๔๙ บรรณานกุ รม ประกาศ ก.ร. เร่ือง การกําหนดหนา ทีค่ วามรบั ผดิ ชอบของสวนราชการในสงั กัดสาํ นกั งาน เลขาธิการสภาผูแทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๕๔ มติคณะรฐั มนตรีวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๐ เรือ่ ง แนวทางการจดั ทําและการเสนอรางกฎหมาย ตามบทบัญญตั ิมาตรา ๗๗ ของรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
๕๐ รัฐสภาสาร ฉบับเดอื นกนั ยายน ๒๕๖๐ พฒั นาการวุฒสิ ภาไทยใน ๗ ทศวรรษ (The Thai Second Chamber Development in Seven Decades) ปณธิ ศั ร ปทมุ วฒั น๑ ๑.บทนา วุฒิสภาของประเทศไทยมีความเปนมานับแตรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๙ ไดก าํ หนดใหม สี ภาทส่ี อง เรยี กวา “พฤฒสภา” โดยมที ม่ี าจาก “การเลอื กตง้ั โดยออม” จากนั้นเม่ือไดมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๙๐ สภาทส่ี องของไทยกไ็ ดร บั การกาํ หนดชอ่ื เรยี กวา “วฒุ สิ ภา” เปน ครง้ั แรก โดยกาํ หนดให มที ม่ี าจาก “การแตง ตง้ั ” นบั แตน น้ั เปน ตน มา แมพ ลวตั รของการเมอื งไทยในเวลา ๔ ทศวรรษ ตอจากน้ันไดทําใหมีการยกเลิกและประกาศใชรัฐธรรมนูญอีกหลายฉบับ วุฒิสภาท่ีไดจัดใหมี ขึ้นในหวงระยะเวลาตอจากนั้นก็ลวนมีที่มาจากการแตงต้ังท้ังสิ้น จนกระทั่งไดมีการประกาศ ๑ นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, เนติบัณฑิตไทย สํานักอบรมศึกษากฎหมายแหง เนติบณั ฑิตยสภา และนิตศิ าสตรมหาบัณฑติ (กฎหมายมหาชน) จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลยั ปจ จุบนั ดาํ รงตําแหนง นติ กิ ร ชํานาญการ กลุมงานพัฒนากฎหมาย สาํ นกั กฎหมาย สํานกั งานเลขาธกิ ารวุฒสิ ภา.
๕๑ ใชร ฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๔๐ ขนึ้ วฒุ ิสภาของไทยจงึ ไดมที ่มี าจาก “การเลือกตง้ั โดยตรงของประชาชน” เปน ครัง้ แรกและครั้งเดยี ว จากนั้นเมื่อวุฒิสภาชุดดังกลาวไดสิ้นสุดลงโดยผลของเหตุการณรัฐประหาร ๑๙ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๔๙ วฒุ ิสภาชดุ ใหมต ามรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๐ ซ่งึ เปนรัฐธรรมนูญฉบับกอนหนา รัฐธรรมนญู ฉบับปจจุบนั ก็ไดก าํ หนดใหว ุฒิสภามีทมี่ า ในแบบผสมจากการเลือกตั้งโดยตรงและการสรรหาโดยรัฐธรรมนูญฉบับดังกลาวมีเจตนารมณ ใหการตรวจสอบอํานาจรัฐเปนไปโดยมีประสิทธิภาพ ตลอดจนมุงหมายใหการปฏิบัติหนาที่ ของสมาชิกวฒุ สิ ภามีความเปน กลาง ปราศจากการแทรกแซงทางการเมือง ทําใหกลุมตา ง ๆ ในสังคมไดเขามามีบทบาททางการเมืองในฐานะสมาชิกวุฒิสภาและสามารถทําหนาที่ในฐานะ ฝายนิติบัญญัติไดอยางมีประสิทธิภาพขึ้น๒ แตจากการศึกษาขอมูลดานการปฏิบัติหนาที่ ของวุฒสิ ภาชุดดังกลา วกย็ ังพบสภาพปญหาในหลายกรณดี งั จะไดกลา วถงึ ตอไป ในปจจุบัน “รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐” ได กําหนดใหประเทศไทยมีองคกรฝายนิติบัญญัติในรูปแบบสองสภา (Unicameralism) โดย กําหนดใหมี “วฒุ สิ ภา” เปน สภาทส่ี อง (The second chamber) ซึ่งมที ่ีมาจากการคัดเลือกกนั เอง ของบุคคลทีม่ ีความรู ความเชีย่ วชาญ ประสบการณ อาชพี ลกั ษณะ หรือประโยชนร ว มกัน หรือทํางาน หรือเคยทํางานดานตาง ๆ ท่ีหลากหลายของสังคม๓ ซ่ึงมีความแตกตางจาก วุฒิสภาของไทยในอดีตที่ผานมาอยางมีนัยสําคัญ อันถือเปนพัฒนาการของวุฒิสภาไทยที่ สมควรศกึ ษา ในการกาํ หนดท่มี าของสมาชกิ วุฒิสภาโดยกาํ หนดใหมคี ุณสมบตั ิในลกั ษณะของ การเปน “ผูทรงคุณวุฒ”ิ และตวั แทนกลมุ บคุ คลท่หี ลากหลาย โดยมีความพยายามใหส มาชิก วุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญฉบับนี้มีฐานที่มาในการเขาสูตําแหนงแยกออกจากพรรคการเมืองเพื่อ ปฏบิ ัติหนาทใ่ี นฐานะ “สภาทสี่ อง” ของระบบรัฐสภาไทยไดอ ยางเปน กลาง ปราศจากอาณัตทิ าง การเมือง และปฏบิ ตั หิ นาทไี่ ดอยางมีประสทิ ธภิ าพดยี ง่ิ ข้นึ ๒ สํานักกรรมาธิการ ๓ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. (๒๕๕๑). ตารางความแตกตาง รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๔๐ กบั พุทธศักราช ๒๕๕๐ พรอ มเหตุผลโดยสังเขป. กรงุ เทพฯ: สาํ นกั การพมิ พ สาํ นกั งานเลขาธิการสภาผูแ ทนราษฎร, น. ๙๗. ๓ รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๑๐๗ วรรคหน่ึง “มาตรา ๑๐๗ วุฒิสภาประกอบดวยสมาชกิ จาํ นวนสองรอยคน ซึ่งมาจากการเลือกกนั เองของบุคคล ซึ่งมีความรู ความเช่ยี วชาญ ประสบการณ อาชีพ ลกั ษณะ หรือประโยชนร วมกัน หรอื ทํางานหรอื เคยทํางานดานตา ง ๆ ที่หลากหลายของสงั คม โดยในการแบง กลมุ ตองแบงในลกั ษณะท่ีทําใหประชาชนซึ่งมีสทิ ธสิ มคั รรับเลือกทกุ คนสามารถ อยใู นกลุมใดกลมุ หนง่ึ ได ฯลฯ ฯลฯ”
๕๒ รฐั สภาสาร ฉบบั เดือนกนั ยายน ๒๕๖๐ บทความนี้จึงเรียบเรียงขึ้นภายใตสมมติฐานท่ีวา “พัฒนาการของวุฒิสภาไทย นับแตว ฒุ สิ ภาชุดแรกตามรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๙ จนถึง วุฒสิ ภาตามรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ อันนับเปน ระยะเวลา กวา ๗๐ ป ที่ประเทศไทยไดมอี งคก รฝายนิตบิ ัญญัตใิ นรปู แบบสองสภา โดยรฐั ธรรมนญู แตละฉบับไดกําหนดใหวุฒิสภาที่มีท่ีมาท้ังจาก “การเลือกต้ังโดยออม” “การแตงต้ัง” “การเลอื กต้งั โดยตรง” และ “การเลอื กตง้ั และสรรหา” มาโดยลาํ ดับจนถึงปจจุบนั กไ็ ด กําหนดใหวุฒิสภามีท่ีมาจากการคัดเลือกกันเองของผูทรงคุณวุฒิโดยยอมมุงหวังให วุฒิสภาสามารถปฏิบัติหนาท่ีในฐานะ “สภาท่ีสอง” ไดอยางมีประสิทธิภาพท่ีสุดโดย อาศัยบทเรียนจากวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญฉบับกอนหนามาพิจารณากําหนดท่ีมาและ อํานาจหนาที่ของวุฒิสภาเพื่อเปนแนวทางการแกไขปญหาตามวิถีการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยและระบบรัฐสภา” โดยจะนําเสนอสาระสําคัญเก่ียวกับแนวคิดและหลักการ เกี่ยวกับการมีวุฒิสภาในแนวคิดระบบสองสภา พัฒนาการและความสัมพันธดานที่มาและ อาํ นาจหนาทขี่ องวุฒิสภาไทยตามรัฐธรรมนญู ทกุ ฉบบั ดังรายละเอยี ดตอ ไปน้ี ๒. แนวคิดและหลกการเกย่ี วกบการมี “สภาท่สี อง” ในแนวคิดระบบสองสภา แนวความคิดการมีวุฒิสภาในฐานะสภาที่สองนั้นมีที่มาจากความเปนมาทาง ประวัติศาสตรการเมืองการปกครองของประเทศอังกฤษท่ีไดมีวิวัฒนาการเก่ียวกับการจัด องคกรผูใชอํานาจรัฐเรื่อยมาโดยลําดับ จนกระท่ังเปนประเทศแรกในยุคกลางที่มีเวทีการถก อภิปรายในรูปแบบของรฐั สภาที่ทราบกันดใี นปจ จุบัน และการมีสองสภาในประเทศอังกฤษได กลายเปนตน แบบของรฐั สภาในนานาประเทศ ดังทม่ี ีคาํ กลา ววา “รัฐสภาอังกฤษเปนมารดาของ รฐั สภาท้งั หลาย ไมวาประเทศนั้นๆ จะเรยี กช่อื รัฐสภาของตนช่ือใด”๔ รูปแบบของรฐั สภาในประเทศอังกฤษทปี่ รากฏในสมยั แรกๆ นั้นมรี ูปแบบสภาเดยี ว ในสมัยแองโกลแซกซอน มชี ่ือเรยี กขานวา “Witanagemot” อนั มคี วามเห็นทางวิชาการวาสภา Witanagemot นเ้ี องทีไ่ ดคลค่ี ลายสูก ารเปน ท่มี าของสภาขนุ นางองั กฤษในปจจบุ ัน๕ ตอ มา ใน สมยั การเขา ยดึ ครองของชนกลุม นอรม ัน (Norman) พระเจา วลิ เลียมที่ ๑ ไดท รงมีพระราชดําริ ๔ นนั ทวฒั น บรมานนั ท. (๒๕๕๔). การปรบั โครงสรา งของระบบรฐั สภา. กรงุ เทพฯ: สถาบนั พระปกเกลา , น. ๔๘- ๔๙. ๕ Michael Bentley. (2005). Modernizing England's Past: English Historiography in the Age of Modernism, 1870-1970. Cambridge. UK: Cambridge University Press, p. 28.
๕๓ ใหมีการปรับรูปแบบของสภา “Witangemot” มาเปนมหาสภา (Great Council) หรือ “Magnum concilium”๖ โดยปรับใชธรรมเนียมประเพณีการปกครองจากสมัยแองโกลแซกซอนใหสอดคลอง กับแนวคิดของระบอบศักดินาสวามิภักด์ิ (Feudalism) โดยกําหนดใหสภารูปแบบใหมนี้ ประกอบดว ย ขนุ นางที่ถือที่ดิน (Lords of Manner or Barons) และพระช้ันสงู (Archbishop, Bishop and Abbot) ในชวงตนแหง รัชสมัยพระเจา วลิ เลยี มท่ี ๑ จะมกี ารประชมุ กันปล ะ ๓ ครง้ั ในเทศกาลสําคัญ๗ มหาสภาน้ที ําหนาท่เี ปนท่ปี รึกษาของพระมหากษัตริยในเร่อื งการใชกฎหมาย และการเก็บภาษีอากร ตลอดจนทําหนาท่ีเปนศาลยุติธรรมดวย๘ ท้ังน้ี พระมหากษัตริยอาจมี พระราชวินิจฉัยแตกตางไปจากท่ีมหาสภาไดถวายความคิดเห็นก็ได ในเวลาน้ันพระราชอํานาจ ของพระมหากษัตริยและอํานาจของมหาสภาดําเนินควบคูกันไปในระบบการเมืองของอังกฤษ จนกระท่ังถึงรัชสมัยของพระเจาจอหน ประเทศอังกฤษอยูทามกลางวิกฤตการณทางการเมือง ท้ังภายในและภายนอกประเทศ และสภาพปญหาความขัดแยงระหวางพระมหากษัตริย และขุนนางชัน้ บารอนอันนาํ ไปสกู ารจดั ทาํ เอกสารความตกลงขนึ้ เมื่อป ค.ศ. ๑๒๑๕ อนั เปน ทรี่ จู ักกันในนาม “มหาบตั ร” (Magna Carta)๙ ซ่ึงไดรับการยอมรับวาเปน รากฐานของระบบ รฐั ธรรมนญู รฐั สภา และการปกครองในระบอบประชาธิปไตยของประเทศองั กฤษ และรวมมี อทิ ธิพลทางความคิดตอการยกรางรฐั ธรรมนูญแหงสหรัฐอเมรกิ าในเวลาตอมาดว ย๑๐ ในป ค.ศ. ๑๒๙๕ พระเจา เอด็ เวริ ดที่ ๑ (Edward I) ทรงตอ งการงบประมาณ สําหรับการพระราชการสงครามเปนจํานวนมากจึงไดทรงกําหนดใหตัวแทนเมืองมารวมประชุม มหาสภาอีก ในการประชุมคร้ังนี้ปรากฏวามีผูเขารวมประชุมมากเปนประวัติการณกลาวคือ ๖ Francis Bacon. (2011). The Works of Francis Bacon (ed.) James Spedding, Robert Leslie Ellis, and Douglas Denon Heath, Cambridge Library Collection. Philosophy. Cambridge: Cambridge University Press, pp. 247-250. ๗ นันทวัฒน บรมานนั ท, น. ๔๙-๕๐. ๘ William Stubbs. (2011). The Constitutional History of England, in Its Origin and Development, Cambridge Library Collection - Medieval History. Cambridge: Cambridge University Press, p. 260. ๙ Martin Loughlin. (2010). Foundations of Public Law. New York: Oxford University Press, p. 39. ๑๐ Allan Beever. (2013). Forgotten Justice: Forms of Justice in the History of Legal and Political Theory. Oxford: Oxford University Press, p. 281.
๕๔ รฐั สภาสาร ฉบบั เดือนกนั ยายน ๒๕๖๐ มพี ระระดบั มหาสงั ฆราช สงั ฆราช เจา อาวาส และหวั หนา นกิ ายตา งๆ จาํ นวน ๘๙ องค ขนุ นาง ชน้ั บารอน (Baron) และชน้ั เอริ ล (Earl) จาํ นวน ๕๐ คน อศั วนิ (Knight) จากจงั หวดั ตา ง ๆ จาํ นวน ๖๑ คน และผแู ทนจากเมอื งตางๆ อกี จํานวนถึง ๑๗๒ คน ทัง้ ยงั มขี ุนนางในราชสาํ นกั และ ขุนนางอ่ืนๆ รวมทั้งหมดท้ังสิ้นกวา ๔๐๐ คนเศษ นับเปนท่ีประชุมมหาสภาท่ีใหญที่สุดใน ประวัตศิ าสตรก ารปกครองของอังกฤษและไดร บั การขนานนามวา “รัฐสภา” (Parliament) เปน คร้งั แรก๑๑ อันนับวาเปนจุดเร่มิ ตนท่สี ําคัญของรัฐสภาอังกฤษ จากน้นั มหาสภาก็ไดมีพัฒนาการ สกู ารเปนรัฐสภาของอังกฤษอยา งชา ๆ การประชุมของรฐั สภาในป ค.ศ. ๑๒๙๕ นน้ั เปนการ ประชมุ แบบสภาเดียวแตแยกกันลงมตโิ ดยแบงออกเปน ๓ กลุม กลา วคอื กลุมที่ ๑ ไดแ ก พระ กลมุ ท่ี ๒ ไดแก ขุนนางและอศั วนิ และกลมุ ท่ี ๓ คอื ผแู ทนราษฎรจากเมอื งตา งๆ และตอ มา พระและขุนนางมีความเห็นวากลุมของพวกตนมีผลประโยชนและสวนไดเสียรวมกันเพราะเปน เจาของท่ีดินรายใหญเหมือนกันจึงรวมกันปรึกษาหารือกันเสมอ สวนอัศวินและผูแทนราษฎร จากเมอื งตา ง ๆ กถ็ ือวา ตนเปนผแู ทนของราษฎรโดยแท จึงปรกึ ษาหารือรว มกัน การแยก ประชุมกันเปน ๒ กลุม นี้ จึงเปนผลใหเ กิดลักษณะของการประชมุ ในรูปแบบ “สองสภา” ข้ึนในเวลาตอมา๑๒ และเดนชัดมากยิ่งข้ึนในรัชสมัยของพระเจาเอ็ดเวิรดที่ ๓ (Edward III) ในทา ยทส่ี ดุ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๘ เมษายน ค.ศ. ๑๓๔๓ ปลายรชั สมยั ของพระเจา เอด็ เวริ ด ท่ี ๓ (Edward III) ทัง้ สองสภาไดจดั การประชมุ แยกกันเปนครัง้ แรก๑๓ โดยสภาซงึ่ ประกอบ ดวยบรรดาพระชน้ั สงู และขนุ นางชั้นสงู จัดประชมุ กนั ณ White Chamber โดยยงั คงใช ชื่อเดิม “มหาสภา” จึงทําใหกลายเปนสภาขุนนาง (House of Lords) สวนสภาซ่ึง ประกอบไปดวยบรรดาขุนนางช้นั ลาง อัศวิน และผแู ทนราษฎรในแตละเมืองจะจัดประชุม รว มกัน ณ Painted Chamber โดยท่ปี ระชุมใชชอ่ื วา สภาทีป่ รึกษาของชุมชน (Domus Communise) และในเวลาตอมาไดเ ปลยี่ นเปน สภาสามญั (House of Commons)๑๔ ๑๑ นนั ทวฒั น บรมานนั ท, น. ๕๑. ๑๒ Meg Russell. The Contemporary House of Lords: Westminster Bicameralism Revived, p. 15. ๑๓ Paul Carmichael and Brice Dickson, eds. (1999). The House of Lords: Its Parliamentary and Judicial Roles. Oxford: Hart Pub, p. 30. ๑๔ Strathen Gordon. (1955). Our Parliament (4th ed.). London: Cassell, p. 12.
๕๕ ดังน้ัน การมีสองสภาของโลกเปนครั้งแรกที่ประเทศอังกฤษจึงนับวาเปน ผลมาจากวิวัฒนาการในทางประวัติศาสตร มิใชเพราะแนวความคิดหรือทฤษฎีแตอยางใด อยางไรก็ตาม นานาประเทศกไ็ ดรับเอาแนวคดิ ในการกําหนดใหม วี ฒุ สิ ภา หรอื “สภาทสี่ อง” ท่ีเรียกช่ืออยางอื่นเปนองคประกอบของรัฐสภารวมกับสภาผูแทนราษฎรอันมีเจตนารมณใน ประการท่ีหลากหลาย เชน การมีสภาที่สองเพื่อวัตถุประสงคในการถวงอํานาจระหวางสภา นิติบัญญัติกับรัฐบาลเพื่อเหน่ียวร้ังหรือคานอํานาจกับสภาผูแทนราษฎร หรือเพื่อตรวจสอบ หรือทักทวงเพื่อใหการออกกฎหมายเปนไปดวยความรอบคอบและถูกตองยิ่งขึ้น ตลอดจน มีสภาท่ีสองเพื่อเปนเวทีหรือเปดโอกาสใหบุคคลบางประเภทหรือบางกลุมมีโอกาสทาง การเมืองได เจตนารมณหรือวัตถุประสงคในการกําหนดใหมีสภาท่ีสองดังกลาวขางตนยอม นําไปสูการกําหนดวิธีการไดมาและอํานาจหนาท่ีของสภาท่ีสองท่ีแตกตางกันไปในรัฐธรรมนูญ ของแตล ะประเทศท่ีใชรปู แบบรัฐสภาแบบสภาคูในเวลาตอ มา ๓. วฒุ ิสภา: ภายใตห ลกแบงแยกอานาจและแนวคดิ ระบบรฐสภา ในการจะอธิบายถึงความสัมพันธระหวางวุฒิสภาในฐานะองคกรฝายนิติบัญญัติ กับการมีอํานาจหนาที่ในการตรวจสอบการดําเนินงานของฝายบริหารหรือรัฐบาลน้ัน ยอม พิจารณาไดจากแนวความคิดท่ีเก่ียวของกับการแบงแยกอํานาจขององคกรผูใชอํานาจ อธิปไตยเพื่อตรวจสอบและถวงดุลซ่ึงกันและกันระหวางองคกรผูใชอํานาจนิติบัญญัติ อํานาจ บริหาร และอํานาจตุลาการ ท้ังนี้ หลักการวาดวยการแบงแยกอํานาจมีสาระสําคัญเก่ียวกับ การแบงแยกองคกรผูใชอํานาจอธิปไตยท้ัง ๓ ประการ ออกจากกัน และกําหนด ความสัมพันธในเชิงการตรวจสอบและถวงดุลซ่ึงกันและกัน อันมีจุดมุงหมายมิใหองคกรใด องคกรหน่งึ ของรัฐมีอํานาจมากจนเปนการผูกขาด ท้งั น้ี ไดแบงแยกองคกรผูใชอํานาจออกเปน ๓ องคก ร ไดแ ก องคกรนติ บิ ญั ญัติ มอี าํ นาจหนาท่ใี นการตรากฎหมาย องคก รบริหาร มีหนาท่ี ในการใชอํานาจรัฐปกครองประเทศ และองคกรฝายตุลาการ เปนองคกรท่ีใชอํานาจในการ อํานวยความยุติธรรมเม่ือมีขอพิพาทใดข้ึน และตองมีการกําหนดกลไกการคานและดุลอํานาจ (Check and Balance) ระหวา งกนั ๑๕ ๑๕ เกรยี งไกร เจรญิ ธนาวฒั น. (๑๕๕๖). หลกั พื้นฐานกฎหมายมหาชน (พิมพครัง้ ที่ ๒). กรุงเทพฯ: วิญูชน, น. ๙๘.
๕๖ รฐั สภาสาร ฉบับเดือนกันยายน ๒๕๖๐ สําหรับในประการที่เก่ียวของกับความสัมพันธเชิงอํานาจของวุฒิสภากับฝาย บริหารน้ันเม่ือพิเคราะหจากสาระสําคัญของหลักการแบงแยกอํานาจขางตนแลวจะเห็นไดวา ในรัฐสภาของนานาประเทศมักจะกําหนดใหวุฒิสภาในฐานะองคกรฝายนิติบัญญัติมีอํานาจใน ลักษณะของการเปน “สภาตรวจสอบ” เพ่ือตรวจสอบฝายบริหารไดในหลายประการดวยกัน เชน การต้ังกระทูถามการอภิปรายการทํางานของรัฐบาล การตั้งคณะกรรมาธิการข้ึนใน วุฒิสภาเพื่อพิจารณาสอบสวนหรือศึกษาการทํางานของรัฐบาล การมีบทบาทในการแตงตั้ง และถอดถอนเจาหนาที่ระดับสงู ของฝายบริหาร เปน ตน ทงั้ ยังรวมถงึ การทีว่ ุฒิสภาในฐานะสภา ทส่ี องในบางประเทศทีม่ ีบทบาทอํานาจหนา ท่ีในการเปน “สภากลั่นกรอง” การดาํ เนนิ งานของ สภาผูแ ทนราษฎรท่มี ักจะมฐี านท่มี าแหง อาํ นาจในลกั ษณะเดยี วกันกับรัฐบาลอกี ดวย สําหรับการพิจารณาวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญของไทยทุกฉบับโดยเฉพาะน้ัน จําตอ งทําความเขา ใจแนวคิดวา ดวยระบบรัฐสภา (Parliamentary System) หรอื ที่เรียกวา “The Westminster Model” ประกอบอนั มีสาระสาํ คญั วา รฐั สภาเปนองคก รทม่ี อี ํานาจอธิปไตย ตามแนวความคิดเรื่องอํานาจสูงสุดเปนของรัฐสภาอันมีท่ีมาจากระบบรัฐสภาของประเทศ องั กฤษ ดังนน้ั รปู แบบการปกครองแบบรัฐสภาจึงไมม ีการแบงแยกอาํ นาจองคกรผูใ ชอ าํ นาจ อยางเครงครัดระหวางรัฐสภาซ่ึงเปนองคกรฝายนิติบัญญัติกับคณะรัฐมนตรีอันเปนองคกรฝาย บริหาร อีกนยั หนง่ึ น้นั คณะรัฐมนตรกี เ็ ปนองคก รท่ไี ดรับการแบง อาํ นาจมาจากรฐั สภา และได รบั การแตง ตง้ั สนบั สนนุ และใหพ น จากการดาํ รงตาํ แหนง โดยการลงมตขิ องรฐั สภาอกี ดว ย๑๖ ดงั นน้ั ระบบรฐั สภายอ มเปน ระบบความสมั พันธดา นความรับผดิ ชอบท่ีฝา ยบริหารตองมตี อรัฐสภา ระบบรัฐสภามีวิวัฒนาการมาจากประวัติศาสตรการปกครองของประเทศอังกฤษ อันตงั้ อยูบนฐานความเกี่ยวเนอ่ื งของอาํ นาจ ๓ ฝา ย ไดแก พระมหากษัตรยิ ฝา ยนติ ิบัญญัติ และฝายบรหิ าร ระบบรัฐสภาในสมยั แรกอยภู ายใตอ ํานาจทางการเมอื ง ๒ ขว้ั คือ พระราช อํานาจของพระมหากษตั ริย และอํานาจของรัฐสภา อํานาจทั้ง ๒ ฝา ยตางตองชวยกนั ควบคมุ ตรวจสอบฝายบรหิ ารดว ย ดังนนั้ ฝา ยบริหารจงึ ตอง “รับผิดชอบ” ในการบรหิ ารประเทศตอ ท้งั พระมหากษัตริยใ นฐานะ “ประมขุ ของรฐั ” ทแ่ี ตงตั้งฝายบรหิ ารเขา สูต ําแหนง และตองรบั ผดิ ชอบ ตอรัฐสภาในฐานะฝายนิติบัญญัติดวย ซึ่งในทางวิชาการเรียกระบบความรับผิดชอบน้ีวา “ระบบรัฐสภาแบบอํานาจคู” ตอมาภายหลังท่ีพระราชอํานาจของพระมหากษัตริยได ๑๖ Michel Rosenfeld and András Sajó, eds. (2012). The Oxford Handbook of Comparative Constitutional Law. Oxford, U.K.: Oxford University Press, pp. 553-556.
๕๗ ถูกจํากดั ลง ระบบรฐั สภาจงึ ไดมีววิ ัฒนาการสลู กั ษณะท่เี รียกวา “ระบบรฐั สภาแบบอํานาจ เดย่ี ว” ซงึ่ ฝา ยบรหิ ารหรอื รัฐบาลตามรปู แบบอํานาจเดี่ยวมที มี่ าจากพรรคการเมอื งทไ่ี ดร บั เสยี ง ขางมากในรฐั สภา จึงมคี วามรบั ผดิ ชอบแตเ ฉพาะรฐั สภาเทานน้ั ๑๗ สาํ หรับระบบรัฐสภาทป่ี รากฏในประเทศไทยน้นั หากพิจารณาในรูปแบบโครงสราง ภาพรวมแลวจะเห็นไดวา นอกจากรัฐบาลจะตองมีความรับผิดชอบตอรัฐสภาแลวยังตอง รับผิดชอบตอพระมหากษัตริยดวยเน่อื งจากทรงเปนประมุขของประเทศซ่งึ ทรงมีพระราชอํานาจ ในทางรัฐธรรมนูญและประเพณีการปกครองท่ีรัฐบาลจําตองรับผิดชอบตอท้ังพระมหากษัตริย และรัฐสภาในขณะเดียวกัน อันเปนลักษณะของระบบรัฐสภาแบบอํานาจคู อยางไรก็ตาม หากพิจารณาการปฏิบัติหนาท่ีของรัฐบาลท่ีมีตอรัฐสภาแลวจะมีลักษณะเปนระบบรัฐสภา แบบอํานาจเด่ียว๑๘ ซึ่งการที่ฝายบริหารหรือรัฐบาลตามรูปแบบน้ีมีที่มาจากพรรคการเมือง ที่ไดรับเสียงขางมากในรัฐสภาทําใหกลไกการตรวจสอบการปฏิบัติหนาที่อันพึงประสงคใน ระบบรฐั สภาของประเทศไทยมสี ภาพปญหาหลายประการ ๔. พฒนาการดา นความเปน มาของวุฒิสภาไทย การมีวุฒิสภาของประเทศไทย ไดเกิดข้ึนเปนครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๙ ซง่ึ ไดก าํ หนดใหม รี ะบบสภาคขู น้ึ ประเทศไทยมที ง้ั สภา ผูแทนราษฎรท่ีจะมาจากการเลือกตั้งของประชาชนโดยตรงเชนเดิม และมี “พฤฒสภา” ท่ีมาจากการเลือกตง้ั ของประชาชนทางออม ทวา วนั ที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๐ ไดเ กดิ การรัฐประหารท่ียึดอํานาจรัฐบาลและยกเลิกรัฐธรรมนูญไปเสียกอน๑๙ ในระยะแรกของการ กอต้งั ระบบรัฐสภาในรูปแบบสองสภาข้นึ ในประเทศไทยน้นั สมาชิกสภาผแู ทนราษฎรสวนใหญ ก็ยังขาดความรู ความชํานาญในการปกครอง จึงมีการกําหนดใหใชรูปแบบรัฐสภาเปนแบบ สองสภา คือมีสภาผแู ทนราษฎรและวฒุ สิ ภา โดยใหว ฒุ สิ ภาทาํ หนาทเี่ ปน “สภาพเี่ ล้ียง” และ กําหนดใหส มาชิกวฒุ สิ ภาจะตอ งเปนผมู คี วามรูความชํานาญ และประสบการณ ซึ่งอาจเปน ๑๗ กองบรรณาธิการ. (มกราคม–กุมภาพันธ ๒๕๕๙). บทสมั ภาษณค วามเห็นทางวชิ าการ ศาสตราจารย ดร. เกรยี งไกร เจรญิ ธนาวัฒน เรอ่ื ง ทศิ ทางรัฐสภาไทย: ศักราชใหมใ นการปฏิรปู ประเทศ. วารสารจุลนติ ิ, ๑๓(๑), ๑๙-๒๐. ๑๘ เรอ่ื งเดยี วกัน, น. ๒๑-๒๒. ๑๙ นรนติ ิ เศรษฐบตุ ร. (๒๕๕๕). การเมอื งการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยของไทย (พมิ พค รง้ั ท่ี ๓). กรุงเทพฯ: สาํ นักพมิ พค ณะรัฐมนตรแี ละราชกิจจานเุ บกษา, น. ๑๗๘-๑๗๙.
๕๘ รฐั สภาสาร ฉบับเดือนกนั ยายน ๒๕๖๐ ขาราชการชั้นผูใหญ หรือไมเปนขาราชการแตเปนผูมีคุณวุฒิ หรือมีความสามารถในดาน ตาง ๆ๒๐ สมาชิกวุฒิสภาในชวงแรกมีท่มี าจากการแตงต้งั จนถึงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช ๒๕๓๔ ไดกําหนดใหวุฒิสภาประกอบดวยสมาชิกซ่ึงพระมหากษัตริย ทรงแตง ตงั้ จากผูทรงคุณวุฒิ ซ่ึงมคี วามรคู วามชาํ นาญในวชิ าการหรอื กจิ การตาง ๆ อนั จะยัง ประโยชนใหเกิดแกการปกครองแผนดินในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมุข และกําหนดใหมีความเปนกลางไมมีผลประโยชนอ่ืนใดอันจะอาศัยตําแหนง หนาที่มาเก่ียวของ ทั้งน้ี อาจกลาวไดวา วุฒิสภาในเวลานั้นเปนสภาอันทรงเกียรติที่มี แตผูมีความรูความสามารถซ่ึงไดรับการคัดเลือกใหเขามามีสวนรวมในการบริหารประเทศกับ สภาผูแทนราษฎรที่ชวยเปนท้ัง “สภาพ่ีเลี้ยง” และมีอํานาจกลั่นกรองกฎหมายที่ผานการ พิจารณาจากสภาผูแทนราษฎร ควบคุมการบริหารราชการแผนดินโดยตั้งกระทูถามรัฐบาล และสามารถเปดอภิปรายทั่วไปเม่ือรัฐบาลขอรับฟงความคิดเห็นโดยไมลงมติ แตในภายหลัง สมาชิกวุฒิสภาท่ีมาจากการแตงตั้งกลับมีปญหาการตอบแทนทางการเมือง และมี ขอ พจิ ารณาภาพรวมของสมาชกิ วฒุ สิ ภาทม่ี าจากการแตง ตง้ั นน้ั ไดว า มลี กั ษณะทไ่ี มห ลากหลาย เพราะสวนใหญมีที่มาจากผูครองตําแหนงหนาท่ีทางราชการทางฝายทหาร ตํารวจ และ ฝายพลเรือน ดังน้ัน เม่ือการปกครองในระบอบประชาธิปไตยของประเทศไทยไดพัฒนามา ระยะหน่ึงแลว และเพื่อสงเสริมความเปนประชาธิปไตยใหมากย่ิงข้ึน จึงไดเกิดแนวคิดท่ีจะ ใหส มาชิกวฒุ ิสภามีท่มี าที่มีจุดยึดโยงกับ “ประชาชนผูเปน เจาของอาํ นาจอธิปไตย” รฐั ธรรมนูญของไทยทกี่ ําหนดใหม วี ฒุ ิสภาจํานวน ๙ ฉบบั นนั้ มเี พียง ๓ ฉบบั ท่ีกําหนดใหวุฒิสภามีท่ีมาจากการเลือกต้ัง ท้ังน้ี รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๘๙ กําหนดใหสมาชิกวุฒิสภามีที่มาจากการเลือกต้ังโดยออมเปนครั้งแรก สว นรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๐ กําหนดใหเ ลือกต้งั ทง้ั หมด และ รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ กําหนดใหเ ปนการเลอื กต้ังโดยตรง แตเฉพาะสมาชิกวุฒสิ ภาทมี่ าจากทงั้ ๗๗ จงั หวัด อยางไรก็ตาม เมือ่ มีการกาํ หนดใหสมาชิก วุฒิสภามีท่ีมาจากอํานาจของประชาชนโดยตรงเชนเดียวกับสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแลวไดมี การกําหนดใหสมาชิกวุฒิสภามีอํานาจมากยิ่งขึ้นจนอาจกลาวไดวาวุฒิสภาไมไดเปนเพียง ๒๐ ภูมิ มลู ศลิ ป และชมพูนุท ต้งั ถาวร. (๒๕๕๘). รูปแบบการไดม าซ่งึ สมาชกิ วุฒสิ ภาของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สถาบนั พระปกเกลา , น. ๙.
๕๙ “สภาพี่เลี้ยง” อกี ตอ ไป แตวามอี ํานาจหนา ท่ตี าง ๆ เพิม่ ขึน้ ในฐานะ “สภาตรวจสอบ” อันไดแก อํานาจในการเห็นชอบบุคคลใหดํารงตําแหนงและอํานาจในการถอดถอนออกจาก ตําแหนง อยางไรก็ตาม การท่ีกําหนดใหวุฒิสภามีท่ีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงก็ได ปรากฏสภาพปญหาเชนกัน กลาวคือ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ไดกําหนดใหสมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกต้ังท้ังหมด และยังกําหนดมาตรการ ตาง ๆ เพ่อื ใหวฒุ สิ ภาไมมีความเกย่ี วขอ งกับพรรคการเมือง เชน ขอ กาํ หนดหา มผูสมัครรับการ เลือกต้ังเปนสมาชิกวุฒิสภาสังกัดพรรคการเมือง หามลงพื้นที่หาเสียง๒๑ ทวาแมรัฐธรรมนูญ ฉบับดังกลาวจะไดกําหนดขอหามไวหลายประการเพื่อใหสมาชิกวุฒิสภาไมมีสวนเก่ียวของกับ พรรคการเมือง มีความเปนกลางและไมเกี่ยวของกับผลประโยชนกับทางราชการ แตในทาง ปฏิบัติ สมาชิกวุฒิสภาท่มี าจากการเลือกต้งั เหลาน้กี ็ถูกวิพากษวิจารณวามีความเอนเอียง เขาขางพรรคการเมืองพรรคใดพรรคหนึ่งหรือหลายพรรคอยูเสมอ อีกท้ังยังมีการ กลาวอางวาสมาชิกวุฒิสภาอาศัยอํานาจหนาท่ีตามกฎหมายตามท่ีจะสามารถกระทําได คัดเลือกบุคคลที่เปน “พรรคพวก” เขาสูระบบการสรรหาบุคคลท่ีดํารงตําแหนงใน องคกรสําคัญ๒๒ เมื่อไดมีการกําหนดใหมีวุฒิสภาขึ้นตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ จงึ ไดมคี วามพยายามในการแกไ ขปญหาสมาชิกวฒุ สิ ภามคี วามใกลชิด กับกลุมผลประโยชนทางการเมือง โดยกําหนดใหวุฒิสภามีที่มาใน “ระบบผสม” จาก การเลือกต้ังโดยตรงของประชาชนและการสรรหา ท้ังนี้ เม่ือไดศึกษาเจตนารมณของ รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ ในการกําหนดใหร ฐั สภาประกอบดว ย สองสภาและกําหนดใหสมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรและสมาชกิ วฒุ ิสภามีทีม่ าหลากหลายน้นั กเ็ พื่อ ใหการใชอํานาจนิติบัญญัติเปนไปดวยความถูกตองและรอบคอบยิ่งข้ึน โดยกําหนดใหสมาชิก สภาผูแทนราษฎรมาจากการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกต้ังและแบบสัดสวน และใหสมาชิก วุฒิสภามาจากการเลือกต้ังสวนหน่ึงและการสรรหาอีกสวนหนึ่ง เพ่ือใหการตรวจสอบ และถวงดุลอํานาจทางการเมอื งเปน ไปอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ๒๓ ๒๑ เร่อื งเดยี วกัน, น. ๑๐. ๒๒ เรอ่ื งเดยี วกนั , น. ๑๑. ๒๓ คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชมุ สภาราง รัฐธรรมนญู . เจตนารมณร ฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๐, น. ๘๘-๘๙.
๖๐ รัฐสภาสาร ฉบบั เดือนกนั ยายน ๒๕๖๐ ทง้ั น้ี จากการศกึ ษาขอ มลู ทางวชิ าการทก่ี ลา วถงึ วฒุ สิ ภาและเอกสารในวงงานรฐั สภา ที่มีขึ้นในระหวางท่ีรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับช่ัวคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ ไดใชบังคับนั้น สามารถต้ังขอสังเกตในประการท่ีเก่ียวของกับสภาพปญหาการปฏิบัติหนาท่ี ของวฒุ ิสภาตามรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๐ ไดหลายประการ จากการศกึ ษาพบวา การท่ีรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ ไดกําหนดใหสมาชิกวุฒิสภามีท่ีมาที่หลากหลายจากการสรรหาสมาชิกวุฒิสภาท่ีบัญญัติไวใน รัฐธรรมนูญฉบับน้ีเปนคร้ังแรกอันแสดงถึงเจตนารมณใหการตรวจสอบอํานาจรัฐเปนไปโดย มีประสิทธิภาพ และทําใหการปฏิบัติหนาท่ีของสมาชิกวุฒิสภามีความเปนกลาง ปราศจาก การแทรกแซงทางการเมือง และทําใหกลุมตาง ๆ ในสังคม ไดเขามามีบทบาททางการเมือง ในฐานะสมาชิกวุฒิสภาและสามารถทําหนาที่ในฐานะฝายนิติบัญญัติไดอยางมีประสิทธิภาพ ขึน้ ๒๔ อยา งไรกต็ าม ผลกลับปรากฏวา การทาํ หนา ท่ีของสมาชิกวฒุ ิสภามิไดเปนอันหน่งึ อนั เดียวกนั มีการแบง กลมุ และมีความขดั แยง กนั อยา งเห็นไดชัด๒๕ นอกจากน้ี เมอ่ื ไดศ กึ ษา รายงานของคณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศดานการเมืองที่ไดเสนอแผนการ ปฏิรูปประเทศดานการเมืองแลวพบวา ไดมีการกลาวถึงการปฏิบัติหนาที่ของสมาชิก วฒุ สิ ภาตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ ท่ผี า นมาวา “มีปญหา เกีย่ วกบั การใชอ ํานาจและถูกแทรกแซงทางการเมอื ง เน่ืองจากวุฒสิ ภามอี าํ นาจใหคุณใหโทษได ในเร่ืองการแตงต้ังและการถอดถอน”๒๖ อันพิจารณาไดวาเปนสภาพปญหาท่ีปรากฏในวุฒิสภา ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ เชนเดียวกัน ดังนั้น จึงสังเกต ไดวา อํานาจของวุฒิสภาในดานการถอดถอนจึงไมปรากฏอีกตอไปในรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ทง้ั ยงั ไดม ีการกําหนดท่ีมาของวฒุ ิสภาในรูปแบบใหม ทไ่ี มเคยปรากฏมากอนในพฒั นาการของวุฒิสภาไทยใน ๗๐ ป ทีผ่ านมา ๒๔ สํานักกรรมาธิการ ๓ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. (๒๕๕๑). ตารางความแตกตาง รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ กับ พทุ ธศักราช ๒๕๕๐ พรอมเหตผุ ลโดยสังเขป. กรุงเทพฯ: สาํ นักการพมิ พ สาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาผูแทนราษฎร, น. ๙๗. ๒๕ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการบังคับใช การปฏิบัติตามและการแกไขเพ่ิมเติม รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. (๒๕๕๑). รายงานผลการศึกษาปญหาการบังคับใชเพ่ือการ แกไขเพิม่ เตมิ รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐. กรุงเทพฯ: สาํ นักการพมิ พ สาํ นักงานเลขาธกิ าร สภาผแู ทนราษฎร, น. ๒๓. ๒๖ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. (๒๕๕๘). แผนการปฏิรูปประเทศดานการเมืองของคณะ กรรมาธิการขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศดานการเมือง สภาขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศ. กรุงเทพฯ: สํานักการพิมพ สาํ นักงานเลขาธกิ ารสภาผูแ ทนราษฎร, น. ๓.
๖๑ บทสงทา ย เม่ือไดพิจารณาความเปนมาและพัฒนาการของวุฒิสภาในประเทศไทยตลอด ระยะเวลา ๗๐ ป ที่ผานมานบั แตการมี “พฤฒสภา” เปน สภาท่ีสองจนถึง “วฒุ ิสภา” ตาม รฐั ธรรมนญู ฉบับปจจบุ นั กลาวไดวา วฒุ สิ ภาของไทยไดมีพฒั นาการในดานทมี่ าคอ นขาง นาสนใจ กลา วคือ การกาํ หนดท่ีมาของวฒุ ิสภาตามบทบัญญตั ิของรัฐธรรมนูญในระยะ เวลาประมาณ ๕๐ ปแ รกนน้ั (พ.ศ. ๒๔๘๙ – พ.ศ. ๒๕๔๐) ไดใ หความสําคัญตอ การไดม า ของวุฒิสภาใหมาจาก “การแตงตั้ง” กอนท่ีจะกําหนดใหวุฒิสภาท่ีมาจากการเลือกตั้ง โดยตรงของประชาชนในเวลาตอมา จากนัน้ วฒุ สิ ภาไทย ในระยะเวลาประมาณ ๒๐ ปตอ มา (พ.ศ. ๒๕๔๐ – ๒๕๖๐) พบขอ สรุปวา มีการกาํ หนดใหส ดั สว นใหการไดม าของสมาชกิ วุฒิสภา ท่ีมาจากการเลือกตั้งลดนอยลงเปนลําดับ อันมีลักษณะสวนทางกับการกําหนดที่มาของ วุฒิสภาในนานาประเทศซ่ึงสวนใหญจะมีพัฒนาการดานที่มาใหวุฒิสภามีที่มาจากการเลือกต้ัง ของประชาชนมากยิ่งข้ึน ดังเชนท่ีปรากฏในสหรัฐอเมริกาที่ไดมีการแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ใหเปล่ียนท่ีมาของวุฒิสภาซึ่งเดิมมาจากการใหความเห็นชอบของสภามลรัฐ เปนการเลือกต้ัง โดยตรงของพลเมืองในมลรัฐแทน เมื่อไดศึกษาพัฒนาการของการกําหนดท่ีมาของวุฒิสภาในประเทศไทยแลว พบวา พัฒนาการของวุฒิสภาไทยนับแตวุฒิสภาชุดแรกตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๙ จนถงึ วฒุ สิ ภาตามรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ อันนับเปนระยะเวลากวา ๗๐ ป ที่ประเทศไทยไดมีองคกรฝายนิติบัญญัติในรูปแบบสองสภา ไดมุงหวังใหวุฒิสภาสามารถปฏิบัติหนาท่ีในฐานะ “สภาท่ีสอง” ไดอยางมีประสิทธิภาพ ที่สุดโดยอาศัยบทเรียนจากวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญฉบับกอนหนามาพิจารณากําหนดที่มา และอํานาจหนาท่ีของวุฒิสภาเพ่ือเปนแนวทางการแกไขปญหาตามวิถีการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยและระบบรัฐสภา ท้ังนี้ เปนท่ีทราบดีวาภายใตระบบรัฐสภาน้ัน แมวาจะเปน ระบบแหงความรับผิดชอบของฝายบริหารที่ตองมีตอฝายนิติบัญญัติก็ตาม แตเม่ือองคกรผูใช อํานาจอธิปไตยท้ังฝายนิติบัญญัติและฝายบริหารตางยอมเปนบุคคลที่มีฐานท่ีมาในการเขาสู ตาํ แหนงจากกลุมการเมอื งที่ใกลเคยี งกัน ดังนั้น สภาพปญ หาที่องคกรผูย กรางรัฐธรรมนญู ใน ประเทศไทยเห็นวาสงผลตอวุฒิสภาไทยมากที่สุดจึงมาจาก “อิทธิพลของกลุมผลประโยชน ทางการเมืองท่ีสงผลตอการปฏิบัติหนาท่ีของวุฒิสภา” ทําใหการยกรางรัฐธรรมนูญใน
๖๒ รัฐสภาสาร ฉบับเดอื นกันยายน ๒๕๖๐ แตละคร้ังไดมีความพยายามลดความเช่ือมโยงของกลุมการเมืองออกจากการไดมาซ่ึงสมาชิก วุฒสิ ภาโดยลาํ ดบั เพ่ือใหระบบความสัมพนั ธระหวา งวฒุ ิสภาในฐานะองคกรฝา ยนติ บิ ญั ญัตกิ บั การมีอํานาจหนาที่ในการตรวจสอบการดําเนินงานของฝายบริหารหรือรัฐบาลนั้นเปนไปตาม กลไกการแบงแยกอํานาจขององคกรผูใชอํานาจอธิปไตยและสอดคลองกับแนวคิดวาดวยระบบ รัฐสภา (Parliamentary System) มากยิง่ ขนึ้ นนั่ เอง ดงั นน้ั การที่รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ไดก ําหนดให มีวุฒสิ ภาในฐานะ “สภาทสี่ อง” ขนึ้ อกี คร้งั หนึ่งโดยกําหนดใหท ีม่ าของวุฒสิ ภาแบบใหมท ีไ่ มเคย ปรากฏมากอนจึงเปนความหวังคร้ังสําคัญในการศึกษาพัฒนาการทางการเมืองการปกครอง ของไทยวาจะสามารถปฏิบัติหนาท่ีในการเปนสภาที่สองที่จะสามารถทักทวงหนวงเหน่ียว ใหการปฏิบัติหนาที่ของฝายบริหารและสภาผูแทนราษฎรมีความรอบคอบและสอดคลองกับ รัฐธรรมนญู ไดมากนอยเพยี งใด
๖๓ บรรณานุกรม ภาษาไทย เกรียงไกร เจริญธนาวฒั น. (๒๕๕๖). หลกั พนื้ ฐานกฎหมายมหาชน (พิมพค ร้ังท่ี ๒). กรงุ เทพฯ: วิญชู น. คณะกรรมาธิการวิสามัญบนั ทกึ เจตนารมณ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชมุ สภารางรฐั ธรรมนูญ. (๒๕๕๐). เจตนารมณรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐. กรงุ เทพฯ: สํานักการพิมพ สํานกั งานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พิจารณาศึกษาการบังคบั ใช การปฏิบัติตามและการแกไ ขเพมิ่ เติม รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐. (๒๕๕๑). รายงานผล การศึกษาปญ หาการบังคับใชเ พื่อการแกไ ขเพม่ิ เตมิ รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. กรุงเทพฯ: สํานกั การพมิ พ สํานักงานเลขาธิการสภาผแู ทนราษฎร. นรนิติ เศรษฐบุตร. (๒๕๕๕). การเมอื งการปกครองในระบอบประชาธิปไตยของไทย (พิมพค รง้ั ที่ ๓). กรงุ เทพฯ: สาํ นกั พมิ พคณะรัฐมนตรีและราชกิจจานเุ บกษา. นันทวฒั น บรมานนั ท. (๒๕๕๔). การปรับโครงสรางของระบบรัฐสภา. กรุงเทพฯ: สถาบัน พระปกเกลา . ภมู ิ มลู ศลิ ป และชมพนู ทุ ตง้ั ถาวร. (๒๕๕๘). รปู แบบการไดม าซง่ึ สมาชกิ วฒุ สิ ภาของประเทศไทย. กรงุ เทพฯ: สถาบันพระปกเกลา. สาํ นกั กรรมาธิการ ๓ สํานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู ทนราษฎร. (๒๕๕๑). ตารางความแตกตาง รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๔๐ กับ พุทธศักราช ๒๕๕๐ พรอ มเหตผุ ลโดยสงั เขป. กรงุ เทพฯ: สาํ นกั การพมิ พ สาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู ทนราษฎร. สํานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู ทนราษฎร. (๒๕๕๘). แผนการปฏริ ปู ประเทศดานการเมืองของ คณะกรรมาธิการขับเคลอื่ นการปฏิรูปประเทศดานการเมือง สภาขับเคล่อื นการปฏิรูป ประเทศ. กรุงเทพฯ: สาํ นักการพิมพ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.
๖๔ รัฐสภาสาร ฉบบั เดอื นกันยายน ๒๕๖๐ ภาษาอังกฤษ Bacon, Francis. (2011). The Works of Francis Bacon. Edited by James Spedding. Cambridge: Cambridge University Press. Beever, Allan. (2013). Forgotten Justice: Forms of Justice in the History of Legal and Political Theory. Oxford: Oxford University Press. Bentley, Michael. (2005). Modernizing England’s Past: English Historiography in the Age of Modernism, 1870-1970. Cambridge, UK: Cambridge University Press. Carmichael, Paul, and Brice Dickson, eds. (1999). The House of Lords: Its Parliamentary and Judicial Roles. Oxford: Hart Pub. Gordon, Strathen. (1955). Our Parliament. 4 Edition London: Cassell. Loughlin, Martin. (2010). Foundations of Public Law. New York: Oxford University Press. Rosenfeld, Michel, and András Sajó, eds. (2012). The Oxford Handbook of Comparative Constitutional Law. Oxford Handbooks. Oxford, U.K.: Oxford University Press. Russell, Meg. (2013). The Contemporary House of Lords: Westminster Bicameralism Revived. Oxford, United Kingdom: Oxford University Press. Stubbs, William. (2011). The Constitutional History of England, in Its Origin and Development. Cambridge: Cambridge University Press.
๖๕ การใชจารีตประเพณีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยตามบทบัญญตั ิรฐั ธรรมนูญ ศกึ ษากรณี การเขาสตู าํ แหนง นายกรฐั มนตรี The use of traditional administrative system in the democratic regime according to the provisions of constitution: A study of how to become a prime minister* กติ ตศิ ักด์ิ หนชู ยั แกว ๑ บทนา ในการบริหารราชการแผนดินมี “นายกรัฐมนตรี” ซ่ึงเปนผูท่ีมีความสําคัญท่ถี ือวา เปนหัวหนารัฐบาล มีหนาที่ในการบริหารประเทศใหเกิดความสงบสุขของประชาชนใน ประเทศ แตทวา หากเกิดกรณีท่ีเปนชองวางทางรัฐธรรมนูญ ซ่ึงไมสามารถดําเนินการใหมี นายกรัฐมนตรีได โดยเหตุที่วาไมมีบทบัญญัติบทใดในรัฐธรรมนูญบัญญัติไว จึงมีเหตุ และเงื่อนไขอันนําไปสูการนําประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตย * บทความน้ีเปนสวนหนึ่งของวิทยานิพนธ เร่ือง “การใชจารีตประเพณีการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยตามบทบัญญตั ิรฐั ธรรมนูญ ศึกษากรณี การเขา สูต าํ แหนง นายกรฐั มนตรี” หลกั สตู รนติ ิศาสตรมหาบัณฑติ คณะนติ ศิ าสตร สถาบันบัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร ๑ นิติศาสตรบัณฑิต และรัฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง, ประกาศนียบัตรบัณฑิตทาง กฎหมายมหาชน มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร, ปจ จุบันกาํ ลงั ศึกษานติ ิศาสตรมหาบณั ฑิต สาขากฎหมายมหาชน สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร
๖๖ รฐั สภาสาร ฉบบั เดอื นกนั ยายน ๒๕๖๐ อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ตามบทบัญญัติของมาตรา ๕ ตามรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย (พุทธศักราช ๒๕๖๐) มากระทําการและวินิจฉัย เพ่ือปรับใชในการเขาสู ตําแหนง นายกรัฐมนตรี ดงั นัน้ จงึ ตอ งมปี ระเด็นทีต่ องพจิ ารณาถึงความเปนมาทางประวตั ศิ าสตร วาใคร เปนองคกรผูมีอํานาจในทางจารีตประเพณีทางรัฐธรรมนูญ ในการแตงตั้งผูดํารงตําแหนง นายกรัฐมนตรีของไทย โดยไดวิเคราะหถึงหลักการของจารีตประเพณีในเร่ืองนี้ ตลอดจน พจิ ารณาบนบริบททางสังคม ประเพณที างการเมอื งการปกครองประกอบดว ย ซ่ึงบทความน้ีจะนําเสนอเพ่ือใหทราบวา “องคกรใดเปนองคกรตามประเพณี การปกครอง” ท่ีสามารถนําประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุขมาใชอุดชองวางในการเขาสูตําแหนงนายกรัฐมนตรีใหมี ความชัดเจน และนํามาใชไ ดอ ยา งถกู ตอ งเหมาะสม และสอดคลองกบั สภาพปญ หาทเี่ กดิ ข้ึน ในกรณีที่เกิดชองวางทางรัฐธรรมนูญในการเขาสูตําแหนงนายกรัฐมนตรีในอนาคต ตลอดจน เพ่ือเปนหลักประกันตอการแกปญหาของประเทศชาติโดยสันติวิธี ภายใตการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมุข การนาจารีตประเพณีทางรฐธรรมนญู มาใชใ นการเขาสูต าแหนง นายกรฐมนตรีของไทย ประเทศไทยเปนประเทศที่ปกครองแบบรัฐสภาในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมขุ ซง่ึ แนน อนวา ต้งั แตก ารอภวิ ฒั นสยามประเทศ ๒๔๗๕ เปลยี่ น การปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนระบอบประชาธิปไตย ไดมีการเกิด จารีตประเพณีในการปกครองหลายประการ และจารีตประเพณีการปกครองหลายประการ น้ีเมื่อมีการยอมรับและมีการปฏิบัติกันมาตอเนื่องจึงกลายมาเปน ประเพณีการปกครอง ประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยท่ีมีสภาพบังคับในทางรัฐธรรมนูญ ซ่ึงถอยคําของคําวา “ประเพณีการปกครองประเทศไทย” นนั้ ไดมที า นผรู หู ลายทา นไดอ ธิบายไว ดงั น้ี พระยานิติศาสตรไพศาล๒ ไดอธิบายถึงคําวา “ธรรมเนียมประเพณี” โดยได อธิบายวาเปนท่ีมาของกฎหมายประเภทหนึ่ง โดยธรรมเนียมประเพณีที่ยกข้ึนกลาวอางใน ๒ นิติศาสตรไพศาล, พระยา. (๒๔๖๖). หวั ขอ เล็กเชอรธ รรมศาสตร. พระนคร: กรุงเทพฯ เดลิเมล, น. ๒๗-๓๔.
๖๗ การพิจารณาคดีน้ันตองเปนธรรมเนียมประเพณีท่ีมีนํ้าหนักเทากับเปนกฎหมาย และเปน ขอ ยกเวนจากกฎหมายธรรมดาของประเทศ ดังน้นั แลว การจะยกธรรมเนียมประเพณที ช่ี อบ ดวยกฎหมายข้ึนมาอา งนนั้ ตองประกอบดว ยเหตุผล ๔ ประการ กลาวคอื ตอ งเปน ประเพณซี ึ่ง มีมาอยางยาวนาน ตอ งเปน ประเพณีอันสมควร ตอ งมีการกําหนดอยางแนน อน และธรรมเนียม ประเพณีนัน้ ตองไมมีกฎหมายประกาศยกเลกิ หรือขดั กับประเพณนี ัน้ วษิ ณุ เครอื งาม และบวรศักด์ิ อวุ รรณโณ๓ ไดอ ธบิ ายถึงคําวา “ประเพณกี าร ปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตย” โดยอธิบายผานบทบัญญัติของธรรมนูญการ ปกครองราชอาณาจักร (พทุ ธศักราช ๒๕๒๐) มาตรา ๓๐ ท่บี ญั ญตั วิ า “ในเมอื่ ไมม ีบทบัญญัติ แหงธรรมนูญการปกครองน้ีบังคับแกกรณีใด ใหวินิจฉัยกรณีนั้นไปตามประเพณีการปกครอง ประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตย” โดยความหมายของ “ประเพณีการปกครองประเทศไทย ในระบอบประชาธิปไตย” น้นั มคี วามหมายซงึ่ ประกอบกนั ดังน้ี ประเพณี (Custom หรือ practice) หมายความวา “แนวทางปฏบิ ตั ทิ เี่ คยปฏิบตั ิ สืบตอกันมา ซึ่งควรเปนแนวทางปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ” ในสวนน้ีทําใหเห็นคลายกับวา ประเทศไทยเรานั้นมีธรรมเนียมปฏิบัติ หรือรัฐธรรมนูญท่ีไมเปนลายลักษณอักษรเหมือนกับ ประเทศอังกฤษ แตค วามจรงิ แลวนน้ั ไมไ ดเ ปนเชน นัน้ เพราะประเพณีของประเทศองั กฤษนน้ั เปนประเพณีที่สืบทอดกันมาหลายรอยปแลว จนถือไดวาเปนสวนหนึ่งของรัฐธรรมนูญ แต ประเพณีตามมาตรา ๓๐ แหงธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร (พุทธศกั ราช ๒๕๒๐) หรอื บทบญั ญตั ิมาตรา ๕ ของรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย (พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) นน้ั หมายถึง ประเพณตี ามบทบญั ญตั ใิ นรฐั ธรรมนูญฉบับกอ นๆ ของไทยเทา นน้ั และการที่จะถอื ไดว า เปน ประเพณีไดนั้นตองมีการบัญญัติรับรองในเรื่องเหลาน้ันไวในรัฐธรรมนูญหลายครั้ง หรือมีการ ปฏบิ ตั กิ นั เปนเวลาทน่ี านพอสมควร ประเพณกี ารปกครอง (administrative practice) หมายความวา “ประเพณที ว่ี า นั้น จะตองเปนประเพณีที่เกี่ยวดวยการปกครอง” โดยความเกี่ยวเน่ืองในประเพณีการปกครองน้ี ไดแ ก ประเพณที เ่ี กีย่ วดว ยเรื่องพระมหากษัตรยิ ฝา ยบริหาร (รัฐบาล) ฝา ยนิตบิ ัญญตั ิ (รัฐสภา) ฝายตุลาการ (ศาล) และตลอดดวยสิทธแิ ละหนาที่ของพลเมอื งชาวไทย ๓ วษิ ณุ เครอื งาม และบวรศกั ดิ์ อุวรรณโณ. (๒๕๒๐). ธรรมนญู การปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช ๒๕๒๐. กรงุ เทพฯ: นาํ อกั ษรการพิมพ, น. ๑๖๗-๑๖๘.
๖๘ รฐั สภาสาร ฉบบั เดือนกนั ยายน ๒๕๖๐ ประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตย (administrative practice of Thailand under the democratic regime) หมายความวา “ประเพณีน้นั ๆ ตอ ง ใชมาตั้งแตมีการปกครองแบบประชาธิปไตยในประเทศไทย” ซ่ึงอธิบายไดวาประเพณีนั้น ตองเปนประเพณีที่นับต้ังแตการอภิวัฒนสยามหรือการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบ สมบูรณาญาสทิ ธริ าชยมาเปนระบอบประชาธิปไตย เมื่อป ๒๔๗๕ เปน ตน มา ดังน้ัน ประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตย เปนจารีต ประเพณีที่เกี่ยวของกับการเมืองการปกครองในการใชอํานาจอธิปไตยทั้งสาม คือ นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ และเก่ียวของกับองคประมุขของประเทศคือพระมหากษัตริย โดยการ จะถือวาเปนประเพณีการปกครองนั้นตองเริ่มนับตั้งแตที่ประเทศไทยมีการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตย และรวมถึงพระราชอํานาจตามนิติโบราณราชประเพณีของสถาบัน พระมหากษัตริยซ่ึงมิไดมีกฎหมายลายลักษณอักษรท่ีใดบัญญัติไวเลย ไดถูกอัญเชิญใหเปน กฎหมายสงู สุดตามรฐั ธรรมนญู ของระบอบการปกครองในปจ จบุ นั อกี ดวย สําหรับบทบัญญัติในเร่ืองจารีตประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบ ประชาธิปไตยไดมีข้ึนคร้ังแรกและผูท่ีเปนผูคิดคนและเปนผูรางบทบัญญัติน้ี คือ ศาสตราจารย พระยาอรรถการยี น พิ นธ (สทิ ธิ จณุ ณานนท) โดยปรากฏในธรรมนญู การปกครองราชอาณาจกั ร (พุทธศักราช ๒๕๐๒) มาตรา ๒๐ โดยทานไดกรุณายกตัวอยางในเร่อื งน้ไี วเม่อื คร้งั ทบ่ี รรยาย ในหัวขอเร่ือง “กระทรวงยุติธรรมและนโยบายปองกันราชอาณาจักร” ซึ่งอธิบายไดวา ก ฎ ห ม า ย ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย นั้ น มิ ไ ด มี เ ฉ พ า ะ ต า ม ท่ี บั ญ ญั ติ ไ ว ใ น ธ ร ร ม นู ญ เ ท า น้ั น ซึ่งรวมถึงประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรง เปน ประมขุ ดว ย๔ ซ่ึงในปจจุบันเร่ืองน้ีก็ไดถูกบัญญัติไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) ปรากฏในมาตรา ๕ ท่บี ญั ญัตวิ า “รฐั ธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสดุ ของประเทศ บทบัญญตั ิใดของกฎหมาย กฎ หรือ ขอบงั คบั หรอื การกระทําใด ขัดหรือแยงตอ รฐั ธรรมนญู บทบญั ญัติหรือการกระทาํ น้ัน เปนอนั ใชบ ังคบั มิได ๔ พระยาอรรถการียนิพนธ (สิทธิ จุณณานนท). (๒๕๒๑). “กระทรวงยุติธรรมและนโยบายปองกัน ราชอาณาจักร” ใน หนงั สืออนสุ รณใ นงานพระราชทานเพลงิ ศพ พระยาอรรถการยี น พิ นธ (สิทธิ จณุ ณานนท). กรงุ เทพฯ: สํานกั เลขาธิการคณะรฐั มนตร,ี น. ๑๐๑.
๖๙ ในเม่ือไมมีบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญน้ีบังคับแกกรณีใด ใหกระทําการน้ัน หรือวินิจฉัยกรณีน้ันไปตามประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตรยิ ทรงเปน ประมขุ ” ทั้งน้ี จากการศึกษาถึงความเปนมาของบทบัญญัติจารีตประเพณีการปกครอง ประเทศไทยตามรัฐธรรมนญู น้ัน ผเู ขยี นมคี วามเหน็ วา “ประเพณกี ารปกครอง” ตามรฐั ธรรมนูญ ฉบับปจ จบุ ัน มีระดบั ของความหมายและขอบเขตทีต่ างจากรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย (พทุ ธศักราช ๒๕๔๐) และรฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย (พุทธศักราช ๒๕๕๐) ดังจะ อธิบายไดด งั นี้ ประการแรก ความหมายและขอบเขตของ “ประเพณีการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข” ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๐) และรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย (พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐) มคี วามหมาย และขอบเขตสองระดับ กลาวคอื ๑.๑) ความหมายและขอบเขตในระดับแรก คือ เปนประเพณีการปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมขุ ซ่ึงเปน “ประเพณีการปกครองของ ไทย” กลา วคอื เปน ประเพณกี ารปกครองแบบประชาธปิ ไตยในประเทศไทย ซ่ึงนบั ตง้ั แตการ อภิวัฒนสยามหรือการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปน ระบอบประชาธปิ ไตย ตง้ั แตปพ ทุ ธศกั ราช ๒๔๗๕ ๑.๒) ความหมายและขอบเขตในระดับท่ีสอง คือ เปนประเพณีการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมขุ ซง่ึ เปน “ประเพณีการปกครองระดบั สากล” กลา วคอื เปน ประเพณกี ารปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยของตางประเทศ ซึ่งอาจจะ นํามาปรับใชกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขได ท้ังนไี้ มจาํ เปนวา ตอ งเปน การปกครองในระบบท่ีมสี ถาบนั พระมหากษตั ริยก็ได ประการทสี่ อง ความหมายและขอบเขตของ “ประเพณกี ารปกครองประเทศไทย ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมขุ ” ตามรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย (พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐) มคี วามหมายและขอบเขตระดบั เดยี ว คอื รฐั ธรรมนญู ฉบบั ปจ จบุ นั ไดเ พม่ิ เตมิ ถอยคําวา “ประเทศไทย” ซ่งึ แตกตางจากรัฐธรรมนูญ ป ๒๕๔๐ และ ๒๕๕๐ กลาวคือ การเพม่ิ ถอยคําที่เปนการเฉพาะเจาะจงลงไปในรัฐธรรมนูญวา ใหเปนประเพณีการปกครองเฉพาะ ของไทยเทาน้ัน
๗๐ รฐั สภาสาร ฉบบั เดือนกันยายน ๒๕๖๐ ฉะนั้น เมื่อพิจารณาแลวผูวิจัยมีความเห็นวา “ประเพณีการปกครอง” ตาม รัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน มีระดับของความหมายและขอบเขตท่ีแคบกวารัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย (พุทธศกั ราช ๒๕๔๐) และรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย (พทุ ธศักราช ๒๕๕๐) กลาวคอื ในรัฐธรรมนญู ฉบบั ปจจบุ นั นนั้ จะมคี วามหมายและขอบเขตทแี่ คบกวา โดย จาํ กดั เฉพาะประเพณกี ารปกครองประเทศไทยเทานั้น แตรัฐธรรมนญู ป ๒๕๔๐ และ ๒๕๕๐ จะมีความหมายและขอบเขตท่ีกวางกวา คือ เปนท้ังประเพณีการปกครองประเทศไทย และ ประเพณกี ารปกครองในระดบั สากลดว ย สําหรับการนํา “ประเพณีการปกครองประเทศไทย” มาใชกับการเขาสูตําแหนง นายกรัฐมนตรีของไทย เพื่อจะทราบวาใครเปนองคกรผูมีอํานาจในทางจารีตประเพณีทาง รัฐธรรมนูญ ในการแตงตั้งผูดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีของไทยน้ัน จะตองทําการศึกษาถึง ความเปนมาทางประวัติศาสตรของตําแหนงนายกรัฐมนตรีของไทย ซ่ึงสามารถพิจารณาได เปนสองชวงระยะเวลาใหญ คือ ความเปนมาทางประวัติศาสตรของตําแหนงนายกรัฐมนตรี ของไทยกอนการเปลี่ยนแปลงการปกครองในป ๒๔๗๕ และความเปนมาทางประวัติศาสตร ของตําแหนงนายกรัฐมนตรีของไทยหลังการเปล่ียนแปลงการปกครองในป ๒๔๗๕ ดังจะ อธิบายได ดงั นี้ การเขาสูตาํ แหนงนายกรฐั มนตรีของไทย: กอ นการเปลีย่ นแปลงการปกครอง พุทธศกั ราช ๒๔๗๕ ในอดตี ความเปน มาทางประวตั ศิ าสตรข องการเขา สตู าํ แหนง นายกรฐั มนตรขี องไทยนน้ั มีพัฒนาการทางประวัติศาสตรในยุคแรกท่ีพระมหากษัตริยเปนผูทรงอํานาจอธิปไตย พระมหากษัตริยจะเปนผูใชอ าํ นาจในฝา ยบรหิ ารเอง กลาวคือ ในยุคแรกนน้ั พระราชอาํ นาจ ในการบริหารราชการแผนดินจะอยูที่ “พระมหากษัตริย” ซึ่งทําหนาที่ในการบริหารราชการ แผนดินหรือหัวหนารัฐบาล และคณะผูบริหารบานเมืองในแตละยุคสมัยจะมีลักษณะที่คลาย กบั “คณะรัฐมนตร”ี ในยุคปจจบุ นั ดังน้นั จึงขออธบิ ายความเปนมาทางประวตั ศิ าสตรของ ผูทําหนาทใ่ี นฝายบริหารไดเ ปน ๓ ชวงระยะเวลา ดงั น้ี ชวงแรก (สมัยพระเจาอูทอง มีเสนาบดีสี่กรมหรือจตุสดมภ) ซ่ึงกลาวไดวา “จตสุ ดมภ” หรือ “สห่ี ลกั แหงการปกครอง” เปน คณะเสนาบดีหรือ “คณะรัฐมนตร”ี ในสมยั แรก กไ็ ด แตอ ํานาจในการปกครองแผน ดินนน้ั ก็ยงั อยูท ่ีองคพระมหากษัตรยิ ๕ น. ๕๔๑. ๕ วิษณุ เครอื งาม. (๒๕๓๐). กฎหมายรัฐธรรมนูญ (พมิ พครัง้ ท่ี ๓). กรุงเทพฯ: แสวงสุทธกิ ารพิมพ,
๗๑ ชวงที่สอง (สมัยพระบรมไตรโลกนาถ ถึงชวงตนรัชกาลที่ ๕) ในรัชสมัยสมเด็จ พระบรมไตรโลกนาถไดมีการจัดระเบียบบริหารราชการแผนดินใหม โดยมีการแบงประเทศ ออกเปนสองฝา ย โดยฝายแรกเปนฝา ยหวั เมอื งเหนอื อยูในความดูแลของสมุหนายก พรอมทั้ง มีหนาที่ดูแลราชการฝายพลเรือน สวนฝายท่ีสองเปนฝายหัวเมืองใต อยูในความดูแลของ สมหุ กลาโหม พรอมท้งั มีหนา ท่ีดูแลราชการฝา ยทหารดว ย ซึ่งแตละฝายจะมเี หลาคณะเสนาบดี ฝายของตน ฉะน้นั แลว ในสมยั นั้นการท่มี ตี ําแหนง อคั รมหาเสนาบดีสองคน หากเทยี บกับใน สมยั ปจจุบันก็คือ การมีตําแหนงนายกรฐั มนตรีสองคนนั่นเอง๖ ชวงท่ีสาม (สมัยตอนกลางรัชกาลที่ ๕ ถึงรัชกาลที่ ๗ กอนเปลี่ยนแปลง การปกครอง) ในสมยั รัชกาลที่ ๕ ตอนกลาง ถงึ สมัยรชั กาลที่ ๗ กอนเปลี่ยนแปลงการปกครอง มีลักษณะของคณะรัฐมนตรีท่ีมีเสนาบดีวาการกระทรวง ๑๒ กระทรวง และขึ้นตรงตอ พระมหากษัตริยอยางแทจริง มีการประชุมคณะเสนาบดีในรูปของ Council of Ministers หรอื Cabinet ของอังกฤษ แตไมม ีตาํ แหนงนายกรฐั มนตร๗ี ดงั นั้น ในยุคนีอ้ าจกลาวไดว า “พระมหากษัตริย” ไดดึงอํานาจในการเมืองการปกครองเขาสสู วนกลาง ซ่งึ เปนอํานาจท่เี รียกวา รวมศูนยก ารปกครอง ดงั นั้น ถึงแมว าจะไมมตี าํ แหนงนายกรฐั มนตรกี ็จรงิ แตถา พจิ ารณาตาม ลักษณะของการใชอํานาจในทางปกครองแลว นนั้ จะเห็นวา “พระมหากษตั ริย” คอื เปน ผทู ี่ใช อํานาจบริหารอยางเชนนายกรัฐมนตรี และเปนผูใชพระราชอํานาจในฐานะประมุขของรัฐดวย หรือกลาวไดว า พระมหากษตั ริยทรงทั้งปกเกลา และปกครอง ดังนั้นพบวา ความเปนมาทางประวัติศาสตรของตําแหนงนายกรัฐมนตรีของไทย กอ นการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ๒๔๗๕ นนั้ ในชว งแรก พระมหากษตั ริยมีพระราชอํานาจ ในการปกครองแผนดิน ในชวงท่ีสอง จะมีตําแหนงอัครเสนาบดีท่ีมีตําแหนงคลายกับการ มีนายกรัฐมนตรีสองคน แตอํานาจในการปกครองประเทศซ่ึงเปนอํานาจในทางบริหารก็ ยังคงอยทู ี่ “พระมหากษัตริย” และในยคุ ท่ีสาม “พระมหากษตั รยิ ” ถงึ แมวา จะไมม ีตาํ แหนง นายกรัฐมนตรีก็จริง แตถาพิจารณาตามลักษณะของการใชอํานาจในทางปกครองแลวนั้น จะเห็นวา “พระมหากษัตริย” คอื เปน ผูที่ใชอํานาจบริหารอยา งเชน นายกรฐั มนตรี และเปน ผใู ช ๖ เรื่องเดียวกัน, น. ๕๔๑-๕๔๒. ๗ เร่ืองเดยี วกนั , น. ๕๔๖.
๗๒ รัฐสภาสาร ฉบับเดอื นกันยายน ๒๕๖๐ พระราชอาํ นาจในฐานะประมขุ ของรัฐดวย ดังนั้นจึงถือวา “พระมหากษัตริย” เปน ผูทรงอํานาจ อธปิ ไตยน้ัน ซึง่ ทําหนา ที่ในการบริหารราชแผน ดินหรือหวั หนา รัฐบาล และเปนพระมหากษตั ริย ในฐานะประมขุ ของรัฐ กลา วคอื “ทรงทง้ั ปกเกลา และปกครอง” การเขาสตู าํ แหนง นายกรฐั มนตรขี องไทย: หลงั การเปลีย่ นแปลงการปกครอง พุทธศกั ราช ๒๔๗๕ ภายหลังการเปล่ยี นแปลงการปกครอง พทุ ธศักราช ๒๔๗๕ ไดม ผี ทู ี่ทําหนา ท่ีอยา ง นายกรฐั มนตรีท่เี รยี กวา “ประธานคณะกรรมการราษฎร” คร้งั แรกในพระราชบญั ญตั ิธรรมนูญ การปกครองแผนดินสยามชวั่ คราว พุทธศักราช ๒๔๗๕ ซง่ึ นับไดวาเปนรัฐธรรมนูญฉบบั แรก ของประเทศไทยทม่ี ีผมู อี าํ นาจบรหิ ารราชการแผนดนิ เรยี กวา “คณะกรรมการราษฎร” และมีผูท่ี ทําหนาที่นายกรฐั มนตรีเรยี กวา “ประธานคณะกรรมการราษฎร”๘ อยางไรก็ตาม คําวา “นายกรัฐมนตรี” และคณะรัฐมนตรี และรัฐมนตรีนั้น ปรากฏอยูในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๔๗๕ ซึ่งมีทม่ี าจากการยกราง รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๕ ซง่ึ ในขณะทม่ี กี ารพจิ ารณารา งรฐั ธรรมนญู ฉบับน้ีในสภาผูแทนราษฎรไดมีผูเสนอขอแกไขคําวา “คณะกรรมการราษฎร” เปนอยางอ่ืน ซ่ึงไดมีการอภิปรายโตเถียงกันในสภาผูแทนราษฎรเปนอันมาก และในท่ีสุดสภาผูแทนราษฎร ไดลงมติใหแกไขคําวา “คณะกรรมการราษฎร” ในรางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๗๕ เปน คณะรฐั มนตรี และคําวา “ประธานคณะกรรมการราษฎร” เปน “นายกรฐั มนตร”ี ๙ โดยหลงั การเปลย่ี นแปลงการปกครอง พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๕ นน้ั ประเทศไทย มีรูปแบบของการเขาสูตําแหนงนายกรัฐมนตรีสองรูปแบบใหญ คือ การเขาสูตําแหนง นายกรัฐมนตรีในรูปแบบปกติ และการเขา สูตําแหนง นายกรัฐมนตรใี นรูปแบบพเิ ศษ ๑. การเขาสตู าํ แหนง นายกรัฐมนตรใี นรูปแบบปกติ ภายหลังการประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (พุทธศักราช ๒๕๖๐) ซึ่งเปนรัฐธรรมนูญท่ีไดมีการวางหลักการใหมในการเขาสูตําแหนงนายกรัฐมนตรีไว ทําใหการ เขา สตู าํ แหนง นายกรฐั มนตรใี นรปู แบบปกตมิ สี าระสาํ คญั ทเ่ี ปลย่ี นไปจากรฐั ธรรมนญู ในอดตี ดงั นน้ั ผเู ขยี นขออธบิ ายโดยแบง เปน ๒ ประการ คือ การเขา สตู ําแหนงนายกรฐั มนตรตี ามหลักการเดิม และการเขาสูตําแหนงนายกรัฐมนตรีตามหลักการใหม (รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) ๘ มนูญ บรสิ ุทธ.์ิ (๒๕๒๗). คณะรฐั มนตรี. กรงุ เทพฯ: องคการคาคุรุสภา, น. ๔. ๙ เร่อื งเดยี วกนั , น. ๔-๕.
๗๓ ๑.๑ การเขา สูต าํ แหนง นายกรฐั มนตรตี ามหลกั การเดิม ในการศึกษาการเขาสูตําแหนงนายกรัฐมนตรีตามหลักการเดิมน้ัน ซ่ึงตาม รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (พุทธศักราช ๒๕๕๐) มาตรา ๑๗๑ “พระมหากษัตริย ทรงแตงต้ังนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งและรัฐมนตรีอื่นอีกไมเกินสามสิบหาคน ประกอบเปนคณะ รฐั มนตรี มหี นา ทบ่ี รหิ ารราชการแผน ดนิ ตามหลักความรับผดิ ชอบรวมกัน นายกรัฐมนตรีตอ ง เปนสมาชกิ สภาผูแทนราษฎรซง่ึ ไดรบั แตงตั้งตามมาตรา ๑๗๒ ใหป ระธานสภาผูแทนราษฎรเปน ผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงต้ังนายกรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรีจะดํารงตําแหนง ตดิ ตอ กนั เกนิ กวา แปดปมไิ ด” ในการแตงตั้งนายกรัฐมนตรีนี้ หากมองธรรมดาก็อาจจะตีความไปไดวา พระมหากษัตริยทรงมีดุลยพินิจ ที่จะพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัยเปนเด็ดขาด เลือกสรรผูใดมาดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี แตแทจริงแลววิถีทางการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยน้ัน ทรงแตงตั้งจากบุคคลท่ีมีเสียงขางมากในสภาผูแทนราษฎรสนับสนุนอยู๑๐ ซ่ึงตามหลักกฎหมาย ประธานสภาผูแทนราษฎรมีอํานาจหนาที่ในการท่ีจะเสนอช่ือหรือนําชื่อ ผูที่จะดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีขึ้นทูลเกลาฯ และพระมหากษัตริยพระองคจะทรงลงนาม แตง ตง้ั ใครดาํ รงตาํ แหนง นายกรฐั มนตรแี ละคณะรฐั มนตรกี ไ็ ด แตท างจารตี ประเพณนี น้ั มหี ลกั การ อยูวา ประธานสภาผูแทนราษฎรจะเปนผูเสนอบุคคลท่ีมีเสียงสนับสนุนขางมากในสภาผูแทน ราษฎรนําช่ือข้ึนทูลเกลาฯ และพระมหากษัตริยก็ทรงมีพระบรมราชโองการแตงตั้งตามบุคคล ท่ีเสนอเชน กนั ๑๑ ๑.๒ การเขาสูตําแหนงนายกรัฐมนตรีตามหลักการใหม รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย (พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) จากการศึกษาการเขาสูตําแหนงนายกรัฐมนตรีตามกรอบของรัฐธรรมนูญฉบับ ปจจุบันน้ี ที่กําหนดใหพระมหากษัตริยทรงแตงตั้งนายกรัฐมนตรีตามบทบัญญัติมาตรา ๑๕๘ วรรคแรก ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย (พุทธศักราช ๒๕๖๐) ซึง่ บญั ญัตไิ วว า “พระมหากษัตริยทรงแตงต้ังนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีอ่ืนอีกไมเกินสามสิบหาคน ประกอบ เปนคณะรัฐมนตรี มีหนาที่ในการบริหารราชการแผนดินตามหลักความรับผิดชอบรวมกัน” ๑๐ ธงทอง จันทรางศุ. (๒๕๔๘). พระราชอํานาจของพระมหากษัตริยในทางกฎหมายรัฐธรรมนูญ. กรงุ เทพฯ: เอส.ซ.ี พร้ินทแอนดแพค, น. ๙๕. ๑๑ บวรศกั ดิ์ อวุ รรณโณ. (๒๕๓๘). กฎหมายมหาชน เลม ๓ ที่มาและนติ ิวิธ.ี กรุงเทพฯ: นติ ิธรรม, น. ๒๒๙.
๗๔ รฐั สภาสาร ฉบบั เดือนกันยายน ๒๕๖๐ ซึ่งการที่พระมหากษัตริยทรงแตงต้ังนายกรัฐมนตรีนี้ก็มีหลักการเหมือนกันกับรัฐธรรมนูญ ในอดีตทุกฉบับ รวมถึงเหมือนกับหลักการเดิมท่ีกลาวมาขางตนดวย แตท่ีเปนหลักการใหม และถอื วาแตกตางจากของเดิม สามารถอธบิ ายไดด งั นี้ ๑) นายกรัฐมนตรีตองแตงตั้งจากบุคคลซึ่งสภาผูแทนราษฎรใหความเห็นชอบ ตามบทบญั ญตั มิ าตรา ๑๕๘ วรรคสอง ของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย (พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐) “นายกรัฐมนตรีตองแตงต้ังจากบุคคลซ่ึงสภาผูแทนราษฎรใหความเห็นชอบตามมาตรา ๑๕๙” ซ่ึงตอ งเปน บคุ คลทมี่ ชี ่อื อยใู นบญั ชีรายชือ่ ทพ่ี รรคการเมืองแจงไวต ามมาตรา ๘๘ โดยตอ งเปน บุคคลท่พี รรคแจง ชื่อเสนอเปน นายกรฐั มนตรีตอคณะกรรมการการเลอื กตง้ั พรรคละไมเ กิน ๓ รายชือ่ และในการหาเสยี งตอ งประกาศใหประชาชนทราบรายชอ่ื ดังกลา วนัน้ ดว ย ๒) รายชื่อ (วาที่นายกรัฐมนตรี) ท่ีเสนอนั้น พรรคเปนผูคัดเลือกและเสนอ จะเสนอจากผูเปนหรือไมเปนสมาชิกพรรคก็ได และจะเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือไม ก็ได ซึ่งถือเปนเอกสิทธิ์ของพรรคท่ีจะตัดสินใจ และพรรคตองรับผิดชอบตอสมาชิกพรรคและ ประชาชนในการตัดสินใจน้ัน ซึ่งท่ีผานมาในอดีตประชาชนไมสามารถลวงรูไดเลยวาผูใดจะมา เปน นายกรฐั มนตรี แตรัฐธรรมนูญฉบบั นถี้ ือวา เปนหลักการใหมท ีไ่ ดก าํ หนดใหประชาชนมีสทิ ธิ ที่จะรับรูดวยวาพรรคการเมืองที่ตนจะตัดสินใจน้ันจะเสนอใครเปนนายกรัฐมนตรี และผูซ่ึงได รบั การเสนอชอ่ื ตองไมมีคุณสมบัติและไมม ลี กั ษณะตอ งหา มที่จะเปน รฐั มนตรี ซง่ึ ตอ งมีหนังสือ ยินยอมใหพรรคเสนอชื่อประกอบดวย (มาตรา ๘๙ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (พุทธศกั ราช ๒๕๖๐)) ๓) สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรเปนผูเ ลือกนายกรัฐมนตรี เฉพาะจากรายชอื่ ของ พรรครวมรัฐบาลท่ีมีสมาชิกไดรับเลือกเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไมนอยกวารอยละหาของ จํานวนสมาชกิ สภาผูแทนราษฎรท้ังหมด (๕๐๐ คน) ซ่งึ ตอ งมีสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ๒๕ คน นั่นเอง (มาตรา ๑๕๙ ) ซ่งึ การเลือกนายกรฐั มนตรนี นั้ สภาผูแทนราษฎรตอ งใหความเหน็ ชอบ โดยตองมีคะแนนเสียงมากกวาก่ึงหน่ึงของจํานวนสมาชิกท้ังหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทน ราษฎร ซ่งึ ตอ งกระทาํ โดยการลงคะแนนอยา งเปด เผย (มาตรา ๑๕๙ วรรคสาม) ๔) ในระยะเวลาของการปฏิรูปประเทศนับแตการมีสภาผูแทนราษฎรครั้งแรก เปน ระยะเวลา ๕ ป ตามบทบญั ญตั มิ าตรา ๒๗๒ วรรคแรก ของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย (พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐) การใหความเหน็ ชอบบคุ คลซึง่ สมควรไดร บั การแตง ตั้งเปนนายกรัฐมนตรี ใหกระทําในที่ประชุมรวมกันของรัฐสภา กลาวคือ ใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ๕๐๐ คน
๗๕ และสมาชิกวุฒิสภา ๒๕๐ คน (ซ่ึงในบทเฉพาะกาล มาตรา ๒๖๙ ระบุวาวุฒิสมาชิกใน วาระเร่ิมแรกทั้งหมดจะมาจากการแตงต้ังของคณะรักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ) เปน ผูเลือกนายกรัฐมนตรี และหากเกิดกรณีท่ีไมสามารถแตงตั้งนายกรัฐมนตรีจากบัญชีรายช่ือ ของพรรคการเมืองตามมาตรา ๘๘ ไดแลว สมาชิกของทั้งสองสภาจํานวนไมนอยกวา กึ่งหนึ่งของสมาชิกท่ีมีอยู ตองเขาช่ือเสนอประธานรัฐสภาขอใหรัฐสภายกเวนไมตองเสนอช่ือ นายกรฐั มนตรีจากบญั ชีรายชือ่ ของพรรคการเมืองโดยใชเ สียงขา งมาก ๒ ใน ๓ ขึน้ ไปเพื่อขอ ยกเวน และหลงั จากนนั้ จะสามารถเสนอช่ือนายกรฐั มนตรผี ูที่อยใู นบญั ชีรายช่ือพรรคการเมอื ง ตามมาตรา ๘๘ หรือคนนอกบญั ชีก็ได ดังน้ัน จะเห็นไดวาการเขาสูตําแหนงนายกรัฐมนตรีตามหลักการใหมของ รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย (พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐) มลี กั ษณะท่แี ตกตางกัน กลา วคือ เปนการกําหนดใหมีการเสนอรายช่ือผูท่ีเสนอตัวเปนนายกรัฐมนตรีไว ตามบัญชีรายช่ือที่ พรรคการเมอื งแจง ไวตอคณะกรรมการการเลือกตงั้ (ตามมาตรา ๘๘) ซ่งึ บุคคลน้ันจะเปน สมาชิกพรรคหรอื ไมเ ปน กไ็ ด จะเปน สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรหรอื ไมเ ปน กไ็ ด แตตองเปน บุคคล ซึ่งเปนผอู ยูในบญั ชรี ายชอื่ ดงั กลาวน้นั สวนหลกั การอยา งอ่นื กค็ ลายกันคอื ตองเปน ผทู ีไ่ ดรับ การลงมติเกินกงึ่ หนึง่ จากสภาผูแทนราษฎร อยา งไรกต็ าม การเขา สตู าํ แหนง นายกรฐั มนตรใี นรปู แบบปกติ ตามหลกั การเดมิ และการเขาสูตําแหนงนายกรฐั มนตรีตามหลักการใหม ตามรฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย (พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) นี้ การทีพ่ ระมหากษัตริยจะทรงแตง ตัง้ นัน้ ไมจ ําเปนตอ งแตงตัง้ บุคคลที่ ประธานสภาผูแทนราษฎรทลู เกลา ฯ ก็ได แตใ นความเปน จริงแลวพระองคก ็ทรงแตงตั้งตามน้ัน เพราะบุคคลท่ีถูกเสนอช่ือมาเปนฝายเสียงขางมากในสภา ถาหากพระองคทรงแตงตั้งบุคคล อื่นท่ีไมใชบุคคลที่เสนอช่ือมา ก็จะเปนการแตงตั้งคนที่ไมมีเสียงขางมากสนับสนุนในภาผูแทน ราษฎร ก็จะสงผลใหไมอาจบริหารราชการแผนดินใหเรียบรอยไปได เพราะอาจจะถูกลงมติ ไมไววางใจทันทีที่ไดรับการแตงต้ัง หรือมากกวาน้ันนายกรัฐมนตรีก็อาจจะเสนอรางกฎหมาย ตาง ๆ รวมทั้งของบประมาณแผนดินจากรัฐสภา เพ่ือนํามาเปนเครื่องมือหรือกลไก ทส่ี าํ คญั ในการบรหิ ารกจิ การบา นเมอื งไมไ ด ดว ยเหตนุ แ้ี มว า กฎหมายจะเปด ชอ งใหพ ระมหากษตั รยิ ทรงแตงตั้งใครก็ได แตตามธรรมเนียมพระองคก็ทรงแตงต้ังบุคคลท่ีสภาผูแทนราษฎร เสนอทูลเกลาฯ เพราะถือวาเปนบุคคลที่มีเสียงขางมากสนับสนุนอยูในสภาผูแทนราษฎร
๗๖ รัฐสภาสาร ฉบบั เดอื นกนั ยายน ๒๕๖๐ ซึ่งธรรมเนียมปฏิบัติเชนน้ีของไทยและอังกฤษมีความเหมือนกัน๑๒ หรืออาจจะกลาวไดวา การเขาสูตําแหนงนายกรัฐมนตรีในรูปแบบปกติน้ัน เปนการใชพระราชอํานาจท่ีทรงกระทํา ไปตามแบบพธิ เี ทา นน้ั มิไดมีการใชพ ระราชอาํ นาจในการริเริม่ ในการคดั เลอื กไดเ อง โดยตอง ทรงกระทํารวมกับสภาผูแทนราษฎร และมีประธานสภาผูแทนราษฎรเปนผูลงนามรับสนอง พระบรมราชโองการ๑๓ ๒. การเขาสูตาํ แหนง นายกรัฐมนตรใี นรปู แบบพเิ ศษ การเขาสูตําแหนงนายกรัฐมนตรีในรูปแบบพิเศษ ผูเขียนขอนําเสนอกรณี เหตกุ ารณท างการเมืองในอดตี ซึ่งเปน กรณกี ารแตงตั้งนายกรฐั มนตรีในกรณที ี่เกิดวิกฤตการณ ทางการเมืองในสามเหตุการณท่ีสําคัญคือ การเขาสูตําแหนงนายกรัฐมนตรีของนายสัญญา ธรรมศักด์ิ หลังเหตุการณ ๑๔ ตลุ าคม ๒๕๑๖ การเขาสูตําแหนงนายกรฐั มนตรีคร้งั ทีส่ อง ของนายอานันท ปนยารชุน หลังเหตุการณพฤษภาทมิฬ ๒๕๓๕ และการเขาสูตําแหนง นายกรัฐมนตรี ในกรณีท่มี ีการยดึ อาํ นาจการปกครองแผนดนิ ดงั จะอธิบายไดด ังน้ี ๒.๑ การเขาสูตําแหนงนายกรัฐมนตรีของนายสัญญา ธรรมศักด์ิ หลงั เหตุการณ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ โดยในกรณีโปรดเกลา ฯ นายสัญญา ธรรมศกั ด์ิ เปนนายกรัฐมนตรี หรือ อาจเรียกวา “นายกรัฐมนตรีพระราชทาน” อันมีเหตุผลในทางการเมืองการปกครองใน ชวงที่เกิดวิกฤตจากเหตุการณมหาวิปโยค ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ ไดมีประชาชนและนักศึกษา จาํ นวนมากไดออกมาตอตานหรือประทวงตอการบริหารประเทศหรือใชอํานาจท่ีไมชอบธรรม ของนายกรัฐมนตรี จอมพลถนอม กิตติขจร จนนําไปสูเหตุการณรุนแรงมีการปะทะกัน ระหวางฝายเจาหนาท่ีและผูที่ออกมาตอตานรัฐบาล มีผูคนลมตายเปนจํานวนมาก และ นายกรัฐมนตรีก็ไดลาออกในท่สี ดุ ทง้ั น้ี ตามประเพณีการปกครอง เม่อื มีนายกรัฐมนตรลี าออก เชน น้ี ประธานสภาจะเปนผูเสนอรายชื่อนายกรัฐมนตรีเพ่ือนําข้ึนทูลเกลาฯ แตชวงเกิดวิกฤต ทางการเมอื งในครง้ั นน้ั พระมหากษตั รยิ ท รงเปน ผรู เิ รม่ิ ในการใชพ ระราชอาํ นาจดว ยพระองคเ อง กลาวคือ โดยปกติประธานสภาจะเปนผูนําช่ือข้ึนทูลเกลาฯ แลวใหพระองคทรงลง ๑๒ เรือ่ งเดียวกนั , น. ๒๒๙-๒๓๐. ๑๓ อมรรตั น กลุ สจุ ริต. (๒๕๔๑). ประมขุ ของรัฐในระบบรัฐสภา: ศึกษาในเชงิ ประวัตศิ าสตรกฎหมาย รฐั ธรรมนญู เปรียบเทยี บกรณีของประเทศองั กฤษ ฝร่ังเศส เยอรมนั ญีป่ นุ และไทย. วทิ ยานิพนธปริญญามหาบัณฑติ คณะนิตศิ าสตร มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร, น. ๓๘๐.
๗๗ พระปรมาภไิ ธย แตค รง้ั นพ้ี ระองคท รงใชพ ระราชอาํ นาจดว ยพระองคเ อง ทรงมพี ระบรมราชโองการฯ แตงต้ังนายสัญญา ธรรมศกั ด์ิ เปนนายกรฐั มนตร๑ี ๔ ๒.๒ การเขาสูตําแหนงนายกรัฐมนตรีคร้ังท่ีสองของนายอานันท ปนยารชุน ภายหลังเหตุการณพฤษภาทมิฬ ๒๕๓๕ ในการเขาสูตําแหนงนายกรัฐมนตรีคร้ังที่สองของนายอานันท ปนยารชุน ภายหลังเหตุการณพฤษภาทมิฬ ๒๕๓๕ ผูเขียนเห็นวา เปนการท่พี ระมหากษัตริยทรงแตงต้งั นายกรัฐมนตรีตามคําแนะนําของประธานสภาผูแทนราษฎรเพื่อท่ีจะคล่ีคลายสถานการณ ทางการเมืองในขณะนั้น เพราะวาในขณะนั้นผูที่ไดรับการคัดเลือกจากสภาผูแทนราษฎรเปน ผูที่มีสายสัมพันธและมีความเก่ียวเนื่องกับรัฐบาลชุดกอนที่ทําการส่ังปราบปรามประชาชน เพราะถา หากแตง ต้ัง พลอากาศเอก สมบุญ ระหงษ ตามทีพ่ รรคการเมอื งทีม่ ีเสยี งขา งมาก ในสภาเสนอ อาจจะนําไปสูเหตุการณนองเลือดทางการเมืองได ซึ่งการเขาสูตําแหนง นายกรฐั มนตรีของนายอานนั ท ปนยารชนุ ในคร้ังท่ีสองนี้ ถือวา เปนการเขามาในชวงทต่ี อ ง มีความ “จําเปนเรงดวน” ที่ตองการแตงต้ังเพ่ือใหสถานการณทางการเมืองคล่ีคลายลงไป โดยสงบและสนั ติ ๒.๓ การเขาสูตําแหนงนายกรัฐมนตรี ในกรณีที่มีการยึดอํานาจการปกครอง แผน ดิน ในกรณีท่ีมีการยึดอํานาจการปกครองแผนดิน และทุกคร้ังก็ไดกระทําการที่ เปน การลม ลางรฐั ธรรมนูญ และยงั ไมม ีการประกาศใชรัฐธรรมนญู ใหมน นั้ คณะผูย ึดอํานาจการ ปกครองแผนดินไดปฏิบัติตามประเพณีการปกครองประเทศไทยมาโดยตลอด ซ่ึงอยางนอยก็ คอื ต้งั แต พ.ศ. ๒๔๙๐ กลาวคอื พระมหากษัตรยิ ทรงเปน ประมขุ ของรัฐตอ ไป และในบางกรณี คณะรัฐประหารซึ่งเขายึดอํานาจการปกครองนั้น ยังไดกราบบังคมทูลขอใหพระมหากษัตริย มีพระบรมราชโองการแตงต้ังตนใหเปนผูรักษาพระนคร หรือหัวหนาคณะรัฐประหารเสียดวย ครั้นเหตกุ ารณสงบเรียบรอ ยแลว ก็จะทลู เกลา ฯ ขอพระราชทานรัฐธรรมนญู ใหม แนวปฏบิ ตั ิ ดงั กลา วถอื วา ประเพณกี ารปกครองประเทศไทยทว่ี า คณะรฐั ประหารทกุ ชดุ ถอื เอาพระมหากษตั รยิ เปนผทู รงอาํ นาจการปกครองสงู สดุ และปฏิบตั ิตอพระมหากษตั รยิ ป ระหนง่ึ วา อาํ นาจสงู สดุ ใน การปกครองทพ่ี ระมหากษตั รยิ ท รงมมี าแตเ ดมิ และไดท รงพระราชทานแกร าษฎรนน้ั ไดก ลบั คนื มา โดยพระมหากษัตริยกลับคืนสูสถานะเดิม คือทรงมีพระราชอํานาจสูงสุดและทรงใชอํานาจ ๑๔ เรือ่ งเดียวกัน, น. ๔๐๖. ๑๕ กิตติศักดิ์ ปรกติ. (๒๕๕๖). การปฏิรูประบบกฎหมายไทยภายใตอิทธิพลยุโรป (พิมพครั้งที่ ๔). กรงุ เทพฯ: วิญูชน, น. ๒๑๓-๒๑๔.
๗๘ รฐั สภาสาร ฉบบั เดอื นกันยายน ๒๕๖๐ อธิปไตยแทนปวงชนชาวไทยโดยนติ ินยั ๑๕ หรอื กลา วคือ พระมหากษัตรยิ “ทรงเปน ผูท รงอาํ นาจ อธิปไตยท่แี ทจริง” ทั้งน้ี เมื่อคณะรัฐประหารจะประกาศใชรัฐธรรมนูญ จึงตองกราบบังคมทูลฯ ขอพระราชทานรฐั ธรรมนญู ใหมอ กี ครง้ั หนง่ึ และเมอ่ื ทรงพระราชทานแลว โดยทพ่ี ระมหากษตั รยิ ทรงมฐี านะเปน ผูแทนของประชาชนในฐานะ “มหาสมมต”ิ การพระราชทานรัฐธรรมนญู จึงอาจ ถือเสมือนเปนการใหสตั ยาบนั แกคณะรฐั ประหาร ซง่ึ การปฏบิ ตั ซิ ้ํา ๆ เชน น้ีมาเปน เวลานาน ยอมกอใหเกิดจารีตประเพณีทางรัฐธรรมนูญที่ไมเปนลายลักษณอักษรข้ึน ในสวนท่ีเก่ียวกับ สถานะของพระมหากษัตริยในเวลาท่ีรัฐธรรมนูญที่เปนลายลักษณอักษรถูกลมลางหรือไมอาจ ใชบังคับได๑ ๖ จงึ เหน็ ไดว า ในยามทป่ี ราศจากรฐั ธรรมนญู อาํ นาจปกครองสงู สดุ ในทางนติ นิ ยั กลบั คืนสู “พระมหากษตั ริย” ในฐานะประมุขของรัฐ และเมอ่ื คณะรฐั ประหารจะประกาศใช รัฐธรรมนูญก็ตองดําเนินการทูลเกลาฯ ขอพระราชทานรัฐธรรมนูญอีกครั้ง นับเปนการแสดงวา ทรงเปน ผถู อื อาํ นาจอธปิ ไตย ประกอบกบั ประเพณกี ารปกครองแผน ดนิ ซง่ึ ถอื วา พระมหากษตั รยิ เปน “มหาสมมติราช” หรือผูถืออํานาจปกครองโดยความยินยอมของประชาชนน่ันเอง๑๗ และ ในกรณีการจัดต้งั รัฐบาลและการเขาสตู ําแหนงนายกรัฐมนตรีของไทยในสถานการณท่ไี มเปนปกติ อันเกิดจากการรัฐประหารน้ัน ซ่ึงโดยปกติแลวบุคคลท่ีจะมาดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีน้ัน จะมาจากการเสนอชอ่ื โดยคณะรฐั ประหาร๑๘ ซง่ึ ในการเสนอชอ่ื โดยคณะรฐั ประหารนน้ั การแตง ตง้ั นายกรฐั มนตรกี ็ตองแตงตงั้ โดย “พระมหากษัตริย” นัน่ เอง ดังน้นั การเขาสตู ําแหนงนายกรัฐมนตรี ในกรณีท่มี ีการยึดอํานาจการปกครอง แผนดินและทําการลมลางรัฐธรรมนูญแลวน้ัน “พระมหากษัตริย” มีพระราชสถานะในฐานะ ประมุขของรัฐตามประเพณีการปกครอง และในเวลาตอมาเม่ือมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญ แลว กต็ องมีการขอพระราชทานรฐั ธรรมนูญอีกครง้ั ดงั นน้ั แลว การเขา สตู ําแหนงนายกรัฐมนตรี ในกรณีท่ีมีการยึดอํานาจการปกครองน้ี ถึงแมวาจะมีการเสนอรายชื่อโดยคณะผูยึดอํานาจ การปกครองก็จริง แตก็ถือวา “พระมหากษัตริย” ทรงแตงต้ังน้ันเปนการแตงตั้งท่ีมีนัย ๑๖ เรื่องเดยี วกัน, น. ๒๑๔. ๑๗ เรือ่ งเดยี วกัน, น. ๒๑๗. ๑๘ กอบโชค จนั ทรศัพท. (๒๕๕๗). การนําระบบการเลอื กตง้ั นายกรัฐมนตรโี ดยตรงมาใชในประเทศไทย. วารสารกฎหมาย ฉบับบัณฑติ ศึกษา คณะนติ ศิ าสตร จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลัย, น. ๙.
๗๙ สองประการ คอื เปน พระราชอาํ นาจทท่ี รงแตง ตง้ั ตามรฐั ธรรมนญู ฉบบั ใหมท ไ่ี ดท รงพระราชทานใหไ ป และเปนการรับรองการกระทําของคณะผูกอการยึดอํานาจดวยประการหนึ่ง ฉะนั้นแลวจึง ถือวาการเขาสูตําแหนงนายกรัฐมนตรีในกรณีท่ีมีการยึดอํานาจการปกครองแผนดินนั้น พระมหากษัตรยิ เปน “ผูทรงอาํ นาจอธิปไตยท่แี ทจริง” อน่ึง ในการเขาสูตําแหนงนายกรัฐมนตรีในรูปแบบพิเศษน้ี มีขอสังเกตใน ประการสําคัญท่วี า “พระมหากษัตริย” นอกจากมีพระราชอํานาจท่บี ัญญัติไวในรัฐธรรมนูญแลว ยังทรงมีพระราชอํานาจดังเดิมตามจารีตประเพณีการปกครอง ซึ่งไมไดบัญญัติไวใน รัฐธรรมนูญ แตยังคงมีผลในทางปฏิบัติอยู ซึ่งเรียกพระราชอํานาจของพระมหากษัตริยน้ี ไดวา “พระราชอาํ นาจตามประเพณกี ารปกครอง”๑๙ ซง่ึ ในเรอ่ื งพระราชอาํ นาจของพระมหากษตั รยิ ตามประเพณีการปกครองของประเทศไทยนั้น ในกรณีท่ีเกิดวิกฤตในทางการเมืองการ ปกครอง พระมหากษตั ริยอาจทรงยุบสภาได ดังท่เี รยี กกนั วา forced dissolution หรอื แมวา จะทรงโปรดเกลาใหนายกรัฐมนตรีพนจากตําแหนงเพื่อระงับวิกฤตการณก็สามารถทรงทําได ดวยเหตุผลท่ีวา พระมหากษัตริยทรงเปนเจาของอํานาจอธิปไตยรวมกับประชาชน ซ่ึงเปน พระราชอํานาจตามครรลองแหงรัฐธรรมนูญท่ีไดถวายไวแกพระมหากษัตริย และสิ่งที่ถือวา เปนประการสําคัญที่สุดของการใชพระราชอํานาจของพระมหากษัตริยไทยตามครรลอง แหงรัฐธรรมนูญ คือ ประชาชนทุกคนยอมรับพระบรมราชวินิจฉัยวาเปนสิ่งท่ีเหนือการ ฝกฝายในทางการเมือง เพราะทรงดํารงพระราชสถานะที่เปนกลางในทางการเมือง มาโดยตลอด เพ่อื ปด เปา วกิ ฤตการณท เี่ กดิ ข้นึ มาแลวในอดีตหรืออาจเกดิ ขนึ้ ไดใ นอนาคต๒๐ ฉะน้ันแลว หากเกิดวิกฤตในทางการเมืองการปกครอง และอาจจะนําไปสูการ ดําเนินการเพื่อใหมีนายกรัฐมนตรีในรูปแบบพิเศษได ผูเขียนมีความเห็นวาตองมีองคกรที่ ใชอํานาจในทางประเพณีการเมืองการปกครองในการแตงตั้งนายกรัฐมนตรี น่ันก็คือองค “พระมหากษัตริย” ซ่ึงถือเปนโครงสรางท่ีเขมแข็งท่ีสุดจุดหนึ่งในระบบรัฐสภาไทย ดวยเหตุผล ที่วา รฐั ธรรมนูญของไทยทกุ ฉบับทผ่ี านมาในอดตี และตามประเพณกี ารปกครองนน้ั ไดแ สดง ๑๙ ชัชพล ไชยพร. (๒๕๕๕). พระราชอํานาจและแนวคิดทางกฎหมายในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช, วารสารกฎหมายคณะนติ ศิ าสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๓๐(๑), น. ๑๒. ๒๐ บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. (๒๕๓๗). กฎหมายกับทางเลอื กของสงั คมไทย. กรุงเทพฯ: นิติธรรม, น. ๒๙.
๘๐ รฐั สภาสาร ฉบบั เดือนกนั ยายน ๒๕๖๐ ใหเห็นวาการดํารงพระราชสถานะและพระราชอํานาจของพระมหากษัตริยในระบบรัฐสภาไทย น้ัน มีความเปนกลางและอยูเหนือการเมือง และเปนการใชพระราชอํานาจท่ีมีความมั่นคง และในอดีตพระมหากษัตริยไทยภายใตรัฐธรรมนูญ ไดทรงใชพระราชอํานาจในการแกไขและ เยียวยาปญหาในทางการเมืองการปกครองไดอยางมีประสิทธิภาพในทางความเปนจริง และ หากเกิดสภาวการณวิกฤตในทางการเมืองการปกครอง พระมหากษัตริยอาจจะเขามาหรือ มีบทบาทเสมือนเปน “กรรมการกลาง” หรือ “แหลงอํานาจสํารอง” ในสภาวการณวิกฤต ของประเทศได๒ ๑ ดังนั้น การเขาสูตําแหนงนายกรัฐมนตรีในรูปแบบพิเศษน้ัน ในทางจารีต ประเพณีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยนั้นมีหลักการอยูวา ประธานสภาผูแทนราษฎร จะเปนผูเสนอรายช่ือขึ้นทูลเกลาฯ และพระมหากษัตริยก็ทรงมีพระบรมราชโองการแตงต้ัง ตามบุคคลท่ีเสนอเชนกัน ดังนัน้ หมายความวา การแตง ตั้งนายกรฐั มนตรีก็ถอื วา เปน พระราช อํานาจของพระมหากษัตริย และมีประธานสภาผูแทนราษฎรเปนผูลงนามรับสนองพระบรม ราชโองการเหมือนกบั การเขาสตู ําแหนงในรูปแบบปกติแตอ าจจะแตกตางกันในการหย่ังเสียง กลาวโดยสรุป เม่ือพิจารณาถึงรูปแบบของการเขาสูตําแหนงนายกรัฐมนตรี ในรปู แบบปกติ และการเขาสูตาํ แหนง นายกรัฐมนตรใี นรปู แบบพเิ ศษ จะเหน็ ไดว าจากประเด็น ขอเท็จจริงท่ีกลาวมานั้น อํานาจตามรัฐธรรมนูญในการแตงต้ังนายกรัฐมนตรีของไทย เปน อํานาจตามรัฐธรรมนูญของพระมหากษัตริย เพราะตามประเพณีการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยแลวพระองคทรงแตงต้ังไปตามที่ผูลงนามรับสนองพระรมราชโองการนํารายช่ือ ทูลเกลาฯ แตก็ไมไดหมายความวาพระองคจะตองทรงลงพระปรมาภิไธยไปตามน้นั โดยเด็ดขาด พระองคม พี ระราชอํานาจที่จะรบั ส่งั ถามทีม่ า ทไ่ี ป วธิ ีการสรรหา และรายละเอียดตา ง ๆ ของ รายชอ่ื ท่ที ูลเกลาฯ ขนึ้ มานน้ั จนเปนทีพ่ ระองคท รงเห็นวา ถกู ตอ งชอบธรรม ดีงาม เปน ไปตาม ครรลองครองธรรมเสียแลวถึงจะทรงลงพระปรมาภิไธย จึงเปนส่ิงที่ผูลงนามสนองพระบรม ราชโองการที่จะตองพิจารณาไตรตรองใครครวญใหดีเสียกอน และเปนไปตามเหตุผลของ กฎหมายถกู ตองชอบธรรม จึงนาํ ข้นึ ทูลเกลาฯ๒๒ ๒๑ อมรรัตน กลุ สุจริต, เรื่องเดิม, น. ๔๑๕-๔๑๗. ๒๒ วิษณุ เครืองาม, เร่ืองเดมิ , น. ๕๘๕.
๘๑ สรปุ เมื่อพิจารณาถึงองคกรผูมีอํานาจในการใชจารีตประเพณีการปกครองประเทศไทย มาอุดชองวางในการเขาสูตําแหนงนายกรัฐมนตรี พบวา การเขาสูตําแหนงนายกรัฐมนตรี ของไทยนั้นมีเมื่อเกิดกรณีที่ไมมีบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญบัญญัติไว สามารถนํา “ประเพณี การปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข” มา อุดชองวางในการเขาสูตําแหนงนายกรัฐมนตรีตามบริบทของประเพณีการปกครองของ ประเทศไทยได ดังน้ัน “พระมหากษัตริยของไทย” จึงถือเปนองคกรผูมีอํานาจในการใชจารีต ประเพณีการปกครองประเทศไทย มาอุดชองวางในการเขาสูตําแหนงนายกรัฐมนตรีของไทย และเปนองคกรผูมีอํานาจท่ีเปน “ประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข” ตามบทบัญญัติมาตรา ๕ ของรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย (พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) เพราะวา พระมหากษัตรยิ ข องไทยนั้น ท้ังในอดีตและ การปกครองในระบอบประชาธิปไตย มีพระราชสถานะท่ีทรงเปนประมุขของรัฐ ซ่ึงถือวาเปน เอกลักษณเฉพาะที่แสดงถึงความตอเนื่องและถาวร และการใชพระราชอํานาจในฐานะท่ีทรง เปนองคกรทีม่ อี าํ นาจในการแตงต้งั นายกรฐั มนตรขี องไทยนัน้ ถือวา “พระมหากษัตริย” เปน องคกรท่ีเปนประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปน ประมขุ
๘๒ รัฐสภาสาร ฉบบั เดือนกนั ยายน ๒๕๖๐ เอกสารอางองิ กอบโชค จนั ทรศัพท. (๒๕๕๗). การนําระบบการเลอื กตั้งนายกรฐั มนตรโี ดยตรงมาใชใน ประเทศไทย. วารสารกฎหมาย ฉบับบณั ฑิตศึกษา คณะนิตศิ าสตร จุฬาลงกรณ มหาวทิ ยาลัย. กิตตศิ ักด์ิ ปรกติ. (๒๕๕๖). การปฏริ ปู ระบบกฎหมายไทยภายใตอ ิทธพิ ลยุโรป (พิมพครงั้ ที่ ๔). กรุงเทพฯ: วญิ ูชน. ชชั พล ไชยพร. (๒๕๕๕). พระราชอํานาจและแนวคดิ ทางกฎหมายในพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช. วารสารกฎหมายคณะนติ ิศาสตร จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย, ๓๐(๑). ธงทอง จันทรางศุ. (๒๕๔๘). พระราชอาํ นาจของพระมหากษัตรยิ ใ นทางกฎหมายรัฐธรรมนูญ. กรงุ เทพฯ: เอส.ซี.พริ้นทแ อนดแพค. นติ ศิ าสตรไพศาล, พระยา. (๒๔๖๖). หวั ขอ เลก็ เชอรธ รรมศาสตร. พระนคร: กรงุ เทพฯ เดลิเมล. บวรศักด์ิ อวุ รรณโณ. (๒๕๓๘). กฎหมายมหาชน เลม ๓ ท่ีมาและนิติวธิ ี. กรงุ เทพฯ: นติ ธิ รรม. พระยาอรรถการยี นิพนธ (สทิ ธิ จุณณานนท) . (๒๕๒๑). “กระทรวงยุติธรรมและนโยบายปอ งกัน ราชอาณาจักร”. ใน หนงั สอื อนสุ รณใ นงานพระราชทานเพลิงศพ พระยาอรรถการยี นพิ นธ (สทิ ธิ จณุ ณานนท). กรุงเทพฯ: สาํ นกั เลขาธิการคณะรัฐมนตรี. มนูญ บรสิ ุทธ์ิ. (๒๕๒๗). คณะรฐั มนตรี. กรุงเทพฯ: องคการคาครุ สุ ภา. วษิ ณุ เครอื งาม และบวรศกั ดิ์ อวุ รรณโณ. (๒๕๒๐). ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๐. กรุงเทพฯ: นาํ อกั ษรการพมิ พ. วษิ ณุ เครอื งาม. (๒๕๓๐). กฎหมายรฐั ธรรมนญู (พมิ พค รง้ั ท่ี ๓). กรงุ เทพฯ: แสวงสทุ ธกิ ารพมิ พ. อมรรัตน กุลสุจริต. (๒๕๔๑). ประมขุ ของรัฐในระบบรัฐสภา: ศึกษาในเชิงประวตั ศิ าสตรก ฎหมาย รฐั ธรรมนูญเปรียบเทยี บกรณขี องประเทศอังกฤษ ฝรงั่ เศส เยอรมนั ญ่ปี นุ และไทย. วทิ ยานิพนธป รญิ ญามหาบัณฑติ คณะนติ ศิ าสตร มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร.
๘๓ ยทุ ธศาสตรก ารพฒั นาระบบราชการไทยในบรบิ ทประเทศไทย ๔.๐ Strategic for Thai Government Development in the Context of Thailand 4.0 สพุ ฒั นจิตร ลาดบวั ขาว* บทนา กระแสโลกาภิวัตน (Globalization) สงผลใหสภาพแวดลอ มทงั้ ภายในและภายนอก ประเทศเปล่ียนแปลงไปอยางรวดเร็ว จึงมีความจําเปนอยางย่ิงสําหรับองคกรภาครัฐและ เอกชนที่ตองเพิ่มศักยภาพและความยืดหยุนในการปรับเปลี่ยนเพ่ือตอบสนองความตองการ ของระบบทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป ปญ หาสําคญั ของระบบราชการไทยคอื ความเส่ือมถอยของระบบ ราชการ และขาดธรรมาภิบาล ถาภาครัฐไมป รับเปล่ยี นและพัฒนาการบริหารจัดการของภาครัฐ เพ่ือไปสูองคกรสมัยใหม โดยยึดหลักธรรมาภิบาลก็จะสงผลบ่ันทอนความสามารถในการ แขงขันของประเทศ อีกท้ังยังเปนอุปสรรคตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในอนาคตดวย๑ ขณะท่ีระบบราชการไทย ๔.๐ เปนแนวคิดพ้ืนฐานของการบริหารจัดการภาครัฐซึ่งจะนําไปสู * นกั ศกึ ษาปรญิ ญาโท สาขาการปกครองทองถิน่ สถาบนั บัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร ๑ ทพิ าวดี เมฆสวรรค. (๒๕๔๐). การปฏริ ปู ภาคราชการสสู ภาพทพ่ี งึ ปรารถนา: ทาํ อยา งไร ใครรบั ผดิ ชอบ. วารสารขาราชการ, ปท่ี ๔๒ ฉบบั ที่ ๒, น. ๒๔-๔๓.
๘๔ รัฐสภาสาร ฉบบั เดอื นกนั ยายน ๒๕๖๐ การเปลี่ยนแปลงระบบของภาครัฐและยุทธศาสตรดานตาง ๆ ท่ีเปนรูปธรรม มีแนวทางใน การบรหิ ารจดั การ ไดแก การใหบ รกิ ารทมี่ ีคุณภาพแกป ระชาชน, ลดการควบคุมจากสวนกลาง และเพิ่มอสิ ระในการบริหารใหแ กหนวยงาน, การกําหนด การวดั และการใหรางวลั แกผ ลการ ดําเนินงานท้ังในระดับองคกร และระดับบุคคล, การสรางระบบสนับสนุนท้ังในดานบุคลากร (เชน การฝกอบรม ระบบคา ตอบแทน และระบบคุณธรรม) เทคโนโลยีเพ่ือชวยใหหนว ยงาน สามารถทํางานบรรลุตามวัตถุประสงค รวมถึงการเปดกวางตอแนวคิดในเร่ืองของการ แขงขันระหวางหนวยงานของรัฐดวยกัน และระหวางหนวยงานของรัฐกับหนวยงานของภาค เอกชน ในขณะเดยี วกันภาครัฐก็หันมาทบทวนตวั เองวาสงิ่ ใดควรทําเองและส่งิ ใดควรปลอ ยให เอกชนทํา ดงั นน้ั รัฐบาลจงึ ไดก าํ หนดยทุ ธศาสตรก ารพฒั นาประเทศ (Country Strategy) เพอ่ื เปนกรอบทิศทางสําคัญท่ีมีเปาหมายรวมกันกับทุกภาคสวนเพื่อผลักดันนโยบายใหเปนไปใน ทิศทางเดียวกันและนํานโยบายไปสูการปฏิบัติใหเกิดผลอยางเปนรูปธรรม โดยมีเปาประสงค หลกั เชงิ ยทุ ธศาสตรใ นการ “สรา งความเชอื่ ถอื ไววางใจ พัฒนาสขุ ภาวะ และมงุ สูความยัง่ ยืน”๒ เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ อีกทั้งเรงสรางสมดุลและปรับระบบการ บริหารจัดการภายในภาครฐั ใหสามารถผนกึ กําลังอยางเปน ระบบ สามารถตรวจสอบได เปน ตน อยางไรก็ตาม การพัฒนาระบบราชการไทยในชวงระยะเวลาที่ผานมาสงผลให ระบบราชการไทยมีความกาวหนาและเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางเปนรูปธรรม สามารถให บริการประชาชนไดอยา งมีประสิทธภิ าพ และขับเคล่อื นนโยบายตา ง ๆ ไปสกู ารปฏิบตั ิไดอยา ง มีประสิทธิผล และเพื่อใหเกิดความตอเนื่องสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ จึงไดจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทยซึ่งครอบคลุมชวงเวลาระหวางป พ.ศ. ๒๕๕๖–๒๕๖๑ เพอ่ื รองรบั การพัฒนาประเทศตอ ไปอกี ๖ ป และเปน แนวทางขบั เคล่อื น การพัฒนาระบบราชการไทยใหดําเนินไปอยางตอเนื่อง โดยศึกษาแนวโนมการพัฒนาระบบ ราชการในอนาคต และตัวอยางการพัฒนาระบบราชการท่ีดีในระดับนานาชาติ รวมท้ังระดม ความคิดเห็นจากขาราชการและภาคสวนตาง ๆ เพื่อใหไดมุมมอง ขอคิดและขอเสนอแนะ ในการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบราชการรวมกัน อยางไรก็ตาม แผนยุทธศาสตรยังทําการ ๒ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (มิถนุ ายน ๒๕๕๖). แผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบ ราชการไทย พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๑. สืบคนเมอ่ื วันที่ ๑๙ มถิ ุนายน ๒๕๖๐, จาก http://www.opdc.go.th
๘๕ ขยายผลการสงเสริมและพัฒนาหลักธรรมาภิบาลในภาคราชการเพ่ือการบริหารกิจการบานเมือง ท่ีดี ตามมติคณะรัฐมนตรวี นั ที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๕ ทั้งนี้ แผนยุทธศาสตรก ารพฒั นาระบบ ราชการไทย (พ.ศ. ๒๕๕๖–๒๕๖๑) จะเปนกรอบทิศทางท่ีจะนําไปสูการกําหนดกลยุทธและ มาตรการใหระบบราชการไทยพรอ มรบั มือกับการขบั เคล่ือนประเทศสยู คุ ประเทศไทย ๔.๐ ดังน้ัน บทความช้ินน้ี ผูเขียนจะอธิบายถึงพัฒนาการของยุทธศาสตรการพัฒนา ระบบราชการไทยในบรบิ ทประเทศไทย ๔.๐ โดยแบง ออกเปน ๔ ประเดน็ ใหญ ๆ ประเดน็ แรก กลาวถึงประเทศไทยในบริบทของการเปล่ียนแปลง ซึ่งจะชวยใหทราบถึงการเปล่ียนแปลง ของระบบราชการในอดตี จนถงึ ปจ จุบนั และในอนาคต ประเด็นท่ีสอง กลาวถงึ ความทาทาย ใหมของการพัฒนาภาครัฐภายใตบรบิ ทระบบราชการ ๓.๐ ไปสูระบบราชการ ๔.๐ ประเด็น ท่ีสาม กลาวถึงยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทยและการปฏิรูประบบราชการเพื่อ รองรบั Thailand ๔.๐ สว นประเด็นสดุ ทา ย อธิบายถึงปจ จยั แหง ความสาํ เรจ็ ในการขบั เคล่ือน ยทุ ธศาสตรการพฒั นาระบบราชไทยไปสูการปฏบิ ัติ ดังที่ผเู ขียนจะไดอ ธบิ ายเปนลาํ ดับดังนี้ ประเทศไทยในบรบิ ทของการเปลี่ยนแปลง การเปล่ียนแปลงของกระแสโลกาภิวัตน เกิดขึ้นในทุกแหงและเกิดข้ึนในทุกดาน ไมวาจะเปนดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันเทคโนโลยีมีการเปล่ียนแปลง อยูตลอดเวลาไมวาจะเปนเทคโนโลยีทางการเกษตร เทคโนโลยีอุตสาหกรรม เทคโนโลยี ชีวภาพ เทคโนโลยีวัสดุ และนาโนเทคโนโลยี ดังน้นั การผสมผสานระหวา งเทคโนโลยีกอ ใหเกดิ นวตั กรรมใหม ๆ เชน การผสมผสานระหวา งเทคโนโลยคี อมพวิ เตอรก บั ชวี วทิ ยาในการรกั ษาโรค รวมถงึ มกี ารใชเ ทคโนโลยรี ะดับตํา่ ในระดับของ Labor Intensive, Skilled Intensive คอื ผลติ ตามแบบผูวา จาง (มเี พยี งสว นนอยท่ีใชเ ทคโนโลยีแบบเขมขน และมีการวิจัยและพฒั นา) ปจ จยั ดา นสภาพแวดลอ ม กลาวคือ ภาวะโลกรอนทส่ี งผลตอความมน่ั คงทางอาหาร ทําใหผลผลติ พืชและสัตวมีความผันแปรสูง และเขตเกษตรกรรมโลกจะเคล่ือนตัวไปจากเดิม ซ่ึงจะกระทบ ตอความไดเ ปรยี บของภาคเกษตรไทย GMO จะสงผลกระทบตอ ความหลากหลายทางชีวภาพ และระบบเศรษฐกิจของประเทศในระยะยาว โอกาสและขอจํากัดการพัฒนาขึ้นอยูกับความ สามารถในการจดั การความปลอดภัยทางชีวภาพ ปจ จัยดา นสังคม กลา วคอื สังคมไทยเรมิ่ กาว เขาสูสังคมผูสูงอายุ ประชากรในวัยทํางานมีภาระในการดูแลผูสูงอายุมากขึ้นสงผลกระทบตอ
๘๖ รฐั สภาสาร ฉบับเดอื นกันยายน ๒๕๖๐ การออมเงนิ และการพัฒนาคณุ ภาพแรงงาน แนวโนม ปญหาดา นสขุ ภาพจะเพ่ิมมากข้ึนเปนไป ตามพฤตกิ รรมของกลุมประชากร เชน ติดเช้ือ HIV ภาวะโภชนาการเกนิ ปว ยเร้ือรงั ในผสู งู อายุ ภาวะความเปนเมืองเพ่ิมข้ึนและมีการยายถิ่นฐานสูง ภัยคุกคามตอความม่ันคงของมนุษยมี ความหลากหลายมากขนึ้ ดา นวัฒนธรรม ดานเศรษฐกิจ เชน การรวมตัวของกลุมเศรษฐกิจ และ การเปลยี่ นแปลงในตลาดเงนิ ของโลก ซง่ึ ทาํ ใหการรวมกลุมทางเศรษฐกิจระดับทวิภาคี ภูมิภาค และพหภุ าคีมแี นวโนมเพม่ิ ขึ้น ไดแ ก รูปแบบของระบบการคา โลก (World Trading System) มี ความเขมขน มากย่งิ ขน้ึ ประเทศตาง ๆ มีขอ ตกลงและใชเ กณฑท แี่ ตกตา งกนั ไปตามกลมุ ภายใต ขอตกลงที่แตกตางกันออกไป (Spaghetti Bowl Effect) อกี ท้งั ตองอาศัยกลไกในการปรับตัว และดําเนินนโยบายทางเศรษฐกิจมหภาคและการปรับตัวในระดับกิจการของภาคธุรกิจของ ภาคเอกชนเพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน รวมถึงการเคลื่อนยายทุนระหวางประเทศ และความเชื่อมโยงดานการเงินระหวางประเทศมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น เปนตน ดานการเมือง ดานความมั่นคงระหวางประเทศ รวมถึงดานความขัดแยงทางเช้ือชาติ ศาสนา สภาพชุมชน ความเปน อยู วิถีชีวิต การสื่อสารแบบไรพ รมแดนเชือ่ มโยงกันสะดวก การแขง ขันในดา นตา ง ๆ ทวีความรนุ แรงเพิม่ มากข้นึ ๓ ในขณะเดยี วกันกเ็ กิดการรวมกลุมเพ่ือสรา งความรวมมือหรอื เปน พนั ธมติ รเพื่อแสวงหาผลประโยชนรวมกัน และเปนการเพ่มิ ขดี ความสามารถในการแขงขนั ประเทศไทยจึงไดรับผลกระทบท่ีไมไดนํามาซึ่งโอกาสเพียงอยางเดียว แตยัง นําพาความเส่ียงตาง ๆ ตามมาดวย เชน โอกาสท่ีจะทําใหเศรษฐกิจของประเทศเจริญ เติบโต ในขณะเดียวกันกระแสโลกาภิวัตนเกิดการฉกฉวยโอกาสข้ึน โดยเฉพาะประเทศท่ีมี ความพรอ มดา นทรพั ยากรทม่ี ากกวา ทาํ ใหเ กดิ การเหลอ่ื มลาํ้ เพม่ิ ชอ งวา งระหวา งคนรวยกบั คนจนขน้ึ ซึ่งประเทศไทยก็เผชิญกับปญหาที่ทาทายอยางกาวกระโดดเพ่ือใหทันกับกระแสโลกาภิวัตน ดังน้นั เพ่อื ใหเกิดการพัฒนาประเทศอยางย่งั ยืน จึงจําเปนตองมีกลไกเพ่อื รองรับและเสริมสราง ศักยภาพของประเทศใหพรอมรับตอบริบทของการเปล่ียนที่จะเกิดขึ้นและมีความซับซอน มากยิง่ ข้ึน อยางไรก็ตาม ประเทศไทยอยูในชว งเวลาทตี่ อ งเผชญิ กับการเปลีย่ นแปลงทีส่ ําคัญ ทามกลางกระแสโลกาภิวัตนท่ีเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลาจากอดีตจนถึงปจจุบัน ซึ่งมีความ ๓ นครเขตต สุทธปรีดา และคณะ. (๒๕๕๖). แผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. ๒๕๕๖–๒๕๖๑). กรงุ เทพฯ: สาํ นักงานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ (สํานักงาน ก.พ.ร.), น. ๑.
๘๗ เจริญกาวหนาเปนอยางมาก แตก็มีปญหานานัปการท่ีเกิดข้ึนตามมา จะเห็นไดวาเศรษฐกิจ โลกมีความผันผวนไมแนนอนเส่ียงตอการเกิดภาวะเงินฝดเงินเฟอได ปญหาดังกลาวสงผล ตอการชะลอตัวของเศรษฐกิจทั่วท้ังโลกไมเพียงแตประเทศไทยเทานั้น เพราะวาสวนหน่ึง เกดิ จากการออกจากสหภาพยโุ รปของสหราชอาณาจกั ร หรือเบรก็ ซิต (องั กฤษ: Brexit) ทั้งน้ี การออกจากสหภาพยุโรปของประเทศสมาชิกสามารถกระทําไดตามมาตรา ๕๐ แหงสนธิ สัญญาวา ดว ยสหภาพยุโรป (สนธิสัญญาลิสบอน) ซ่ึงบัญญัติไวว า “รัฐสมาชกิ ใด ๆ อาจตัดสนิ ใจ ออกจากสหภาพตามขอกําหนดแหงกฎหมายของรัฐน้ัน”๔ และสถานการณปญหาในยุโรปยงั มีความไมแนนอน และอาจเกิดผลกระทบเปนลูกโซการเปล่ยี นแปลงพลวัตรทางเศรษฐกิจโลก ดังนั้น เอเชียจะกลายเปนตัวจักรขับเคลื่อนของเศรษฐกิจโลกในชวง ๑๐ ปขางหนา ธนาคารโลกพบวา แนวโนมเศรษฐกิจของจนี จะเตบิ โตกวาและมขี นาดใหญท ีส่ ดุ ของโลกกอ นป ค.ศ. ๒๐๓๐ แทนทส่ี หรฐั อเมรกิ า ในขณะเดยี วกนั การเพิม่ บทบาทในภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออก เฉียงใตน นั้ อนั เนอื่ งมาจากการเปดประเทศของสาธารณรัฐแหง สหภาพเมยี นมาร (Republic of the Union of Myanmar) หรือพมา ในขณะท่ีการรวมตวั ประชาคมอาเซียนอยา งเตม็ รปู แบบ ไดเ กดิ ขึ้นภายในป พ.ศ. ๒๕๕๘ จึงทาํ ใหเ กดิ การไหลเวียนของสินคา บริการ ทุน และแรงงาน หากประเทศไทยยังไมเพิ่มระดับขีดความสามารถในการแขงขันจะติดอยูในกับดับของประเทศ ท่ีมีรายไดปานกลาง (Middle Income Country Trap) คือการที่มีอัตราการเจริญเติบโตชา ไมส ามารถแขงขนั กบั ประเทศท่พี ัฒนาแลว ในเอเชียใตไ ด นอกจากน้ี ประเทศไทยตองกาวผานกระแสโลกาภิวัตน เพ่ือไมใหเกิดความเส่ียง ท่จี ะมีแนวโนมทวีความรุนแรงข้นึ และรัฐบาลตองมีแผนยุทธศาสตรรองรับกับการเปล่ยี นแปลง ของกระแสโลกาภิวัตน กลาวคือ ประเทศไทยกําลังเขาสูยุคแหงความสับสนวุนวายโดย จะมีปญหาในเร่ืองของการวางงาน สัดสวนของประชากรผูสูงอายุเพิ่มมากขึ้นเร่ือย ๆ อันจะเปนปญหาใหญของรัฐบาลที่จะตองจัดการในเรื่องสวัสดิการใหแกคนเหลาน้ีอยางทั่วถึง และผลที่จะตามมาคือ รัฐบาลประสบปญหาภาวะเปนหน้ีสินมากยิ่งขึ้น๕ ประจวบกับปญหา ความเหล่ือมลํ้าระหวางคนรวยกับคนจน ซึ่งจะเปนภัยคุกคามตอเสถียรภาพทางการเมือง ๔ European Commission Press Release Database. (March, 2017). Article 50 of the Treaty on European Union-Q&A. Search by http://europa.eu Access to information on June 19, 2017. ๕ Global Trends 2030, National Intelligence Council: NIC, Available at Search by http://www.public intelligence.net/global-trends-2030, (Access to information on June 19, 2017)
๘๘ รัฐสภาสาร ฉบับเดือนกันยายน ๒๕๖๐ และสงั คมในทส่ี ุด การเปลีย่ นแปลงดังกลาวนี้คาดวา จะสง ผลกระทบตอ ประชาคมโลก ดงั นั้น ทุกภาคสวนตองรวมกันรับมือ รวมทั้งประเทศไทย ซึ่งนับวาเปนเง่ือนไขสําคัญในการวางแผน กําหนดทิศทางในการพัฒนาประเทศโดยที่จะตองคํานึงในทุกมิติไมวาจะเปนมิติดานเศรษฐกิจ สงั คม เทคโนโลยี สิ่งแวดลอ ม และดา นการเมอื งการปกครอง มิตใิ นดานตา ง ๆ ท่กี ลาวมาน้ี เปนตัวขับเคลื่อนในการพัฒนาประเทศ จะเห็นไดวารัฐบาลพยายามดําเนินการอยางเต็มท่ี เพอ่ื พัฒนาประเทศใหทัดเทยี มตอ กระแสโลกาภวิ ตั น ลดชองวางระหวา งความเหลือ่ มลํา้ สรา ง ความเทาเทยี มในสงั คม กลาวโดยสรุป สถานการณที่เกิดข้ึนจากความเปลี่ยนแปลงในระดับโลกและ ภายในประเทศโดยเฉพาะภาวะการผันผวนทางเศรษฐกจิ สังคม การเมืองการปกครอง ความ ม่ันคง ความสมั พันธระหวา งประเทศ พลังงานทดแทน รวมถงึ สภาพภูมิอากาศท่ีเปลยี่ นแปลง ไปอยางรวดเร็ว สถานการณเชนน้ีสงผลกระทบตอประเทศไทยโดยตรงทั้งเชิงบวกและเชิงลบ และมผี ลตอ การกําหนดยทุ ธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทยในชวงป พ.ศ. ๒๕๕๖–๒๕๖๑ ดังน้นั ประเทศไทยตองปรับตัวใหเขากับบริบทของสถานการณการเปล่ยี นแปลง การปรับปรุง กลไกระบบราชการใหทันสมยั เพิม่ ประสทิ ธภิ าพของการบรหิ ารจัดการของภาครัฐ มคี วามโปรงใส สามารถตรวจสอบได และตอบสนองความตองการของประชาชนไดอยางทั่วถึง รวมถึงมีการ เช่ือมความสัมพันธกับตางประเทศ รักษาความสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม อันจะเปนฐานที่มั่นคงในการพัฒนาประเทศเพื่อรองรับการเปล่ียนแปลงของกระแสโลกาภิวัตน ความทาทายใหมของการพฒนาภาครฐภายใตบริบทระบบราชการ ๓.๐ ไปสูระบบ ราชการ ๔.๐ ปริญญ บญุ ดสี กุลโชค (๒๕๕๙)๖ กลา ววา ความทา ทายทีร่ ัฐบาลตอ งดาํ เนินการ พัฒนาเพื่อยกระดับระบบราชการไทย ใหเ ปนระบบราชการ ๔.๐ ดงั น้ี ๑. รัฐบาลจะดําเนินการไปในทิศทางใดเพ่ือที่จะตอบสนองความตองการเฉพาะ บคุ คล (Personalization) มากขน้ึ ในขณะเดียวกันการพัฒนาของภาครฐั ภายใตระบบราชการ ๓.๐ ไปสรู ะบบราชการ ๔.๐ ไดน ้ันภาครฐั ควรยกระดับการบรกิ ารใหไดมาตรฐาน ๖ ปรญิ ญ บุญดสี กลุ โชค. (๒๕๖๐). หัวขอความทา ทายใหมของการพัฒนาภาครฐั ภายใตบ รบิ ทระบบ ราชการ ๓.๐ ไปสรู ะบบราชการ ๔.๐, ระบบราชการไทยในบริบทไทยแลนด ๔.๐. กรงุ เทพฯ: สาํ นกั งานวิจัยและพฒั นา ระบบงานบุคคล, น. ๕-๖.
๘๙ ๒. ภาครัฐตอ งสามารถทาํ งานแบบบรู ณาการรวมกันไดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ เพ่ือ ใหเ กดิ การบรกิ ารทด่ี ี (Good Service) ซง่ึ มคี วามแตกตา งจากเดมิ ทม่ี งุ เนน พฒั นาแตล ะหนว ยงาน เทา นนั้ หากแตต อ งไดม าตรฐานตามทก่ี ําหนด ลดชอ งวางการทุจริตคอรรปั ชันลง ๓. รัฐบาลตองขับเคล่อื นประเทศตามกรอบของยุทธศาสตรก ารพัฒนาท่ไี ดกาํ หนด ไวเ บอ้ื งตน คอื แผนยุทธศาสตรก ารพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. ๒๕๕๖–๒๕๖๑) อีกท้ังยงั สอดคลองกับแผนยุทธศาสตรช าติ ๒๐ ป เพือ่ ไมใหเกิดความซับซอน ซึ่งตางจากเดมิ ทส่ี งเสริม ใหบคุ ลากรมีความเช่ียวชาญเฉพาะสาขา (Functional Expertise) ๔. รัฐบาลจะดําเนินการอยางไรท่ีจะขับเคล่ือนกระบวนการที่เกี่ยวของกับ IT เพื่อยกระดับการทํางานของทุกสวนในหนวยงานภาครัฐอยางเปนองครวม (Holistic Transformation) อีกทั้งประเทศไทยถือเปนยุคที่อินเทอรเน็ตเปนทุก ๆ สิ่งของชีวิตไปแลว โดยเฉพาะคนเมือง แตดวยภูมิศาสตรประเทศท่ีกวาง พ้ืนท่ีหางไกลความเจริญยังมีอีกมาก รัฐบาลจึงตองปูพรมใหเทคโนโลยีไดเขาถึงทุกพ้นื ท่ใี หมากท่สี ุด หนุนเศรษฐกิจดิจิทัล นายอุตตม สาวนายน๗ รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (ไอซีที) กลาววา ทุกประเทศใหความสําคัญกับการพัฒนาไอซีที ซึ่งท่ีผานมากระทรวงไอซีทีไดมุงเนนเฉพาะ ดานโทรคมนาคมเปน หลัก ไมไดม ีการพัฒนาดา นเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั อยางจรงิ จงั ท้ังน้ี สืบเน่ืองมาจากโครงสรางพ้ืนฐานยังไมครอบคลุม ขาดแคลนบุคลากรดาน ไอซีทีท่ีมีศักยภาพ ซ่ึงรัฐบาลตองเรงพัฒนาประเทศไทยใหกาวสูเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล ดวยการเพ่ิมขีดความสามารถทางเศรษฐกิจและความเทาเทียมทางสังคมดวยนวัตกรรมดิจิทัล เปนการพลิกโฉมเศรษฐกจิ สังคม และยกระดับคณุ ภาพชวี ติ ประชาชนดว ย กระทรวงไอซที ีได กําหนดแนวทางการขับเคล่อื นดจิ ทิ ลั ไว ๔ เปา หมาย คอื ๑. ภาครัฐ โดยปรับเปลีย่ นการทํางาน และบรกิ ารภาครฐั ดว ยดิจิทัล ๒. ภาคเศรษฐกจิ โดยเพม่ิ ขดี ความสามารถการแขง ขนั กา วทัน เวทีโลก ๓. ภาคสังคม ตองลดความเหล่อื มล้าํ สรา งโอกาส สงเสรมิ ความเทาเทยี ม และ ๔. ภาคบคุ ลากร พัฒนาทุนมนษุ ยสาํ หรับโลกยคุ ดจิ ิทลั อีกท้ัง จะตองขับเคล่อื นการดาํ เนนิ งานดว ย ๖ ยุทธศาสตร คือ พฒั นาโครงสราง พื้นฐานดา นดจิ ทิ ัล สรางความเชอื่ มนั่ การใชง านเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั สง เสรมิ การสรา งบรกิ ารดิจทิ ัล ๗ อตุ ตม สาวนายน. (มถิ ุนายน ๒๕๕๙). กระทรวงไอซีทีวางแผนการขบั เคลอ่ื นดจิ ิตอล. สบื คน เมอ่ื วนั ท่ี ๒๐ มถิ นุ ายน ๒๕๖๐, จาก https://www.itgenius.co.th
๙๐ รฐั สภาสาร ฉบับเดือนกนั ยายน ๒๕๖๐ ของภาครัฐ ขบั เคลอ่ื นเศรษฐกิจดวยเทคโนโลยดี จิ ิทัล พฒั นาสังคมดจิ ิทลั และพฒั นากาํ ลังคน ดิจิทัล โดยกําหนด ๗ แผนงานสําคัญ ประกอบดวย พัฒนาเครือขายศูนยดิจิทัลชุมชน สรา งโอกาสและความเทา เทยี มในสงั คม สรา งโอกาสและเพม่ิ ขดี ความสามารถใหก บั ผปู ระกอบการไทย พัฒนาความเชื่อมโยงโครงขาย ปรับเปลี่ยนระบบงานและบริการภาครัฐ พัฒนาทุนมนุษย สําหรับโลกยุคดิจิทัล และพัฒนาเทคโนโลยีเมืองอัจฉริยะ (สมารท ซิต้ี) ซ่ึงทั้งหมดจะ ขบั เคลื่อนเทคโนโลยดี จิ ิทลั เขาสูทุกมติ ิ เกดิ ประโยชนส ูงสดุ ตอ ประเทศชาติ ๕. ภาครัฐตองดําเนินการใชเทคโนโลยีในการปรับสมดุลระหวางความมี ประสิทธิภาพและความโปรงใส ซึ่งมีความแตกตางจากเดิมที่ภาครัฐตองการเพียงแคการสราง กลไกการปฏิบัติงานใหมีความรัดกุม เพื่อปองกันชองโหวของการทุจริตในหนวยงานภาครัฐ เอง อีกทงั้ ภาครัฐตองสรางระบบเศรษฐกิจทีม่ ีการเจรญิ เติบโตอยา งยัง่ ยืนรว มกบั ความมัง่ ค่ัง (Sustainable Growth with Shared Prosperity) ภายใตภมู ทิ ศั นใ หมข องโลกไดอ ยางไร? การ สรา งสงั คมท่ี Clean & Clear, Free & Fair และ Care & Share ไดอยา งไร? รวมถงึ สรา งคนชนช้นั กลางใหเพิ่มขนึ้ เปน สังคมท่มี ี Social Mobility และ Social Safety Net ทเี่ พียงพอ เพ่ือลดความ เหล่ือมลา้ํ ไดอยา งไร? อยา งไรก็ตาม ความทาทายของระบบราชการในบรบิ ทประเทศไทย ๔.๐ คอื จะ ทําอยา งไรใหก ารบริหารราชการมีความเปน ธรรมาภบิ าล ตามหลักการบรหิ ารกิจการบานเมอื ง ท่ีดี (Good Governance)๘ โดยมหี ลักการท่สี าํ คญั ไดแ ก การสรา งความโปรง ใสในการบรหิ าร ประเทศ สงเสริมคา นยิ มและวถิ ปี ฏิบตั ิ รับผดิ ชอบ ถกู ตอง เปน ธรรม การตรวจสอบการใช อํานาจรัฐ การมสี วนรวมของทุกภาคสว นทง้ั ระดบั ชาติ ทองถิ่น ชมุ ชน และในทกุ ระดบั ตงั้ แต รวมรับรูไปจนถึงรวมทําและรวมรับผล นอกจากน้ี ยังสรางความตระหนักรวมกันในสังคมไทย เพือ่ ใหเกดิ กระบวนการสรางสรรคก ลไกการบรหิ ารจัดการบานเมอื งทดี่ ี ออกกฎหมายประกอบ รฐั ธรรมนูญหรอื กฎหมายอ่ืน ๆ ที่จําเปน เรง รัดใหเกิดการปฏริ ปู การบริหารภาครัฐและการ ปฏริ ปู การศึกษาอยางเปนรูปธรรม เรงแกไ ขปญหาการทจุ ริตประพฤตมิ ิชอบในภาครัฐและภาค ธุรกจิ เอกชน๙ ๘ วรรณพร เทพหัสดนิ ณ อยธุ ยา สทุ ธปรดี า และคณะ. (๒๕๕๒). คมู อื การจดั ระดบั การกาํ กบั ดูแล องคการภาครัฐ ตามหลกั ธรรมาภิบาลของการบริหารกจิ การบานเมอื งที่ดี (Good Governance Rating). กรุงเทพฯ: สํานกั งานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สาํ นกั งาน ก.พ.ร.), น. ๔. ๙ อัษฎางค ปาณกิ บตุ ร. (มถิ นุ ายน ๒๕๕๙). ธรรมาภิบาลและการบริหารจัดการบานเมอื งที่ดี. สบื คน เม่ือวันที่ ๒๐ มถิ นุ ายน ๒๕๖๐, จาก http://wiki.kpi.ac.th
๙๑ จะเห็นไดวาหลักของธรรมาภิบาล มุงเนนใหทราบถึงปจจุบันที่มีการทํางานท่ี มงุ ผลสัมฤทธิ์ โดยมุงเนนใหเกิดการทํางานอยางมีประสิทธภิ าพ ประสิทธิผล แลว กอ ใหเ กิด ประโยชนตอความตองการของประชาชนสูงท่สี ุด และเปนการเนนใหประชาชนเขามามีสวนรวม ในการบริหารจัดการบานเมือง ซ่ึงการที่จะทําใหหลักธรรมาภิบาลหรือหลักการบริหารจัดการ บานเมืองเกิดผลสําเร็จไดนั้น ผูบริหารหรือผูนํามีความสําคัญเปนอยางมากท่ีจะนํามายึด ปฏบิ ตั เิ พอ่ื ใหเ ปน แบบอยา งแกป ระชาชน และเพอ่ื ใหป ระชาชนเกดิ ความเขา ใจถงึ หลกั ธรรมาภบิ าล มากข้นึ ตอ งเรง ดําเนนิ การใหก ารศึกษาเพื่อเพิม่ พูนความรูใหแ กประชาชน ดร.สุวิทย เมษินทรีย๑๐ ไดกลาววา ระบบราชการสามารถตอบสนองตอความ ตองการของประชาชนและปญหาตาง ๆ ไดอยางรวดเร็วและเปนเสาหลักในการขับเคลื่อน ประเทศสู Thailand ๔.๐ แตหากปลอ ยใหระบบราชการออ นแอลงเรอื่ ย ๆ ทํางานไดไ มเต็ม ศักยภาพหรือไมมีประสิทธิภาพมากพอ และไมเอ้ืออํานวยใหคนดีและคนเกงอยูในระบบได ในท่สี ุดก็จะสงผลกระทบตอประชาชนและกลายเปนอุปสรรคตอความเจริญกาวหนาของประเทศ ดังนั้น การผลักดันภาครัฐไปสู “ระบบราชการ ๔.๐” โดยสรางภาครัฐที่ยึดประชาชนเปน ศนู ยก ลาง ภาครฐั ท่ีมีสมรรถนะสงู และภาครฐั ท่ีเปด กวางและเชอื่ มโยงกัน จึงมคี วามจาํ เปน เพอื่ นาํ ไปสูเปาหมาย “ภาครัฐสามารถเปน ที่พง่ึ ของประชาชนได” ซึ่งจะไมใชเ พียงแตการปฏริ ปู ในเชงิ โครงสรา งและกฎระเบียบเทานนั้ แตจาํ เปน ตอ งมกี ารปฏริ ปู ในเชิงทศั นคติและพฤตกิ รรม ควบคูกันไปดวย เพื่อใหระบบราชการสามารถตอบสนองตอความตองการของประชาชนและ ปญ หาตา ง ๆ ไดอ ยา งรวดเรว็ และเปน เสาหลักในการขบั เคลื่อนประเทศแบบเชงิ รุกใหเทา ทนั กับการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคตได ผานการพัฒนาสู “ความมัน่ คง ม่งั คั่ง ยัง่ ยนื ” ดวยการ สราง “ความเขม แขง็ จากภายใน” ขับเคลือ่ นตามแนวคดิ “ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง” ผา นกลไก “ประชารัฐ” ๑๐ สวุ ทิ ย เมษนิ ทรยี . (๒ พฤษภาคม ๒๕๕๙). แนวคดิ เกย่ี วกบั ประเทศไทย ๔.๐. เศรษฐกจิ ไทยรฐั . สบื คน เมอ่ื วนั ท่ี ๒๐ มถิ นุ ายน ๒๕๖๐, จาก http://www.thairath.co.th/content/613903
๙๒ รฐั สภาสาร ฉบบั เดอื นกันยายน ๒๕๖๐ ยุทธศาสตรการพฒนาระบบราชการไทยและการปฏิรูประบบราชการเพื่อรองรบ Thailand ๔.๐ การพัฒนาระบบราชการไทย จะเนนการดําเนินงานที่สอดรับกับแผนยุทธศาสตร ของประเทศ (Country Strategy) พ.ศ. ๒๕๕๖–๒๕๖๑ ซ่ึงรฐั บาลไดกําหนดเปาหมายรวมกัน กับทุกภาคสวนโดยมีเปาหมายหลักเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ เพื่อ หลดุ พน จากกบั ดักรายไดป านกลาง “กับดักความเหล่ือมลํ้าของความม่ังคง่ั ” และ “กับดกั ความ ไมส มดุลในการพฒั นา” เปน สาเหตใุ หประเทศไทยไมพัฒนาอยา งกาวกระโดด ดังนน้ั รัฐบาล จึงไดม ีนโยบายขับเคล่ือนปฏริ ูปประเทศในทกุ มติ ิ ระบบราชการกต็ องปรบั ตัวใหสอดคลองกับ ประเทศไทย ๔.๐ อยา งเต็มรปู แบบ ดว ยการพ่ึงพานวตั กรรมหรอื องคค วามรู ความคิดสรางสรรค และเทคโนโลยี การสรา งสมดุลและพัฒนาระบบบรหิ ารจดั การภายในภาครัฐ (Internal Process) ใหมีประสทิ ธภิ าพ โปรงใส ดว ยการปรับโครงสรางระบบราชการ สรางและใชห ลักธรรมาภบิ าลใน การบรหิ ารงานเพื่อสรางความโปรง ใสในองคก รภาครฐั ปฏริ ูปกฎหมาย สง เสริมการมีสวนรวม ของประชาชนทุกภาคสวนในการแกไขปญหาและสนับสนุนการจัดการศึกษา ตลอดจนจัดทํา แผนยุทธศาสตรและบูรณาการการทํางานเพ่ือใหเกิดการประสานงานระหวางยุทธศาสตรระดับ ชาติ ๒๐ ป ระดับกระทรวง และระดับพนื้ ที่ อาจจะมถี งึ ระดับจงั หวัด โดยใหป ระชาชนในพน้ื ที่ มสี วนรวมแสดงความคิดเห็น ความตอ งการ อนั จะเปนการสรางยทุ ธศาสตรการพัฒนาระบบ ราชการไทย ๔.๐ เพอ่ื ใหเกดิ การพฒั นาอยางยัง่ ยืน และรองรับตอยุทธศาสตร Thailand ๔.๐ ภาครัฐหรือระบบราชการจะตองดําเนินงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาลเพ่ือประโยชนสุขของ ประชาชนเปนหลกั (Better Governance, Happier Citizens) ท้ังน้ี หมายความวา ระบบราชการ ไทยตองมีการปฏิรูปขนานใหญ เพื่อใหสามารถเปนท่ีไววางใจและเปนท่ีพึ่งของประชาชนได อยา งแทจ ริง ดังแผนภาพ
๙๓ แผนภาพ การพัฒนาระบบราชไทย ๔.๐ ที่มา: กลมุ วเิ ทศสมั พนั ธแ ละการประชาสัมพนั ธ สาํ นักงาน ก.พ.ร. ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. ๒๕๕๖–๒๕๖๑) โดยกําหนด ประเด็นยทุ ธศาสตร ๗ ยุทธศาสตร และกําหนดใหส อดคลองกับยุทธศาสตร Thailand ๔.๐ ดงั นี้ ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท ี่ ๑ การสรางความเปน เลศิ ในการใหบ รกิ ารประชาชน มีเปาหมายเพื่อพัฒนางานบริการของสวนราชการและหนวยงานของรัฐสูความ เปน เลศิ เพื่อใหประชาชนมีความพึงพอใจตอคณุ ภาพการใหบรกิ าร โดยออกแบบการบริการที่ ยึดประชาชนเปนศูนยกลาง มีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมมาใชเพื่อใหประชาชน สามารถใชบริการไดงายและหลากหลายรูปแบบ เนนการบริการเชิงรุกที่มีปฏิสัมพันธโดยตรง ระหวา งภาครฐั และประชาชน การใหบ รกิ ารแบบเบ็ดเสรจ็ อยา งแทจรงิ พัฒนาระบบการจัดการ ขอรอ งเรยี นใหม ีประสทิ ธิภาพ รวมทั้งเสริมสรางวฒั นธรรมการบรกิ ารทเ่ี ปน เลิศ
๙๔ รฐั สภาสาร ฉบับเดอื นกนั ยายน ๒๕๖๐ ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การพัฒนาองคการใหมีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย บคุ ลากรมคี วามเปนมืออาชพี มีเปาหมายเพื่อพัฒนาสวนราชการและหนวยงานของรัฐสูองคการแหงความ เปนเลิศ โดยเนนการจัดโครงสรางองคการที่มีความทันสมัย กะทัดรัด มีรูปแบบเรียบงาย (Simplicity) มรี ะบบการทํางานท่คี ลอ งตวั รวดเรว็ ปรบั เปล่ยี นกระบวนทัศนในการทํางาน เนน การคดิ รเิ ริม่ สรา งสรรค (Creativity) พฒั นาขีดสมรรถนะของบคุ ลากรในองคก าร เนน การทาํ งาน ท่ีมีประสทิ ธิภาพ สรา งคุณคา ในการปฏิบัติภารกจิ ของรัฐ ประหยัดคา ใชจา ยในการดําเนนิ งาน ตาง ๆ และสรางความรบั ผิดชอบตอ สงั คม อนุรกั ษสง่ิ แวดลอมทย่ี งั่ ยนื ประเดน็ ยุทธศาสตรท่ี ๓ การเพม่ิ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารสินทรพั ยของภาครัฐให เกดิ ประโยชนส งู สดุ มีเปาหมายเพ่ือวางระบบการบริหารจัดการสินทรัพยของราชการอยางครบวงจร โดยคํานึงถึงคาใชจายท่ีผูกมัด/ผูกพันติดตามมา (Ownership Cost) เพ่ือใหเกิดประโยชน สงู สดุ หรอื สรางมูลคา เพิ่ม สรา งโอกาส และสรา งความมนั่ คงตามฐานะเศรษฐกจิ ของประเทศ ลดความสูญเสียส้ินเปลืองและเปลาประโยชน รวมท้ังวางระบบและมาตรการท่ีจะมุงเนนการ บริหารสินทรัพยเพื่อใหเกิดผลตอบแทนคุมคา สามารถลดตนทุนคาใชจายโดยรวม มีตนทุน ที่ตํ่าลงและลดความตองการของสินทรัพยใหมที่ไมจําเปน เชน สงเสริมใหมีการใชเทคโนโลยี สารสนเทศในการบริหารสินทรัพยและบูรณาการเขากับระบบบริหารจัดการทรัพยากรของ องคก าร (Enterprise Resource Planning: ERP) เพ่อื เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารสินทรัพยแ ละ การบรหิ ารจดั การองคก ารโดยรวม และการลดตนทนุ ประเดน็ ยุทธศาสตรท่ี ๔ การวางระบบการบรหิ ารงานราชการแบบบูรณาการ มีเปาหมายเพื่อสงเสริมการทํางานรวมกันภายในระบบราชการดวยกันเองเพ่ือแก ปญหาการแยกสว นในการปฏบิ ตั งิ านระหวา งหนวยงาน รวมถึงการวางระบบความสมั พันธแ ละ ประสานความรว มมอื ระหวา งราชการบรหิ ารสว นกลาง สว นภมู ภิ าค และสว นทอ งถน่ิ ในรปู แบบ ของการประสานความรว มมอื ท่ีหลากหลายภายใตว ตั ถปุ ระสงคเดยี วกัน คอื นําศักยภาพเฉพาะ ของแตละหนวยงานมาสรางคุณคาใหกับงานตามเปาหมายที่กําหนด เพื่อขับเคล่ือนนโยบาย/ ยุทธศาสตรข องประเทศและการใชป ระโยชนท รพั ยากรอยา งคมุ คา เชน ๑. วางระบบการบริหารงานแบบบูรณาการในแผนยุทธศาสตรสําคัญของประเทศ (Cross Functional Management System) ตามหว งโซแหงคณุ คา (Value Chains) ครอบคลุม กระบวนการ ตั้งแตตน น้ํา กลางนํา้ จนกระทั่งปลายนาํ้
๙๕ ๒. การออกแบบโครงสรา งและระบบบรหิ ารงานราชการใหมใ นรปู แบบของหนว ยงาน รูปแบบพิเศษ เพ่ือใหสามารถรองรับการขับเคลือ่ นประเด็นยทุ ธศาสตรสาํ คญั ของประเทศ ๓. ปรับปรุงการจัดสรรงบประมาณใหมีลักษณะแบบยึดยุทธศาสตรและเปาหมาย รวมเปนหลัก เพ่ือใหเอื้อตอการขับเคลื่อนยุทธศาสตรสําคัญของประเทศและการบริหารงาน แบบบรู ณาการ ๔. พัฒนารูปแบบและวิธีการทํางานของภาครัฐในระดับตาง ๆ (Multi–Level Governance) ระหวา งราชการบรหิ ารสวนกลาง สว นภมู ิภาค และสว นทอ งถิ่น โดยเนนการยึด พน้ื ทเ่ี ปน หลกั ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๕ การสงเสริมระบบการบริหารกิจการบานเมืองแบบ รวมมือกันระหวา งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน มีเปาหมายเพื่อสงเสริมใหหนวยงานราชการทบทวนบทบาทและภารกิจของตนให มีความเหมาะสม โดยใหค วามสาํ คัญตอการมีสว นรว มของประชาชน มงุ เนนการพัฒนารูปแบบ ความสัมพันธระหวางภาครัฐกับภาคสวนอ่ืน การถายโอนภารกิจบางอยางท่ีภาครัฐไมจําเปน ตองดําเนินงานเองใหภาคสวนอ่ืน รวมท้ังการสรางความรวมมือหรือความเปนภาคีหุนสวน (Partnership) ระหวา งภาครัฐและภาคสว นอืน่ เชน ๑. สงเสริมการสรางความรวมมือในรูปภาคีหุนสวนระหวางภาครัฐกับเอกชน (Public–Private–Partnership: PPP) เพ่อื ใหการพัฒนาโครงสรางพ้นื ฐานและบริการสาธารณะ ในดา นตา ง ๆ ๒. เปดใหภาคเอกชนสามารถเขามาแขงขันกันเพื่อจัดทําบริการสาธารณะแทน ภาครฐั (Contestability) ในภารกจิ ของภาครฐั ทภ่ี าครฐั ไมจ าํ เปน ตอ งดาํ เนนิ การเองและภาคเอกชน สามารถดําเนินการแทนได ๓. เปดใหองคกรภาคประชาสังคมและชุมชนสามารถเขามาเปนผูจัดบริการ สาธารณะแทนภาครฐั โดยอาศยั การจดั ทาํ ขอ ตกลงรวม (Compact) ในรปู แบบการดําเนนิ งาน ในลักษณะหนุ สว น ระหวา งภาครฐั กบั ภาคประชาสงั คมและชมุ ชน ซึ่งมีเปาหมายของขอ ตกลง อยทู ่กี ารรว มกนั ดําเนินภารกจิ จัดบริการสาธารณะแกประชาชนใหบรรลุผลสัมฤทธิ์ ๔. พัฒนารูปแบบและแนวทางการบริหารงานแบบเครือขาย (Networked Governance) โดยการปรับเปล่ียนบทบาท โครงสราง และกระบวนการทํางานขององคกร ภาครัฐใหสามารถเช่ือมโยงการทํางานและทรัพยากรตาง ๆ ของหนวยงาน ท้ังในภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ใหเกิดการพงึ่ พากันในรปู แบบพนั ธมติ ร
๙๖ รฐั สภาสาร ฉบบั เดือนกันยายน ๒๕๖๐ ประเด็นยุทธศาสตรท ่ี ๖ การยกระดับความโปรง ใสและสรา งความเชอื่ ม่นั ศรัทธา ในการบรหิ ารราชการแผน ดิน มีเปาหมายเพ่ือสงเสริมและวางกลไกใหสวนราชการและหนวยงานของรัฐเปดเผย ขอมลู ขาวสารและสรางความโปรงใสในการปฏบิ ตั ริ าชการ รวมท้งั สงเสริมใหภ าคประชาชนเขา มามีสวนรวมในการตรวจสอบการทํางานของทางราชการ ตลอดจนการขับเคล่ือนยุทธศาสตร และมาตรการในการตอตา นการทุจรติ คอรรปั ชนั ใหบรรลุผลสัมฤทธอ์ิ ยางเปน รปู ธรรม เชน ๑. เปดใหประชาชนมีสวนรวมโดยการพัฒนาระบบการตรวจสอบสาธารณะ (Public Scrutiny) และผูตรวจสอบอิสระจากภายนอก (Independent Assessor) ที่ผานการ ฝกอบรมและไดรับการรับรองเขามาดําเนินการสอดสองดูแลและสอบทานกระบวนการจัดซ้ือ จดั จา งของทางราชการ ๒. พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศเพ่ือการเฝาระวังและติดตามตรวจสอบในเร่ือง การทุจริตคอรรัปชันในเชิงรุก รวมทั้งพัฒนาเคร่ืองมือวัดระดับความเชื่อม่ันศรัทธาในการ บริหารราชการแผน ดนิ ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๗ การสรางความพรอมของระบบราชการไทยเพ่ือเขาสู การเปนประชาคมอาเซียน มีเปาหมายเพื่อเตรียมความพรอมของระบบราชการไทยเพื่อรองรับการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียน รวมท้ังประสานพัฒนาเครือขายความรวมมือกันในการสงเสริมและ ยกระดับธรรมาภิบาลในภาครัฐของประเทศสมาชิกอาเซียน อันจะนําไปสูความม่ังคั่งทาง เศรษฐกจิ ความม่ันคงทางการเมอื ง และความเจริญผาสกุ ของสงั คมรว มกัน การปฏิรูประบบราชการเพ่ือรองรบั Thailand ๔.๐ เพื่อรองรับตอยุทธศาสตรประเทศไทย ๔.๐ ภาครัฐหรือระบบราชการจะตอง ทํางานโดยยึดหลักธรรมาภิบาลเพ่ือประโยชนสุขของประชาชนเปนหลัก กลไกการทํางาน ของภาครัฐหรอื ระบบราชการตอ งปรับเปลย่ี นโครงสราง แนวคิดและวธิ ีการทํางานของตนใหม ดังนี้๑๑ ๑๑ กองบริหารงานวิจัยและประกันคุณภาพการศึกษา. (๒๕๕๙). Thailand ๔.๐ โมเดลขับเคลื่อน ประเทศไทยสคู วามมงั่ ค่งั ม่ันคง และยั่งยนื . (พิมพเ ขียว), น. ๙๙-๑๐๒.
๙๗ ๑. โครงสรางจะตองปรับเปล่ียนจากเดิมที่เนนใหภาครัฐหรือระบบราชการเปน กลไกหลักในการบรหิ ารกจิ การบานเมืองไปสกู ารเปดกวา งใหก ลไกหรือภาคสวนอน่ื ๆ ในสงั คม เชน ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม ไดเขา มามีสว นรว ม อันเปน การผนึกกําลงั ความรว มมือกัน เพ่ือพัฒนาประเทศหรือแกปญหาความตองการของประชาชนที่มีความสลับซับซอนมากขึ้น จนไมมีภาคสวนใดในสังคมจะสามารถดําเนินการได หรือเปนการบริหารบานเมืองในรูปแบบ ประชารัฐ ซงึ่ หมายความวา จะตองมีการจดั ระเบยี บความสัมพนั ธใ นเชงิ โครงสรา งใหสอดรับกับ การทํางานในแนวระนาบ ในลักษณะของเครือขาย มากกวา ตามสายการบังคบั บัญชาในแนวดงิ่ รวมทงั้ ยังตอ งเชื่อมโยงการทํางานภายในภาครฐั ดวยกันเองใหส อดรับประสานกัน ไมวา จะเปน ราชการบริหารสวนกลาง สวนภมู ภิ าค และสวนทองถน่ิ ๒. คุณลักษณะของ “ราชการไทย ๔.๐” เปน ดังตอไปน้ี ๒.๑ ตองเปดกวางและเช่ือมโยงเขากับทุกฝาย (Open & Connected Government) หมายความวาตองมีความเปดเผยโปรงใสในการทํางาน โดยบุคคลภายนอก สามารถเขาถึงขอมูลขาวสารของทางราชการหรือมีการแบงปนขอมูลซ่ึงกันและกัน และ สามารถเขามาตรวจสอบการทํางานได ตลอดจนเปดกวางใหภาคสวนอ่ืน ๆ เชน ภาค เอกชน ภาคประชาสังคม ไดเขา มามีสวนรวม และโอนถายภารกจิ ทภี่ าครฐั ไมค วรดาํ เนนิ การ เองออกไปใหแกภาคสวนอ่ืน ๆ เปนผูรับผิดชอบดําเนินการแทน โดยการจัดระเบียบความ สัมพันธในเชิงโครงสรางใหสอดรับกับการทํางานแนวระนาบในลักษณะของเครือขายมากกวา ตามระบบสายการบังคับบัญชาในแนวด่ิง ขณะเดียวกันมีการเช่ือมโยงการทํางานในภาครัฐ ดวยกันเองใหมีเอกภาพและสอดประสานกัน หรือทํางานดวยกันไปสูการรวมมือกันอยาง แทจ ริง โดยจัดระบบใหมกี ารวางแผนเพ่อื ใหบรรลวุ ัตถุประสงคแ ละเปาหมายทต่ี อ งการรว มกัน มีการระดมและนําเอาทรัพยากรทุกชนิดเขามาแบงปนและใชประโยชนรวมกัน มีการยอมรับ ความเส่ียงและรับผดิ ชอบตอ ผลสาํ เรจ็ ท่เี กดิ ขึน้ รว มกนั ๒.๒ ยึดประชาชนเปนศูนยก ลาง (Citizen–Centric Government) ซึ่งหมายความ วาตองทํางานในเชิงรุกและมองไปขางหนา โดยต้ังคําถามกับตนเองเสมอวาประชาชนจะได อะไร? มุงเนนแกไขปญหาความตองการและตอบสนองความตองการของประชาชน โดย ไมตองรอใหประชาชนเขามาติดตอขอรับบริการหรือรองขอความชวยเหลือจากทางราชการ (Pro–Active Public Services) รวมท้งั ใชป ระโยชนจ ากขอ มลู ของทางราชการ (Big Government Data) และระบบดิจทิ ลั สมัยใหมใ นการจดั บรกิ ารสาธารณะทีต่ รงกบั ความตองการของประชาชน (Personalized หรอื Tailored Services) พรอมทั้งอํานวยความสะดวกโดยมกี ารเชือ่ มโยงกนั เอง
๙๘ รัฐสภาสาร ฉบบั เดือนกนั ยายน ๒๕๖๐ ของทางราชการเพ่ือใหบริการตาง ๆ สามารถเสร็จสิ้นในจุดเดียว ประชาชนสามารถเรียกใช บรกิ ารของทางราชการไดตลอดเวลาตามความตอ งการของตนและผา นการติดตอ ไดห ลายชองทาง ผสมผสานกนั ไมว า จะตดิ ตอ มาดว ยตนเอง อนิ เทอรเ นต็ เวบ็ ไซต โซเชยี ลมเี ดยี หรอื แอปพลเิ คชนั ทางโทรศพั ทม อื ถอื เปนตน ๒.๓ มขี ีดความสามารถสูงและทันสมัย (Smart & Innovative Government) ซ่ึงหมายความวาจะตองทํางานอยางเตรียมการณไวลวงหนา มีการวิเคราะหความเสี่ยง สราง นวัตกรรมหรือความคิดริเริ่มและประยุกตองคความรูในแบบสหสาขาวิชาเขามาใชในการ ตอบโตกับโลกแหงการเปลี่ยนแปลงอยางฉับพลัน เพ่ือสรางคุณคา มีความยืดหยุนและความ สามารถในการตอบสนองกับสถานการณตาง ๆ ไดอยางทันเวลา ตลอดจนเปนองคการท่ีมี ขีดสมรรถนะสูงและปรับตัวเขาสูสภาพความเปนสํานักงานแบบดิจิทัล รวมทั้งทําใหขาราชการ มีความผูกพนั ตอ การปฏบิ ัติราชการ ๓. หลักการและวิธีการทํางานของระบบราชการแบบเดิมและระบบราชการ แบบใหม ตลอดจนกระบวนทัศนแ ละความเช่อื ถืออันมีผลตอพฤตกิ รรมของขา ราชการกจ็ ําเปน ตอ งมีการปรับเปล่ียนใหมใ หสอดคลองกัน ดังตารางตอ ไปน้ี ตารางสรุปเปรียบเทยี บระหวา งระบบราชการแบบเดมิ และระบบราชการแบบใหม ระบบราชการแบบเกา ระบบราชการแบบใหม (ระบบราชการ ๔.๐) การทํางานแยกตามภารกจิ ของแตละหนวยงาน การทาํ งานรวมกันแบบบรู ณาการอยา งแทจ ริงในเชงิ ยทุ ธศาสตร แมม กี ารทาํ งานประสานกนั ระหวา งหนว ยงาน ตั้งแตร ะดบั การวางนโยบายจนถึงนํานโยบายไปปฏิบตั ิ แตย ังไมใชก ารบรู ณาการอยางแทจริง (Collaboration) (Autonomy, Separation) การทาํ งานยงั ไมอ ยูในรปู แบบอิเลก็ ทรอนกิ ส การทาํ งานมีการเชื่อมโยงผานระบบดิจิทัลอยา งเต็มรปู แบบ และยังเปนการทาํ งานตามสายการบงั คบั บญั ชา ตั้งแตต นจนจบกระบวนการ เช่อื มโยงทกุ ภาคสวนราชการในการ ในแนวด่ิง (Fragmentation, Hierarchy, Silo, บริการประชาชนและมกี ารบงั คบั บัญชาในแนวนอน (End-to-End Vertical Approach) Process Flow, Cross-Boundary Management, Program/Project Management Office, Horizontal Approach) ใหบรกิ ารเปน มาตรฐานเดยี วกันอยางตายตัว ใหบรกิ ารตามความตองการเฉพาะบคุ คล ซ่งึ สามารถออกแบบ/ ตามสทิ ธิพื้นฐานของบคุ คลทรี่ ฐั กาํ หนด เลือกรปู แบบ/วธิ กี ารในการขอรับบรกิ ารได (Customization, (Standardization) Personalization)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111