม ตามคณุ ลกั ษณะวฒั นธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏบิ ตั จิ นแสดงใหพ้ บเห็น SMART EXAT การทดสอบว่าผลการประเมินตนเองของพนักงานมีระดับคะแนนด้านการรับรู้และเข้าใจจากการ ขับเคล่ือนวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. กับผลการประเมินตนเองของการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะ วัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติให้เห็นว่าตัวแปรทั้ง 2 นั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไร การทดสอบจะอยู่ ในรูปแบบของเมตริกซ์สหสัมพันธ์ โดยใช้สูตรสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson product moment Correlation Coefficient) ในการคานวณ ในการทดสอบนัยสาคัญของสหสัมพันธ์นี้จะใช้การอ้างอิงผลการคานวณที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างไปยัง ประชากร ที่  = .05 โดยมสี มมติฐาน 38

H0:  = 0 H1:   0 ผลการคานวณที่ได้จะสามารถแปลความหมายของความสมั พันธ์ ดงั นี้ ค่าระหว่าง 0.90 – 1.00 หมายถงึ มคี วามสัมพันธ์ในระดับสูงมาก ค่าระหวา่ ง 0.70 – 0.89 หมายถงึ มีความสัมพันธ์ในระดับสูง ค่าระหวา่ ง 0.50 – 0.69 หมายถึง มีความสัมพนั ธใ์ นระดบั ปานกลาง ค่าระหว่าง 0.26 – 0.49 หมายถึง มคี วามสัมพันธ์ในระดับต่า คา่ ระหวา่ ง 0.00 – 0.25 หมายถงึ มคี วามสัมพันธใ์ นระดบั ตา่ มาก ตวั อยา่ งการเขยี นรายงาน ตารางที่ 5.15 ความสัมพันธ์ของคะแนนเฉลี่ยของการรับรู้และเข้าใจกับคะแนนเฉล่ียการนาพฤติกรรมตาม คุณลักษณะวฒั นธรรมองคก์ รของ กทพ. ไปปฏบิ ัตจิ นแสดงให้พบเห็น SMART EXAT ตวั แปร การรบั รแู้ ละเขา้ ใจ การนาไปปฏิบัติจนแสดง ให้พบเหน็ การรับรู้และเข้าใจ Pearson’s r - p-value - การนาไปปฏิบัติจนแสดงใหพ้ บเห็น Pearson’s r 0.842* - p-value <.001 - * p<.05 จากตารางที่ 5.15 การหาความสัมพันธ์ของคะแนนเฉล่ียของการรับรู้และเข้าใจกับคะแนนเฉลี่ยการ นาพฤติกรรมตามคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบเห็น SMART EXAT พบว่า ผลการรับรู้และความเข้าใจกิจกรรมการส่งเสริมคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. มีความสัมพันธ์ใน ระดับสูงกับผลการนาพฤติกรรมตามคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ไปปฏิบัติจนแสดงให้พบเห็น อย่างมรี ะดบั นัยสาคญั ทางสถิตทิ ่ี .05 5.5 สรุปจดุ เด่น จุดทีค่ วรพัฒนา และข้อเสนอแนะ องค์กรจะได้ทราบถึงผลสรุปถึงการนาพฤติกรรมไปปฏิบัติที่ผ่านมาว่ามีจุดเด่นและจุดที่ควรพัฒนา อะไรบ้างทั้งภาพรวมตามรายคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กร กทพ. ผลของการสรุปนี้จะถูกนาเสนอในลักษณะ การพรรณนาในภาพรวมของระดับกองหรือฝ่าย และภาพรวมท้ังหมด เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการทบทวนกล ยทุ ธแ์ ละกจิ กรรมส่งเสรมิ วฒั นธรรมของ กทพ. ต่อไป ตวั อย่างการเขียนรายงาน สรุปผลการประเมินจากการรวบรวมผลสรุปในแบบประเมิน ในหัวข้อสรุปคะแนนเฉลี่ยของแต่ละ คุณลักษณะตาม SMART EXAT โดยรวบรวมผลจากการที่พนักงานได้ประเมินตนเองและพิจารณาผลต่าง ระหว่างค่าท่ีประเมินกับค่าที่องค์กรคาดหวังเมื่อผลท่ีได้เป็นค่าบวก รายคุณลักษณะน้ันจะเป็นจุดเด่น หรือถ้า ผลทไี่ ดเ้ ปน็ คา่ ลบ รายคณุ ลักษณะนนั้ จะเป็นจุดท่ีควรพฒั นา ดงั ตารางท่ี 5.16 39

ตารางที่ 5.16 สรุปผลการประเมินจุดเด่นและจุดที่ควรพัฒนาตามรายคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. สดั สว่ นข้อเสนอแนะ คณุ ลกั ษณะ ������̅ S.D. จานวน สดั ส่วน เด่น พฒั นา เดน่ พฒั นา S: Service Excellence 4.20 0.72 276 97 0.74 0.26 M: Move toward 4.15 0.72 323 50 0.87 0.13 Innovation A: Able to work with Digital 4.17 0.73 297 76 0.80 0.20 Solution R: Ready to Change with 4.15 0.72 345 28 0.92 0.08 Teamwork T: Transparency 4.17 0.73 365 8 0.98 0.02 เฉล่ียภาพรวมทั้งหมด 4.17 0.73 321.20 51.80 0.86 0.14 จากตารางที่ 5.16 ภาพรวมของข้อเสนอจากผลการประเมินของพนักงานทั้งหมด พบว่าสัดส่วนของ การนาพฤตกิ รรมตามคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. เฉลีย่ ภาพรวมท้งั หมดส่วนใหญม่ ีจดุ เด่นสามารถ นาไปปฏิบัติจนพบเห็นได้สูงกว่าจุดที่ควรพัฒนา (0.86 : 0.14) ถ้ามองในรายด้านของคุณลักษณะ SMART EXAT พบวา่ ทกุ รายดา้ นพนักงานส่วนใหญ่มจี ดุ เดน่ สูงกว่าจดุ ทคี่ วรพฒั นา แสดงถงึ วา่ พนักงานของ กทพ. สว่ น ใหญม่ คี ณุ ลกั ษณะตามวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ตามท่อี งค์กรคาดหวัง ในดา้ นข้อเสนอพฒั นาพฤติกรรมย่อยตามคุณลกั ษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. เรียงลาดับจากมาก ไปหาน้อย ตามตารงท่ี 5.17 ตารางที่ 5.17 แสดงข้อเสนอการพฒั นาพฤตกิ รรมย่อยตามคุณลักษณะวฒั นธรรมองค์กรของ กทพ. พฤติกรรมย่อยตามคณุ ลักษณะวัฒนธรรมองคก์ รของ กทพ. จานวน รอ้ ยละ ลาดบั S: Service Excellence (การบริการที่เป็นเลศิ ) มีพฤติกรรมในการให้บริการท่ีแสดงออกถึงความตั้งใจ เอาใจใส่ 45 46.39 1 และมีความจรงิ ใจตอ่ ลกู คา้ และผรู้ ่วมงาน มีความอดทน อดกลั้น สามารถเก็บอารมณ์ในขณะให้บรกิ ารได้ 38 39.18 2 คิดหาวิธีการ แนวทางในการปรับปรุงกระบวนการทางานเพื่อ 14 14.43 3 พฒั นาคณุ ภาพของการบริการ อย่เู สมอ M: Move toward Innovation (การขับเคล่ือนองค์กรด้วยนวัตกรรม) มีความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์ในเร่ืองท่ีดีมีประโยชน์ กล้า 25 50.00 1 คดิ นอกกรอบ กล้าแสดงความคิดเหน็ ทแี่ ตกตา่ ง มีความสามารถคิดวิเคราะห์ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการทางานและ 15 30.00 2 สามารถตัดสินใจแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าได้ 40

พฤติกรรมย่อยตามคุณลกั ษณะวัฒนธรรมองคก์ รของ กทพ. จานวน ร้อยละ ลาดับ สามารถนาเสนอ ชักจูง ให้บุคคลอื่นร่วมมือหรือเห็นชอบใน 8 16.00 3 กระบวนการทางาน หรือธรุ กิจที่คิดขึ้นใหม่ สามารถจัดการความเสย่ี งในดา้ นนวัตกรรมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 2 4.00 4 A: Able to work with Digital Solution (ความสามารถทางานโดยใชด้ ิจทิ ลั โซลูชั่น) ใชข้ อ้ มูล หรอื ข้อเทจ็ จริงในการปฏิบัตงิ าน 30 39.47 1 ดสนิ ใจเรอ่ื งต่าง ๆ ทีม่ คี วามสาคัญไดบ้ นพ้นื ฐานข้อมูล 21 27.63 2 สามารถใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั เพอื่ การทางานรว่ มกนั ได้ 15 19.74 3 สามารถจัดการความเสี่ยงในเรือ่ งเทคโนโลยีดจิ ิทัลได้อย่างเหมาะสม 10 13.16 4 R: Ready to Change with Teamwork (ความพร้อมรับการเปลยี่ นแปลงด้วยการทางานเป็นทีม) สนกุ กับการทางาน มีมมุ มองการปฏบิ ตั งิ านทเ่ี ปน็ บวก 13 46.43 1 ติดตามข้อมูล ข่าวสาร ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงทั้งภายในและ 10 35.71 2 ภายนอกองคก์ ร ใหค้ วามสาคัญในการจัดการความเสีย่ งทกุ ดา้ นรว่ มกันได้ 5 17.86 3 T: Transparency (ความโปร่งใสตามหลกั ธรรมาภบิ าล) ทางานดว้ ยความซื่อสตั ย์สุจรติ ไม่มคี วามคิดทจ่ี ะทจุ ริต หรอื คดโกง 3 37.50 1 มีความรู้ ความเข้าใจในระเบียบวิธีปฏิบัติงาน ข้อบังคับ 2 25.00 2 จรรยาบรรณในการทางานขององคก์ ร และหลกั ธรรมาภบิ าล ให้ความร่วมมือชว่ ยเหลอื ภารกจิ ทีเ่ ป็นประโยชนต์ ่อสังคม 2 25.00 3 กลา้ นาเสนอขอ้ มูลท่ีถกู ตอ้ งและมีความเชอ่ื ถือได้ 1 12.50 4 จากตารางที่ 5.17 พบว่าข้อเสนอในการพัฒนาพฤติกรรมย่อยตามคุณลกั ษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. เพื่อใช้เป็นแนวทางในการกาหนดกลยุทธ์และกิจกรรมส่งเสริม ได้แก่ ด้าน S: Service Excellence (การบริการท่ีเป็นเลิศ) มีจานวน 3 พฤติกรรม ด้าน M: Move toward Innovation (การขับเคล่ือนองค์กร ดว้ ยนวัตกรรม) มีจานวน 4 พฤติกรรม ด้าน A: Able to work with Digital Solution (ความสามารถทางาน โดยใช้ดิจิทัลโซลูชั่น) มีจานวน 4 พฤติกรรม ด้าน R: Ready to Change with Teamwork (ความพร้อมรับ การเปลี่ยนแปลงด้วยการทางานเป็นทีม) มีจานวน 3 พฤติกรรม และด้าน T: Transparency (ความโปร่งใส ตามหลกั ธรรมาภบิ าล) มจี านวน 4 พฤตกิ รรม 41

6. ภาคผนวก 6.1 แบบประเมินแบบประเมินผลตามคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของการทางพิเศษแห่งประเทศ ไทย 6.2 ตัวอย่างการใช้แบบประเมินผลตามคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของการทางพิเศษแห่งประเทศ ไทย 42

แบบประเมนิ ผลตามคุณลกั ษณะวัฒนธรรมองคก์ ร ของการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย รหสั พนกั งาน_______________ คาช้ีแจง: คุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. นับว่าเป็นเร่ืองสาคัญเนื่องจากวัฒนธรรมองค์กรเป็นกลไกที่ สาคัญในการกาหนดพฤติกรรมในการทางานของบุคลากรเพื่อให้องค์กร กทพ. สามารถดาเนินการสู่การบรรลุ วิสัยทัศน์ เพื่อให้ทราบผลสัมฤทธิ์ของการส่งเสริมกิจกรรมในการพัฒนาคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ. ในปีท่ีผ่านมา จึงต้องจัดให้มีการดาเนินการติดตามและประเมินผลด้วยการรวบรวมข้อมูลที่เป็นสาระ ตามคุณลักษณะพฤติกรรมที่กาหนดจากคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กร และยังสอดคล้องตามหลักเกณฑ์การ ประเมินกระบวนการและการจัดการรัฐวิสาหกิจ (SE-AM) จากการประเมินตนเองของพนักงานและการ ประเมินตรวจสอบยืนยันจากผู้ประเมิน เพื่อนามาพิจารณาตัดสินคุณค่าของผลการดาเนินงานที่เทียบกับ เป้าหมายที่กาหนดไว้ และเพ่ือนาผลที่วิเคราะห์มาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาและปรับปรุงการดาเนินงาน ส่งเสรมิ ของหน่วยงานต่อไป แบบประเมินน้จี ะแบง่ เปน็ 4 ตอน ได้แก่ ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ผู้ประเมินตนเอง ตอนที่ 2 ระดบั ของการรับรคู้ ุณลักษณะวฒั นธรรมองค์กรของ กทพ. ตอนท่ี 3 ระดับของการนาพฤติกรรมไปปฏบิ ตั ิให้เหน็ ในองค์กร ตอนที่ 4 สรปุ ผลการประเมิน ________________________________________________________________________________ ตอนที่ 1 ขอ้ มูลผูป้ ระเมนิ ตนเอง คาชแี้ จง: ให้ท่าน ✓ ลงในช่อง  ข้อความทตี่ รงกบั สถานภาพขอ้ มลู ที่เป็นความจรงิ เกยี่ วกับตวั ทา่ น 1. เพศ  ชาย  หญิง 2. ชว่ งปี พ.ศ. ท่ที ่านเกิด  2489 – 2507  2508 – 2522  2523 – 2540  หลงั ปี 2540 3. ระดับการศึกษาสูงสดุ  ตา่ กว่าอนุปรญิ ญา หรือ ปวส.  อนปุ ริญญา หรือ ปวส.  ปริญญาตรี  สูงกว่าปรญิ ญาตรี 4. อายงุ านในการปฏบิ ัติหนา้ ท่ี กทพ.  น้อยกว่า 2 ปี  2 – 5 ปี  มากกว่า 5 – 10 ปี  มากกวา่ 10 – 15 ปี  มากกว่า 15 – 20 ปี  มากกว่า 20 ปี 5. สถานะภาพของท่านใน กทพ.  พนกั งาน  ลูกจ้าง 6. ลกั ษณะการปฏบิ ตั ิงาน  สายปฏิบตั งิ านสานักงาน  สายปฏิบตั ิการ 43

7. กลุ่มตาแหนง่ และระดับ  กล่มุ เทคนคิ และปฏบิ ัติการ (ระดับ 1-6)  กล่มุ ผู้บรหิ ารระดบั ต้น (ระดบั 7)  กลมุ่ ผบู้ รหิ ารระดับกลาง (ระดับ 8-9)  กลุม่ ผู้บริหารระดับสูง (ระดบั 10-11) 8. ฝา่ ยทีท่ า่ นสังกดั  สานักผูว้ ่าการ  กลุม่ ตรวจสอบภายใน  ผู้ช่วยผวู้ า่ การ  ฝ่ายบรหิ ารทว่ั ไป  ฝ่ายการเงนิ และบญั ชี  ฝ่ายนโยบายและแผน  ฝ่ายสารสนเทศ  ฝ่ายกรรมสิทธิท์ ด่ี นิ  ฝา่ ยกฎหมาย  ฝา่ ยบารุงรักษา  ฝา่ ยกอ่ สรา้ งทางพเิ ศษ  ฝ่ายควบคมุ จารจร  ฝ่ายจัดเก็บคา่ ผา่ นทาง 9. กองที่ทา่ นสังกัด  กองกลางและการประชุม  กองประชาสัมพันธ์  กองกากบั ดูแลกจิ การท่ีดี  กองพฒั นาธรุ กิจและการตลาด กองตรวจสอบภายใน 1  กองตรวจสอบภายใน 2  กองบรหิ ารทรัพยากรบุคคล  กองจดั ซื้อจัดจ้าง  กองสวสั ดกิ ารและพนักงานสมั พันธ์  กองพฒั นาทรัพยากรบคุ คล  กองพัฒนาองค์กร  กองวางแผนและวเิ คราะหโ์ ครงการ  กองระบบงานคอมพวิ เตอร์  กองปฏบิ ัตกิ ารคอมพวิ เตอร์  กองบริหารการเงนิ  กองตรวจสอบรายได้  กองบรหิ ารการเงนิ และกองทนุ  กองประเมนิ ผล  กองบัญชี  กองพัฒนาและรักษาเขตทาง 1  กองพฒั นาและรักษาเขตทาง 2  กองงบประมาณ  กองจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม  กองวิจยั และพฒั นา  กองจัดกรรมสิทธทิ์ ดี่ นิ  กองวิศวกรรมทางพเิ ศษ 1  กองวศิ วกรรมทางพิเศษ 2  กองคดี  กองนติ ิการ  กองออกแบบและก่อสรา้ ง  กองบริหารงานกลาง  กองสื่อสารและปฏิบัติการพเิ ศษ  กองวางแผนปฏิบตั ิการ  กองบารุงรักษาทาง  กองบารุงรักษาอาคารและความสะอาด  กองบารุงรักษาอุปกรณ์  กองจัดเก็บค่าผ่านทาง 1  กองจัดเกบ็ ค่าผา่ นทาง 2  กองจัดเก็บคา่ ผา่ นทาง 3  กองจัดเก็บค่าผ่านทาง 4  กองกู้ภยั  กองบริหารความเสีย่ งและควบคุมภายใน  กองจัดการจารจร  กองไฟฟ้า เครื่องกลและยานพาหนะ  กองบรกิ ารธุรกรรมทางอิเล็คทรอนิกส์ ________________________________________________________________________________ 44

ตอนท่ี 2 ระดับของการรบั ร้คู ุณลกั ษณะวัฒนธรรมองคก์ รของ กทพ. คาชแ้ี จง: ขอให้ทา่ นประเมนิ ตนเองดว้ ยการทาเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องคะแนนระดบั การรบั รู้ และความ เขา้ ใจ เกย่ี วข้องกับคุณลักษณะวัฒนธรรมองค์กรของ กทพ.ของทา่ น โดยมีเกณฑ์ระดบั คะแนน ดงั น้ี ระดับการรับรู้ เกณฑ์คะแนน และความเข้าใจ 5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน ความหมาย รบั รู้และเข้าใจ รับรแู้ ละเข้าใจ รับรู้และเข้าใจ รับรูแ้ ละเข้าใจ รับร้แู ละเขา้ ใจ ในทกุ ประเดน็ ในประเด็น ในบางประเดน็ ในบางประเด็น น้อยมาก มากที่สดุ สว่ นมาก น้อย หรอื ไมเ่ ข้าใจ เลย รายการประเมิน ระดับการรบั รู้และเข้าใจ 54321 วิสัยทัศน์ (Vision) กทพ. “องค์กรนวัตกรรมเพ่ือการเดินทางและ คุณภาพชีวิตทดี่ ขี ึน้ ” ค่านิยม (Value) กทพ. “บริการที่ดี พัฒนาก้าวไกล ภาพลักษณ์ใส สะอาด” ความสาคญั ของการมีวฒั นธรรมองค์กร SMART EXAT สญั ลกั ษณข์ องวัฒนธรรมองค์กร เพ่ือให้การส่ือสารวฒั นธรรมองค์กร SMART EXAT ความหมายของ S = Service Excellence: การบริการท่ีเปน็ เลศิ ความหมายของ M = Move toward Innovation: การขับเคลอ่ื น องค์กรด้วยนวตั กรรม ความหมายของ A = Able to work with Digital Solution: ความสามารถทางานโดยใชด้ ิจทิ ลั โซลชู ัน่ ความหมายของ R = Ready to Change with Teamwork : ความพร้อมรบั การเปลีย่ นแปลงด้วยการทางานเปน็ ทมี ความหมายของ T = Transparency: ความโปร่งใสตามหลักธรร มาภบิ าล ความหมายของ EXAT = EXAT Identities: อตั ลักษณข์ องคน กทพ. เป็นคนที่ “มุ่งมนั่ บริการ สรา้ งสรรคส์ คู่ วามเปน็ เลศิ ” คะแนนเฉลี่ยระดบั การรับรู้และความเขา้ ใจ *วิธคี านวณหาคะแนนระดับการรับร้แู ละความเข้าใจ คะแนนเฉลีย่ ระดบั การรบั รูแ้ ละเข้าใจ = ผลรวมระดบั คะแนนท้ังหมด / 10 ตวั อย่างเชน่ รวมคะแนนระดับการรบั รู้และเข้าใจท้ังหมดได้ 35 คะแนน ดังนั้น คะแนนเฉล่ยี ระดบั การรับรูแ้ ละความเขา้ ใจ = 41 /10 = 4.10 45


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook