Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รัฐสภาสารฉบับเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน 2563

รัฐสภาสารฉบับเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน 2563

Published by sapasarn2019, 2020-07-29 00:04:36

Description: รัฐสภาสารฉบับเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน 2563

Search

Read the Text Version

รัฐสภาสาร ทป่ี รึกษา วตั ถปุ ระสงค นายสรศักด์ิ เพยี รเวช เ ป น ว า ร ส า ร เ พื่ อ เ ผ ย แ พ ร ก า ร ป ก ค ร อ ง ร ะ บ อ บ นางสาวโสมอุษา บรู ณะเหตุ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข บรรณาธิการ และเพื่อเสนอขาวสารวิชาการในวงงานรัฐสภาและอ่ืนๆ นางจงเดือน สทุ ธิรัตน ท้งั ภายในและตางประเทศ กองบรรณาธกิ าร การสงเร่ืองลงรฐั สภาสาร นางสาวอารยี วรรณ พูลทรัพย สงไปทบ่ี รรณาธกิ ารวารสารรฐั สภาสาร กลมุ งานผลติ เอกสาร สํานักประชาสัมพันธ นายพิษณุ จารียพ ันธ สํานกั งานเลขาธกิ ารสภาผูแทนราษฎร นางสาวอรทยั แสนบตุ ร เลขท่ี ๑๑๐ ถนนประดิพัทธ แขวงพญาไท นางสาวจุีวรรณ เตมิ ผล เขตพญาไท กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ นายกองเกียรติ ผอื โย โทร. ๐ ๒๒๔๔ ๒๒๙๔ นางสาวสหวรรณ เพ็ชรไทย โทรสาร ๐ ๒๒๔๔ ๒๒๙๒ นางสาวนธิ มิ า ประเสรฐิ ภักดี e-mail: [email protected] ฝา ยศิลปกรรม การสงบทความลงเผยแพรในวารสารรัฐสภาสาร นายมานะ เรืองสอน จะตองเปนบทความท่ีไมเคยลงพิมพในวารสารใดมากอน นายนธิ ทิ ัศน องคอ ศวิ ชัย การพิจารณาอนุมัติบทความที่นํามาลงพิมพดําเนินการ นางสาวณัฐนนั ท วิชติ พงศเ มธี โดยกองบรรณาธกิ าร ทั้งนี้ บทความ ขอความ ความคดิ เห็น หรือขอเขียนใดที่ปรากฏในวารสารเลมนี้เปนความเห็นสวนตัว ฝายธรุ การ ไมผูกพันกบั ทางราชการแตประการใด นางสาวเสาวลักษณ ธนชยั อภภิ ัทร นางสาวดลธี จุลนานนท นางสาวจริยาพร ดกี ัลลา นางสาวอาภรณ เนอื่ งเศรษฐ นางสาวสุรดา เซ็นพานชิ พมิ พท่ี สํานกั การพิมพ สาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู ทนราษฎร ผพู มิ พผโู ฆษณา นางสาววารุณี แกว สอาด

บทบรรณาธิการ ðสภาสารฉบับเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน ๒๕๖๓ ฉบับน้ีเปนฉบับยางเขาสูฤดูฝน และเปน ชว งทป่ี ระเทศไทยของเรากาํ ลงั ตอ สกู บั โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - 19) หลายคน ไดร บั ผลกระทบจนอาจตอ งมกี ารปรบั เปลย่ี นวถิ ชี วี ติ ของตนเองทง้ั ทางดา นความเปน อยู และอาชพี การงาน อยางไรก็ตามแมวาสถานการณบานเมืองจะเปลี่ยนแปลงไปอยางไรก็ตาม รัฐสภาสารยังคงสรรหา เร่ืองราวตาง ๆ ที่มีเนื้อหาสาระดี ๆ เกี่ยวของกับกฎหมายและการเมืองการปกครอง มานําเสนอ แกท า นผอู า นอยา งตอ เนอื่ ง สาํ หรบั รฐั สภาสารฉบบั นไ้ี ดน าํ บทความเชงิ วชิ าการทนี่ า สนใจมานาํ เสนอดงั นี้ เรื่องที่หน่ึง ขอบังคับการประชุมสภาผูแทนราษฎรกับการนับคะแนนเสียงใหม ซึ่งเปนผลมาจาก การลงมติในการประชุมสภาบางครั้งในอดีต ทําใหตองมีการนับคะแนนเสียงใหมเพื่อความชัดเจน โดยบทความนแ้ี สดงใหเ หน็ ถงึ ววิ ฒั นาการของการกาํ หนดบทบญั ญตั ขิ อ บงั คบั การประชมุ สภาผแู ทนราษฎร เก่ยี วกับการนบั คะแนนเสยี งใหมใ นการประชุมสภาผแู ทนราษฎร วา มีการเปล่ยี นแปลงและมหี ลักเกณฑ กาํ หนดไวอ ยา งไรตงั้ แตอ ดตี จนถงึ ปจ จบุ นั เรอ่ื งทส่ี อง ความราํ่ รวยผดิ ปกติ : ความเปน มาของการศกึ ษาคน ควา เรม่ิ แรก นาํ เสนอการศกึ ษาคน ควา เกย่ี วกบั การคอรร ปั ชนั ในราชการไทยในอดตี โดยไดน าํ เสนอกฎหมาย ของบางประเทศท่ีไดมีการกําหนดเกี่ยวกับการปองกัน การตรวจสอบ และลงโทษเจาหนาท่ีของรัฐ ทีม่ ีความร่าํ รวยผดิ ปกตใิ นขณะนน้ั ดวย ไดแก อังกฤษ สงิ คโปร ฟลปิ ปน ส และสาธารณรัฐเกาหลี และ แงมุมตาง ๆ ของกฎหมายไทยที่เก่ียวของในอดีตไวอยางนาสนใจ สะทอนใหเห็นถึงมุมหน่ึงของ ประวตั ศิ าสตรก ฎหมายไทยทช่ี ว ยปอ งกนั การทจุ รติ ของเจา หนา ทรี่ ฐั จนนาํ ไปสคู วามรา่ํ รวยผดิ ปกตใิ นยคุ เรมิ่ แรก เรือ่ งทส่ี าม พระราชกฤษฎกี าวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกจิ การบา นเมอื งที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ : กาวสําคัญของการกําหนดแนวทางการปฏิบัติราชการสมัยใหม เปนการนําเสนอการศึกษาวิเคราะห พระราชกฤษฎีกาวา ดวยหลกั เกณฑและวธิ ีการบริหารกิจการบา นเมอื งทีด่ ี พ.ศ. ๒๕๔๖ ซ่งึ มผี ลบงั คบั ใช ตงั้ แตว นั ท่ี ๑๐ ตลุ าคม ๒๕๔๖ ภายหลงั การปฏริ ปู ระบบราชการครงั้ สาํ คญั เมอ่ื เดอื นตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๔๕ ทผ่ี า นมาไดม กี ารวางกรอบแนวทางการบรหิ ารราชการแผน ดนิ ไวอ ยา งชดั เจน ดงั ปรากฏอยใู นมาตรา ๓/๑ ของพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ กลาวคือ “ตองเปนไป เพอ่ื ประโยชนส ขุ ของประชาชน เกดิ ผลสมั ฤทธติ์ อ ภารกจิ ของรฐั ความมปี ระสทิ ธภิ าพ ความคมุ คา ในเชงิ ภารกจิ แหง รฐั การลดขนั้ ตอนการปฏบิ ตั งิ าน การลดภารกจิ และยบุ เลกิ หนว ยงานทไ่ี มจ าํ เปน การกระจาย ภารกิจและทรัพยากรใหแกทองถิ่นการกระจายอํานาจ การตัดสินใจ การอํานวยความสะดวกและ ตอบสนองความตองการของประชาชน” ซ่ึงเปนกาวสําคัญของการกําหนดแนวทางการปฏิบัติราชการ สมยั ใหมใ นโอกาสตอ มา เรอ่ื งทสี่ ่ี ประเทศไทยกบั รปู แบบการบรกิ ารสาธารณะทเ่ี หมาะสม นาํ เสนอแนวคดิ

การบรกิ ารสาธารณะแนวใหม มสี าระสาํ คญั ไดแ ก (๑) บรกิ ารรบั ใชพ ลเมอื ง ไมใ ชล กู คา (๒) การคน หา ผลประโยชนส าธารณะ (๓) เนน คณุ คา ความเปน พลเมอื งมากกวา การเปน ผปู ระกอบการ (๔) คดิ เชงิ กลยทุ ธ ปฏบิ ตั แิ บบประชาธปิ ไตย (๕) การตระหนกั ในความสามารถรบั ผดิ ชอบไดไ มใ ชเ รอื่ งงา ย (๖) การใหบ รกิ าร มากกวา การกาํ กบั ทศิ ทาง และ (๗) ใหค ณุ คา กบั คน ไมใ ชแ คผ ลติ ภาพ มกี ารเปรยี บเทยี บแนวคดิ การบรกิ าร สาธารณะแนวใหมกับแนวคิดทางรัฐประศาสนศาสตรอ่ืนๆ และพัฒนารูปแบบแนวคิดการบริการ สาธารณะแนวใหมท ่ีเหมาะสมกบั สังคมไทยไวอ ยางนา สนใจ ทายนี้ ขอยกเอาคําอวยพรเนื่องในโอกาสวันสงกรานตท่ีผานมาของ นายชวน หลีกภัย ประธานรัฐสภาและประธานสภาผูแ ทนราษฎร ทก่ี ลา ววา “ในโอกาสวนั ปใหมไทย และวนั ครอบครัว ประธานรฐั สภาขอสง ความรกั ความปรารถนาดี ถงึ พนี่ อ งชาวไทยทกุ ครอบครวั และขอใหผ า นพน วกิ ฤต ในครั้งน้ีไปไดโดยเร็ววัน” เพื่อเปนขวัญและกําลังใจใหกับแพทย พยาบาล บุคลากรทางการแพทย และเจา หนา ทท่ี เ่ี กย่ี วขอ ง ตลอดจนประชาชนทกุ คน ในการรว มแรง รว มใจกนั ฝา ฝน และเอาชนะปญ หา โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - 19) ใหไดโ ดยเรว็ วัน บรรณาธกิ าร

รัฐสภาสาร ปท ี่ ๖๘ ฉบับท่ี ๓ เดอื นพฤษภาคม - มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ Vol. 68 No. 3 May - June 2020 ขอบงั คบั การประชุมสภาผูแทนราษฎรกับการนับคะแนนเสียงใหม ๕ ปย ะนาถ รอดมยุ ความรา่ํ รวยผิดปกติ : ความเปนมาของการศกึ ษาคน ควาเร่ิมแรก ๒๓ ศ.ดร. ทนิ พันธุ นาคะตะ ๓๖พระราชกฤษฎกี าวา ดว ยหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารบรหิ ารกจิ การบา นเมอื งทดี่ ี พ.ศ. ๒๕๔๖ กาวสําคัญของการกําหนดแนวทางการปฏิบตั ิราชการสมัยใหม ผศ.ดร. กติ ติวัฒน รตั นดลิ ก ณ ภเู ก็ต ประเทศไทยกับรปู แบบการบริการสาธารณะทเี่ หมาะสม ๘๔ The model of New Public Service in Thailand ดร. อลงกต วรกี



ขอ บงั คบั การประชมุ สภาผแู ทนราษฎรกบั การนับคะแนนเสยี งใหม ๕ ขอ บงั คบั การประชุมสภาผแู ทนราษฎรกับการนับคะแนนเสยี งใหม ปย ะนาถ รอดมุย* บทนาํ ¡ÒÃลงมติ คือการออกเสียงลงคะแนนตามความคิดความเห็น เชน เห็นชอบ หรือไมเห็นชอบ หรืองดออกเสียง หรือรับหลักการ หรือไมรับหลักการ หรืองดออกเสียง เปนตน เม่ือการอภิปรายเก่ียวกับปญหาใดยุติลงโดยไมมีผูอภิปรายก็ดี ที่ประชุมลงมติใหปด การอภิปรายก็ดี ถาเปนกรณีที่จะตองมีมติ ประธานจะขอใหที่ประชุมชี้ขาดปญหานั้น โดยออกเสยี งลงมติ ซึ่งการออกเสยี งลงมติมี ๒ วธิ ี คอื การออกเสยี งลงคะแนนโดยเปดเผย และการออกเสียงลงคะแนนโดยลับ ตามปกติมติของสภาใหเปนไปตามเสียงขางมาก เวนแต รัฐธรรมนูญหรือขอบังคับการประชุมกําหนดไวเปนอยางอื่น ตามรัฐธรรมนูญแหงราช *ผูบังคับบัญชากลุมงานพระราชบัญญัติและญัตติ ๑ สํานักการประชุม สํานักงานเลขาธิการ สภาผูแทนราษฎร

๖ รฐั สภาสาร ปที่ ๖๘ ฉบบั ที่ ๓ เดอื นพฤษภาคม-มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ อาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๑๒๐ กาํ หนดเกี่ยวกับประชุมสภาผูแทนราษฎร และการประชุมวุฒิสภาตองมีสมาชิกมาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมด เทา ทมี่ อี ยขู องแตล ะสภาจงึ จะเปน องคป ระชมุ และการลงมตวิ นิ จิ ฉยั ขอ ปรกึ ษาใหถ อื เสยี งขา งมาก เปนประมาณ สมาชิกคนหนึ่งยอมมีหน่ึงเสียงในการออกเสียงลงคะแนน และรายงาน การประชมุ และบนั ทกึ การออกเสยี งลงคะแนนของสมาชกิ แตล ะคนตอ งเปด เผยใหป ระชาชนทราบ ซึ่งในการลงมติของสภาตองมีการตรวจสอบองคประชุมกอนลงมติ โดยในการพิจารณาญัตติ ขอใหสภาผูแทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญเพ่ือศึกษาผลกระทบจากการกระทํา ประกาศและคําส่ังของคณะรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) และการใชอํานาจของหัวหนา คณะรกั ษาความสงบแหง ชาติ ตามมาตรา ๔๔ ในคราวประชมุ สภาผแู ทนราษฎร ชดุ ที่ ๒๕ ปท ่ี ๑ (สมัยสามญั ประจําปครั้งที่สอง) คร้ังที่ ๖ วนั พฤหสั บดที ่ี ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ คร้ังท่ี ๘ วนั พธุ ท่ี ๒๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒ ครง้ั ท่ี ๙ วนั พฤหสั บดที ี่ ๒๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒ และครง้ั ท่ี ๑๐ วนั พุธท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๖๒ มกี ารออกเสียงลงคะแนนโดยเปด เผยตามขอ บังคับการประชุม สภาผูแทนราษฎร พ.ศ.๒๕๖๒ ขอ ๘๓ และเมอื่ มคี ะแนนเสียงตา งกนั ไมเกิน ๒๕ คะแนน มีการขอใหนับคะแนนเสียงใหม และเปลี่ยนวิธีการออกเสียงลงคะแนนใหม ตามขอบังคับ การประชุมสภาผูแทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ ๘๕ กรณีดังกลาวผูขียนจึงตองการศึกษา ขอบงั คบั การประชุมสภาผูแทนราษฎรในอดตี ท่ผี านมาวามกี ารกาํ หนดเร่อื งดงั กลา วไวอยา งไร ๑. ขอ บงั คบั การประชมุ และปรกึ ษาของสภาผแู ทนราษฎร พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๖ ซง่ึ ตราขน้ึ โดยอาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๙ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๔๗๕ ไดก ําหนดเก่ียวกบั การออกเสยี งลงคะแนนไวในขอ ๔๙ ดงั น้ี “ขอ ๔๙ การออกเสียงลงคะแนนเปดเผยมวี ธิ ีปฏบิ ัตดิ ่งั ตอ ไปน้ี คอื ก. ใหยกมือขึน้ ข. ใหยืนขนึ้ ค. ใหกระทําเปนพวก โดยแบงพวกฝายคานอยูพวกหนึ่ง พวกเห็นดวยใหอยู ทางขวาของประธาน พวกคานใหอยูทางซาย วิธีลงมติเปนพวกน้ีจะทําไดตอเมื่อมีสมาชิก รบั รอง ๙ คน หรอื รัฐบาลรอ งขอ ง. เรยี กช่ือสมาชกิ ลงคะแนนเปน รายตวั ”๑ ขอบงั คับฯ ฉบบั น้ไี มไ ดก ําหนดเก่ียวกับการนบั คะแนนเสยี งใหมไ ว ๑ขอบงั คบั การประชุมสภาเปรียบเทียบ ๒๔๗๖-๒๕๑๗, หนา ๑๐๕.

ขอ บังคับการประชมุ สภาผแู ทนราษฎรกบั การนบั คะแนนเสียงใหม ๗ ๒. ขอ บงั คบั การประชมุ และปรกึ ษาของสภาผแู ทนราษฎร พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๗ ซงึ่ ตราขน้ึ โดยอาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๙ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๔๗๕ ไดก ําหนดเก่ยี วกับการออกเสยี งลงคะแนนไวใ น ขอ ๔๕ ดงั น้ี “ขอ ๔๕ การออกเสยี งลงคะแนนเปดเผย มีวธิ ปี ฏบิ ัติ ดัง่ ตอ ไปนี้ คือ ก. ใหยกมือขึ้น ข. ใหย นื ข้นึ ค. ใหก ระทาํ เปนพวก โดยพวกฝายคา นใหอ ยูทางซายของประธาน พวกเห็นดวย ใหอยทู างขวา วธิ ีลงมติเปนพวกนจี้ ะทาํ ไดต อเมอื่ มีสมาชกิ รบั รอง ๑๕ คน หรอื รัฐบาลรอ งขอ ง. เรยี กช่อื สมาชิกลงคะแนนเปนรายตวั ”๒ ขอบังคบั ฯ ฉบับนีไ้ มไ ดก าํ หนดเกยี่ วกบั การนับคะแนนเสยี งใหมไ ว ๓. ขอ บงั คบั การประชมุ และปรกึ ษาของสภาผแู ทน พทุ ธศกั ราช ๒๔๙๐ ซง่ึ ตราขนึ้ โดยอาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา ๖๑ ของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๙ ไดก ําหนดเกย่ี วกับการออกเสียงลงคะแนนไวใ น ขอ ๕๙ ดังน้ี “ขอ ๕๙ การลงคะแนนเพ่ือลงมตมิ ี ๒ วิธี คือเปดเผยหรอื ลับ การออกเสยี งลงคะแนนเปดเผยใหมวี ธิ ีปฏบิ ัติ ดังตอไปน้ี คือ ก. ยกมอื ขึ้น ข. ยนื ขน้ึ ค. เรยี กชอ่ื สมาชิกลงคะแนนเปนรายตวั ง. แบงพวก พวกฝายคานใหอ ยหู รือออกทางซาย พวกเห็นดว ยใหอ ยูหรือออกทาง ขวาของประธาน การลงคะแนนลับ ใหเ รยี กช่อื สมาชกิ มาลงเบ้ียตอหนาประธาน โดยปกติผเู ห็นดวย ใหลงเบ้ยี ขาว ผทู ่ีคดั คา นใหล งเบย้ี สอี ่ืน การเรียกชือ่ สมาชกิ ใหเ รยี กตามลาํ ดับอักษรช่อื ” ขอบงั คบั ฯ ฉบบั นไ้ี มไดกาํ หนดเกี่ยวกับการนบั คะแนนเสียงใหมไ ว ๒ขอ บังคับการประชุมสภาเปรียบเทียบ ๒๔๗๖-๒๕๑๗, หนา ๑๐๕-๑๐๖.

๘ รฐั สภาสาร ปท ี่ ๖๘ ฉบับท่ี ๓ เดอื นพฤษภาคม-มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ๔. ขอบังคับการประชุมปรึกษาของสภาผูแทน พุทธศักราช ๒๔๙๔ ซึ่งตราขึ้นโดยอาศัย อํานาจตามความในมาตรา ๖๑ ของรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๔๙๒ ไดกําหนดเกยี่ วกับลงคะแนนโดยเปดเผยไวในขอ ๘๐ และการนบั คะแนนเสียงใหมไ วใ นขอ ๘๙ ดงั นี้ “ขอ ๘๐ การออกเสยี งลงคะแนนเปดเผย มวี ธิ ปี ฏิบัติ ดงั ตอ ไปน้ี คอื ก. ยกมอื ข้ึนพนศรี ษะ ข. ยนื ข้นึ ค. แบงพวก พวกไมเห็นดวยใหอยูทางซายมือ พวกเห็นดวยใหอยูทางขวามือ พวกไมออกเสยี งใหอ ยูต รงหนา ของประธานสภา ทง้ั น้ใี หอยภู ายในทป่ี ระชุม ง. เรียกช่ือสมาชิกตามลาํ ดับอกั ษรชอ่ื ใหอ อกเสียงลงคะแนนเปน รายตัว นอกจากมบี ญั ญัตไิ วเ ปน พเิ ศษในรฐั ธรรมนญู แลว การออกเสยี งลงคะแนนโดยเปด เผยนนั้ โดยปกตใิ หใ ชว ธิ ยี กมอื แตถ า คณะรฐั มนตรหี รอื สมาชกิ ไมน อ ยกวา ๑๕ คน รอ งขอลว งหนา เปน ลายลักษณอักษร และที่ประชมุ อนมุ ัติ ใหใ ชวิธีใดวธิ ีหนึง่ ใน ข.ค.ง. กไ็ ด ขอ ๘๙ ในการนบั คะแนนเสียงคร้งั ใด ถา คณะรัฐมนตรีหรือสมาชกิ ซ่ึงมีสมาชกิ รบั รองไมน อ ยกวา ๑๔ คน เชอื่ วา มกี ารนบั ผดิ มสี ทิ ธริ อ งขอใหน บั คะแนนเสยี งใหมไ ดอ กี ครง้ั หนงึ่ โดยไมตอ งเสนอลวงหนา เปน ลายลกั ษณอกั ษร ถา ทป่ี ระชุมอนุมัติก็ใหนับคะแนนเสียงใหม”๓ ขอ บงั คับฯ ฉบบั นเี้ ปน ขอบังคับฉบับแรกทกี่ ําหนดเกี่ยวกับการนบั คะแนนเสียงใหม ไวว า คณะรฐั มนตรหี รอื สมาชกิ ซงึ่ มสี มาชกิ รบั รองไมน อ ยกวา ๑๔ คน เชอ่ื วา มกี ารนบั ผดิ มสี ทิ ธิ รอ งขอใหน บั คะแนนเสยี งใหมไ ดอ กี ครงั้ หนงึ่ ถา ทป่ี ระชมุ อนมุ ตั กิ ใ็ หน บั คะแนนเสยี งใหม โดยไมไ ด ระบวุ า ใหเ ปลี่ยนวธิ ีการลงคะแนนเสียงใหม ๕. ขอ บงั คบั การประชมุ และการปรกึ ษาของสภาผแู ทนราษฎร พทุ ธศกั ราช ๒๔๙๕ ซง่ึ ตราขนึ้ โดยอาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๘๐ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๗๕ แกไขเพิม่ เตมิ พทุ ธศกั ราช ๒๔๙๕ ไดก าํ หนดเก่ียวกบั ออกเสยี งลงคะแนน โดยเปด เผยไวในขอ ๗๔ และการนบั คะแนนเสียงใหมไ วใ นขอ ๘๓ ดังนี้ ๓ขอ บังคบั การประชมุ สภาเปรยี บเทียบ ๒๔๗๖-๒๕๑๗, หนา ๑๐๐, ๑๐๔.

ขอบงั คบั การประชุมสภาผแู ทนราษฎรกับการนับคะแนนเสยี งใหม ๙ “ขอ ๗๔ การออกเสียงลงคะแนนเปดเผย มวี ิธปี ฏบิ ัติ ดังตอไปน้ี คอื (๑) ใหย กมือขน้ึ พนศรี ษะ (๒) ยนื ขนึ้ (๓) แบง พวก พวกไมเห็นดวยใหอยูท างซา ยมือ พวกเห็นดว ยใหอยูทางขวามอื พวกไมออกเสยี งใหอ ยูตรงหนาของประธานสภา ท้ังนี้ใหอ ยภู ายในทปี่ ระชุม (๔) เรยี กชอื่ สมาชิกตามลําดบั อกั ษรช่ือใหออกเสียงลงคะแนนเปนรายตัว นอกจากมบี ญั ญตั ไิ วเ ปน พเิ ศษในรฐั ธรรมนญู แลว การออกเสยี งลงคะแนนโดยเปด เผยนน้ั โดยปกติใหใ ชว ิธยี กมอื แตถาคณะรฐั มนตรหี รือสมาชิกไมน อยกวา ๑๕ คน รอ งขอลวงหนา เปนหนังสือ และทปี่ ระชมุ อนมุ ัติ ใหใชว ธิ ีใดวธิ หี น่งึ ใน (๒) (๓) (๔) กไ็ ด ขอ ๘๓ ในการนบั คะแนนเสยี งครงั้ ใด ถา คณะรฐั มนตรหี รอื สมาชกิ รวมกนั ไมน อ ยกวา ๑๕ คนเช่ือวามีการนับผิด มีสิทธิรองขอใหนับคะแนนเสียงใหมไดอีกครั้งหน่ึง โดยไมตอง เสนอลว งหนา เปน หนังสอื ถาที่ประชมุ อนมุ ตั ิ กใ็ หน บั คะแนนเสยี งใหม”๔ ขอบังคบั ฯ ฉบับนกี้ ําหนดเกี่ยวกบั การนับคะแนนเสยี งใหมไววาคณะรัฐมนตรหี รอื สมาชกิ รวมกันไมนอ ยกวา ๑๕ คน เชอ่ื วา มีการนบั ผิด มีสทิ ธิรอ งขอใหน บั คะแนนเสียงใหมไ ด อีกครั้งหน่ึง ถาที่ประชุมอนุมัติก็ใหนับคะแนนเสียงใหม โดยไมไดระบุวาใหเปลี่ยนวิธีการ ลงคะแนนเสยี งใหม ๖. ขอบงั คับการประชุมปรึกษาของสภาผูแทน พ.ศ. ๒๕๑๓ ซงึ่ ตราขนึ้ โดยอาศยั อํานาจตาม ความในมาตรา ๑๓๓ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๑๑ ไดก าํ หนด เกี่ยวกับการออกเสียงลงคะแนนโดยเปดเผยไวในขอ ๖๑ และการนับคะแนนเสียงใหมไวใน ขอ ๖๗ ดังน้ี “ขอ ๖๑ การออกเสยี งลงคะแนนเปดเผย มวี ิธีปฏิบัติ ดังตอไปนี้ คอื (๑) ใหย กมือขน้ึ พนศีรษะ (๒) ใหย ืนขนึ้ (๓) แบง พวก พวกเหน็ ดว ยใหอยูทางขวามอื พวกไมเ ห็นดว ยใหอยูท างซา ยมือ และพวกไมออกเสียงใหอยูตรงหนาของประธาน (๔) เรยี กช่อื สมาชกิ ตามลาํ ดบั อักษรชือ่ ใหออกเสยี งลงคะแนนเปน รายตวั ตามวิธที ่ี ประธานกําหนด เชน ใหกลา วคําวาเห็นชอบดว ย ไมเ ห็นชอบดวย หรืองดออกเสยี ง (๕) วิธอี ืน่ ใดทที่ ่ปี ระชมุ เห็นสมควรเฉพาะกรณี ๔ขอ บังคับการประชุมสภาเปรียบเทียบ ๒๔๗๖-๒๕๑๗, หนา ๑๐๐, ๑๐๔.

๑๐ รฐั สภาสาร ปท่ี ๖๘ ฉบับที่ ๓ เดือนพฤษภาคม-มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ภายใตบ งั คับมาตรา ๑๖๙ (๖) ของรฐั ธรรมนญู การออกเสยี งลงคะแนนเปด เผยนัน้ ใหใชว ิธตี าม (๑) จะใชวิธีตาม (๒) (๓) (๔) หรอื (๕) ไดต อ เมอื่ คณะรฐั มนตรีรอ งขอ หรือเมื่อเสนอ ญัตติและท่ีประชมุ อนุมัติ หรือเมอ่ื มกี ารนบั คะแนนเสียงใหมตามขอ ๖๗ การออกเสยี งลงคะแนนตาม (๑) หรือ (๒) น้นั ใหยกมอื หรอื ยนื อยู แลว แตกรณี จนกวา เจา หนาทน่ี บั คะแนนเสียงน้นั จะไดนั่งลง ขอ ๖๗ ในการนบั คะแนนเสยี งครงั้ ใด ถา คณะรฐั มนตรหี รอื สมาชกิ รวมกนั ไมน อ ยกวา ยี่สิบหาคนรองขอใหม ีการนบั คะแนนเสยี งใหม กใ็ หนบั คะแนนเสยี งใหม การนับคะแนนเสียงใหมดังกลาวในวรรคหน่ึง เวนแตรัฐธรรมนูญหรือขอบังคับ จะไดกําหนดวิธีลงคะแนนไวโดยเฉพาะเปน อยา งอื่น หรือการลงคะแนนท่ถี กู ทักทวงน้นั เปน การ ลงคะแนนลับ ใหเปลย่ี นวธิ ลี งคะแนนเปน วธิ ดี งั กลา วในขอ ๖๑ ซงึ่ อยใู นลาํ ดับทีถ่ ัดจากวธิ ีทถ่ี ูก ทกั ทวงวามีการนับผดิ นน้ั แตถ าวธิ ีทถ่ี ูกทักทว งวา มีการนับผดิ น้นั เปน วธิ ีดงั กลา วในขอ ๖๑ (๕) ก็ใหเ ปลย่ี นเปน วธิ ีใด ๆ ตามทปี่ ระธานเห็นสมควร”๕ ขอบังคับฯ ฉบับนเ้ี ปน ขอ บงั คบั ฉบับแรกทีก่ ําหนดเก่ียวกบั การนบั คะแนนเสยี งใหม ไวโดยการนับคะแนนเสียงใหมใหเปล่ียนวิธีการลงคะแนนตามวิธีในขอ ๖๑ ซ่ึงอยูลําดับถัดไป จากวิธที ีถ่ ูกทกั ทว งวา มีการนบั ผิด เชน ถา การลงคะแนนเสียงคร้งั แรกใชวธิ ตี ามขอ ๖๑ (๑) คือ ใหยกมือข้ึน เม่อื รฐั มนตรี หรอื สมาชกิ รอ งขอโดยมีสมาชิกรับรองไมนอยกวา ๒๕ คนใหนับ คะแนนเสยี งใหม ใหเ ปลยี่ นวธิ ีการลงคะแนนเสยี งใหมเปนวธิ ีการตามขอ ๖๑ (๒) คอื ใหย ืนขึน้ ๗. ขอบังคับการประชุมสภาผูแทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งตราขึ้นโดยอาศัยอํานาจ ตามความในมาตรา ๑๔๒ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๒๑ ไดกําหนดเกี่ยวกับการออกเสียงลงคะแนนโดยเปดเผยไวในขอ ๖๔ และการนับคะแนนเสียง ใหมไ วในขอ ๗๐ ดังนี้ “ขอ ๖๔ การออกเสียงลงคะแนนเปด เผยมวี ธิ ปี ฏิบัติดังตอไปนี้ (๑) กดปมุ ลงคะแนน (สญั ญาณไฟปรากฏบนแผงแสดงตาํ แหนง ทนี่ งั่ ) หรอื ยกมอื ขน้ึ พนศีรษะตามที่ประธานกาํ หนด (๒) ยนื ข้ึน (๓) เรียกช่ือสมาชิกตามลําดับอักษร ใหออกเสียงลงคะแนนเปนรายคน ตามวิธี ประธานกาํ หนด (๔) วธิ อี ่นื ใดซึ่งที่ประชุมเหน็ สมควรเฉพาะกรณี ๕ขอบงั คับการประชุมสภาเปรียบเทียบ ๒๔๗๖-๒๕๑๗, หนา ๙๓-๙๔, ๙๗.

ขอ บังคบั การประชุมสภาผูแทนราษฎรกับการนบั คะแนนเสียงใหม ๑๑ การออกเสียงลงคะแนนโดยวิธีกดปุมลงคะแนนน้ัน ตามปกติใหกระทําแบบไมต้ัง เวลากดปมุ จะกระทาํ แบบตงั้ เวลากดปุม ไดต อ เมือ่ คณะรฐั มนตรี หรอื สมาชกิ รวมกันไมน อ ยกวา ย่ีสบิ คนรอ งขอ การออกเสยี งลงคะแนนเปดเผยนนั้ ใหใ ชว ิธีตาม (๑) จะใชว ิธตี าม (๒) (๓) หรอื (๔) ไดตอ เม่ือคณะรฐั มนตรรี องขอ หรือเม่อื สมาชกิ เสนอญตั ตแิ ละทปี่ ระชมุ อนมุ ตั ิ หรอื เมอื่ มกี าร นับคะแนนเสยี งใหมต ามขอ ๗๐ ขอ ๗๐ การนับคะแนนเสียงครั้งใด ถา รัฐมนตรขี อใหน ับใหม หรือสมาชิกรองขอ โดยมสี มาชกิ รบั รองไมน อ ยกวา ย่สี ิบคนใหมกี ารนบั ใหม กใ็ หม กี ารนับคะแนนเสียงใหม การนับคะแนนเสียงใหมดังกลาวในวรรคหนึ่ง ใหเปล่ียนวิธีการลงคะแนนเปนวิธี ดังกลา วในขอ ๖๔ หรอื ขอ ๖๕ ซ่งึ อยลู าํ ดบั ถัดไป แลวแตกรณี แตถ า วธิ ที ีถ่ ูกทกั ทวงเปน วิธี ดงั กลาวในขอ ๖๔ (๔) หรอื ขอ ๖๕ (๓) ใหเปล่ียนเปน วธิ ีใด ๆ ตามทีป่ ระธานเห็นสมควร เมอ่ื ไดมีการนบั คะแนนเสียง โดยวิธีดงั กลาวในขอ ๖๔ (๓) หรอื ขอ ๖๕ (๒) แลว จะขอใหม ีการนบั คะแนนเสียงใหมอ ีกมไิ ด” ๖ ขอบังคับฯ ฉบับน้ีกําหนดเกี่ยวกับการนับคะแนนเสียงใหมไว โดยการนับ คะแนนเสยี งใหมใหเ ปล่ียนวธิ ีการลงคะแนนตามวิธีในขอ ๖๔ ซึ่งอยูลาํ ดับถัดไป เชน ถาการ ลงคะแนนเสยี งครง้ั แรกใชว ธิ ตี าม ขอ ๖๔ (๑) คอื กดปมุ ลงคะแนน (สญั ญาณไฟปรากฏบนแผงแสดง ตาํ แหนง ทน่ี งั่ ) หรอื ยกมือข้นึ พนศีรษะตามทป่ี ระธานกาํ หนด เมอื่ รฐั มนตรี หรือสมาชิกรองขอ โดยมสี มาชกิ รบั รองไมน อ ยกวา ๒๐ คนใหน บั คะแนนเสยี งใหม ใหเ ปลยี่ นวธิ กี ารลงคะแนนเสยี งใหม เปน วธิ ีการตามขอ ๖๔ (๒) คอื ยืนขน้ึ ๘. ขอ บงั คับการประชมุ สภาผูแ ทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๒๘ ซง่ึ ตราข้ึนโดยอาศัยอาํ นาจตาม ความในมาตรา ๑๔๒ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๒๑ ไดก าํ หนดเกย่ี วกบั การออกเสยี งลงคะแนนโดยเปด เผยไวใ นขอ ๖๖ และการนบั คะแนนเสยี งใหม ไวใ นขอ ๗๒ ดงั น้ี “ขอ ๖๖ การออกเสียงลงคะแนนเปด เผยมีวธิ ีปฏบิ ัติดงั ตอ ไปน้ี (๑) กดปมุ ลงคะแนน (สัญญาณไฟปรากฏบนแผงแสดงตาํ แหนงทนี่ ่ัง) หรอื ยกมอื ขน้ึ พน ศีรษะตามทีป่ ระธานกาํ หนด (๒) ยนื ขน้ึ ๖ขอ บงั คับการประชมุ สภาผูแทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๒๒, ราชกิจจานุเบกษา, ฉบับพิเศษ เลม ๙๖ ตอนท่ี ๑๘๓ วันท่ี ๒๖ ตุลาคม ๒๕๒๒, หนา ๒๗-๒๙.

๑๒ รฐั สภาสาร ปท่ี ๖๘ ฉบับท่ี ๓ เดอื นพฤษภาคม-มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ (๓) เรียกช่ือสมาชกิ ตามลําดบั อักษร ใหอ อกเสยี งลงคะแนนเปนรายคน ตามวธิ ี ประธานกาํ หนด (๔) วิธอี ่นื ใดซ่ึงท่ปี ระชมุ เหน็ สมควรเฉพาะกรณี การออกเสียงลงคะแนนโดยวิธีกดปุมลงคะแนนนั้น ตามปกติใหกระทําแบบไมตั้ง เวลากดปมุ จะกระทาํ แบบตงั้ เวลากดปมุ ไดต อ เมอ่ื คณะรฐั มนตรี หรอื สมาชกิ รวมกนั ไมน อ ยกวา ยส่ี บิ คนรองขอ การออกเสียงลงคะแนนเปด เผยนนั้ ใหใชว ิธตี าม (๑) จะใชวิธีตาม (๒) (๓) หรอื (๔) ไดต อ เมื่อคณะรัฐมนตรรี องขอ หรือเมือ่ สมาชิกเสนอญัตติและทป่ี ระชมุ อนุมัติ หรอื เม่อื มีการ นับคะแนนเสียงใหมต ามขอ ๗๒ การออกเสียงลงคะแนนตาม (๑) หรือ (๒) ใหกดปุม ยกมือขน้ึ หรอื ยืนอยจู นกวา ประธานจะสั่งใหกดปุม เอามือลงหรอื นง่ั ลงแลวแตกรณี ขอ ๗๒ การนบั คะแนนเสียงครง้ั ใด ถารัฐมนตรีขอใหน ับใหม หรอื สมาชกิ รองขอ โดยมสี มาชกิ รบั รองไมน อยกวา ย่สี บิ คนใหมีการนบั ใหม ก็ใหม กี ารนบั คะแนนเสยี งใหม การนับคะแนนเสียงใหมดังกลาวในวรรคหน่ึง ใหเปล่ียนวิธีการลงคะแนนเปนวิธี ดงั กลาวในขอ ๖๖ หรอื ขอ ๖๗ ซึ่งอยลู ําดับถัดไป แลวแตก รณี แตถาวิธที ีถ่ ูกทักทวงเปน วธิ ี ดังกลา วในขอ ๖๖ (๔) หรอื ขอ ๖๗ (๓) ใหเ ปลี่ยนเปน วิธีใด ๆ ตามทป่ี ระธานเหน็ สมควร เมือ่ ไดมีการนับคะแนนเสียง โดยวธิ ีดังกลาวในขอ ๖๖ (๓) หรอื ขอ ๖๗ (๒) แลว จะขอใหม ีการนับคะแนนเสียงใหมอ ีกมิได”๗ ขอ บงั คบั ฯ ฉบบั นกี้ าํ หนดเกย่ี วกบั การนบั คะแนนเสยี งใหมไ ว โดยการนบั คะแนนเสยี งใหม ใหเปล่ียนวิธีการลงคะแนนตามวิธีในขอ ๖๖ ซ่ึงอยูลําดับถัดไป เชน ถาการลงคะแนนเสียง ครง้ั แรกใชว ธิ ตี าม ขอ ๖๖ (๑) คอื กดปมุ ลงคะแนน (สญั ญาณไฟปรากฏบนแผงแสดงตาํ แหนง ทนี่ ง่ั ) หรือยกมือข้ึนพนศีรษะตามที่ประธานกําหนด เมื่อรัฐมนตรี หรือสมาชิกรองขอโดยมีสมาชิก รับรองไมน อ ยกวา ๒๐ คน ใหนบั คะแนนเสยี งใหม ใหเ ปลยี่ นวธิ ีการลงคะแนนเสียงใหมเ ปนวิธี การตามขอ ๖๖ (๒) คือ ยนื ขน้ึ ๗ขอ บังคบั การประชมุ สภาผูแทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๒๘, ราชกิจจานุเบกษา, ฉบับพิเศษ เลม ๑๐๒ ตอนที่ ๖๓ วนั ท่ี ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๒๘, หนา ๑๘, ๒๐.

ขอ บังคับการประชมุ สภาผูแทนราษฎรกบั การนบั คะแนนเสียงใหม ๑๓ ๙. ขอบังคับการประชุมสภาผูแทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕ ซึ่งตราขึ้นโดยอาศัยอํานาจตาม ความในมาตรา ๑๕๔ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๓๔ ไดกําหนด เกี่ยวกับการออกเสียงลงคะแนนโดยเปดเผยไวในขอ ๖๕ และการนับคะแนนเสียงใหมไวใน ขอ ๗๑ ดงั น้ี “ขอ ๖๕ การออกเสียงลงคะแนนเปดเผยมีวธิ ีปฏิบัติ ดงั ตอ ไปน้ี (๑) ยกมือข้ึนพน ศรี ษะ (๒) ยนื ข้ึน (๓) เรียกชื่อสมาชิกตามลําดับอักษร ใหออกเสียงลงคะแนนเปนรายคนตามวิธี ประธานกาํ หนด (๔) วธิ อี น่ื ใดซึง่ ท่ีประชุมเหน็ สมควรเฉพาะกรณี การออกเสียงลงคะแนนเปดเผยน้นั ใหใชวิธีตาม (๑) จะใชว ธิ ตี าม (๒) (๓) หรอื (๔) ไดตอ เม่ือคณะรฐั มนตรรี องขอ หรือเมอื่ สมาชิกเสนอญตั ติและทป่ี ระชุมอนมุ ตั ิหรอื เม่อื มีการ นบั คะแนนเสียงใหมตามขอ ๗๑ การออกเสยี งลงคะแนนตาม (๑) หรอื (๒) น้ัน ใหยกมอื ข้ึนพนศรี ษะ หรือยืนอยู จนกวาประธานจะส่งั ใหเอามอื ลง หรือนัง่ ลงแลว แตกรณี ขอ ๗๑ การนบั คะแนนเสียงคร้งั ใด ถารฐั มนตรขี อใหน บั ใหม หรือสมาชิกรอ งขอ โดยมสี มาชกิ รบั รองไมน อยกวายสี่ ิบคนใหม กี ารนับใหมก็ใหมกี ารนับคะแนนเสียงใหม การนับคะแนนเสยี งใหมด ังกลาวในวรรคหนง่ึ ใหเปลย่ี นวิธกี ารลงคะแนนเปน วิธีดงั กลา วในขอ ๖๕ หรือขอ ๖๖ ซึง่ อยลู าํ ดับถัดไป แลวแตกรณี แตถา วธิ ที ีถ่ ูกทักทว งเปนวิธีดังกลาว ในขอ ๖๕ (๔) หรอื ขอ ๖๖ (๓) ใหเ ปล่ียนเปนวิธีใด ๆ ตามทป่ี ระธานเหน็ สมควร๘ ขอ บงั คบั ฯ ฉบบั นกี้ าํ หนดเกยี่ วกบั การนบั คะแนนเสยี งใหมไ ว โดยการนบั คะแนนเสยี งใหม ใหเปลีย่ นวิธกี ารลงคะแนนตามวธิ ใี นขอ ๖๕ ซงึ่ อยลู ําดับถัดไป เชน ถา การลงคะแนนเสียง คร้งั แรกใชว ิธตี าม ขอ ๖๕ (๑) คือ ยกมือขึ้นพน ศีรษะ เม่อื รฐั มนตรี หรือสมาชิกรองขอโดยมี สมาชิกรับรองไมน อยกวา ๒๐ คนใหนับคะแนนเสยี งใหม ใหเ ปลีย่ นวิธกี ารลงคะแนนเสยี งใหม เปนวิธีการตามขอ ๖๕ (๒) คอื ยนื ขนึ้ ๘ขอ บังคับการประชุมสภาผแู ทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕, ราชกจิ จานุเบกษา, เลม ๑๐๙ ตอนท่ี ๗๖ วันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๓๕, หนา ๓๒, ๓๔.

๑๔ รัฐสภาสาร ปท ี่ ๖๘ ฉบบั ท่ี ๓ เดือนพฤษภาคม-มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑๐. ขอ บงั คบั การประชมุ สภาผแู ทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๔๐ ซงึ่ ตราขน้ึ โดยอาศยั อาํ นาจตามความ ในมาตรา ๑๕๙ ของรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๓๔ ซงึ่ แกไขเพ่มิ เตมิ โดยรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย (ฉบบั ท่ี ๕) พทุ ธศกั ราช ๒๕๓๘ ไดก าํ หนดเกย่ี วกบั การออกเสียงลงคะแนนโดยเปดเผยไวในขอ ๖๘ และการนับคะแนนเสียงใหมไวในขอ ๗๔ ดังนี้ “ขอ ๖๘ การออกเสียงลงคะแนนเปด เผยมีวิธปี ฏิบัติ ดังตอ ไปน้ี (๑) ยกมือข้ึนพนศีรษะ (๒) ยนื ขึ้น (๓) เรียกชื่อสมาชิกตามลําดับอักษร ใหออกเสียงลงคะแนนเปนรายคนตามวิธี ประธานกาํ หนด (๔) วิธีอนื่ ใดซ่งึ ท่ปี ระชุมเห็นสมควรเฉพาะกรณี การออกเสยี งลงคะแนนเปดเผยน้ัน ใหใชวธิ ีตาม (๑) จะใชวิธตี าม (๒) (๓) หรือ (๔) ไดตอเมอ่ื คณะรัฐมนตรีรอ งขอ หรือเม่ือสมาชิกเสนอญตั ตแิ ละท่ีประชุมอนมุ ัตหิ รือเมอ่ื มีการ นบั คะแนนเสียงใหมต ามขอ ๗๔ การออกเสยี งลงคะแนนตาม (๑) หรือ (๒) นัน้ ใหย กมือขน้ึ พน ศรี ษะ หรือยืนอยู จนกวา ประธานจะสง่ั ใหเอามอื ลง หรือน่ังลงแลว แตก รณี ขอ ๗๔ การนับคะแนนเสยี งครงั้ ใด ถา รัฐมนตรขี อใหนบั ใหม หรือสมาชกิ รองขอ โดยมีสมาชิกรบั รองไมน อ ยกวายส่ี บิ คนใหมกี ารนบั ใหมก ็ใหม กี ารนบั คะแนนเสยี งใหม การนบั คะแนนเสียงใหมด งั กลาวในวรรคหนึ่ง ใหเปลีย่ นวิธกี ารลงคะแนนเปนวธิ ดี งั กลา วในขอ ๖๘ หรือขอ ๖๙ ซงึ่ อยลู าํ ดับถดั ไป แลว แตก รณี แตถ าวิธที ่ีถกู ทกั ทวงเปนวธิ ดี งั กลาวในขอ ๖๘ (๔) หรือขอ ๖๙ (๒) ใหเปลยี่ นเปนวิธีใด ๆ ตามท่ปี ระธานเห็นสมควร เม่ือไดม กี ารนบั คะแนนเสยี งโดยวิธดี งั กลาวในขอ ๖๘ (๓) หรอื ขอ ๖๙ (๒) แลว จะ ขอใหม ีการนับคะแนนเสยี งใหมอีกมิได”๙ ๙ขอ บงั คบั การประชุมสภาผูแทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๔๐, ราชกิจจานเุ บกษา, เลม ๑๑๔ ตอนพิเศษ ๗๐ ง วนั ที่ ๗ สงิ หาคม ๒๕๔๐, หนา ๒๐-๒๑.

ขอ บงั คบั การประชุมสภาผแู ทนราษฎรกับการนบั คะแนนเสยี งใหม ๑๕ ขอ บงั คบั ฯ ฉบบั นก้ี าํ หนดเกย่ี วกบั การนบั คะแนนเสยี งใหมไ ว โดยการนบั คะแนนเสยี งใหม ใหเ ปลยี่ นวธิ กี ารลงคะแนนตามวธิ ใี นขอ ๖๘ ซง่ึ อยลู าํ ดบั ถดั ไป เชน ถา การลงคะแนนเสยี งครงั้ แรก ใชวิธตี าม ขอ ๖๘ (๑) คือ ยกมือขน้ึ พน ศีรษะ เมื่อรัฐมนตรี หรือสมาชกิ รอ งขอโดยมสี มาชกิ รับรองไมนอยกวา ๒๐ คนใหนับคะแนนเสียงใหม ใหเปลี่ยนวิธีการลงคะแนนเสียงใหม เปนวิธีการตามขอ ๖๘ (๒) คือ ยืนข้ึน ๑๑. ขอ บงั คบั การประชมุ สภาผแู ทนราษฎร แกไ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ที่ ๑) พ.ศ. ๒๕๔๑ ซง่ึ ตราขน้ึ โดยอาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๙๑ ของรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๔๐ ขอ บงั คับการประชมุ สภาผูแทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๔๐ มกี ารแกไขเพมิ่ เตมิ ครัง้ ท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๔๑ เนอ่ื งจากรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๐ มาตรา ๑๕๖ วรรคสาม บัญญตั ิวา ประธานรฐั สภา ประธานสภาผแู ทนราษฎร และประธานวุฒิสภา ตอ งจดั ใหมีบันทึกการออกเสียงลงคะแนนของสมาชิกแตละคนและเปดเผยบันทึกดังกลาวไวในท่ี ที่ประชาชนอาจเขาไปตรวจสอบได เวนแตกรณีการออกเสียงลงคะแนนเปนการลับ ดังน้ัน การลงคะแนนโดยยกมือขึ้น รูแตเฉพาะจํานวน ไมสามารถบันทึกไดวาใครลงคะแนนอยางไร จึงเร่ิมมีการนําเครื่องออกเสียงลงคะแนนมาใช๑๐ จึงมีการแกไขขอบังคับการประชุมสภา ผแู ทนราษฎร โดยในเร่อื งการออกเสยี งลงคะแนนเปดเผย มีการแกไข ดงั นี้ “ขอ ๖๘ การออกเสยี งลงคะแนนเปด เผยมีวิธีปฏบิ ัติ ดังตอไปนี้ (๑) ใชเครอ่ื งออกเสยี งลงคะแนนตามที่ประธานสภากําหนด (๒) ชูบัตรออกเสยี งลงคะแนน โดยใหส มาชกิ เขียนเรือ่ งที่จะลงมติและลายมือชอ่ื ในบัตรทจ่ี ดั ไว ผูเ หน็ ดวยใหใ ชบ ตั รสีนา้ํ เงนิ ผไู มเหน็ ดวยใหใชบ ตั รสแี ดง ผูไ มออกเสยี งใหใ ชบตั รสีขาว แลวสงมอบใหเจาหนาท่ีรับบัตรเมื่อถึงคราวออกเสียงลงคะแนนในมติน้ันๆ เพอื่ รวมสง ผูตรวจนบั คะแนนตอไป (๓) เรียกช่อื สมาชกิ ตามลําดบั อกั ษร ใหอ อกเสยี งลงคะแนนเปนรายคนตามวธิ ที ่ี ประธานกําหนด ๑๐รายงานการประชุมสภาผแู ทนราษฎร, ชุดที่ ๒๐ ปท ่ี ๑ คร้ังที่ ๑ (สมยั วสิ ามญั ครง้ั ทีส่ อง) วันพุธท่ี ๒๒ ตุลาคม ๒๕๔๐, หนา ๓.

๑๖ รัฐสภาสาร ปท ี่ ๖๘ ฉบับที่ ๓ เดอื นพฤษภาคม-มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ (๔) วธิ อี ่นื ใดซง่ึ ทีป่ ระชุมเหน็ สมควรเฉพาะกรณี การออกเสียงลงคะแนนเปดเผยนัน้ ใหใ ชว ธิ ีตาม (๑) จะใชวิธตี าม (๒) (๓) หรือ (๔) ไดตอ เมื่อคณะรัฐมนตรีรองขอหรือเม่ือสมาชิกเสนอญัตติและท่ีประชุมอนุมัติหรือเม่ือมี การนบั คะแนนเสยี งใหม ตามขอ ๗๔ การออกเสียงลงคะแนนตาม (๒) หรือ (๓) ใหประธานเชิญสมาชิกหาคน เปน ผตู รวจนบั คะแนน”๑๑ ขณะทเ่ี ร่อื งการนับคะแนนใหมต าม ขอ ๗๔ มิไดมีการแกไขยงั คงใชขอความเดิม ตามขอบงั คับการประชมุ สภาผแู ทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๔๐ ดงั นี้ ขอ ๗๔ การนบั คะแนนเสียงครั้งใด ถา รัฐมนตรขี อใหนบั ใหม หรือสมาชกิ รองขอ โดยมสี มาชกิ รับรองไมนอยกวา ย่สี บิ คนใหม ีการนบั ใหมก็ใหม กี ารนบั คะแนนเสยี งใหม การนับคะแนนเสียงใหมดังกลา วในวรรคหนง่ึ ใหเ ปล่ียนวิธีการลงคะแนนเปน วิธี ดังกลาวในขอ ๖๘ หรือขอ ๖๙ ซ่ึงอยลู ําดบั ถัดไป แลวแตกรณี แตถาวิธที ่ถี ูกทกั ทวงเปนวธิ ี ดงั กลา วในขอ ๖๘ (๔) หรอื ขอ ๖๙ (๒) ใหเปลี่ยนเปน วธิ ใี ด ๆ ตามที่ประธานเหน็ สมควร เมอ่ื ไดม กี ารนบั คะแนนเสยี งโดยวธิ ดี งั กลา วในขอ ๖๘ (๓) หรอื ขอ ๖๙ (๒) แลว จะขอใหม ีการนับคะแนนเสยี งใหมอ กี มิได” ขอ บงั คบั ฯ ฉบบั นกี้ าํ หนดเกย่ี วกบั การนบั คะแนนเสยี งใหมไ ว โดยการนบั คะแนนเสยี งใหม ใหเปล่ียนวิธีการลงคะแนนตามวิธีในขอ ๖๘ ซึ่งอยูลําดับถัดไป เชน ถาการลงคะแนน เสียงครั้งแรกใชว ิธกี าร ตามขอ ๖๘ (๑) ใชเครอ่ื งออกเสียงลงคะแนนตามท่ีประธานสภากําหนด ถา รฐั มนตรีขอใหน ับใหม หรือสมาชกิ รอ งขอโดยมสี มาชิกรบั รองไมนอ ยกวา ๒๐ คน ใหมีการ นบั ใหม ใหเปลีย่ นวิธีการลงคะแนนเสียงใหมเปนวธิ ีการตามขอ ๖๘ (๒) คอื ชบู ตั รออกเสยี ง ลงคะแนน โดยใหสมาชิกเขียนเรื่องที่จะลงมติและลายมือช่ือในบัตรที่จัดไว ผูเห็นดวยใหใช บัตรสีนาํ้ เงิน ผูไมเหน็ ดวยใหใชบ ัตรสแี ดง ผูไมอ อกเสียงใหใ ชบัตรสีขาว เม่อื ไดมีการออกเสียง ลงคะแนนตามขอ ๖๘(๓) แลว จะขอใหมกี ารนบั คะแนนเสียงใหมอีกไมไ ด และการออกเสียง ลงคะแนนตามขอ ๖๘ (๒) (๓)ใหประธานเชญิ สมาชิกไมนอ ยกวา ๕ คนเปนผูต รวจนบั คะแนน ๑๑ขอ บงั คบั การประชมุ สภาผแู ทนราษฎร แกไ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ท่ี ๑) พ.ศ. ๒๕๔๑, ราชกจิ จานเุ บกษา, เลม ๑๑๕ ตอนพิเศษ ๒๔ ง วันท่ี ๒๓ มนี าคม ๒๕๔๑, หนา ๕๕-๕๖.

ขอบงั คับการประชมุ สภาผแู ทนราษฎรกบั การนับคะแนนเสยี งใหม ๑๗ ขอบังคับฉบับนี้เปนขอบังคับฯ ฉบับแรกท่ีกําหนดใหการออกเสียงลงคะแนน โดยเปดเผยใชเครื่องออกเสียงลงคะแนน เพ่ือใหสอดคลองกับรัฐธรรมนูญโดยการออกเสียง คะแนนโดยเปดเผยตองเปนวิธีการที่สามารถทราบไดวาสมาชิกแตละคนออกเสียงลงคะแนน อยางไร ดังนั้นในป ๒๕๔๑ จึงเริ่มมีการนําเคร่ืองออกเสียงลงคะแนนมาใชซ่ึงสามารถพิมพ รายงานการออกเสียงลงคะแนนของสมาชกิ ได ๑๒. ขอบังคับการประชุมสภาผูแทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๔๔ ซึ่งตราข้ึนโดยอาศัยอํานาจ ตามความใน มาตรา ๑๙๑ และมาตรา ๓๑๖ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ไดก าํ หนดเก่ยี วกบั การออกเสียงลงคะแนนโดยเปดเผยไวในขอ ๖๘ และ การนบั คะแนนเสยี งใหมไ วในขอ ๗๔ ดงั นี้ “ขอ ๗๔ การออกเสยี งลงคะแนนเปด เผยมวี ธิ ีปฏบิ ัติ ดงั ตอไปนี้ (๑) ใชเ ครอ่ื งออกเสยี งลงคะแนนตามที่ประธานกําหนด (๒) เรียกชื่อสมาชิกตามลําดับอักษร ใหออกเสียงลงคะแนนเปนรายคนตามวิธี ที่ประธานกําหนด การออกเสยี งลงคะแนนตาม (๑) หากเคร่อื งออกเสยี งลงคะแนนขดั ขอ งใหเ ปลีย่ น เปน วิธกี ารตามท่ีประธานกาํ หนด การออกเสยี งลงคะแนนใหใ ชวธิ ีตาม (๑) จะใชวธิ ตี าม (๒) ไดต อเมอื่ สมาชกิ เสนอ ญัตติและท่ีประชุมอนมุ ตั ิ หรอื เม่ือมกี ารนบั คะแนนเสยี งใหมต ามขอ ๗๖ การออกเสยี งลงคะแนนตาม (๒) หรอื วรรคสอง ใหป ระธานเชญิ สมาชกิ ไมน อ ยกวา หกคนเปนผูตรวจนบั คะแนน ขอ ๗๖ เม่ือมีการออกเสยี งลงคะแนนตามขอ ๗๔ (๑) แลว ถาสมาชิกรองขอใหมี การนบั ใหม โดยมผี รู บั รองไมน อยกวาย่สี บิ คน กใ็ หมีการนับคะแนนเสยี งใหม และใหเ ปล่ียนวธิ ี การลงคะแนนเปนวิธีตาม ขอ ๗๔ (๒) เวนแตคะแนนเสียงตางกันเกินกวาย่ีสิบหาคะแนน จะขอใหมกี ารนับคะแนนเสียงใหมไมได เมอ่ื ไดมกี ารออกเสยี งลงคะแนนตามขอ ๗๔ (๒) แลว จะขอใหม กี ารนบั คะแนน เสียงใหมอ ีกไมได” ๑๒ ๑๒ขอ บงั คบั การประชมุ สภาผแู ทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๔๔, ราชกจิ จานเุ บกษา, เลม ๑๑๘ ตอนพเิ ศษ ๔๒ ง วันท่ี ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๔๔, หนา ๔๒-๔๔.

๑๘ รฐั สภาสาร ปที่ ๖๘ ฉบบั ท่ี ๓ เดือนพฤษภาคม-มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ขอ บงั คบั ฯ ฉบบั นกี้ าํ หนดเกย่ี วกบั การนบั คะแนนเสยี งใหมไ ว โดยเมอื่ มกี ารออกเสยี ง ลงคะแนนโดยใชวิธกี ารขอ ๗๔ (๑) คอื ใชเ ครื่องออกเสียงลงคะแนนตามท่ปี ระธานสภากําหนด ถาสมาชิกรอ งขอโดยมีสมาชิกรับรองไมน อ ยกวา ๒๐ คน กใ็ หม ีการนบั คะแนนเสยี งใหม และ ใหเปล่ียนวิธกี ารลงคะแนนเสยี งใหมเ ปนวิธีการตามขอ ๗๔ (๒) คอื เรยี กช่ือสมาชิกตามลําดับ อกั ษร ใหออกเสียงลงคะแนนเปน รายคนตามวธิ ีท่ปี ระธานกําหนด โดยเปนขอ บงั คับฉบบั แรก ท่ีกาํ หนดเง่ือนไขเพม่ิ ขึ้น คือ มคี ะแนนเสียงตางกันเกนิ กวา ๒๕ คะแนน จะขอใหม ีการนบั คะแนนเสียงใหมไ มได เมื่อไดมีการออกเสยี งลงคะแนนตามขอ ๗๔ (๒) แลว จะขอใหม กี ารนับ คะแนนเสียงใหมอ กี ไมได และการออกเสียงลงคะแนนตามขอ ๗๔ (๒) ใหประธานเชญิ สมาชิก ไมนอยกวา ๖ คนเปนผตู รวจนบั คะแนน ๑๓. ขอบังคับการประชุมสภาผูแทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๕๑ ซ่ึงตราขึ้นโดยอาศัยอํานาจ ตามความในมาตรา ๑๓๔ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ไดก าํ หนดเกยี่ วกบั การออกเสยี งลงคะแนนโดยเปด เผยไวใ นขอ ๗๕ และการนบั คะแนนเสยี งใหม ไวใน ขอ ๗๗ ดงั น้ี “ขอ ๗๕ การออกเสียงลงคะแนนเปด เผยมีวธิ ีปฏิบตั ิ ดังตอ ไปนี้ (๑) ใชเครอ่ื งออกเสยี งลงคะแนนตามทีป่ ระธานกาํ หนด (๒) เรียกชื่อสมาชิกตามหมายเลขประจําตัวสมาชิก ใหออกเสียงลงคะแนน เปน รายคนตามวิธีท่ปี ระธานกาํ หนด (๓) วิธีอื่นใดซง่ึ ทปี่ ระชมุ เหน็ สมควรเฉพาะกรณี การออกเสยี งลงคะแนนตาม (๑) หากเครอื่ งออกเสยี งลงคะแนนขดั ขอ งใหเ ปลยี่ นเปน วธิ กี ารตามท่ีประธานกาํ หนด การออกเสยี งลงคะแนนใหใชวิธีตาม (๑) จะใชวธิ ตี าม (๒) หรือ (๓) ไดต อ เมอ่ื สมาชกิ เสนอญตั ตแิ ละทป่ี ระชมุ อนมุ ัติ หรอื เมอ่ื มีการนบั คะแนนเสยี งใหมตามขอ ๗๗ การออกเสียงลงคะแนนตาม (๒) หรือวรรคสอง ใหประธานเชญิ สมาชิกไมนอยกวา หกคนเปน ผูตรวจนับคะแนน ขอ ๗๗ เมื่อมีการออกเสียงลงคะแนนตามขอ ๗๕ (๑) แลว ถา สมาชกิ รอ งขอใหม ี การนับใหม โดยมีผูรับรองไมน อ ยกวา ยีส่ ิบคน กใ็ หมกี ารนบั คะแนนเสียงใหม และใหเปลี่ยนวธิ ี การลงคะแนนเปนวธิ ตี าม ขอ ๗๕ (๒) เวนแตคะแนนเสียงตางกนั กวา ยี่สิบหา คะแนนจะขอให มีการนับคะแนนเสยี งใหมไ มไ ด

ขอบงั คับการประชมุ สภาผแู ทนราษฎรกับการนบั คะแนนเสยี งใหม ๑๙ เมอ่ื ไดมีการออกเสยี งลงคะแนนตามขอ ๗๕ (๒) แลว จะขอใหม กี ารนบั คะแนน เสยี งใหมอ กี ไมไ ด” ๑๓ ขอบงั คบั ฯ ฉบับนี้กาํ หนดเก่ยี วกบั การนับคะแนนเสียงใหมไ ว โดยเม่อื มีการออก เสยี งลงคะแนนโดยใชวธิ ีการขอ ๗๕ (๑) คือ ใชเครื่องออกเสียงลงคะแนนตามท่ปี ระธานสภา กาํ หนด ถา สมาชกิ รอ งขอโดยมสี มาชกิ รบั รองไมน อ ยกวา ๒๐ คน กใ็ หม กี ารนบั คะแนนเสยี งใหม และใหเปลี่ยนวิธีการลงคะแนนเสียงใหมเปนวิธีการตามขอ ๗๕ (๒) คือ เรียกชื่อสมาชิก ตามหมายเลขประจําตัวสมาชิก ใหออกเสียงลงคะแนนเปนรายคนตามวิธีที่ประธานกําหนด โดยมเี ง่ือนไขคือมีคะแนนเสียงตางกันเกิน ๒๕ คะแนน จะขอใหมกี ารนับคะแนนเสยี งใหมไมได เมอ่ื ไดม กี ารออกเสยี งลงคะแนนตามขอ ๗๗ (๒) แลว จะขอใหม กี ารนบั คะแนนเสยี งใหมอ กี ไมไ ด และการออกเสียงลงคะแนนตามขอ ๗๗ (๒) ใหประธานเชิญสมาชิกไมนอยกวา ๖ คน เปนผูต รวจนบั คะแนน ซง่ึ ในคราวประชุมสภาผูแทนราษฎร ชุดท่ี ๒๓ ปท ี่ ๒ คร้งั ที่ ๑๙ สมัยสามัญนิติบัญญัติ วันพุธท่ี ๒๑ ตุลาคม ๒๕๕๒ ปรากฏเหตุการณขอใหมีการนับ คะแนนเสียงใหมและเปลี่ยนวิธีการลงคะแนนในการพิจารณาเรื่องที่คณะกรรมาธิการพิจารณา เสร็จแลว เร่ือง รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. .... ในการลงมตมิ าตรา ๔๑๔ ๑๔. ขอบังคับการประชุมสภาผูแทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งตราขึ้นโดยอาศัยอํานาจ ตามความในมาตรา ๑๒๘ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยกาํ หนดเกยี่ วกบั การออกเสยี งลงคะแนนโดยเปด เผยไวใ นขอ ๘๓ และการนบั คะแนนเสยี งใหม ไวใน ขอ ๘๕ ดงั น้ี “ขอ ๘๓ การออกเสียงลงคะแนนเปดเผยมวี ิธีปฏิบตั ิ ดงั ตอ ไปนี้ (๑) ใชเคร่ืองออกเสียงลงคะแนนตามท่ปี ระธานกาํ หนด (๒) เรียกช่ือสมาชิกตามหมายเลขประจําตัวสมาชิก ใหออกเสียงลงคะแนน เปน รายคนตามวิธีท่ปี ระธานกาํ หนด (๓) วธิ อี นื่ ใดซึ่งท่ปี ระชุมเหน็ สมควรเฉพาะกรณี การออกเสยี งลงคะแนนตาม (๑) หากเครอ่ื งออกเสียงลงคะแนนขดั ขอ งใหเปลีย่ น เปนวิธีการตามท่ีประธานกาํ หนด ๑๓ขอบังคับการประชุมสภาผูแทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๕๑, ราชกิจจานุเบกษา, เลม ๑๒๕ ตอนพเิ ศษ ๗๙ ง วันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๕๑, หนา ๒๑. ๑๔รายงานการประชมุ สภาผแู ทนราษฎร, ชดุ ท่ี ๒๓ ปท ่ี ๒ ครง้ั ท่ี ๑๙ สมยั สามญั นติ บิ ญั ญตั ิ วนั พธุ ท่ี ๒๑ ตลุ าคม ๒๕๕๒, หนา ๑๓๙-๒๐๐.

๒๐ รัฐสภาสาร ปท ่ี ๖๘ ฉบบั ที่ ๓ เดอื นพฤษภาคม-มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ การออกเสียงลงคะแนนใหใชว ิธตี าม (๑) จะใชว ิธีตาม (๒) หรือ (๓) ไดตอ เมอื่ สมาชกิ เสนอญตั ติและท่ปี ระชมุ อนุมตั ิ หรอื เม่อื มีการนับคะแนนเสยี งใหมตามขอ ๘๕ การออกเสยี งลงคะแนนตาม (๒) หรือวรรคสอง ใหประธานเชญิ สมาชิกไมน อ ยกวา หกคน เปนผูต รวจนับคะแนน ขอ ๘๕ เม่อื มีการออกเสยี งลงคะแนนตามขอ ๘๓ (๑) แลว ถาสมาชิกรองขอใหมี การนับใหม โดยมี ผูรับรองไมน อยกวายส่ี ิบคน ก็ใหมีการนับคะแนนเสียงใหม และใหเ ปลยี่ นวธิ ี การลงคะแนนเปนวธิ กี ารตามขอ ๘๓ (๒) เวน แตค ะแนนเสียงตางกนั เกนิ กวา ย่ีสบิ หา คะแนน จะขอใหมกี ารนับคะแนนเสยี งใหมไมได เม่อื ไดมกี ารออกเสยี งลงคะแนนตามขอ ๘๓ (๒) แลว จะขอใหม กี ารนบั คะแนน เสียงใหม อีกไมไ ด”๑๕ ขอ บงั คบั ฯ ฉบบั นก้ี าํ หนดเกย่ี วกบั การนบั คะแนนเสยี งใหมไ ว โดยเมอ่ื มกี ารออกเสยี ง ลงคะแนนโดยใชวิธีการ ขอ ๘๓ (๑) คือ ใชเคร่ืองออกเสียงลงคะแนนตามท่ีประธานสภา กาํ หนด ถา สมาชกิ รอ งขอโดยมสี มาชกิ รบั รองไมน อ ยกวา ๒๐ คน กใ็ หม กี ารนบั คะแนนเสยี งใหม และใหเปลี่ยนวิธีการลงคะแนนเสียงใหมเปนวิธีการตามขอ ๘๓ (๒) คือ เรียกช่ือสมาชิก ตามหมายเลขประจําตัวสมาชิก ใหออกเสียงลงคะแนนเปนรายคนตามวิธีท่ีประธานกําหนด โดยมเี ง่อื นไขคือมีคะแนนเสียงตา งกันเกนิ ๒๕ คะแนน จะขอใหมกี ารนับคะแนนเสยี งใหมไ มไ ด และเมอื่ ไดม ีการออกเสยี งลงคะแนนตามขอ ๘๓ (๒) แลว จะขอใหมกี ารนับคะแนนเสยี งใหม อกี ไมไ ด และการออกเสยี งลงคะแนนตามขอ ๘๓ (๒) ใหป ระธานเชญิ สมาชกิ ไมน อ ยกวา ๖ คน เปนผตู รวจนับคะแนน โดยในคราวประชุมสภาผแู ทนราษฎร ชดุ ที่ ๒๕ ปที่ ๑ (สมัยสามญั ประจาํ ปค รง้ั ท่ีสอง) ครง้ั ท่ี ๖ วนั พฤหัสบดีที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ครง้ั ที่ ๘ วันพุธที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ คร้งั ที่ ๙ วันพฤหัสบดที ่ี ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ และครัง้ ท่ี ๑๐ วันพธุ ที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๖๒ ปรากฏเหตุการณขอใหมีการนับคะแนนเสียงใหมและเปล่ียนวิธีการ ลงคะแนนในการพิจารณาญัตติขอใหสภาผูแทนราษฎรต้ังคณะกรรมาธิการศึกษาผลกระทบ จากการกระทําประกาศและคาํ สั่งของคณะรกั ษาความสงบแหง ชาติ (คสช.) และการใชอํานาจ ของหวั หนา คณะรกั ษาความสงบแหงชาติ ตามมาตรา ๔๔ อันนาํ ไปสูก ารเสนอญตั ตขิ อแกไ ข ขอ บงั คบั การประชุมสภาผูแทนราษฎรในเร่ืองดังกลา วตอไป ๑๕ขอ บงั คบั การประชมุ สภาผูแ ทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒, ราชกิจจานุเบกษา, เลม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๑๖ ง วนั ที่ ๒๙ สงิ หาคม ๒๕๖๒, หนา ๓๕-๓๖.

ขอ บงั คบั การประชมุ สภาผูแทนราษฎรกบั การนับคะแนนเสยี งใหม ๒๑ บทสรปุ ในการศึกษาเรื่องขอบังคับการประชุมสภาผูแทนราษฎรกับการนับคะแนนเสียง ใหมดังกลาวพบวาขอบังคับการประชุม ๓ ฉบับ คือ ขอบังคับการประชุมและปรึกษาของ สภาผแู ทนราษฎร พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๖ ขอบังคับการประชุมและปรึกษาของสภาผูแทนราษฎร พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๗ และขอบังคับการประชมุ และปรกึ ษาของสภาผูแทน พุทธศกั ราช ๒๔๙๐ ไมไดกําหนดเกี่ยวกับการนับคะแนนเสียงใหมไว หลังจากน้ันขอบังคับการประชุมฉบับอ่ืน ๆ จะกําหนดเกี่ยวกับการนับคะแนนเสียงใหมไว โดยขอบังคับการประชุมปรึกษาของสภาผูแทน พทุ ธศกั ราช ๒๔๙๔ เปน ขอ บงั คบั การประชมุ ฉบบั แรกทก่ี าํ หนดเกยี่ วกบั การนบั คะแนนเสยี งใหม ไววาคณะรัฐมนตรีหรือสมาชิกซ่ึงมีสมาชิกรับรองไมนอยกวา ๑๔ คน เช่ือวามีการนับผิด มีสิทธิรองขอใหนับคะแนนเสียงใหมไดอีกครั้งหน่ึง และขอบังคับการประชุมและการปรึกษา ของสภาผแู ทนราษฎร พทุ ธศักราช ๒๔๙๕ กก็ าํ หนดทํานองเดยี ว สว นขอ บงั คับการประชุม ปรกึ ษาของสภาผแู ทน พ.ศ. ๒๕๑๓ เปน ขอ บงั คบั การประชุมฉบบั แรกทีก่ าํ หนดเก่ยี วกบั การนบั คะแนนเสียงใหมไว โดยในการนับคะแนนเสียงใหมใหเปลี่ยนวิธีการลงคะแนนตามวิธีซึ่งอยู ลําดับถัดไป หลังจากนั้นขอบังคับการประชุม ทุกฉบับจะกําหนดเกี่ยวกับการนับคะแนนเสียง ใหมไวโดยใหเปลี่ยนวิธีการลงคะแนนตามวิธีซึ่งอยูลําดับถัดไปดวย นอกจากนี้ขอบังคับ การประชมุ สภาผูแทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๔๔ เปน ขอบังคบั ฉบบั แรกทก่ี าํ หนดเง่ือนไขเพิ่มขึน้ คือ มคี ะแนนเสียงตา งกันเกนิ กวา ๒๕ คะแนน จะขอใหม กี ารนบั คะแนนเสียงใหมไมได เม่อื ไดม ี การออกเสยี งลงคะแนนดว ยวธิ เี รยี กชอ่ื สมาชกิ ตามลาํ ดบั อกั ษร ใหอ อกเสยี งลงคะแนนเปน รายคน ตามวิธีท่ีประธานกําหนดแลว จะขอใหมีการนับคะแนนเสียงใหมอีกไมไดซ่ึงถือเปนวิธีการ ท่ีนา เชอ่ื ถอื และการออกเสยี งลงคะแนนดังกลาวใหประธานเชิญสมาชิกเปน ผูตรวจนับคะแนน หลังจากนน้ั ขอบงั คบั การประชุมสภาผแู ทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๕๑ และขอ บังคับการประชมุ สภา ผูแทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ก็กาํ หนดในทํานองเดยี วกัน ดังน้ัน ขอบังคบั การประชมุ ปรกึ ษาของ สภาผแู ทน พ.ศ. ๒๕๑๓ เปนตนมา จนถงึ ขอ บังคบั การประชมุ สภาผแู ทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ จาํ นวน ๙ ฉบบั ตา งกาํ หนดเกยี่ วกบั การนบั คะแนนเสยี งใหมไ วโ ดยใหเ ปลยี่ นวธิ กี ารลงคะแนนเสยี ง ตามวธิ ีซึง่ อยลู ําดับถัดไป

๒๒ รัฐสภาสาร ปที่ ๖๘ ฉบับท่ี ๓ เดอื นพฤษภาคม-มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ บรรณานุกรม ขอบังคบั การประชมุ สภาเปรียบเทยี บ ๒๔๗๕-๒๕๑๗. ม.ป.ท.: ม.ป.พ., ,ม.ป.ป. ขอบังคบั การประชมุ สภาผแู ทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๒๒. ราชกิจจานุเบกษา. ฉบบั พิเศษ เลม ๙๖ ตอนที่ ๑๘๓ วนั ที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๒๒. ขอบังคับการประชุมสภาผูแทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๒๘. ราชกจิ จานเุ บกษา. ฉบบั พเิ ศษ เลม ๑๐๒ ตอนท่ี ๖๓ วนั ที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๒๘. ขอบังคบั การประชมุ สภาผูแทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕. ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๑๐๙ ตอนท่ี ๗๖ วันท่ี ๗ กรกฎาคม ๒๕๓๕. ขอ บงั คบั การประชมุ สภาผแู ทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๔๐. ราชกจิ จานเุ บกษา เลม ๑๑๔ ตอนพเิ ศษ ๗๐ง วนั ท่ี ๗ สิงหาคม ๒๕๔๐. ขอ บงั คบั การประชมุ สภาผแู ทนราษฎร แกไ ขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ที่ ๑) พ.ศ. ๒๕๔๑. ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม ๑๑๕ ตอนพิเศษ ๒๔ง วนั ที่ ๒๓ มนี าคม ๒๕๔๑. ขอ บงั คบั การประชมุ สภาผแู ทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๔๔. ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม ๑๑๘ ตอนพเิ ศษ ๔๒ง วนั ท่ี ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๔๔. ขอ บงั คบั การประชมุ สภาผแู ทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๕๑. ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม ๑๒๕ ตอนพเิ ศษ ๗๙ง วนั ที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๕๑ ขอ บงั คบั การประชมุ สภาผแู ทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒. ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๑๖ง วนั ที่ ๒๙ สงิ หาคม ๒๕๖๒. รายงานการประชมุ สภาผแู ทนราษฎร ชดุ ท่ี ๒๐ ปท ี่ ๑ ครง้ั ท่ี ๑ (สมยั วิสามัญ คร้ังท่สี อง) วันพุธท่ี ๒๒ ตุลาคม ๒๕๔๐. รายงานการประชมุ สภาผแู ทนราษฎร ชดุ ท่ี ๒๓ ปท ่ี ๒ ครง้ั ท่ี ๑๙ สมัยสามัญนติ ิบัญญัติ วันพธุ ที่ ๒๑ ตลุ าคม ๒๕๕๒.

ความรา่ํ รวยผดิ ปกติ : ความเปน มาของการศกึ ษาคนควา เร่ิมแรก ๒๓ ความรํ่ารวยผดิ ปกติ : ความเปน มาของการศกึ ษาคนควา เร่มิ แรก ศ.ดร. ทนิ พนั ธุ นาคะตะ ¢³Ðเปนอาจารยอยูที่สถาบันบัณฑิตพัฒบริหารศาสตร พ.ศ. ๒๕๒๐ ผูเขียน ไดทาํ วจิ ยั เก่ียวกบั การคอรร ปั ชันในราชการไทย ๓ เรือ่ ง ไดแ ก ๑. ความขัดแยงกันระหวางบทบัญญัติทางกฎหมายกับปทัสถานทางสังคม๑ โดย ไดชใ้ี หเ หน็ วา การทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบในราชการไทย มีสาเหตุมาจากคา นยิ มทางสงั คม ของเราไมเอ้ือตอการมีบทบัญญัติทางกฎหมายเพ่ือปองกันและปราบปรามการทุจริตและ ประพฤตมิ ชิ อบในวงการดงั กลา วนนั้ ก็คือ ประการแรก คนไทยสวนมากเห็นวา การทจุ รติ เลก็ ๆ นอ ยๆ ไมค วรไดร บั การลงโทษ พวกเขาไมท ราบวา มกี ฎหมายอะไรบา งทวี่ า ดว ยความผดิ เกยี่ วกบั การคอรรัปชัน โทษของมันมีมากนอยเพียงใด ประการท่ีสองผูรูกฎหมายกลับใชกฎหมาย ๑Thinapan Nakata, (1977), Bureaucratic Corruption in Thailand: In Congraites between Legal Codes and Social Norms (Bangkok: Monograph in Public Administration No. 26, School of Public Administration,

๒๔ รฐั สภาสาร ปที่ ๖๘ ฉบบั ที่ ๓ เดือนพฤษภาคม-มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ เปนเครื่องมือเพ่ือหาประโยชนสวนตัว โดยทําใหดูเหมือนไดทําทุกอยางถูกตองในทุกข้ันตอน ข้นึ มา เชน มีการประกวดราคากนั พอเปนพธิ ีแตไดม ีการตกลงกนั ลบั ๆ ที่จะใหร ายใดเปนผชู นะ ไวแ ลว หรือมกี ารสรางหลักฐานเท็จขึ้นมา ประการท่ีสามระบบพวกพอ งมีผลตอการคอรร ปั ชั่น ในการบริการประชาชน การบรหิ ารงานบุคลากร การทุจริตกันเปน ทมี การปกปอ งผูกระทําผดิ และการใหลกู นอ งหารายไดใ หก ับตน ๒. การทุจริตในการใชจายเงินของรัฐ๒ จากการสัมภาษณเจาะลึกไดพบสิ่งเหลานี้ ประการแรก มีการใชระเบียบและกฎหมายเปนเครื่องมือ ใหดูเหมือนวาไดทําถูกทุกข้ันตอน มเี อกสารครบถว น เชน เพอ่ื จาํ กดั จาํ นวนผเู ขา มาแขง ขนั ในการยน่ื ซองประกวดราคา โดยระบวุ า แ ต  ล ะ ร า ย จ ะ ต  อ ง มี ใ บ รั บ ร อ ง ผ ล ง า น ก า ร ก  อ ส ร  า ง กั บ ห น  ว ย ร า ช ก า ร ม า ก  อ น ร ว ม ทั้ ง การต้ังกรรมการเปดซองประกวดราคาซ่ึงมาจากทีมงานของตน ประการท่ีสอง การฮ้ัวหรือ การสมคบกันในกลุมของตนเพ่ือการประมูล โดยกีดกันการเขามาแขงขันของกลุมอ่ืนระหวาง พอคา ดวยกนั สูตรท่คี น พบกค็ ือ ผูเ สนอราคาเทา กับหรือสูงกวางบประมาณจะไมไ ดงานผูเสนอ ต่าํ กวา งบประมาณเพียงเลก็ นอยจะไดง าน ประการทสี่ าม มกี ารคอรรัปชนั กนั เปน ทมี โดยการ รว มมือกันระหวา งพอ คากบั หนวยงานของรฐั ๓. การสํารวจความคิดเห็นของขาราชการและประชาชน เกี่ยวกับการคอรรัปช่ัน ในราชการไทย๓ ปรากฏวากลุมตัวอยางมีความรูความเขาใจเก่ียวกับการกระทําที่ถือเปนการ คอรรัปช่ันตามความหมายสากล เวนแตเรื่องการยอมรับของสมนาคุณท่ีพวกเขาไมคิดวาเปน การคอรรัปช่ันที่ควรไดรับโทษ ประการแรก พวกเขาเห็นวาสาเหตุของการคอรรัปชั่น ไดแก การมีความตองการไมส้ินสุด โอกาสและระเบียบราชการเปดชองใหมีการกระทํากันจนเคยชิน ขาดการควบคุมจากผูบังคับบัญชาเห็นคนอื่นเขาทํากันจึงทําบาง ขาราชการมีอํานาจหรือ ดุลพินิจมากเกินไป ความจําเปนทางเศรษฐกิจการซ้ือความสะดวก ศีลธรรมเสื่อม และ การยดึ ถอื ระบบพวกพอ ง ประการทสี่ องเรอ่ื งการปอ งกนั นนั้ รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. ๒๕๑๗ หา มรฐั มนตรเี กย่ี วขอ งกบั บคุ คล หา งหนุ สว น บรษิ ทั หรอื องคก รใด ซงึ่ ดาํ เนนิ ธรุ กจิ เพ่ือคากําไร รวมท้ังใหรัฐมนตรีแสดงทรัพยสินและหนี้สินของตนตอประธานรัฐสภา ตามท่ี ๒Thinapan Nakata, (1978), “Correption in the Thai Bureaucracy: Who Get What, How and Why in Its Public Expenditure,” Thai Journal of Development Administration, XIII (January, 1978), pp. 102-128. ๓ทนิ พนั ธุ นาคะตะ, (๒๕๒๐), “การคอรร ปั ชน่ั ในราชการไทย: การสาํ รวจความคดิ เหน็ ของขา ราชการ และประชาชน”, วารสารพฒั นบรหิ ารศาสตร, (กรกฎาคม ๒๕๒๐), หนา ๓๕๕-๔๐๕.

ความราํ่ รวยผิดปกติ : ความเปน มาของการศึกษาคน ควาเรม่ิ แรก ๒๕ กฎหมายบัญญัติไว๔ ปรากฏวา กลุมตัวอยางเห็นดวยรอยละ ๗๔ และ ๘๕ ตามลําดับ ประการที่สาม เรื่องการปราบปรามเรามีทั้งกฎหมายและขอเสนอแนะจากกลุมตัวอยางดังนี้ เชน ใหล งโทษผบู งั คบั บญั ชา ทปี่ ลอ ยปละละเลยไมล งโทษผทู จุ รติ ใหเ อาผดิ เจา หนา ทข่ี องรฐั ทรี่ าํ่ รวยผดิ ปกตแิ ตพ สิ จู นท ม่ี าของทรพั ยส นิ ไมไ ดใ หอ ายดั กบั ผใู หส นิ บน และอายดั กบั ญาตพิ น่ี อ ง หรอื พวกพองของขาราชการที่สวนกอ ใหเกิดการคอรร ัปชนั่ ในราชการ ซง่ึ กลุมตวั อยางเห็นดว ย รอยละ ๘๙, ๗๓, ๗๑ และ ๘๖ ตามลําดับ ตอมาในพ.ศ. ๒๕๒๐ ซ่งึ เปนปเดยี วกันกบั ท่ีผูเขยี นไดทําวิจยั เรอ งนี้ ทางสํานักงาน ป.ป.ป. ไดม หี นงั สอื มาถงึ คณะรฐั ประศาสนศาสตร ขอใหผ เู ขยี นศกึ ษาคน ควา เกย่ี วกบั หลกั เกณฑ ท่ีจะไดก าํ หนดวาเจาหนา ทข่ี องรฐั ราํ่ รวยผดิ ปกติ ไปให ดังรายงานตอไปน้ี พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๒๐ ไดร ะบุไวว า “เม่ือมีพฤติการณแสดงวา เจาหนาที่ของรัฐผูใดร่ํารวยผิดปกติ ใหคณะกรรมการ พิจารณาสอบสวน และใหมีอํานาจสั่งใหผูนั้นแสดงสินทรัพยและหนี้สินของตนตามรายการ วิธีการและระยะเวลาท่ีคณะกรรมการกําหนด เม่ือคณะกรรมการสอบสวนไดความปรากฏวา ผนู ้นั รํ่ารวยผิดปกติ และไมสามารถแสดงไดว า ร่าํ รวยในทางท่ีชอบ ใหถ อื วา ผนู ัน้ ใชอ าํ นาจ หนาท่ีโดยมิชอบ ใหคณะกรรมการรายงานความเหน็ ตอ นายกรฐั มนตรี เพอ่ื พจิ ารณาสง่ั ลงโทษ ไลอ อก มตขิ องคณะกรรมการทว่ี นิ จิ ฉยั วา ผนู นั้ รา่ํ รวยผดิ ปกตติ ามวรรคหนงึ่ ตอ งมคี ะแนนเสยี ง อยา งนอย สองในสามของกรรมการทั้งหมด บรรดาทรพั ยส นิ ทคี่ ณะกรรมการวนิ จิ ฉยั วา เปน ทรพั ยส นิ ทร่ี าํ่ รวยขน้ึ โดยผดิ ปกตนิ นั้ ใหพนักงานอัยการยื่นคํารองตอศาล เพ่ือใหศาลวินิจฉัยส่ังวา ทรัพยสินน้ันเปนของแผนดิน เวนแต ผนู น้ั จะแสดงใหศาลเห็นวา ตนไดทรพั ยสนิ น้ันมาในทางท่ีชอบ ในกรณนี ใ้ี หน าํ ประมวล กฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง มาใชบ งั คบั โดยอนโุ ลม” จงึ นาจะพจิ ารณาวา การราํ่ รวยผิดปกติ ณ ที่นค้ี วรจะมีลักษณะอยางไรบา ง ๔ ราชกจิ จานเุ บกษา, (๒๕๑๘), “รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๗,” เลม ท่ี ๙๒ ตอนท่ี ๑๔ (ฉบบั พเิ ศษ), ๒๓ มกราคม ๒๕๑๘, มาตรา ๑๘๐, ๑๘๑ จากนน้ั ไดม พี ระราชบญั ญตั ปิ อ งกนั และ ปราบปรามการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ พ.ศ. ๒๕๑๘ ขน้ึ มา จงึ นา จะพจิ ารณาวา การราํ่ รวยผดิ ปกติ ณ ทน่ี ค้ี วรจะมลี กั ษณะอยา งไรบา ง

๒๖ รฐั สภาสาร ปที่ ๖๘ ฉบบั ที่ ๓ เดอื นพฤษภาคม-มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ แตในเบื้องแรก จะขอยกเอาหลักกฎหมายของบางประเทศมาพิจารณาเปน แนวทางกอ น๕ ตามกฎหมายขององั กฤษ และของสงิ คโปร ระบวุ า บคุ คลผถู กู กลา วหาไมส ามารถ พิสูจนไดวา ทรัพยส ินซึ่งเพมิ่ ข้ึนมา หรือทรพั ยส ินซึง่ เกินขอบเขตของรายไดน น้ั เปนทรัพยสนิ ทไ่ี ดมาโดยชอบแลว ถอื วา ผูน ้นั เปน ผูทุจริต ในทาํ นองเดยี วกนั กฎหมายของประเทศปากสี ถาน กม็ ขี อ กาํ หนดวา ถา ผถู กู กลา วหา ไมอาจพิสูจนไดวา ตนไดทรัพยมามากมายผิดปกติอยางไรแลว ศาลจะสันนิษฐานไวกอนวา ผูถูกกลาวหาไดทรัพยสินน้ันมาดวยการกระทําความผิด และถาตามขอเท็จจริง ปรากฏวา ผูถูกกลาวหาหรือบุคคลอ่ืนซึ่งเปนตัวแทน มีเงินหรือทรัพยสินนั้น มากเกินกวาเงินไดของตน อยา งมากมายผิดปกตอิ ยา งไร ศาลจะสันนิษฐานไวกอ นวา ผถู กู กลา วหาไดกระทําความผิดทาง อาญา เวนแตจะพิสจู นไ ดว าเปนอยา งอืน่ สําหรับกฎหมายของประเทศฟลิปปนส ไดกําหนดให เจาหนาท่ีของรัฐทุกคน แสดงบญั ชที รพั ยส ิน หนส้ี นิ และที่มาของเงินไดภ ายในเดือนมกราคมของทุกป รฐั จะไลอ อก จากราชการดวยเหตุรํ่ารวยที่ไมสามารถอธิกายได อีกท้ังรัฐจะยึดทรัพยสินและเงินท่ีเห็นได ชัดแจงวาไมสมดุลยกับเงินเดือน และเงินไดอ่ืน ๆ ซ่ึงไมสามารถพิสูจนไดวาทรัพยสินนั้น ไดม าโดยชอบอยา งไร เกย่ี วกบั การทําบัญชแี สดงทรพั ยส นิ และหน้ีสนิ นั้น กฎหมายของประเทศดังกลาว กําหนดใหเจาหนา ทีท่ ุกคน จะตองทาํ บญั ชีแสดงทรพั ยสนิ และหนสี้ นิ ของตนรวมทงั้ บัญชแี สดง จาํ นวนเงินและแหลง ทีม่ าของเงนิ ได จํานวนเงนิ คา ใชจา ยสินคาและคา ใชจา ยภายในครอบครัว และจํานวนเงินภาษีเงินไดท่ีเสียไป ตลอดปปฏิทินท่ีแลวมา และยื่นบัญชีนี้ตอกรมของตน ภายในระยะเวลา ๓๐ วัน หลังจากไดออกกฎหมายฉบับนั้น หรือหลังจากที่ตนไดเขาดํารง ตําแหนง หรือภายในเดือนมกราคมของทุกป หรือหลังจากตนลาออกจากราชการ ถาเปน ขาราชการช้ันอธิบดี หรือหัวหนาของสํานักงาน ซ่ึงเปนเอกเทศ ก็ใหย่ืนบัญชีน้ีตอสํานัก ประธานาธิบดี หรอื ถาเปนสมาชกิ รฐั สภา เจา หนาที่ และลกู จางของรัฐสภา กใ็ หย ่นื บญั ชนี ั้น แตถาเจา หนาทผ่ี ใู ด เขา ดาํ รงตาํ แหนงไมเกิน ๒ เดือน กอนสนิ้ ปปฏิทิน ก็อาจยื่นบญั ชคี รงั้ แรก ในเดอื นมกราคมของปถ ัดไป ๕สภาวจิ ยั แหง ชาต,ิ รายงานผลการวจิ ยั เรอ่ื งการทจุ รติ ในวงราชการ (พระนคร: ๒๕๐๙).

ความราํ่ รวยผิดปกติ : ความเปนมาของการศึกษาคนควาเริม่ แรก ๒๗ สวนกฎหมายของประเทศสาธารณรัฐเกาหลี มีบทบัญญัติใหเห็นเปนพิเศษวา ถาใครมีทรัพยสินเกินอัตราที่กฎหมายกําหนดไวแลว ใหสันนิษฐานวา ไดมาโดยการไมสุจริต โดยกาํ หนดไวใ นกฎหมาย วา ดวย การจดั การทรพั ยสมบตั ทิ เ่ี พิ่มพูนขนึ้ โดยผดิ กฎหมาย พ.ศ. ๒๕๐๔ วา บุคคลผูไดทรัพยสมบัติมา โดยผิดกฎหมาย หมายถึงขาราชการ สมาชิก ของพรรคการเมือง หรือเจาพนักงานสําคัญของรัฐ ตามท่ีระบุไวในกฎหมายนี้ ซ่ึงมีตําแหนง ยอ นหลงั ไปประมาณ ๗ ป และเปน บคุ คลซงึ่ เพม่ิ พนู ทรพั ยส นิ ขนึ้ เทยี บเทา ไมต า่ํ กวา ๕๐ ลา นหยวน โดยยักยอกทรพั ยสินหรอื โดยวธิ ีฉอโกงอืน่ ๆ โดยใชประโยชนข องตาํ แหนงหรืออาํ นาจของตน และในกรณีที่บุคคลซ่ึงไดรับทรัพยมาโดยผิดกฎหมายในนามของบุคคลอ่ืน ใหถือวาบุคคล ท่ีเก่ียวของน้ันไดทรัพยมาโดยผิดกฎหมายดวย นอกจากนั้น กฎหมายดังกลาว ยังกําหนด รายละเอยี ดทีจ่ ะดําเนินการกบั บุคคล ทกี่ ระทําผดิ ในกรณีตา ง ๆ อกี ดว ย จากการศึกษาถึงหลกั เกณฑ และวิธีการ ในกฎหมายของบางประเทศ จะเหน็ วา การท่ีจะถือวาบุคคลหน่ึงบุคคลใดรํ่ารวยผิดปกติ และถือเปนการทุจริตนั้นไดยึดถือหลักเกณฑ และวิธกี ารดงั ตอ ไปน้ี คอื ๑. การรา่ํ รวยผิดปกติ หมายถึง การมีสินทรพั ยม ากมายผิดปกติ เกินขอบเขตของ ทรัพยสนิ และรายไดท่ไี ดม าโดยชอบ ๒. การรํ่ารวยผดิ ปกติ เปน เรอ่ื งของการเปรียบเทียบ ระหวาง การมฐี านะใหมท่ี ผิดแผกไปจากฐานนะตามปกติของแตล ะบคุ คล การทีจ่ ะวัดวา ผูใด ราํ่ รวยผดิ ปรกตจิ ึงตองอาศัย เปรียบเทียบจากฐานะเดิมของเขา โดยการกําหนดใหเจาหนาที่ของรัฐ แสดงบัญชีทรัพยสิน หนส้ี นิ และที่มาของรายได ๓. การร่ํารวยผดิ ปกติ ตามความหมายท่ัว ๆ ไป ในกฎหมายของประเทศเหลาน้นั รวมความถึงการทจุ ริตในวงราชการโดยทั่ว ๆ ไปดวย คอื แมแตการฉอราษฎรบ งั หลวงเล็ก ๆ นอย ๆ ท่ีไมถึงกับทําใหผูหนึ่งผูใดรวยข้ึนมาอยางผิดหูผิดตาก็ถือเปนการร่ํารวยผิดปกติดวย หลกั เกณฑและวธิ ีการเกีย่ วกับเร่ืองนี้ จงึ เก่ียวขอ งกบั กฎหมายอืน่ ๆ ดว ย เชน การหลีกเล่ยี ง ภาษี หรือการไมป ฏิบตั หิ นา ท่ใี นการเสยี ภาษี ๔. แตล ะบคุ คลจะตอ งสามารถพสิ ูจน หรอื สามารถแสดงไดวา สินทรัพยท ่เี พ่มิ ข้นึ มาผดิ ปกตนิ ัน้ ไดม าโดยชอบ ๕. การรา่ํ รวยผดิ ปกติของบุคคลอืน่ ท่ีเปนตวั แทนของผถู กู กลา วหา ยอมมผี ลทาํ ให สามารถสนั นิษฐานไดว า ผถู ูกกลา วหากระทาํ ความผดิ ได ๖. การวินิจฉัยวา ผูใ ดราํ่ รวยผิดปกตหิ รือไม จะตอ งมีการลงมตขิ องคณะกรรมการ

๒๘ รัฐสภาสาร ปท่ี ๖๘ ฉบบั ท่ี ๓ เดอื นพฤษภาคม-มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ๗. ในบางประเทศ การราํ่ รวยผดิ ปกติ หมายความถึง ผูที่ราํ รวยมาก ๆ เทา นัน้ เชน ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี มุงปราบปรามเฉพาะเจาพนักงานสาธารณะ ท่ีไดเพิ่มพูน ทรพั ยสนิ ขึน้ เทยี บเทา ไมต ํ่ากวา ๕๐ ลานหยวน ภายใน ๗ ปย อ นหลังไป นบั จากวนั ประกาศ ใชก ฎหมาย คอื ไมส นใจกบั การทจุ ริตท่คี ดิ เปน เงินนอยกวานัน้ ลงมา แตก ค็ รอบคลมุ ถงึ บุคคล ท่ีรํารวยผิดปกตินอกวงการรัฐบาลดว ย เชน นกั ธุรกจิ เปนตน สาํ หรบั ในกรณขี องประเทศไทย หลกั เกณฑ และวธิ กี ารในการกาํ หนดวา จา หนา ท่ี ของรฐั ผูใดร่าํ รวยผดิ ปกติ ควรมีลักษณะดงั นี้ คอื ก. การราํ่ รวยผดิ ปกติควรจะหมายถงึ การมที รพั ยสินมากเกินกวา ทรพั ยสิน และรายไดที่ไดมาโดยชอบ เหตผุ ล ๑. กฎหมาย ป.ป.ป. คงไมมงุ ปอ งกนั และปราบปราม ผทู รี่ า่ํ รวยหรือทุจริตมาก ๆ โดยเฉพาะเทานัน้ แตค วรจะครอบคลมุ ถึงการทจุ ริตตามปกติดว ย มิฉะนั้น จะกลายเปน การ เลือกปฏบิ ัตเิ ฉพาะผทู รี่ ่ํารวยมาก ๆ ไป ๒. กฎหมายควรใหค วามเปน ธรรมแกทกุ ๆ คน ๓. การทุจรติ เล็ก ๆ นอ ย ๆ ยอ มนําไปสูก ารทุจริตมาก ๆ ๔. โดยเฉพาะอยางยิง่ ยอมเปนการยาก ทจี่ ะขีดขน้ั หรอื แยกออกไดวารํ่ารวย ข้นึ มามากแคไหน ควรจะถือวา รํ่ารวยข้นึ อยางผดิ ปกติ และราํ่ รวยขึ้นมากนอยแคไ หน จงึ ควร จะถอื วา ร่ํารวยขึ้นมาอยา งไมผดิ ปกติ ๕. ทรพั ยส ินรายการใด ทไ่ี ดม าโดยมชิ อบ จงึ นาจะถอื ไดวา ทรพั ยส นิ รายการน้ัน ทาํ ใหเกิดการร่ํารวยผดิ ปกติขึ้นมา เม่อื เปน เชนน้ี ผใู ดกต็ ามท่มี ีทรพั ยสินมากกวา ทรัพยสนิ และรายไดทไ่ี ดม าโดยชอบ จงึ ควรถือไดว า รํา่ รวยผิดปกติ และทุจริต ข. โดยที่การร่ํารวยผิดปกติ เปนเร่ืองของการเปรียบเทียบระหวางฐานะใหมกับ ฐานะเดมิ ของบคุ คล จงึ ควรกาํ หนดใหเ จา หนา ทข่ี องรฐั ทกุ คน แสดงบญั ชที รพั ยส นิ หนสี้ นิ และ ที่มาของเงินไดของตน หลังจากไดมีการประกาศใชพระราชกฤษฎีกาหรือหลังจากท่ีเจาหนาท่ี ของรัฐเขาดํารงตําแหนง หรือภายในเดือนมกราคมของทุกปหรือหลังจากเจาหนาท่ีของรัฐ ลาออกจากราชการ โดยยนื่ ไวท กี่ รมของตน แตถ า เปน เจา หนา ทขี่ องรฐั ระดบั อธบิ ดขี น้ึ ไป กใ็ หย นื่ บัญชีนตี้ อ กระทรวง หรอื หนว ยงานทีเ่ ปนผรู ับผิดชอบการปฏบิ ัติงานของตน

ความรํา่ รวยผิดปกติ : ความเปนมาของการศึกษาคนควา เริม่ แรก ๒๙ แทท ีจ่ รงิ แลว พระราชบัญญตั ิ ป.ป.ป. มาตรา ๑๓ (๒) ไดก าํ หนดใหคณะกรรมการ ป.ป.ป. มหี นาท่เี สนอคณะรฐั มนตรี เพอื่ พจิ ารณาสง่ั ให สวนราชการหนว ยงานของรัฐ หรอื รัฐวิสาหกิจใด ๆ จัดการใหเจาหนาที่ของรัฐที่อยูในสังกัด ท่ีอยูในขายสงสัยวาทุจริต แสดงสินทรัพยและหน้ีสินของตน ตามรายการ วิธีการและกําหนดเวลาที่เห็นสมควรอยูแลว แตก็มงุ เฉพาะผอู ยใู นขา ยสงสัยเทา นัน้ ยงิ่ กวาน้ัน มารตรา ๒๐ แหง พระราชบัญญัติ ดงั กลา ว ก็มขี อ บัญญัติวา ใหค ณะกรรมการมอี ํานาจสัง่ ใหเจาหนา ที่ของรฐั ผมู พี ฤติการณแ สดงวารา่ํ รวย ผิดปกติ ยื่นบัญชีแสดงสินทรัพยและหน้ีสินของตนตามรายการ วิธีการ และระยะเวลา ทค่ี ณะกรรมการกาํ หนดดว ย โดยเฉพาะอยา งยง่ิ ในมาตรา ๒๓ กย็ งั ไดก าํ หนดวา “เพอ่ื ประโยชน ในการปฏบิ ัตกิ ารตามพระราชบัญญัตนิ ี้ ใหคณะรฐั มนตรมี ีอํานาจส่งั ใหเจาหนา ท่ีของรัฐแสดง สินทรพั ยและหน้ีสิน ตามรายการ วธิ ีการ และเวลาตามกําหนด ในพระราชกฤษฎกี า” ดงั นั้น การที่จะกาํ หนดใหเจาหนา ท่ขี องรัฐทุกคน ยืน่ บญั ชีแสดงทรพั ยส นิ และหน้ีสนิ ของตน แทนทีจ่ ะ ใหกระทําเฉพาะผูท่อี ยูใ นขา ยสงสัย หรอื มพี ฤตกิ ารณด ังกลา ว เทานัน้ จงึ เปน สิง่ ที่ควรกระทํา เหตผุ ล ๑. การวัดวาผูใดร่ํารวยผิดปกติ จําเปนจะตองมีฐานะเดิมมาเปรียบเทียบกอน โดยเฉพาะอยางยิ่ง การใหย่ืนบัญชีแสดงทรัพยสินทุกป หรือทุกครั้งที่ฐานะเดิมเปล่ียนไป นา จะไดผ ลมากกวา ใหท าํ ครง้ั เดยี ว หนเดยี ว หรอื นาน ๆ ครง้ั เพราะทาํ ไดง า ย หาหลกั ฐานไดง า ยกวา หากนานวันเขายอมรวบรวมหลักฐานไดยากอาจเปนชองทางใหมีการสรางหลักฐานข้ึนมาได นอกจากนั้น กต็ รวจสอบไดงายและสะดวกกวา เพราะหลกั ฐานมอี ยพู รอ มแลว ๒. กฎหมายไมควรมีลักษณะเปนการเลือกปฏิบัติตอบุคคลหน่ึงบุคคลใด โดยเฉพาะ ควรใชบ งั คบั แกท กุ คนโดยเสมอภาคและเปน ธรรมโดยทวั่ กนั การมงุ เฉพาะผอู ยใู นขา ย สงสยั หรอื มพี ฤตกิ ารณแ สดงวา ราํ่ รวยผดิ ปกติ ยอ มจะมผี ลใหไ ดผ กู ระทาํ ผดิ ทบี่ งั เอญิ เคราะหร า ย ท่ีมีผูสงสัยในพฤติการณ และไดรับการเพงเล็งเปนพิเศษเทานั้นผลท่ีไดจากการกําหนดให ทุกคนปฏิบัติ จงึ นา จะครอบคลุมไดกวางขวางมากกวา การไดตัวอยา งมาโดยบังเอญิ ทาํ ใหข าด ความเปนธรรม และปราบปรามไดไ มท่วั ถงึ ๓. จะไดผ ลในทางจิตวทิ ยา แกเ จาหนา ที่ของรฐั แตละบุคคล เปนการชว ยเตอื นใจ ใหคนเราเพ่ิมความระมัดระวังตัว ลดการประพฤติในทางที่มิชอบของตนลงนับเปนมาตรการ ในทางบวก ท่ีจะชวยใหคนควบคุมตัวเอง ทําใหเกิดความรูสึกดีกวาท่ีจะถูกส่ังใหยื่นรายการ แสดงทรัพยสนิ เมือ่ มกี ารสงสัยเกดิ ขึ้น หรอื กลา วอีกนัยหน่ึง ก็คอื การใหทกุ คนแสดงบญั ชี ทรัพยส นิ หรอื หนีส้ ิน จะมีผลในทางปอ งกนั การทุจริตดีกวาการมุงในการปราบปราม นนั่ เอง

๓๐ รัฐสภาสาร ปท ี่ ๖๘ ฉบับที่ ๓ เดอื นพฤษภาคม-มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ๔. แมแ ตการระบใุ หเ จาหนา ทข่ี องรัฐซงึ่ มตี าํ แหนงทส่ี าํ คญั ๆ บางตาํ แหนงเทาน้ัน ยนื่ บญั ชแี สดงทรพั ยส นิ และหนสี้ นิ กจ็ ะเกดิ ปญ หาในเรอื่ งความเปน ธรรมและเสมอภาคกนั ทว่ั หนา ดงั กลาวขางตน ย่ิงกวา นั้น ความพยายามทีจ่ ะปอ งกัน และปราบปรามการทุจรติ ท่นี าจะมอี ยู ในทุกหนวยงานและทุกระดับ ก็ยากท่ีจะบรรลุไดเพราะผูมีตําแหนงไมสําคัญๆ บางตําแหนง ก็ทจุ รติ ไดและทาํ ใหการทจุ ริตยงั คงมอี ยอู กี เรอ่ื ยไป ๕. มีประโยชนในการปองกัน มิใหมีการกระทําผิดไปในตัว เพราะในบัญชีแสดง ทรัพยสินท่ีแตละคนจะตองกรอกไปน้ัน จะระบุถึงแหลงที่มาของทรัพยสินและหนี้สินอยูดวย เชน หากมรี ายไดม าจากการพนัน กย็ อมจะอยูในขายผิดวินัย หรือ หากจะเลี่ยงภาษี ก็นา จะ ทําใหม ีการหลีกเล่ยี งนอ ยลง ๖. จากรายงานการวจิ ยั ปรากฎวา ขาราชการและประชาชนสวนมากคอื ประมาณ รอยละ ๘๕ เหน็ ดว ยกบั การใหข า ราชการบางตําแหนง หนา ท่ี ยื่นรายการแสดงทรัพยสนิ ทมี่ อี ยู ท้ังหมด ตามระยะเวลาที่กําหนดอยูแลว๖ ดังน้ัน หากมีขอกําหนดใหเจาหนาท่ีของรัฐทุกคน แสดงทรัพยสินและหน้ีสินดังกลาว ก็นาจะไดรับการสนับสนุน และนาจะไดผลในทางปฏิบัติ สําหรบั เร่อื งน้ี ค. ผูถูกกลาวหาจะตองสามารถพิสูจนหรือสามารถแสดงไดวา ทรัพยสิน ทเ่ี พ่มิ ข้ึนมาผิดปกตินั้นไดม าโดยชอบ เหตุผล ๑. หลักเกณฑขอน้ีมอี ยแู ลว ในมาตรา ๒๐ แหง พระราชบญั ญตั ิ ป.ป.ป. ๒. เคยมอี ยใู นมาตรา ๗ แหง พระราชบญั ญัติ กําหนดวธิ ีพจิ ารณาลงโทษขา ราชการ และพนักงานผูกระทําผดิ หนาที่ หรือหยอนความสามารถ พ.ศ. ๒๔๙๐ ซงึ่ ไดย กเลิกไปแลว ๓. เปนหลักเกณฑท่ีอยูใ นหลาย ๆ ประเทศ ดงั ท่ีกลา วมาแลวขา งตน ง. จะตองครอบคลุมถึงการทุจริตในวงราชการ กรณีท่ัว ๆ ไป ท่ีมีระบุไว ในกฎหมายตาง ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ งดวย เหตุผล ๑. พระราชบญั ญตั ิ ป.ป.ป. คงไมม ีความมุง หมายที่จะปองกัน และปราบปราม การทจุ รติ ในรายใหญ ๆ ทีท่ ําใหเกดิ ความร่ํารวยขนึ้ มาก ๆ เทา น้ัน หากแตจะตองมุงในการ ๖ทนิ พนั ธุ นาคะตะ, (๒๕๒๐), “การคอรร ปั ชน่ั ในราชการไทย: การสาํ รวจความคดิ เหน็ ของขา ราชการและ ประชาชน”, วารสารพฒั นบรหิ ารศาสตร, ๑๗(๓) (กรกฎาคม, ๒๕๒๐), หนา ๓๕๕-๔๐๕ โดยเฉพาะหนา ๓๙๐-๓๙๓.

ความราํ่ รวยผดิ ปกติ : ความเปน มาของการศึกษาคนควาเรม่ิ แรก ๓๑ ปองกัน และปราบปรามการทุจริต และประพฤตมิ ิชอบในวงราชการตามมาตรา ๑๓ (๑) ดว ย เพราะเปนกฎหมายที่มีข้ึนมาเพ่ือแกปญหาการทุจริตในวงราชการโดยเฉพาะ ไมเหมือน กฎหมายอ่ืน ๆ ทม่ี เี พยี งบางมาตรา ทรี่ ะบถุ ึงเร่อื งนีไ้ ว ๒. กฎหมายเกยี่ วกบั การปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ในวงราชการของไทย ทใ่ี ชอ ยใู นปจ จบุ นั ไดแ ก ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. ๒๔๙๙ มาตรา ๑๔๗-๑๖๖ และมาตรา ๒๐๐-๒๐๕ และมกี ารแกไขเพ่มิ เตมิ ใน พ.ศ. ๒๕๐๒ นอกจากนั้นกม็ ีกฎหมายตา ง ๆ ที่วา ดว ย ความผิดของพนกั งานในองคการหรอื หนว ยงานของรฐั รวมท้งั กฎหมาย และหรือ ระเบยี บขอ บังคับท่ีถือเปนผิดวินัย เชน พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน กฎหมายวาดวย ระเบียบขาราชการฝายตุลาการ และฝายอัยการ กฎหมายวาดวย วินัยของขาราชการ กรมราชทัณฑ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี เรื่องการใชและรักษารถยนตนั่ง และระเบียบ สาํ นกั นายกรัฐมนตรีเร่อื งการจาง เปน ตน จ. การราํ่ รวยผดิ ปกตขิ องบคุ คลอนื่ ทเ่ี ปน ตวั แทนของผถู กู กลา วหา ยอ มมผี ลทาํ ให สามารถสันนิษฐานไดว า ผถู ูกกลาวหากระทําความผิดได เหตุผล ๑. เพ่ือปองกันมิใหมีการโอน หรือยักยายถายเททรัพยสินท่ีไดมาโดยมิชอบ ไปใหคนอ่ืนซึ่งเปนผแู ทนของตน มผี ลใหเชอ่ื วา ตนอาจพนผดิ ไปได ๒. บคุ คลใดทไี่ ดร บั ทรพั ยส นิ มาโดยผดิ กฎหมายในนามของบคุ คลอนื่ จงึ ควรใหถ อื วา บคุ คลนนั้ ไดร บั ทรพั ยส ินมาโดยผิดกฎหมายดว ย ๓. ในเร่ืองน้ี จึงควรมีการปฏบิ ัตติ อตวั แทนของผถู กู กลา วหาที่มกี ารร่ํารวยผิดปกติ ในลกั ษณะเดียวกันกับผถู กู กลา วหาดว ย ฉ. จะตอ งมกี ารลงมตขิ องคณะกรรมการ ในการวนิ จิ ฉนั วา ผใู ดราํ่ รวยผดิ ปกตหิ รอื ไม เหตผุ ล ๑. โดยทคี่ าํ วา การรํา่ รวยผดิ ปกติ ณ ทนี่ ้ี นา จะมีความหมายเพยี ง การมที รพั ยสิน มากเกนิ กวา บัญชีแสดงทรพั ยส นิ และรายไดของตนทไ่ี ดม าโดยชอบ เทา นน้ั และคงจะไมหมาย ถึงเฉพาะการทุจริต ทีท่ ําใหเกิดความรํา่ รวยเปน พิเศษ เหนือกวาคนอน่ื ๆ การวินิจฉันวาผูใด ร่ํารวยผิดปกติ จึงนาจะหมายถึงเพียงวินิจฉันวาผูนั้นทุจริต ตามความหมายท่ีเขาใจกันโดย ท่วั ไป ๒. การใชมติของคณะกรรมการจะกอใหเกิดหลักประกันเกี่ยวกับความเปนธรรม สาํ หรบั ผถู กู กลา วหา ซงึ่ ในกรณขี องสาธารณรฐั เกาหลใี หเ สยี งขา งมากธรรมดาสว นในกรณขี องเรา ใชเ สยี งขางมากอยา งนอยสองในสาม (มาตรา ๒๐ พระราชบญั ญตั ิ ป.ป.ป.)

๓๒ รัฐสภาสาร ปท่ี ๖๘ ฉบบั ท่ี ๓ เดอื นพฤษภาคม-มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ช. ควรมขี อ กาํ หนดเกย่ี วกบั โทษของผรู า่ํ รวยผดิ ปกติ บทลงโทษในการปกปด ทรพั ยสินดว ย เหตุผล ๑. หากเจาหนาท่ขี องรฐั หรอื ผแู ทน ปกปด โอนทรพั ยส นิ หรอื ปลอมหนงั สือหรือ เอกสารที่เกี่ยวของกับทรัพยสิน เพื่อหลีกเล่ียงการจัดการเกี่ยวกับทรัพยสินที่เพิ่มข้ึน โดยผิดกฎหมาย ควรมโี ทษหนัก ๒. ผูร ่าํ รวยผดิ ปกติ จะตองไดรบั โทษไลออก ตามมาตรา ๒๐ แหง พระราชบญั ญตั ิ ป.ป.ป. แตถ า ผดิ กฎหมายอาญา หรอื กฎหมายอน่ื อกี ประธานกรรมการ ป.ป.ป.ควรเปน ผฟู อ งดว ย ซ. หลักเกณฑและวิธีการที่กลาวขางตน ไมควรจะมีลักษณะใหมีผลยอนหลัง แตค วรจะเริ่มจากวันประกาศใชพระราชกฤษฎกี า เหตุผล ๑. การรื้อฟนเร่ืองเกา ๆ ความวุนวายจะมีมา เพราะยอมจะเปนท่ีทราบกัน โดยทั่วไปแลววา การทุจริตในวงราชการไทยนั้นมีมาก ทุกระดับและทุกหนวยงานโดยเฉพาะ อยางย่ิง ในระดบั ขาราชการชัน้ ผใู หญน น้ั มมี ากท่สี ุด๗ ดงั น้นั หากจะปราบปรามการทจุ ริตกัน อยา งจริงจงั แลว อาจจะมคี นเหลือไวท าํ งานในกระทรวง ทบวง กรม ตา ง ๆ นอยเตม็ ที จงึ ควรมีการอภยั โทษกนั โดยท่ัวหนา สาํ หรับทุก ๆ คน ในสง่ิ ทแ่ี ลว ๆ มา และใหเ รมิ่ ตนชีวิต ในทางที่ชอบกันเสียใหม สวนผูที่มีคดีอยู ก็ควรจะสะสางกันไปตามรูปคดี หากทําเชนน้ีแลว การปราบปรามทจ่ี ะไดผลอยา งจรงิ จังข้ึนมาบาง ในอนาคต ยอ มมที างจะเปนไปได ๒. จากเหตุผลในประการแรก การทเ่ี จาหนาท่ีของรฐั แตละบคุ คล จะย่ืนบญั ชแี สดง รายการทรัพยสินหรือหนี้สิน อยางไร ก็ไมควรจะใหมีการพิสูจนหรือแสดงที่มาวาเปนไป โดยชอบหรอื ไม แตต อ งมหี ลกั ฐานแสดงวา มที รพั ยส นิ หรอื หนส้ี นิ ดงั กลา วจรงิ ๆ หากแจง ความเทจ็ กค็ วรกําหนดโทษไวสถานหนกั ฌ. พฤตกิ ารณท แ่ี สดงวา เจา หนา ทขี่ องรฐั ผใู ดนา จะรา่ํ รวยผดิ ปกตนิ น้ั นา จะสบื ทราบ ไดจากสง่ิ ดังตอไปนี้ คอื ๗Thinapan Nakata, (1977), Bureaucratic Corruption in Thailand: Incongruities between Legal Codes and Social Norms (Bangkok: Monograph in Public Administration No. 26, School of Public Administration, pp. 38-40; Thinapan Nakata, (1978), “Corruption in the Thai Buveaacracy: who Gets What, How and Why in its Public Expenditure, Thai Journal of Development Administration, XIII (January, 1978), pp. 102-128.

ความราํ่ รวยผดิ ปกติ : ความเปน มาของการศกึ ษาคนควา เริม่ แรก ๓๓ ๑. รายไดและทรัพยสินท่ีเพิ่มข้ึน จากรายไดและทรัพยสินท่ีบุคคลหนึ่งบุคคลใด ไดร บั อยูตามปกติ หรือมีอยเู ดิม เชน ดวู ามีเงนิ เดือนประจาํ เทา ไร มที รัพยสนิ หรอื มรดกเดิมอยู เทาไร ๒. รายจา ย และการใชช วี ติ ทเ่ี กนิ ฐานะตาํ แหนง ของแตล ะบคุ คล โดยใชจ า ยเกนิ กวา ผมู เี งนิ เดอื นในตาํ แหนง หนา ทน่ี นั้ ๆ จะพงึ กระทาํ ได สามารถใชบ รกิ ารบางอยา งทมี่ คี า ใชจ า ยสงู เชน เขาไนทค ลบั บอ ย ๆ เขา ภตั ตาคารแพง ๆ บอย ๆ ไปตา งประเทศบอย ๆ สามารถใชร ถ ราคาแพง ๆ มกี ารใชจายอยา งฟมุ เฟอ ย หรือใชชวี ติ ทด่ี ขี ้ึนอยางผดิ หผู ดิ ตา เปนตน ๓. บางคนอาจไมเก็บเงินไวกับตัว อาจโอนใหญาติพี่นอง จึงตองดูฐานะและ ความเปน อยขู องญาติพน่ี อ งดว ย และบางคนอาจฝากเงนิ ไวกับธนาคารตา งประเทศกไ็ ด

๓๔ รฐั สภาสาร ปท ี่ ๖๘ ฉบบั ท่ี ๓ เดอื นพฤษภาคม-มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ สาํ เนาหนงั สอื ของสาํ นกั งาน ป.ป.ป. ขอบคณุ ทท่ี าํ การศกึ ษาคน ควา เกย่ี วกบั หลกั เกณฑ ท่จี ะกาํ หนดวาเจา หนาทข่ี องรัฐรํ่ารวยผดิ ปกติ* ท่ี สร.0802/8026 5 กันยายน 2520 สาํ นักงาน ป.ป.ป. เรอ่ื ง ขอบคณุ ทอ่ี นญุ าตให ดร.ทนิ พนั ธุ นาคะตะ ศกึ ษาคน ควา และสง รายงานผลเกย่ี วกบั หลกั เกณฑท จ่ี ะกาํ หนดวาเจา หนาที่ของรฐั ร่ํารวยผดิ ปกติ ไปให เรียน คณะบดคี ณะรัฐประศาสนศาสตร อา งถึง หนังสอื ท่ี ทม.1502/1015 ลงวนั ท่ี 23 สิงหาคม 2520 และหนังสือท่ี ทม.1502/1054 ลงวนั ที่ 29 สงิ หาคม 2520 ตามหนังสือท่ีอางถึงแจงวา คณะรัฐประศาสนศาสตร ยินดีอนุญาตให ดร.ทินพันธุ นาคะตะ ผูชวยศาสตราจารยคณะรัฐประศาสนศาสตร ทําการคนควาเกี่ยวกับหลักเกณฑที่จะ กําหนดวาเจาหนาที่ของรัฐร่ํารวยผิดปกติ และไดสงรายงานผลการคนควาและขอเสนอแนะ ดังกลาวไปใหสํานักงาน ป.ป.ป. จํานวน 1 ชุด เพ่ือถือเปนแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการสืบสวน สอบสวนผทู มี่ พี ฤตกิ ารณร าํ่ รวยผดิ ปกติ ตามมาตรา 20 แหง พระราชบญั ญตั ิ ป.ป.ป. 2418 นั้น สํานักงาน ป.ป.ป. ไดรับรายงานฯ ดังกลาวไวแลว จึงขอขอบคุณในความรวมมือ ประสานประโยชนร าชการของคณะรฐั ประศาสนศาสตร และ ดร.ทนิ พนั ธุ นาคะตะ มา ณ ทนี่ ้ี และขอไดโปรดแจง ให ดร.ทนิ พนั ธุ นาคะตะ ทราบดว ย ขอแสดงความนบั ถืออยา งสงู กองวจิ ยั และวางแผน สธุ ี อากาศกฤษ โทร 2823161 ตอ 47 (นายสุธี อากาศฤกษ) เลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ป. *ตอมาเม่ือผูเขียนไดเขาไปเปนท่ีปรึกษานายกรัฐมนตรี และเปนผูยกรางนโยบาย ของรัฐบาล พ.ศ. 2523 ดานการเมืองการบริหารและการตางประเทศ ไดกําหนดใหรัฐมนตรี ตองยน่ื บัญชแี สดงทรัพยส นิ และหนส้ี นิ เปนครัง้ แรก ซ่ึง ฯพณฯ พลเอก เปรม ตณิ สูลานนท นายกรฐั มนตี เห็นดวย โดยมีหลกั การวาไมมีผลยอนหลงั ใหเ รม่ิ ตน นับหนงึ่ ใหม แตผ ูเ ขียนไมไ ด ติดตามวามกี ารดาํ เนินการตามน้ันหรือไม

ความรํ่ารวยผิดปกติ : ความเปนมาของการศกึ ษาคน ควา เรมิ่ แรก ๓๕ บรรณานกุ รม ทนิ พนั ธุ นาคะตะ. (๒๕๒๐), “การคอรร ปั ชน่ั ในราชการไทย: การสาํ รวจความคดิ เหน็ ของ ขา ราชการและประชาชน”. วารสารพฒั นบรหิ ารศาสตร, ๑๗(๓) (กรกฎาคม ๒๕๒๐). หนา ๓๕๕-๔๐๕. ราชกจิ จานเุ บกษา. (๒๕๑๘), “รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๗.” เลม ท่ี ๙๒ ตอนท่ี ๑๔ (ฉบบั พเิ ศษ). ๒๓ มกราคม ๒๕๑๘. มาตรา ๑๘๐, ๑๘๑ จากนน้ั ไดม ี พระราชบญั ญตั ปิ อ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ พ.ศ. ๒๕๑๘ ขน้ึ มา จงึ นา จะพจิ ารณาวา การราํ่ รวยผดิ ปกติ ณ ทน่ี ค้ี วรจะมลี กั ษณะ อยา งไรบา ง สภาวจิ ยั แหง ชาต.ิ รายงานผลการวจิ ยั เรอ่ื งการทจุ รติ ในวงราชการ (พระนคร: ๒๕๐๙). Thinapan Nakata. (1977). Bureaucratic Corruption in Thailand: In Congraites between Legal Codes and Social Norms (Bangkok: Monograph in Public Administration No. 26, School of Public Administration. Thinapan Nakata, (1978). “Correption in the Thai Bureaucracy: Who Get What. How and Why in Its Public Expenditure.” Thai Journal of Development Administration. XIII (January. 1978). pp. 102-128.

๓๖ รฐั สภาสาร ปที่ ๖๘ ฉบบั ที่ ๓ เดอื นพฤษภาคม-มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ พระราชกฤษฎีกาวา ดวยหลักเกณฑและวธิ ีการบริหารกิจการบานเมืองทด่ี ี พ.ศ. ๒๕๔๖ กาวสาํ คัญของการกาํ หนดแนวทางการปฏบิ ตั ริ าชการสมัยใหม ผศ.ดร. กติ ติวัฒน รตั นดิลก ณ ภูเกต็ * ๑. แนวคคิ บรหิ ารจัดการทด่ี ขี องสากลและของประเทศไทย แนวคิดของการบริหารจัดการที่ดีท่ีใชอยูในปจจุบัน มีนิยามและความครอบคุลม หลกั ปฏบิ ัติท่หี ลากหลาย ซ่งึ สามารถประมวลแนวคดิ ของตางประเทศท่ีไดรับความเชอื่ ถอื และ หลักการท่ีประเทศไทยประยกุ ตใ ชไ ดดังนี้ ๑.๑ แนวคิดการบรหิ ารจัดการท่ดี ขี องตางประเทศ (๑) ธนาคารโลก ภายหลังจากเกดิ วิกฤติเศรษฐกิจในป ๒๕๔๐ ธนาคารโลก ไดเ ผยแพรบทวิเคราะหสาเหตขุ องวิกฤตการณด งั กลา วของประเทศตา ง ๆ เปน เพราะขาดการ บรหิ ารจัดการท่ีดี ซ่ึงประกอบดว ยหลกั การพน้ื ฐาน ๖ ประการ ไดแก๑ ๑) หลกั นติ ิธรรม ๒) *ผูชวยอธิการบดี วิทยาลยั ทองสุข ๑สถาบนั พระปกเกลา , (๒๕๔๙), “ทศธรรม : ตวั ชวี้ ดั การบรหิ ารกจิ การบา นเมอื งทด่ี ”ี , หนา ๑๑-๑๒

พระราชกฤษฎีกาวาดว ยหลักเกณฑแ ละวธิ กี ารบรหิ ารกิจการบา นเมอื งที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ ๓๗ กาวสาํ คญั ของการกาํ หนดแนวทางการปฏบิ ตั ริ าชการสมยั ใหม หลักคุณธรรม ๓) หลักความโปรงใส ๔) หลักการมสี วนรวม ๕) หลักความสาํ นึกรับผดิ ชอบ และ ๖) หลกั ความคุมคาตอ มาในป ๒๕๔๘ ธนาคารโลกไดศ ึกษาบทเรียนของประเทศตาง ๆ จาํ นวน ๒๑๒ ประเทศทั่วโลก จึงนํามาปรับปรงุ องคประกอบของการบริหารจัดการทดี่ ีขนึ้ ใหม ดงั น๒ี้ ๑) การออกเสยี งและความสาํ นกึ รับผดิ ชอบ (Voice and Accountability) ๒) การขาด เสถียรภาพทางการเมืองและการปราศจากการใชความรุนแรง (Political Instability and Absence of Violence) ๓) ประสิทธิผลของรฐั บาล (Government Effectiveness) ๔) คุณภาพ ของกฎระเบียบ (Regulatory Quality) ๕) หลกั นติ ธิ รรม (Rule of Law) และ ๖) การควบคุม คอรรัปชั่น (Control of Corruption) (๒) The Global Development Research Center (GDRC) เปน องคก ร ท่ีดาํ เนินการศกึ ษาวิจยั ในเร่อื งทส่ี ง่ิ แวดลอม เมอื ง ชุมชน และขอ มลู ขาวสาร โดยมีเปาหมาย การดําเนินงานดานการวิจัยและพัฒนาในระดับโลก ดานการศึกษาและฝกอบรมในระดับ ภูมภิ าค และดา นนโยบายและแผนงานในระดับทอ งถ่ิน ไดกําหนดองคประกอบของการบรหิ าร จดั การทด่ี ไี ว ๘ องคป ระกอบ ดงั น๓้ี ๑) สาํ นกึ รบั ผดิ ชอบ (Accountability) ๒) การตอบสนอง (Responsiveness) ๓) นวตั กรรมการจัดการ (Management Innovation) ๔) ความรวมมอื ภาครฐั และเอกชน (Public – Private Partnership) ๕) การประสานงานระหวางประชาชน กับรัฐบาลทองถ่ิน (Local government – Citizen Interaction) ๖) การกระจายอํานาจ (Decentralized Management) 7) การสรางเครือขาย (Networking) และ ๘) การพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย (Human Resource Development) (๓) United Nation Economic and Social Commission for Asia and the Pacific : UN ESCAP ไดก าํ หนดหลักการของธรรมาภิบาล หรือ Good Governance ข้ึน ๘ หลักการ คือ๔ ๑) การมสี วนรวม (Participatory) ๒) การปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย (Rule of Law) ๓) ความโปรง ใส (Transparency) ๔) ความรบั ผดิ ชอบ (Responsiveness) ๕) ความสอดคลอ ง ๒China Internet Information Center, “World Bank Releases New Governance Indicators” จาก : www.china.org.cn/english/BAT/๑๒๘๒๘๑.htm. ๓The Global Development Research Center, “Some Attributes of Good Governance and Cities”, จาก: www.gdrc.org/u-gov-good-governance.html ๔UNESCAP, “What is good Governance”, จาก www.unescap.org/pdd/prs/ProjectActivities/ Ongoing/gg/governance.asp

๓๘ รฐั สภาสาร ปที่ ๖๘ ฉบับท่ี ๓ เดอื นพฤษภาคม-มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ (Consensus Oriented) ๖) ความเสมอภาค (Equity and Inclusiveness) ๗) การมีประสทิ ธิภาพ และประสทิ ธผิ ล (Efficiency and Effectiveness) และ ๘) ความสาํ นกึ รบั ผดิ ชอบ (Accountability) (๔) องคก รสากลวา ดว ยการมาตรฐาน (ISO) หรอื ISO (International Organization for Standardization) จัดทํามาตรฐานวาดวยความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม (ISO Guidance Standard on Social Responsibility : ISO ๒๖๐๐๐) และประกาศใชใ นป ๒๕๕๑๕ โดยมีองคประกอบ คือ๖ ๑) ประเด็นดานสิ่งแวดลอมที่เก่ียวของ ไดแก การอนุรักษดิน เกษตรกรรมแบบย่ังยืน การแกป ญหาดนิ ปนเปอน ดินเสื่อมคุณภาพ และการรกั ษาส่ิงแวดลอ ม เพ่ือประชากรรุนตอไป ๒) ประเด็นดานสิทธิมนุษยชน ไดแก อนุสัญญาท่ีเกี่ยวของ สิทธิพลเมือง ดานการเมือง สิทธิดานเศรษฐกิจ วัฒนธรรมและสังคม สิทธิแรงงานพ้ืนฐาน และสิทธิชุมชน และ ๓) ประเด็นเกี่ยวกับแรงงาน ไดแก อาชีวอนามัยและความปลอดภัย สภาพและเงอื่ นไขการทาํ งาน การพฒั นาทรัพยากรมนุษย และการทาํ งานในฐานะมนุษย ๑.๒ แนวคิดการบริหารจัดการทดี่ ขี องประเทศไทย (๑) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๐ ไดกําหนดเรื่อง การบริหารจัดการท่ีดีเปนยุทธศาสตรที่สําคัญยุทธศาสตรหน่ึงของแผน ไดแก “ยุทธศาสตร การเสริมสรางธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ” โดยมีแนวทางการพัฒนาดังน๗ี้ (๑.๑) การเสริมสรางและพัฒนาวัฒนธรรมประชาธิปไตยและวัฒนธรรม ธรรมาภบิ าลใหเกิดขึน้ เปน สวนหน่ึงของวิถกี ารดําเนินการชวี ิตในสังคมไทย (๑.๒) เสริมสรางความเขมแข็งของภาคประชาชนใหสามารถเขารวม ในการบริหารจดั การประเทศ (๑.๓) สรา งภาคราชการและรฐั วสิ าหกจิ ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ และมธี รรมาภบิ าล เนนการอาํ นวยความสะดวกแทนการกาํ กบั ควบคมุ และทํางานรวมกบั หุน สวนการพฒั นา ๕สาํ นกั งานคณะกรรมการกาํ กบั หลกั ทรพั ยแ ละตลาดหลกั ทรพั ย, “จบั ตา ISO ๒๖๐๐๐ ความรบั ผดิ ชอบ ตอสงั คม” จาก : www.sec.or.th/investor_edu/info_media/article/manager/manager๐๐๓_๒๖๐๓๕๐.pdf ๖หอการคาไทยและสภาหอการคาแหงประเทศไทย, “ประเด็นท่ีเก่ียวของกับความรับผิดชอบ ทางสังคมในรา งมาตรฐาน ISO ๒๖๐๐๐” จาก : www.thaiechamber.com ๗สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, “แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี ๑๐” ๒๕๕๐, หนา ๑๒๐-๑๓๑

พระราชกฤษฎกี าวา ดวยหลักเกณฑและวิธีการบรหิ ารกิจการบานเมอื งทดี่ ี พ.ศ. ๒๕๔๖ ๓๙ กา วสาํ คญั ของการกาํ หนดแนวทางการปฏบิ ตั ิราชการสมัยใหม (๑.๔) การกระจายอํานาจการบริหารจัดการประเทศสูภูมิภาค ทองถิ่น และชมุ ชนเพมิ่ ขนึ้ ตอเนื่อง (๑.๕) สงเสริมภาคธุรกิจเอกชนใหเกิดความเขมแข็ง สุจริต และเปน บรรษทั ภิบาลมากขนึ้ (๑.๖) การปฏริ ปู กฎหมาย กฎระเบยี บ และขนั้ ตอนกระบวนการเกย่ี วกบั การพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมเพอ่ื สรา งความสมดุลในการจัดสรรประโยชนจากการพัฒนา (๑.๗) การรักษาและเสริมสรางความม่ันคงเพ่ือสนับสนุนการบริหาร จดั การประเทศสดู ุลยภาพและความย่ังยนื (๒) แผนการบรหิ ารราชการแผน ดนิ พ.ศ.๒๕๕๑ – ๒๕๕๔ การบรหิ ารจดั การ ท่ีดถี กู กําหนดใหเปน นโยบายที่ ๘ ในแผนการบริหารราชการแผนดนิ พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๔ ซงึ่ สอดคลองกับการบรหิ ารจดั การทดี่ ีตามหลกั สากล ดงั น๘ี้ (๒.๑) การพฒั นาการบริหารจัดการทด่ี ี มีเปา หมายเชงิ นโยบาย ดงั นี้ - ระบบการบริหารงานภาครัฐใหสามารถอํานวยความสะดวก และใหบรกิ ารแกป ระชาชน รวมทง้ั ยกระดบั คุณภาพ มาตรฐาน และธรรมาภิบาลเปนท่ยี อมรับ ของประชาชน - การบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐพัฒนาระบบบริหาร ทรัพยากรบุคคลใหทันสมัย และเสริมสรางบุคลากรภาครัฐใหสามารถปฏิบัติงานไดอยางมือ อาชีพเพื่อตอบสนองความตอ งการของประชาชน - กระจายอํานาจและพัฒนาขีดความสามารถใหองคกรปกครอง สวนทองถิ่นพ่ึงตนเอง และจัดบริการสาธารณะไดอยางมีประสิทธิภาพ เสริมสรางความเขม แข็งของชมุ ชนและวฒั นธรรมประชาธปิ ไตย (๒.๒) การพัฒนากฎหมายและการยุติธรรม มีเปาหมาย คือ ๑) ประชาชนมคี วามปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ยส นิ ๒) ระบบราชการมคี วามโปรง ใส ลดปญ หา ทจุ รติ และ ๓) ระบบงานยตุ ิธรรมมีประสิทธิภาพ สงั คมไทยมีความยตุ ิธรรมดว ยกระบวนการ มสี วนรว มของประชาชน ๘สาํ นักเลขาธิการคณะรัฐมนตร,ี “ประกาศสํานกั เลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี เรื่อง แผนการบริหาร ราชการแผน ดิน พ.ศ.๒๕๕๑-๒๕๕๔”, ๒๕๕๑, หนา ๘๕, ๘๙-๙๐ และ ๙๑-๙๒

๔๐ รฐั สภาสาร ปท ่ี ๖๘ ฉบบั ท่ี ๓ เดอื นพฤษภาคม-มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ (๒.๓) การสงเสริมใหประชาชนมีโอกาสไดรับรูขอมูลขาวสารจากทาง ราชการและสอ่ื สาธารณะอยา งกวา งขวาง ถกู ตอ ง เปน ธรรมและรวดเรว็ โดยมเี ปา หมาย ในการพัฒนาระบบบริหารจัดการงานขอมูลขาวสารภาครัฐใหประชาชนสามารถเขาถึงได รวดเร็ว ถูกตอ ง เปน ธรรมและทั่วถึง (๓) รัฐธรรมนูญแหงราชการอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ กลาวถึงหลัก ธรรมาภิบาลไวดังน้ี๙ มาตรา ๗๔ บุคคลผูเปนขาราชการ พนักงาน ลูกจางของหนวยงาน ราชการ หนวยงานของรฐั รัฐวสิ าหกิจ หรือเจา หนาท่อี ่นื ของรัฐ มหี นาที่ดําเนนิ การใหเปน ไปตามกฎหมายเพอื่ รกั ษาผลประโยชนส ว นรวม อาํ นวยความสะดวก และใหบ รกิ ารแกป ระชาชน ตามหลักธรรมาภบิ าลของการบริหารกจิ การบานเมืองท่ดี ี และมาตรา ๘๔ ขอ (๒) สนับสนนุ ใหมีการใชหลกั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และหลกั ธรรมาภิบาล ควบคูกบั การประกอบกิจการ นอกจากน้ี ยงั ไดก ลา วถงึ เรอ่ื งทค่ี รอบคลมุ หลกั ธรรมาภบิ าลสากลไวใ นมาตราตา ง ๆ อาทิ มาตรา ๔๐ บุคคลยอมมีสิทธิในกระบวนการยุติธรรม มาตรา ๔๕ บุคคลยอมมี เสรีภาพในการแสดงความคิดเหน็ การพูด การเขียน การพมิ พ การโฆษณา และการสื่อ ความหมายโดยวิธีอื่น มาตรา ๕๖-๖๒ บุคคลยอมมีสิทธิไดรับทราบและเขาถึงขอมูลหรือ ขา วสารสาธารณะ ไดร ับขอ มลู คําชแี้ จง มสี วนรว มในกระบวนการพิจารณา เสนอเรื่องราว รองทุกข ฟองรองหนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น และมีสิทธิไดรับ ความคุมครองในฐานะผูบริโภค รวมท้ังรองขอใหมีการตรวจสอบการปฏิบัติหนาที่ของผูดํารง ตําแหนงทางการเมอื ง หนวยงานของรัฐ และเจาหนา ท่ขี องรฐั มาตรา ๗๘ รฐั ตอ งดาํ เนนิ การตามแนวนโยบายดานการบริหารราชการแผน ดนิ มาตรา ๘๐ รัฐตอ งดําเนินการตามแนว นโยบายดา นกฎหมายและการยุตธิ รรม มาตรา ๘๗ รัฐตอ งดําเนนิ การตามแนวนโยบายดาน การมสี วนรวมของประชาชน มาตรา ๒๘๒ การกาํ กับดูแลองคก รปกครองสว นทอ งถิ่นตอ งทาํ เทาทีจ่ ําเปน และมีหลกั เกณฑ วธิ กี ารเง่อื นไขทีช่ ัดเจน สอดคลอ งและเหมาะสมกบั รูปแบบของ องคปกครองสวนทอ งถน่ิ เปน ตน ๙ราชกจิ จานุเบกษา, “รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ.๒๕๕๐”, เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๗ ก, ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐

พระราชกฤษฎกี าวา ดว ยหลกั เกณฑแ ละวธิ ีการบรหิ ารกจิ การบา นเมอื งทีด่ ี พ.ศ. ๒๕๔๖ ๔๑ กา วสําคัญของการกําหนดแนวทางการปฏิบตั ิราชการสมยั ใหม ๒. ความหมายของการบรหิ ารกจิ การบา นเมอื งทดี่ ี หรอื หลกั ธรรมาภบิ าล (Good Governance) หลกั ธรรมาภบิ าล หมายถงึ แนวทางในการจดั ระเบยี บเพอื่ ใหส งั คมของประเทศ ท้ังภาครัฐ ภาคธรุ กจิ เอกชน และภาคประชาชน สามารถอยรู ว มกันไดอ ยางสงบสขุ และตง้ั อยู ในความถกู ตองเปน ธรรม ตามหลกั พนื้ ฐานการบรหิ ารกจิ การบา นเมอื งที่ดี ดังน้ี ซงึ่ คณุ ลกั ษณะของการบรหิ ารราชการทด่ี ี (Good Governance) หรอื ”ธรรมาภบิ าล” ที่เปน สากลน้นั มีหลักเกณฑด ังตอไปนี้ (๑) การมสี ว นรว มของประชาชน (Public Participation) คอื เปน การบรหิ ารราชการ ทปี่ ระชาชนมโี อกาสและมสี ว นรว มในกระบวนการตดั สนิ ใจอยา งเทา เทยี มกนั (Equity) ไมว า จะเปน โอกาสในการเขารวมในทางตรงหรือทางออม โดยผานกลุมผูแทนราษฎรที่ไดรับการเลือกต้ัง จากประชาชนโดยชอบธรรม การเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมอยางเสรีนี้ รวมถึงการให เสรีภาพแกส่ือมวลชนและประชาชนในการแสดงความคิดเห็นอยางสรางสรรค คุณลักษณะ สาํ คญั ประการหนง่ึ ทป่ี ระชาชนจะมสี ว นรว มกค็ อื การมรี ปู แบบการปกครองและการบรหิ ารงาน ทก่ี ระจายอาํ นาจ (Decentralization) (๒) การมสี จุ ริตและโปรง ใส (Honesty and Transparency) คอื เปน การบรหิ าร ราชการทม่ี ีความสุจรติ และโปรง ใส ซงึ่ รวมถงึ การมรี ะเบียบและการดาํ เนนิ งานท่เี ปดเผยตรงไป ตรงมา ประชาชนสามารถเขาถึงและไดรับขอมูลขาวสารอยางเสรี เปนธรรม ถูกตอง และ มีประสิทธิภาพ ซึ่งหมายถึงการที่ผูเก่ียวของทั้งหมด ไมวาจะเปนหนวยงานกํากับดูแลและ ประชาชนสามารถเขา ตรวจสอบและตดิ ตามผลได (๓) การมพี นั ธะความรบั ผดิ ชอบตอ สงั คม (Accountability) คอื เปน การบรหิ าร ราชการที่มีความรบั ผดิ ชอบในภาระหนา ทีแ่ ละบทบาททีม่ ีตอสาธารณชน โดยมีการจดั องคก าร หรือการกําหนดกฎเกณฑท่ีเนนการดําเนินงานเพ่ือสนองตอบความตองการของกลุมตางๆ ในสังคมอยางเปนธรรมตามปกติ การที่จะมีพันธะความรับผิดชอบตอสังคมเชนน้ี องคกร หนวยงาน และผูทเ่ี กีย่ วขอ งตอ งพรอมและสามารถที่จะถกู ตรวจสอบและวดั ผลการดําเนนิ งาน ทั้งในเชิงปริมาณ คณุ ภาพ ประสทิ ธภิ าพ และการใชทรพั ยากรสาธารณะ (๔) การมกี ลไกลการเมอื งทชี่ อบธรรม (Political Legitimacy) คอื เปน การบรหิ าร ราชการท่ีมีองคประกอบของผูท่ีเปนรัฐบาลหรือผูท่ีเขารวมบริหารประเทศท่ีมีความชอบธรรม เปนท่ียอมรับของคนในสังคมโดยรวม ไมวาจะโดยการแตงตั้งหรือเลือกต้ัง แตจะตองเปน รัฐบาลที่ไดรับการยอมรับจากประชาชนวามีความสุจริต มีความท่ียงธรรม และมีความ สามารถทจ่ี ะบรหิ ารประเทศได

๔๒ รัฐสภาสาร ปที่ ๖๘ ฉบับท่ี ๓ เดอื นพฤษภาคม-มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ (๕) การมกี ฎเกณฑท ยี่ ตุ ธิ รรมและชดั เจน (Fair Legal Framework and Predictability) คือ เปนการบริหารราชการท่ีมีกรอบของกฎหมายท่ียุติธรรมและเปนธรรมสําหรับกลุมคน ตา งๆ ในสงั คม ซง่ึ กฎเกณฑท ม่ี กี ารบงั คบั ใชส ามารถใชบ งั คบั ไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ เปน กฎเกณฑ ทชี่ ดั เจน ซงึ่ คนในสงั คมทกุ สว นเขา ใจ สามารถทจี่ ะคาดหวงั และรวู า จะเกดิ ผลอยา งไร หรอื ไม เมื่อดําเนินการตามกฎเกณฑของสังคม ส่ิงเหลาน้ีเปนการประกันความมั่นคง ศรัทธา และ ความเช่ือมั่นของประชาชน (๖) การมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Efficiency and Effectiveness) คือ เปน การบริหารทีม่ ีประสทิ ธภิ าพในการดาํ เนินงาน ไมวาจะเปนดา นการจดั กระบวนการทาํ งาน การจัดองคก าร การจดั สรรบุคคล และมกี ารใชทรัพยากรสาธารณะอยา งคุมคา และเหมาะสม มีการดําเนินการและการใหบริการประชาชนท่ีใหผลลัพธเปนที่นาพอใจและกระตุนการ ปรารถนาของสังคมทกุ ดา น ไมว า จะเปนดานการเมอื ง สงั คม วฒั นธรรม และเศรษฐกิจ ในเร่อื ง Good Governance ที่ประเทศไทยนาํ มาใช และนํามาเปน กฎเกณฑใ นการ บัญญัตกิ ฎหมาย เพ่ือใหฝ ายบรหิ ารมอี าํ นาจโดยชอบตามกฎหมายเปน เครอ่ื งมอื ในการบรหิ าร ราชการหากมกี ารนํา Good Governance มาใชใ หถ กู ตอ งเหมาะสมก็จะเปนเรือ่ งทด่ี ตี อ ประเทศ ชาติอยางยงิ่ ซึ่งแทท จี่ รงิ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ไดใช Good Governance มาตงั้ แต ครงั้ ขน้ึ ครองราชยสมบตั เิ มอื่ ๖๐ ปม าแลว โดยพระองคไ ดท รงประกาศวา “เราจะครองแผน ดนิ โดยธรรม เพอื่ ประโยชนส ขุ แหง มหาชนชาวสยาม” โดยขณะนนั้ คาํ วา Good Governance กย็ งั ไมเกดิ และยังทรงรับสัง่ วา Good Governance คอื ธรรมะ และ ธรรมะ คือความดี ซึ่งไมต อ ง แปลความเปน อยางอื่นอกี จึงเหน็ ไดวา พระบาทสมเด็จพระเจา อยูห ัวฯ ทรงดาํ รงพระองคอ ยใู น ทศพิธราชธรรม ซ่งึ ควรมกี ารนาํ มาใชและปฏิบัตเิ ปน เยี่ยงอยาง เพราะเปนของดีในบานเมือง ถือเปนหลักปฏิบัติไดอยางดี สอดคลองกับภาวะส่ิงแวดลอมธรรมชาติหลักนิยมวิธีคิดของคน ไทยอีกดวย ๓. พระราชกฤษฎกี าวา ดว ยหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารบรหิ ารกจิ การบา นเมอื งทดี่ ี พ.ศ. ๒๕๔๖ ในการปฏิรปู ระบบราชการครัง้ สําคัญท่ผี านมาเมอื่ เดือนตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๔๕ นัน้ ไดม กี ารวางกรอบแนวทางการบรหิ ารราชการแผน ดนิ ไวอ ยา งชดั เจน ดงั ปรากฏอยใู นมาตรา ๓/๑ ของพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ กลาวคือ “ตองเปนไปเพื่อประโยชนสุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธ์ิตอภารกิจของรัฐ ความมี

พระราชกฤษฎีกาวา ดว ยหลกั เกณฑและวธิ กี ารบริหารกจิ การบา นเมอื งท่ดี ี พ.ศ. ๒๕๔๖ ๔๓ กา วสําคัญของการกาํ หนดแนวทางการปฏิบัติราชการสมยั ใหม ประสทิ ธภิ าพ ความคมุ คา ในเชงิ ภารกจิ แหง รฐั การลดขั้นตอนการปฏบิ ตั งิ าน การลดภารกิจและ ยุบเลิกหนวยงานท่ีไมจําเปน การกระจายภารกิจและทรัพยาการใหแกทองถ่ินการกระจาย อํานาจการตัดสินใจ การอํานวยความสะดวกและตอบสนองความตองการของประชาชน” รวมทั้งยังไดมีการจัดต้ัง คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ หรือเรียกกันวา ก.พ.ร. ข้ึน เพ่ือทําหนาท่ีเปนเจาภาพดูแล ติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงานของสวนราชการตาง ๆ ใหเปนไปอยางตอเนื่องและบรรลุผลสมตามเจตนารมณท่ีวางไวเพ่ือเปนกรอบทิศทางและ แนวทางในการนําไปสูการปฏิบัติอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และการกําหนดกติกา ใหมของการบริหารราชการแผนดินโดยการประกาศใชพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและ วิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ ซึ่งมีผลบังคับใชต้ังแตวันท่ี ๑๐ ตุลาคม ๒๕๔๖ เพอื่ เปนการสรา งแรงผลกั ดนั ใหเกิดการปรับเปลย่ี นวถิ ีทาง และวัฒนธรรมการทาํ งาน อยางจริงจงั รวมไปถึงมาตรการสรา งแรงจูงใจ (incentives) เพือ่ เสรมิ สรางการบริหารกจิ การบา น เมอื งทีด่ ี ทง้ั ในเชิงบวกและเชงิ ลบ พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ เปน เรื่องของการกาํ หนดขอบเขต แบบแผน วิธปี ฏบิ ัติราชการ เพอ่ื ใหการบริหาร ราชการบรรลุเปา หมาย และวตั ถปุ ระสงค ดงั น๑ี้ ๐ การบริหารราชการท่ีมุงใหเกิดประโยชนสุขแกประชาชน โดยยึดประชาชน เปน ศนู ยก ลาง (citizen centered) เพอ่ื ตอบสนองความตอ งการของประชาชนและกอ ใหเ กดิ ผลกระทบ ในทางท่ีดตี อการพฒั นาชวี ติ ของประชาชน เกดิ ผลลพั ธต อ ภารกจิ ของรฐั โดยยดึ การบรหิ ารแบบบรู ณาการซง่ึ มงุ เนน ผลลพั ธ ทีเ่ กิดข้นึ จากการปฏบิ ตั ิงานท่สี อดคลอ งเปนไปในแนวทางเดียวกัน โดยการจัดทาํ คาํ รบั รองการ ปฏบิ ัติราชการไวลว งหนา ทส่ี ามารถแสดงผลและวดั ผลงานไดอ ยา งชัดเจน มีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคาในเชิงภารกิจของรัฐ ในการดําเนินภารกิจ ของรัฐจะตองมีการเปรียบเทียบตนทุนคาใชจาย ท่ีใชในการดําเนินงาน ทั้งภายในหนวยงาน ตนเองและระหวางหนวยงานโดยเฉพาะอยางย่ิงในกรณีที่เปนการดําเนินภารกิจในลักษณะ เดียวกันเพ่ือดูผลลัพธท่ีเกิดข้ึนวามีความคุมคากับเงินลงทุนท่ีเกิดจากการนําภาษีของประชาชน ไปดําเนินการ หากไมคมุ คากไ็ มควรดําเนนิ การตอไป ๑๐“คําอธิบายและแนวทางปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการ บา นเมืองท่ีดี พ.ศ. ๒๕๔๖” โดยสาํ นักงาน ก.พ.ร., ๒๕๔๗, หนา ๑ - ๙๓

๔๔ รัฐสภาสาร ปท่ี ๖๘ ฉบับที่ ๓ เดือนพฤษภาคม-มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ไมมีข้ันตอนการปฏิบัติงานเกินความจําเปน โดยลดขั้นตอนและระยะเวลาการ ปฏิบัติราชการลงจากท่ีเปนอยูเดิมมอบอํานาจการตัดสินใจใหกับผูที่อยูใกลชิดกับประชาชน จัดบริการใหประชาชนสามารถรับบริการใหแลวเสร็จในที่เดียวกัน เพ่ือใหประชาชนไดรับ บริการทสี่ ะดวกและรวดเร็วยงิ่ ขึ้น มกี ารปรบั ปรงุ ภารกจิ ของสว นราชการใหท นั ตอ เหตกุ ารณ โดยตอ งมกี ารทบทวน และปรับปรงุ กระบวนการข้ันตอนทํางานใหมอ ยูเสมอ สว นราชการจงึ ควรจัดลําดบั ความสําคญั และความจําเปนของงานหรือโครงการท่ีจะทําใหสอดคลองกับแผนการบริหารราชการแผนดิน และงบประมาณของประเทศ ซ่ึงอาจมีผลตองพิจารณายุบเลิกสวนราชการท่ีไมจําเปน และ การปรบั ปรุงกฎหมาย กฎ ระเบยี บตา ง ๆ ใหเหมาะสม ประชาชนไดร บั การอาํ นวยความสะดวกและไดร บั การตอบสนองความตอ งการ ในการปฏิบัติราชการของสวนราชการตองมุงเนนถึงความตองการและความพึงพอใจของ ประชาชนผูรับบริการเปนหลัก ดังน้ันจึงตองมีการสํารวจความตองการของประชาชนและ ความพึงพอใจของผูรบั บริการอยา งสมาํ่ เสมอ เพื่อจะไดจดั สิ่งอาํ นวยความสะดวกและเปด เผย ขอ มลู ขาวสารทใี่ หประชาชนทราบและเขาใจงา ยเวลามาตดิ ตอ มกี ารประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านอยา งสมาํ่ เสมอ สว นราชการจะตอ งสรา งระบบ การควบคมุ ตนเอง โดยมกี ารตรวจสอบ ตดิ ตามวดั ผลการปฏบิ ตั งิ านอยา งสมาํ่ เสมอ ซง่ึ จะทาํ ให สามารถผลักดันการปฏิบัติงานของหนวยงานใหบรรลุเปาหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ยังชวยใหการพิจารณาใหบําเหน็จความชอบและรางวัลแกขาราชการเปนไปตาม ผลการปฏิบตั ิงานอยางจรงิ จงั ๑. วัตถุประสงคและความจําเปนในการตราพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลัก เกณฑแ ละวิธีบริหารกิจการบา นเมืองทด่ี ี ในการตราพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผน ดนิ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ขนึ้ ซึ่งถือเปนการนําแนวความคิดเกี่ยวกับการปฏิรูประบบราชการมาแปลงใหเปนรูปแบบกฎหมาย เพื่อใหเกิดมีผลใชบังคับเปนการถาวรนั้น ไดแสดงเหตุผลของการตราพระราชบัญญัติน้ีใหเห็น เจตนารมณของกาวแรกในการปฏิรูประบบราชการไวอยางชัดเจนวา “โดยที่เปนการสมควร ปรบั ปรงุ ระบบบริหารราชการ เพือ่ ใหส ามารถปฏบิ ัติงานตอบสนองตอ การพัฒนาประเทศและ การใหบริการแกประชาชนไดอยางมีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน โดยกําหนดใหการบริหารราชการ

พระราชกฤษฎกี าวา ดวยหลักเกณฑแ ละวิธกี ารบรหิ ารกจิ การบานเมืองทีด่ ี พ.ศ. ๒๕๔๖ ๔๕ กาวสําคัญของการกาํ หนดแนวทางการปฏบิ ตั ริ าชการสมยั ใหม แนวทางใหมตองมีการกําหนดนโยบาย เปาหมาย และแผนการปฏิบัติงานเพ่ือใหสามารถ ประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานในแตล ะระดบั ไดอ ยางชดั เจน มกี รอบการบริหารกิจการบา นเมอื งทด่ี ี เปนแนวทางในการกาํ กบั โยบายและการปฏิบัตริ าชการ” ซ่งึ จะสอดคลองรับกบั การตราพระราช บัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ ที่ตราขึ้นพรอมกันโดยไดแสดงเหตุผล ในการตราพระราชบัญญัตินี้ไววา“…การจัดการกลไกของระบบราชการจึ่งเปนเร่ืองสําคัญที่จะ ตอ งปรบั ตวั ใหส อดคลอ งกบั สภาพความเปน ไปของสงั คม... เพอ่ื ให (สว นราชการ) สามารถ กาํ หนดเปา หมายและทศิ ทางการปฏบิ ตั งิ านของสว นราชการทม่ี คี วามเกยี่ วขอ งกนั ใหส ามารถ ทาํ งานรว มกนั ไดอ ยา งมเี อกภาพและเกดิ ประสทิ ธภิ าพ รวมทง้ั จะเปน การลดคา ใชจ า ยในสว น งานทีซ่ ้าํ ซอ นกัน เมือ่ จัดสวนราชการใหมใ หสามารถปฏบิ ัตไิ ดแ ลว จะมผี ลทาํ ใหแนวทาง ความรบั ผิดชอบของสวนราชการตาง ๆ มเี ปาหมายอยา งชดั เจน” ดังน้ัน ในการปฏิรูประบบราชการท่ีผานมาจึงไดแสดงใหเห็นเปาหมายหลักอยู ๓ ประการ คอื (๑) การจัดสว นราชการใหม โดยคาํ นึงถงึ ยทุ ธศาสตรข องชาตใิ นแตละดา น มีการ บูรณาการภารกิจที่เคยกระจัดกระจายหรือซ้ําซอนเขาไวอยูในสวนราชการเดียวกัน เพ่ือให สามารถกาํ หนดแผนการบรหิ ารไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ และกาํ หนดอํานาจหนาทข่ี องผูบ รหิ าร ในองคก รในระดบั ตา ง ๆ ใหชดั เจนทง้ั ในดานนโยบาย ดานการกําหนดแผนและกาํ กบั ราชการ และดา นการปฏบิ ัติงาน (๒) พัฒนาการจัดองคการ การปฏิบัติราชการและการพัฒนาบุคลากรใหมี ประสิทธิภาพและรองรับการปฏิรูประบบราชการในระยะตอไปซึ่งจะอยูในอํานาจหนาท่ีของ ก.พ.ร. ที่จะดาํ เนนิ การเปนระยะ ๆ (๓) การกําหนดแบบแผนการปฏิบัติราชการที่จะทําใหเกิดการบริหารราชการท่ีดี ท้ังนี้ โดยมีวัตถุประสงคท่ีจะกําหนดแนวทางการปฏิบัติราชการใหเปนไปในแนวทางเดียวกัน เพ่ือประโยชนสุขแกประชาชนและเกิดผลสัมฤทธ์ิของงานที่วัดผลได หลักการนี้ไดปรากฏอยูใน มาตรา ๓/๑ แหง ประราชบญั ญตั ิระเบียบบริหารราชการแผน ดนิ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ซ่ึง บญั ญัตไิ วว า

๔๖ รฐั สภาสาร ปที่ ๖๘ ฉบับท่ี ๓ เดอื นพฤษภาคม-มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ “มาตรา ๓/๑ การบรหิ ารราชการตามพระราชบญั ญตั นิ ตี้ อ งเปน ไปเพอ่ื ประโยชนส ขุ ของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกจิ ของรัฐ ความมปี ระสิทธิภาพ ความคมุ คาในเชิงภารกจิ แหงรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหนวยงานท่ีไมจําเปน การกระจายภารกจิ และทรพั ยากรใหแ กท อ งถน่ิ การกระจายอาํ นาจตดั สนิ ใจ การอาํ นวยความสะดวก และตอบสนองความตอ งการของประชาชน ท้ังน้ี โดยมีผรู ับผิดชอบตอ ผลงาน การจัดสรรงบประมาณและการบรรจุและแตงต้ังบุคคลเขาดํารงตําแหนงหรือ ปฏบิ ตั ิหนา ทีต่ องคํานงึ ถงึ หลักการตามวรรคหน่งึ ในการปฏิบัติหนาท่ีของสวนราชการตองใชวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี โดยเฉพาะอยางย่ิงใหคํานึงถึงความรับผิดชอบของผูปฏิบัติงานการมีสวนรวมของประชาชน การเปด เผยขอ มลู การตดิ ตามตรวจสอบและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน ทง้ั นี้ ตามความเหมาะสม ของภารกจิ เพ่ือประโยชนในการดําเนินการใหเปนไปตามมาตราน้ี จะตราพระราชกฤษฎีกา กําหนดหลักเกณฑ และวิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการใหสวนราชการและ ขา ราชการปฏิบัตกิ ็ได” หลกั การตามมาตรา ๓/๑ ดังกลา วขางตนนั้นมีความมุงหมายใหการบริหารราชการ แผนดนิ ใชว ิธีการบริหารกิจการบา นเมอื งท่ดี ี หรอื Good Governance จากหลกั การดงั กลาวขางตน จึงไดมีการกําหนดความหมายไวในบทบญั ญตั ิมาตรา ๓/๑ เพ่อื เปน หลักใหย ดึ ถือในการปฏิบัติราชการและเพื่อใหส วนราชการตาง ๆ มีแนวทางใน การปฏิบัติราชการท่ีสอดคลองกับหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีโดยมีการปฏิบัติท่ีเปนไป ในแนวทางเดยี วกนั มาตรา ๓/๑ จึงบญั ญตั ใิ หตราพระราชกฤษฎีกากาํ หนดหลกั เกณฑแ ละวธิ ี การในการปฏิบัติราชการและการส่ังการใหสวนราชการและขาราชการปฏิบัติขึ้น เพื่อใหเพราะ ราชกฤษฎีกาที่จะตราข้ึนดังกลาวเปนการกําหนดกรอบและทิศทางท่ีสวนราชการและ ขาราชการพงึ จะตอ งปฏบิ ตั ิ ซึง่ จะนําไปสูผ ลลพั ธของการบริหารราชการที่ดตี ามเจตนารมณข อง การปฏิรปู ระบบราชการ และเปนสวนสนับสนนุ การดําเนนิ การตามแผนยทุ ธศาสตรการพฒั นา ระบบราชการไทย (พ.ศ. ๒๕๔๖ – พ.ศ. ๒๕๕๐) ทีค่ ณะรฐั มนตรีเหน็ ชอบตามขอ เสนอของ คณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ใหใ ชเ ปน แนวทางในการพฒั นาระบบราชการ ซงึ่ ได กาํ หนดวสิ ยั ทศั นไ วว า “พฒั นาระบบราชการไทยใหม คี วามเปน เลศิ สามารถรองรบั การพฒั นาประเทศ ในยคุ โลกาภวิ ฒั น โดยยดึ หลกั การบรหิ ารกจิ การบา นเมอื งทด่ี แี ละประโยชนส ขุ ของประชาชน”

พระราชกฤษฎกี าวา ดว ยหลกั เกณฑแ ละวิธกี ารบริหารกจิ การบานเมอื งท่ดี ี พ.ศ. ๒๕๔๖ ๔๗ กา วสาํ คญั ของการกําหนดแนวทางการปฏบิ ตั ิราชการสมยั ใหม จากเหตุผลและความจําเปนดังกลาวจึงเปนที่มาของการตราพระราชกฤษฎีกาวาดวย หลกั เกณฑและวธิ กี ารบรหิ ารกจิ การบา นเมอื งทด่ี ี พ.ศ. ๒๕๔๖ การท่ีไดกําหนดเปาหมายและวิธีการในการดําเนินการเพ่ือการบริหารราชการที่ดี ใหอ ยใู นรปู ของ “พระราชกฤษฎกี า” นนั้ เนอื่ งจากเหน็ วา แมว า มาตรา ๓/๑ แหง พระราชบญั ญตั ิ ระเบียบบริหารราชการแผน ดิน (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ จะไดบ ัญญัติหวั ขอตา ง ๆ ทแ่ี สดงให เห็นความประสงคของกฎหมายวา การปฏิบัติราชการในยุคตอไป ท้ังสวนราชการและ ขาราชการผูเก่ียวของมีหนาที่ตามกฎหมายที่จะตองปฏิบัติเพ่ือใหเปนไปตามหัวขอใน บทบัญญัติดังกลาวแลวก็ตาม แตหัวขอในบทบัญญัติน้ีก็ยังเปนหัวขอที่เพียงแตแสดงถึง เปา หมายหลกั ทตี่ อ งการ ยงั ขาดการกาํ หนดถงึ วธิ กี ารปฏบิ ตั ขิ องสว นราชการและขา ราชการทจี่ ะให ดาํ เนินการไปสูเปาหมาย แตถาหากปลอ ยใหม ีการพัฒนากันเองไมว าโดยสวนราชการเอง หรือ โดยมติคณะรัฐมนตรีในแตละเร่ือง ก็อาจไดผลเฉพาะบางหนวยงานที่ผูบริหารมีความ กระตอื รอื รนทจ่ี ะพัฒนาการปฏิบัตงิ านขององคก ร และแมว า จะมีผบู ริหารองคกรเชน น้นั หลาย สว นราชการ แตก ็จะพฒั นาไปในสวนทตี่ นเองเห็นวา เหมาะสม ซึ่งอาจเปน ผลใหแ นวทางการ ปฏบิ ตั ริ าชการมคี วามแตกตา งกนั สรา งความสบั สนในการบรหิ ารราชการในภาพรวมและสง ผลกระทบ ตอประชาชนผูบ ริการจากภาครัฐ นอกจากน้ี จากสภาพปญหาที่มมี าในอดตี แมว าหัวขอ ตา ง ๆ ที่ บญั ญตั ไิ วใน มาตรา ๓/๑ แหงพระราชบญั ญัตริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผน ดิน (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ จะเปนที่รับรูในวงราชการวาจะตองปฏิบัติใหเกิดผลเชนน้ันอยูแลวก็ตาม แตการท่ีไมมีการ รวบรวมเปน กฎเกณฑใ หตองปฏิบัติใหช ดั เจน จงึ เกดิ การใชดลุ พินจิ ในการเลือกปฏบิ ัตขิ องแตล ะ สวนราชการตามที่เห็นเหมาะสม ทําใหไมอาจวดั ผลการปฏิบตั ิงานในภาพรวมของรฐั ตลอดจน การใหบ รกิ ารแกป ระชาชนใหเ กดิ ความพงึ พอใจยงั ไมอ าจดาํ เนนิ การใหม ปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ ขนึ้ ได กรณีดังกลาวจึงเปนเปาหมายหลักขอหนึ่งของการปฏิรูประบบราชการเพ่ือใหมี การกําหนดแนวทางการปฏบิ ัติราชการที่ทกุ สว นราชการตองนําไปปฏิบัติ และเมอ่ื มีกําหนดข้ึน เปนกฎเกณฑใ นรปู ของกฎหมายแลว จงึ มใิ ชเปน เร่ือง “ขอ ความปฏบิ ัติ” อกี ตอไป แตจ ะมผี ล เปน “บทบังคับ” ใหท กุ สวนราชการมหี นาทตี่ อ งปฏิบตั ติ าม ซ่งึ ประโยชนท จี่ ะไดรบั สําหรับการ ตราพระราชกฤษฎีกาฉบบั นี้ คอื

๔๘ รฐั สภาสาร ปท ี่ ๖๘ ฉบบั ที่ ๓ เดือนพฤษภาคม-มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑. รัฐจะสามารถกําหนดนโยบาย และเปาหมายการดําเนินงานในแตละป ที่ชดั เจน และมกี ลไกท่จี ะพัฒนาองคกรของภาครฐั ใหมปี ระสิทธภิ าพข้ึนได ๒. สวนราชการและขาราชการจะมีแนวทางในการปฏิบัติราชการที่เปนมาตรฐาน ทช่ี ดั เจน มคี วามโปรง ใส สามารถวัดผลการดําเนนิ งานได ๓. ประชาชนจะไดรับการบริการที่รวดเร็ว สามารถตรวจสอบการดําเนินงานได และมสี ว นรวมในการบริหารงานภาครัฐ ๒. ขอบเขตการใชบงั คับของพระราชกฤษฎีกา การกาํ หนดขอบเขตการใชบ งั คบั ของพระราชกฤษฏกี านไี้ ดม บี ญั ญตั ไิ วใ นสว นตอนตน ของพระราชกฤษฎีกาและในบทเบ็ดเตล็ดในหมวด ๙ ซึ่งจะเปนการแสดงใหเห็นวา พระราชกฤษฏีกานี้ใชบังคับผูใดบาง และการแกไขปญหาการบังคับใชพระราชกฤษฏีกา บางกรณซี ่ึงมีสาระสาํ คญั ดงั ตอไปน้ี (๑) การบังคบั ใชก บั สวนราชการ “สวนราชการ” หมายความวา สวนราชการตามกฎหมายวาดวยการปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม และหนว ยงานอนื่ ของรฐั ทอี่ ยใู นกาํ กบั ของราชการฝา ยบรหิ าร แตไ มร วมถงึ องคกรปกครองสวนทอ งถิ่น มาตรา ๓ การปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกานี้ในเร่ืองใดสมควรที่สวนราชการใด จะปฏบิ ตั เิ มอ่ื ใด จะตอ งมเี งอื่ นไขอยา งใด ใหเ ปน ไปตามทคี่ ณะรฐั มนตรกี าํ หนดตามขอ เสนอแนะ ของ ก.พ.ร. การกําหนดหลักการตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหาร กิจการบานเมอื งทด่ี นี ้ัน มีความประสงคจะใชบ งั คบั กบั สว นราชการ ในทกุ กระทรวง ทบวง กรม ท้ังที่เปน ราชการสว นกลาง และราชการสว นภมู ิภาค รวมทง้ั หนว ยงานอน่ื ที่อยูในกํากบั ของราชการฝายบริหารทีมีการจัดต้ังข้ึนและมีการปฏิบัติราชการเชนเดียวกันกับ กระทรวง ทบวง กรม (๒) การบังคับใชก ับรฐั วิสาหกจิ องคก ารมหาชน และองคก รปกครองสวนทอ งถ่ิน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook