Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารข่าวฉบับเดือนกันยายน 2561

เอกสารข่าวฉบับเดือนกันยายน 2561

Published by sapasarn2019, 2020-08-25 00:08:24

Description: เอกสารข่าวฉบับเดือนกันยายน 2561

Search

Read the Text Version

วตั ถุประสงค เปนวารสารฉบับรายเดือนเผยแพรขาวสารและบทความท่ีเกีย่ วของกบั วงงานรฐั สภา และเผยแพรนโยบาย การปฏิบตั งิ านของสาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาผูแ ทนราษฎร ใหสมาชกิ ฯ ขา ราชการ และประชาชนทั่วไปไดรบั ทราบ ระเบยี บการ ๑. ออกเปน รายเดือน (ปละ ๑๒ เลม ) ๒. สวนราชการบอกรับเปนสมาชิกโดยไมเสียคาใชจายใดๆ ที่ผูจัดการเอกสารขาวรัฐสภา กลุมงานผลิตเอกสาร สํานักประชาสัมพันธ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร ถนนประดิพัทธ์ิ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทร. ๐ ๒๒๔๔ ๒๒๙๑ - ๕ โทรสาร ๐ ๒๒๔๔ ๒๒๙๒ e-mail: [email protected] ๓. การยายที่อยูของสมาชิกโปรดแจงใหผูจัดการทราบทันที พรอมท้ังแจงสถานท่ีอยูใหมใหชัดแจง เพื่อความสะดวกในการ จดั สงเอกสาร ท่ีปรกึ ษา เอกสารขา่ วรฐั สภา นายสรศักดิ์ เพยี รเวช ปที ่ี ๔๓ ฉบบั ที่ ๘๖๓ เดอื นกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๑ นางสาวสภุ าสนิ ี ขมะสนุ ทร ภาพกจิ กรรม ๒ บรรณาธกิ าร การประชุมสภา ๙ นางจงเดอื น สทุ ธิรตั น สรปุ ผลการประชมุ สภานิตบิ ัญญัตแิ หง ชาติ ๙ ผจู ดั การ รอบรวั้ สภา ๑๕ นางบุษราคํา เชาวนศ ิริ ขา วในประเทศ ๑๕ เหรญั ญกิ ขาวตางประเทศ ๒๐ นางสาวมณฑา นอยแยม แวดวงคณะกรรมาธิการ ๒๙ กฎหมายควรรู ๓๕ กองบรรณาธกิ าร ภาพเกา เลาเร่อื ง ๓๘ นางพรรณพร สนิ สวสั ด์ิ เร่ืองนารู ๔๒ นางสาวอรทัย แสนบตุ ร นางสาวจุฬว รรณ เติมผล ๒ ๙ ๑๕ ๒๐ นางสาวอารยี ว รรณ พลู ทรัพย ๓๕ ๓๘ ๔๒ นางสาวนธิ มิ า ประเสรฐิ ภักดี นางสาวสหวรรณ เพ็ชรไทย นายพิษณุ จารยี พ ันธ นางสาวอาภรณ เนือ่ งเศรษฐ นางสาวเสาวลกั ษณ ธนชยั อภิภทั ร นางสาวสุรดา เซน็ พานิช นางสาวดลธี จุลนานนท นางสาวจรยิ าพร ดีกัลลา ฝา ยศิลปกรรม นายมานะ เรืองสอน นายนธิ ิทศั น องคอ ศิวชัย นางสาวณัฐนนั ท วชิ ิตพงศเ มธี พมิ พท ี่ สาํ นกั การพมิ พ สาํ นักงานเลขาธกิ ารสภาผแู ทนราษฎร ผพู ิมพผูโฆษณา นางสาวกลั ยรชั ต ขาวสาํ อางค





























เอกสารขา่ วรฐั สภา 16 การเสนอรา่ ง พ.ร.บ. ยาแผนไทย พ.ศ. .... วันท่ี ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ณ บริเวณหอ้ งโถง อาคารรฐั สภา ๑ นายสรุ ชยั เลี้ยงบญุ เลศิ ชัย รองประธาน สภานิติบญั ญัติแหง่ ชาติ (สนช.) คนทหี่ นึ่ง รับหนังสือจาก ดร. สยันต์ พรมดี ประธานคณะผูย้ กรา่ งพระราชบญั ญตั ิ (พ.ร.บ.) ยาแผนไทย พ.ศ. .... พรอ้ มคณะ เพื่อขอเป็นผ้รู เิ รม่ิ เสนอร่าง พ.ร.บ. ยาแผนไทย พ.ศ. .... ภายหลังจาก คณะกรรมาธกิ ารการพาณชิ ย์ การอตุ สาหกรรม และการแรงงาน สนช. ได้ดำ� เนนิ การพิจารณาเร่อื ง “ขอ้ เสนอแนะ และแนวทางการปรับปรงุ รา่ ง พ.ร.บ. ผลิตภณั ฑ์สมุนไพร พ.ศ. ....” เสร็จเรียบร้อยแลว้ และกระทรวงสาธารณสขุ ได้ท�ำการยกร่าง พ.ร.บ. ยา พ.ศ. .... ขึ้นใหม่ เพ่ือใชแ้ ทน พ.ร.บ. ยา พ.ศ. ๒๕๑๐ โดยในร่าง พ.ร.บ. ทงั้ สองฉบบั น้ี มีเน้ือหาสาระท่เี กีย่ วข้องกับยาแผนไทย ยาแผนโบราณ และยาสมนุ ไพร ซง่ึ เปน็ ยาท่ีใชใ้ นการประกอบวิชาชพี การ แพทย์แผนไทย การประกอบวิชาชพี การแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ และการประกอบวชิ าชพี การแพทยพ์ น้ื บ้านอยู่ ดว้ ยแต่ขอ้ ก�ำหนดท่เี กย่ี วขอ้ งกบั ยาแผนไทยดังกล่าวท่กี ำ� หนดไว้ในพ.ร.บ.ทง้ั สองฉบบั มีความขัดแยง้ กันอยู่จึงอาจ ท�ำให้เป็นการรอนสิทธิ์ในการประกอบวิชาชีพตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ  และเป็นการท�ำลายภูมิปัญญาดั้งเดิม อันเป็นอัตลักษณ์ของชาติ  ดังน้ัน  เพ่ือเป็นการแก้ปัญหาดังกล่าวและสนับสนุนนโยบายของรัฐให้เป็นไปโดย ถูกต้อง  ตามหลักการส่งเสริมและการสนับสนุนให้มี ก า ร พั ฒ น า ภู มิ ป ั ญ ญ า ด ้ า น แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย ใ ห ้ เ กิ ด ประโยชน์สูงสุดและเสรีภาพในการประกอบวิชาชีพตาม กฎหมายรฐั ธรรมนญู ปี ๒๕๖๐ มาตรา ๕๕ และมาตรา ๔๐ จึงเห็นสมควรใหม้ ีรา่ ง พ.ร.บ. ยาแผนไทย พ.ศ. ... ข้ึน เพ่ือเป็นการบังคับใช้กฎหมายกับยาแผนไทย  ยาแผน โบราณ และยาสมุนไพรเป็นการเฉพาะตอ่ ไป โครงการพลกิ ฟืน้ คนื ปา่ ชายเลนสธู่ รรมชาติ วนั ท่ี ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ณ สนามหน้าโรงเรียนวัดเสมด็ งาม (เพ่ิมพทิ ยาคาร) จงั หวดั จันทบรุ ี พลโท ชัยยุทธ  พร้อมสุข  ประธานคณะกรรมการโครงการพลิกฟื้นคืนป่าชายเลนสู่ธรรมชาติ  สภานิติบัญญัติ แห่งชาติ (สนช.)  เปน็ ประธานในพธิ ีเปิดกิจกรรมปลูกป่าชายเลนและบ�ำเพญ็ สาธารณประโยชน ์ เฉลิมพระเกยี รติ สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั มหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๑ โดยกิจกรรมคร้ังน้ี สนช. และกองบญั ชาการปอ้ งกนั ชายแดนจนั ทบรุ แี ละตราด กองทพั เรอื ร่วมกนั จดั ขึน้ โดยมสี มาชิก สนช. รองผวู้ า่ ราชการจังหวดั จันทบรุ ี หวั หน้าสว่ นราชการ และประชาชนชาวจงั หวดั จันทบุรเี ขา้ รว่ ม ในพิธี  จากนั้น  ผู้ร่วมกิจกรรมได้ร่วมกันปลูกต้นกล้าโกงกางป่า และปล่อยพันธุ์สัตว์น�้ำ  ส�ำหรับพ้ืนท่ีที่ด�ำเนินการปลูกป่าชายเลน คร้ังนี้ได้รับความร่วมมือจากพระเดชพระคุณเจ้าอาวาสวัดเสม็ดงาม จำ� นวน ๑๒ ไร่ ซ่งึ เดิมเปน็ พน้ื ท่ีเลีย้ งกงุ้ ของประชาชน แตป่ จั จบุ นั ไม่มีการเล้ียงกุ้งแล้วและถูกปล่อยให้เป็นร้างมาหลายปี  จึงได้มอบ พื้นที่ให้กับกองบัญชาการป้องกันชายแดนจันทบุรีและตราดเพ่ือจัด ท�ำเป็นแปลงปลกู ป่าชายเลนเฉลมิ พระเกียรตใิ นครัง้ นี้

รอบรั้วสภา - ข่าวในประเทศ 17 รองประธานสภานติ ิบัญญัติแห่งชาติ คนทหี่ นง่ึ วนั ที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ณ บรเิ วณหอ้ งโถง อาคารรฐั สภา ๑ นายสรุ ชยั เลยี้ งบญุ เลศิ ชยั รองประธาน สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาต ิ (สนช.)  คนทห่ี นง่ึ รบั หนงั สอื จาก  นายประพฒั น์ ปญั ญาวฒั นานนท์ ตวั แทนผปู้ ระกอบ อาชีพทนายความ  พร้อมคณะ  ท่ีขอให้  สนช.  ช่วยประสานงานคณะรัฐมนตรี  และอธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการค้า รวมทง้ั   กรรมการทมี่ อี ำ� นาจพจิ ารณา  เพอื่ ขอคดั คา้ นการขอเปดิ เสรใี หค้ นตา่ งดา้ วมาประกอบอาชพี ในประเทศไทยใน ๕ สาขาวชิ าชพี ซง่ึ ประกอบไปดว้ ยอาชพี ธรุ กจิ บรกิ ารใหค้ ำ� ปรกึ ษาดา้ นกฎหมายใหก้ บั บรษิ ทั ในเครอื ธรุ กจิ บรกิ ารดา้ น กฎหมาย ธรุ กจิ บรกิ ารใหเ้ ชา่ พนื้ ทแี่ ละสาธารณปู โภค และธรุ กจิ บริการให้กู้ยืมเงินให้กับบริษัทในเครือ  รวมทั้ง  อาชีพสงวน ท่ีห้ามคนต่างด้าวท�ำโดยกระทรวงแรงงานได้มีการทบทวน เสนอให้คนต่างด้าวประกอบอาชีพได้ใน  ๑๐  อาชีพ เนื่องจากเห็นว่าในแต่ละประเทศก็ยังไม่ได้เปิดเสรีให้คนไทย ไปประกอบอาชพี ดงั กลา่ วได้ อีกท้งั ประเทศไทยยังไม่พรอ้ ม ดา้ นภาษาตา่ งประเทศ ด้านการเงิน ดา้ นคอมพวิ เตอร์ และ ประการที่ส�ำคัญที่สุด  คือ  ด้านความมั่นคงของประเทศ การเขา้ รว่ มคณะผู้สงั เกตการณจ์ าก APA ในการเลือกต้งั ทว่ั ไปของสภาแหง่ ชาตริ าชอาณาจกั รกัมพูชา วนั ที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ณ กรุงพนมเปญ พลเอก นิพทั ธ์ ทองเลก็ สมาชกิ สภานิตบิ ัญญตั ิแห่งชาติ และหัวหนา้ คณะผแู้ ทนสภานิตบิ ัญญัติแหง่ ชาตใิ นสมัชชารัฐสภาเอเชีย (Asian Parliamentary Assemby : APA) ไดร้ ับเชญิ ใหเ้ ขา้ ร่วมในคณะผู้สงั เกตการณจ์ าก APA ในการเลอื กตั้งทัว่ ไปของสภาแห่งชาติราชอาณาจักรกมั พชู า สมัยที่ ๖ คณะผู้สงั เกตการณ์จาก APA ประกอบด้วย ผู้แทนรฐั สภาจากอิหร่าน คูเวต ปากีสถาน บงั กลาเทศ และ บาห์เรน รวมทัง้ Dr. Ali Khorram รองเลขาธกิ าร APA ใน โอกาสน้ี คณะผู้สังเกตการณจ์ าก APA ไดเ้ ข้าเย่ียมคารวะ ผู้น�ำอาวุโสของกัมพูชา  เย่ียมชมการเปิดหน่วยเลือกต้ัง สงั เกตการณ์เลือกตงั้ และกระบวนการนับคะแนน รวมท้ัง ไดเ้ ยี่ยมชมบรรยากาศในการเลอื กตง้ั และร่วมแถลงข่าวตอ่ สอ่ื มวลชนในชว่ งค�่ำ โดยญี่ปุ่นเปน็ ประเทศหลักที่สนบั สนนุ การเลือกตั้ง  เช่น  หีบบัตรและคูหาการลงคะแนน  และ มีคณะผู้สงั เกตการณจ์ ากต่างประเทศ

เอกสารข่าวรฐั สภา 18 การเสวนาประชาคมอาเซียนของรัฐสภา คร้ังที่ ๔ และงานสัปดาหจ์ ุฬาอาเซียน ครั้งท่ี ๗ วนั องั คารท่ี ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๑ เวลา ๐๙.๐๐ นาฬกิ า ณ อาคารเฉลมิ ราชกมุ ารี ๖๐ พรรษา จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.  ปมทอง มาลากลุ ณ อยธุ ยา รองอธกิ ารบดี จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั กลา่ วเปดิ งาน เสวนาประชาคมอาเซยี นของรฐั สภา ครงั้ ท่ี ๔ และงานสปั ดาหจ์ ฬุ าฯ อาเซยี น ครง้ั ท่ี ๗ เรอื่ ง “จบั ตาประชาคมอาเซยี น สกู่ ารประชมุ สดุ ยอดผนู้ ำ� อาเซยี นในปี ๒๐๑๙ ณ ประเทศไทย” โดยมศี าสตราจารยก์ ติ ตคิ ณุ ดร. สทุ ธพิ นั ธ์ จริ าธวิ ฒั น์ ผู้อ�ำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  นางสาวสุภาสินี  ขมะสุนทร  รองเลขาธิการสภาผู้แทน ราษฎร และดร. กมลนิ ทร์ พนิ จิ ภวู ดล ผอู้ ำ� นวยการสถาบนั ระหวา่ งประเทศเพอ่ื การคา้ และการพฒั นา (องคก์ ารมหาชน) สำ� หรบั โครงการเสวนาดงั กลา่ ว จดั โดย สำ� นกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร  รว่ มกบั ศนู ยอ์ าเซยี นศกึ ษา จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั   สถาบนั พระปกเกลา้   และสถาบนั ระหวา่ งประเทศเพอ่ื การคา้ และการพัฒนา  (องค์การมหาชน)  ระหว่างวันที่  ๓๑  กรกฎาคม -  ๓  สิงหาคม  ๒๕๖๑  โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือมุ่งสร้างความร่วมมือ และความเข้มแข็งด้านประชาคมอาเซียน  และสร้างความตื่นตัวในการ เปน็ เจา้ ภาพจดั ประชมุ อาเซยี น  และประชมุ รฐั สภาระหวา่ งประเทศภายใต้ กรอบของ AIPA  ในป ี ๒๐๑๙ เลขาธิการรฐั สภาอาเซยี น ปาฐกถาพิเศษเรอ่ื ง “รัฐสภาอาเซียนหลังปี ๒๕๖๒” จากน้ัน  ในเวลา  ๑๓.๔๕  นาฬิกา  นายอิสรา  สุนทรวัฒน์  เลขาธิการรัฐสภาอาเซียน  ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง  “รัฐสภาอาเซียนหลังปี  ๒๕๖๒”  โดยกล่าวว่าในฐานะเลขาธิการรัฐสภาอาเซียน  เราต้องท�ำให้ทุกคนเห็น คุณค่าของอาเซียน  และรู้จักอาเซียน  โดยกฎหมายของรัฐสภาอาเซียน  ต้องเป็นไปในทิศทางเดียวกัน  ท�ำให้ ประเทศสมาชิกมีความแตกต่างกันน้อยลง  อีกท้ังภูมิภาคอาเซียนต้องเป็นส่วนหนึ่งในการร่วมกันแก้ไขปัญหา และผลักดันฉันทามติต่าง  ๆ  ให้บรรลุผลให้สมาชิกรัฐสภา  เข้ามามีส่วนร่วมในการผลักดันข้อกฎหมายร่วมกัน สร้างมาตรฐานท้ังทางกฎหมายและบทลงโทษ  ตลอดจนท�ำกฎหมายให้มีความเชื่อมโยงกับประชาชน  โดย สมาชิกรัฐสภาอาเซียนทุกประเทศต้องส่ือสารเพื่อท�ำความเข้าใจกับประชาชน  ในข้อกฎหมายในความหมาย เดียวกัน  เพ่ือความเท่าเทียมกัน  ส�ำหรับเป้าหมายหลักที่รัฐสภาอาเซียนพยายามท�ำคือ  ผลักดันกฎหมายให้เป็น ไปในทิศทางเดียวกัน  และหาทางแก้ปัญหาเม่ือเกิดข้อขัดแย้งภายในอาเซียน  โดยขอให้ทุกประเทศสมาชิกน�ำ ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของรัฐสภาอาเซียน  กลับไปผลักดันให้เกิดข้ึนจริง  เพื่อจะได้อยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุข ทง้ั น้ี รฐั สภาอาเซยี นหลงั ปี ๒๕๖๒ ตอ้ งเปน็ องคก์ รแหง่ ความรบั ผดิ ชอบ โดยมปี ระชาชนเปน็ ศนู ยก์ ลาง และเปน็ องคก์ ร ทที่ ำ� ใหท้ กุ เสยี งของทกุ คนมคี า่ เปน็ เสยี งทท่ี กุ คนไดย้ นิ เคารพในเสยี งของทกุ คน เพอื่ ขบั เคลอื่ นรฐั สภาอาเซยี นใหก้ า้ ว ไปข้างหน้า  ท�ำให้ทุกมติของรัฐสภาอาเซียนเกิดข้ึนได้จริงและบรรลุ เปา้ หมาย โดยทกุ เสยี งจะชว่ ยนำ� พาอาเซยี นไปสกู่ ารเปน็ องคก์ รระดบั สากล  ได้รบั การยอมรบั จากทวั่ โลก  และทุกประเทศต้องรว่ มมอื กัน เพอ่ื รวมตวั กนั เปน็ หนง่ึ เดยี ว ภายใตก้ ารเปน็ อาเซยี น และทสี่ ำ� คญั คอื เราทกุ คนตอ้ งภาคภมู ใิ จในความเปน็ ประชาคมอาเซยี น นายอิสรา  สุนทรวัฒน์

รอบร้วั สภา - ข่าวในประเทศ 19 การประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ ารของรฐั สภาระดบั ภูมภิ าควา่ ด้วยการเพ่มิ ความเข้มแขง็ ทางกฎหมาย วนั ท่ี ๒ สงิ หาคม ๒๕๖๑ ณ โรงแรม Aryaduta เมอื งเดนปาซาร์ เกาะบาหลี สาธารณรฐั อนิ โดนเี ซยี พลตำ� รวจเอก ชชั วาลย์ สขุ สมจติ ร์ และ นางสาวจนิ ตนนั ท์ ชญาตร์ ศภุ มติ ร เปน็ ผแู้ ทนสมาชกิ สภานติ บิ ญั ญตั ิ แหง่ ชาติ (สนช.) เขา้ รว่ มการประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารของรฐั สภาระดบั ภมู ภิ าควา่ ดว้ ยการเพมิ่ ความเขม้ แขง็ ทางกฎหมาย เพ่ือคุ้มครองเด็กจากการถูกแสวงหาผลประโยชน์ทางเพศในกิจกรรมการท่องเที่ยว  ระหว่างวันที่  ๒๖-๒๗ กรกฎาคม ๒๕๖๑  โดยการประชมุ มกี ารบรรยาย และการแลกเปล่ียนความคิดเห็นในหมู่สมาชิก รัฐสภาเกี่ยวกับกรอบการคุ้มครองเด็กในอาเซียน จากการใช้ประโยชน์และการล่วงละเมิดทางเพศ ในรูปแบบต่าง  ๆ  แนวโน้มการแสวงหาผล ประโยชน์ทางเพศจากเด็กในการท่องเท่ียวระดับ ภูมิภาคและระดับสากล  และกฎหมายของ ออสเตรเลียเกี่ยวกับการห้ามเดินทางท่องเท่ียว กรณที มี่ กี ารกระทำ� ความผดิ ทางเพศกบั เดก็ การประชุมเชิงปฏบิ ัติการของรฐั สภาระดับภูมภิ าควา่ ด้วยการเพ่มิ ความเขม้ แข็งทางกฎหมาย วนั ท่ี ๓ สงิ หาคม ๒๕๖๑ นายนฑั ผาสขุ เลขาธกิ ารวฒุ สิ ภา  ปฏบิ ตั หิ นา้ ทเี่ ลขาธกิ ารสภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาติ ไดร้ บั มอบหมายจาก ศาสตราจารยพ์ เิ ศษพรเพชร วชิ ติ ชลชยั ประธานสภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาติ (สนช.) เปน็ ตวั แทนรบั หนงั สอื จาก พลโท ดร. วรี ะ วงศส์ รรค์ ประธานกรรมการชมุ นมุ สหกรณอ์ อมทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย จำ� กดั พรอ้ มคณะ ผรู้ เิ รมิ่ เสนอกฎหมาย เพอื่ เขา้ ชอื่ เสนอรา่ งกฎหมายสหกรณ์ (ฉบบั ท.ี่ ..) พ.ศ. .... ซง่ึ ผรู้ ว่ มลงชอื่ สนบั สนนุ สว่ นใหญเ่ ปน็ สมาชกิ สหกรณป์ ระเภทตา่ งๆ ทว่ั ประเทศ จำ� นวนกวา่ ๑๐,๐๐๐ คน โดยสาระสำ� คญั ของรา่ งกฎหมายสหกรณ์ ฉบบั นี้ คือ  การเสนอให้มีคณะอนุกรรมการฝา่ ยต่าง  ๆ  เพ่ือชว่ ยเหลืองานของคณะกรรมการพฒั นาการสหกรณ์แห่งชาติ (คพช.)  เพมิ่ อำ� นาจหนา้ ทใ่ี ห ้ คพช.  ในการสง่ เสรมิ   สนบั สนนุ สรา้ งเสถยี รภาพ  ดำ� รงเงนิ กองทนุ รกั ษาเสถยี รภาพ ระบบสหกรณ์  และแก้ไขเพิ่มเติมการกระท�ำการหรืองดยกเว้นกระท�ำการในการปฏิบัติหน้าท่ีของคณะกรรมการ ด�ำเนินการสหกรณ์  แก้ไขเพิ่มเติมให้สมาชิกสหกรณ์มีส่วนร่วมในการเป็นคณะกรรมการ  รวมท้ัง  เพิ่มบทบัญญัติ เก่ียวกับการด�ำเนินงานและการก�ำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์ และสหกรณ์เครดิตยูเน่ียน  และอ�ำนาจหน้าที่และการด�ำเนินงาน ของคณะอนกุ รรมการสง่ เสรมิ กำ� กบั ดแู ลการบรหิ ารเงนิ และการ ลงทนุ ของสหกรณ์ และแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ ใหก้ ารกำ� หนดประเภทของ สหกรณ์ ลกั ษณะ วตั ถปุ ระสงคแ์ ละขอบเขตของการดำ� เนนิ การใหม้ ี มาตรฐานเดยี วกนั

เอกสารขา่ วรฐั สภา 20 รอบรว้ั สภา ขา่ วตา่ งประเทศ รฐั สภาออสเตรเลียหา้ มเยาวชนตา่ งชาติฝึกงานในรฐั สภา วนั ท ี่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๖๑ นายมลั คอลม์ เทริ น์ บลู นายกรฐั มนตรขี องออสเตรเลยี กลา่ วหาจนี เมอ่ื ปกี อ่ นวา่ แทรกแซงกจิ การภายในของออสเตรเลีย จนี ปฏิเสธและท�ำให้ความสมั พันธ์ของสองประเทศตงึ เครียด เมื่อเดือน กันยายน  กรณีชาวนิวซีแลนด์คนหนึ่งที่เคยฝึกงานในคณะกรรมการรัฐสภาออสเตรเลียมีสายสัมพันธ์กับโรงเรียน สายลับทหารจีน  รายงานน้ีท�ำให้ออสเตรเลียต้องทบทวนระบบการรับ ผู้ฝึกงานและก�ำหนดมาตรฐานให้สอดคล้องกับหน่วยงานท้ังหมดของ รัฐบาล  ท่ีผ่านมามีนักศึกษาจีนยื่นขอฝึกงานในรัฐสภาออสเตรเลีย จ�ำนวนมาก  และหลายคนได้ฝึกงานนานหลายปี  มหาวิทยาลัยแห่งชาติ ออสเตรเลียเผยว่า  ได้รับแจ้งเร่ืองห้ามส่งเยาวชนต่างชาติไปฝึกงาน ในรัฐสภาเมื่อปลายปีก่อน  แต่เรื่องเป็นที่ทราบในวงกว้างเม่ือเว็บไซต์ มหาวิทยาลัย โพสต์ระเบยี บใหม่ออกมา ประธานาธบิ ดเี กาหลใี ตเ้ รียกรอ้ งให้เกาหลีเหนือและสหรฐั เดินหน้าขอ้ ตกลงยุตโิ ครงการนิวเคลยี ร์ วนั ท ี่ ๑๓  กรกฎาคม ๒๕๖๑ นายมนุ แจอนิ ประธานาธบิ ดเี กาหลใี ตป้ ราศรยั ระหวา่ งการเยอื นสงิ คโปรว์ า่ หากนายคิม  จองอึน  ผู้น�ำเกาหลีเหนือท�ำตามค�ำม่ันสัญญาที่จะปลดชนวนอาวุธนิวเคลียร์แล้ว  ก็จะสามารถน�ำพา ประเทศไปสู่ความเจริญรุ่งเรืองได้  ผู้น�ำเกาหลีใต้กล่าวว่า  แนวทางดังกล่าว ไม่ใช่เร่ืองง่าย  แต่หากด�ำเนินการอย่างจริงจังแล้ว  จะสามารถบรรลุผล ส�ำเร็จได้  โดยอ้างถึงความตกลงในการพบกันระหว่างนายคิม  จองอึน กับประธานาธิบดีโดนัลด์  ทรัมป์  ของสหรัฐที่สิงคโปร์เม่ือเดือนท่ีแล้ว ประธานาธบิ ดมี นุ กลา่ วด้วยว่าเกาหลีใต้ยนิ ดีที่จะกอ่ ตง้ั ประชาคมเศรษฐกจิ กบั เกาหลีเหนือ เมื่อเกาหลเี หนอื ลม้ เลิกโครงการนิวเคลยี ร์โดยสมบรู ณ์แล้ว นายมนุ แจอนิ คณะสอบสวนพิเศษเรอ่ื งรสั เซียแทรกแซงเลอื กต้งั สหรัฐยื่นฟอ้ งเจ้าหนา้ ท่ขี า่ วกรองทหารรสั เซยี ๑๒ นาย วนั ท ี่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๑ คณะสอบสวนทนี่ ำ� โดยนายโรเบริ ต์ มลุ เลอร์ อดตี ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั สอบสวน กลาง (เอฟบไี อ) ยน่ื ฟอ้ งเจา้ หนา้ ทร่ี ฐั บาลรสั เซยี เปน็ ครงั้ แรก หลงั จากกอ่ นหนา้ นไี้ ดย้ นื่ ฟอ้ งชาวรสั เซยี จำ� นวนหนงึ่ วา่ ใชส้ อ่ื สงั คมออนไลนย์ ยุ งใหผ้ มู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตง้ั ชาวอเมรกิ นั แตกกนั คำ� ฟอ้ งหนา ๒๙ หนา้ แจกแจงวธิ กี ารทร่ี สั เซยี เจาะ บญั ชอี เี มลคนพรรคเดโมแครตหลายเดอื นกอ่ นการเลอื กตงั้   จากนนั้ อีเมลต่าง  ๆ  ท่ีส่วนใหญ่มีเน้ือหาเป็นผลเสียต่อนางคลินตันก็ไป ปรากฏในเวบ็ ไซตว์ กิ ลิ กี สช์ ว่ งใกลจ้ บการหาเสยี ง ตอ่ มาในวนั ท่ี ๑๕ สงิ หาคม จำ� เลยชาวรสั เซยี ซงึ่ ใชช้ อื่ ปลอมวา่ Guccifer 2.0 ตดิ ตอ่ คนรู้จักกับคณะหาเสียงของโดนัลด์  ทรัมป์  เสนอว่าจะช่วยให้ชนะ เลือกต้ัง  ค�ำฟ้องของคณะสอบสวนพิเศษระบุชื่อจ�ำเลยท้ังหมด วา่ เปน็ เจา้ หนา้ ทขี่ า่ วกรองทหารรสั เซยี นายโรเบริ ต์ มุลเลอร์

รอบรวั้ สภา - ขา่ วต่างประเทศ 21 สภาผ้แู ทนราษฎรอังกฤษอนุมัติการแกไ้ ขกฎหมายภาษีอากร ที่จะใชห้ ลังออกจากสหภาพยโุ รป วันท่ี ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๖๑  สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรลงมติ ๓๐๕ ตอ่ ๓๐๒ เสียง อนุมัตกิ ารแก้ไข กฎหมายภาษีอากร ซงึ่ จะยุตกิ ารจัดเก็บภาษีอากรใหก้ ับสหภาพยโุ รปหลงั จากอังกฤษออกจากการเปน็ สมาชิก โดย รัฐบาลของนายกรัฐมนตรีเทเรซา  เมย์  เลือกท่ีจะไม่เผชิญแรงกดดันจากบรรดาสมาชิกหัวแข็งที่สนับสนุนเบร็กซิท ภายในพรรค  ด้วยการยอมตามข้อเสนอในการแก้ไขกฎหมายท่ี เสนอมา สว่ นการแก้ไขกฎหมายอกี ฉบับหนึ่งคือการออกจากระบบ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ของอียู สภาลา่ งองั กฤษมมี ติด้วยคะแนน ๓๐๓ ตอ่ ๓๐๐ เสียง ซงึ่ รฐั สภาอังกฤษได้ลงคะแนนผา่ นรา่ งกฎหมายทง้ั ฉบับ ดว้ ยคะแนน ๓๑๘ ตอ่ ๒๘๕ เสยี ง ขั้นตอ่ ไปคือการสง่ ให้วฒุ ิสภา อนมุ ตั เิ พือ่ ตราเป็นกฎหมายต่อไป ฮอ่ งกงเร่มิ กระบวนการทอ่ี าจนำ� ไปสู่การยบุ พรรคการเมืองสนบั สนุนการแยกตวั จากจีน วนั ท ่ี ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๖๑ พรรคแหง่ ชาตฮิ อ่ งกง ออกหนงั สอื ทส่ี ำ� นกั งานความมนั่ คงสง่ ถงึ นายแอนดี ชาน ผกู้ ่อตั้งพรรควัย ๒๗ ปี ขดี เสน้ ตายให้แถลงเปน็ ลายลักษณอ์ กั ษรภายใน ๒๑ วัน ว่าเหตใุ ดพรรคจงึ ไม่สมควร ถูกยุบ  นายชานซ่ึงเคยถูกห้ามไม่ให้ลงสมัครรับเลือกต้ังเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติฮ่องกงกล่าวว่า  จะปรึกษา ทนายว่าจะดำ� เนนิ การอย่างไรต่อไป พรรคนตี้ ัง้ ขนึ้ ในปี ๒๕๕๙ มีสมาชิกอยา่ งนอ้ ย ๒,๕๐๐ คน เป็นกลมุ่ เล็ก ๆ ท่ีประกาศตัวอย่างเปิดเผยสนับสนุนให้ฮ่องกงแยกตัวเป็นเอกราชจากจีน  ผู้บริหารส�ำนักงานความม่ันคงระบุว่า ยังไม่ได้ส่ังยุบพรรคการเมืองน้ี  เพราะจะท�ำได้หลังจากท่ีให้เวลาชี้แจงแล้ว  ฮ่องกงมีเสรีภาพในการชุมนุม แต่ใช่ว่าสิทธิน้ีจะปราศจากข้อจ�ำกัด  หนังสือดังกล่าว  เพียงแต่ อ้างกฎหมายสังคมที่บัญญัติว่า  ทางการอาจประกาศให้กลุ่มใด กลุ่มหน่ึงเป็นกลุ่มนอกกฎหมายเพื่อประโยชน์ความม่ันคงแห่งชาติ หรือความปลอดภัยสาธารณะ  เพ่ือความสงบเรียบร้อยในสังคม หรอื การคมุ้ ครองสทิ ธแิ ละเสรภี าพของผอู้ นื่ คำ� วา่ ความมน่ั คงแหง่ ชาติ ถกู นิยามอย่างเจาะจงวา่ คือการปกป้องบูรณภาพแหง่ ดนิ แดนและ เอกราชของสาธารณรัฐประชาชนจีน นายแอนดี ชาน คณะกรรมการการเลือกต้ังกัมพชู าระบุวา่ การรณรงค์ชกั ชวนคนควำ�่ บาตรการเลอื กตงั้ ถือเป็นการก่ออาชญากรรม วันที ่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๖๑ เลขาธิการคณะกรรมการการเลือกต้ัง (กกต.) กมั พชู ากล่าวกับผสู้ ือ่ ข่าว ขณะแถลงเปิดตัวขวดหมึกจ�ำนวนมากส�ำหรับพิมพ์น้ิวมือผู้ใช้สิทธิเลือกตั้งว่า  ในประเทศประชาธิปไตยการเลือกตั้ง เป็นส่ิงส�ำคัญมาก  การชักชวนคนต่อต้านการเลือกต้ัง  หรือก่อกวนไม่ให้คนไปใช้สิทธิจึงถือเป็นการก่ออาชญากรรม ทางการจะดำ� เนนิ การทางกฎหมายกบั ทกุ คนทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การควำ�่ บาตร และก�ำลังจับตาผู้ท่ีด่าทอหรือใช้ค�ำหยาบคายกับเจ้าหน้าที่เลือกตั้ง รัฐบาลจะด�ำเนินคดีกับผู้ชักชวนคนคว่�ำบาตรเลือกตั้ง  หลังจาก แกนนำ� ฝา่ ยคา้ นหลายคนทสี่ ว่ นใหญห่ นไี ปอยตู่ า่ งประเทศประสานเสยี ง กนั ชักชวนคนคว�่ำบาตรเลอื กต้งั

เอกสารข่าวรฐั สภา 22 ประกาศสถานการณ์ฉกุ เฉินในตุรกที ี่บังคบั ใช้เม่ือปี ๒๕๕๙ กำ� หนดสิ้นสุดลงในวันพฤหัสบดนี ี้ วันท่ี ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑ นายดีเรเจพ ทายยิพ แอร์โดอาน ประธานาธิบของตุรกปี ระกาศสถานการณ์ ฉกุ เฉนิ มาตั้งแต่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๙ หลังจากเหตพุ ยายามกอ่ รัฐประหารในกรงุ อังการาและนครอิสตันบูล ซงึ่ มี ผเู้ สยี ชวี ติ ๒๔๙ คน โดยทว่ั ไปประกาศสถานการณฉ์ กุ เฉนิ มกั มรี ะยะเวลา ๓ เดอื น แตท่ างการไดข้ ยายเวลาออกไป ถึง ๗ คร้งั ลา่ สุดสำ� นกั ข่าวอนาโดลู ของทางการแถลงว่า ประกาศ สถานการณฉ์ กุ เฉินจะยตุ ิลงในเวลา ๐๑.๐๐ นาฬิกา ในวันพฤหัสบดี ตามเวลาทอ้ งถิ่น หรือเวลา ๐๕.๐๐ นาฬิกา ในไทย ภายหลงั รฐั บาล พจิ ารณาวา่ จะไมย่ ืดเวลาออกไปเปน็ ครัง้ ที่ ๘ ประกาศดังกลา่ วยงั ผล ให้มผี ถู้ กู ควบคุมตวั ราว ๘๐,๐๐๐ คน อย่างไรกต็ ามกลุ่มฝา่ ยค้าน เกรงว่ารัฐบาลอาจออกกฎหมายใหม่ในสภาท่ีจะหาทางใช้มาตรการ ควบคุมท่เี ข้มงวดกวา่ เดมิ นายดเี รเจพ ทายยพิ แอรโ์ ดอาน สภาอสิ ราเอลผ่านรา่ งกฎหมายนิยามประเทศอสิ ราเอลว่าเปน็ รัฐชาตขิ องชาวยิว วันท่ี  ๑๙  กรกฎาคม  ๒๕๖๑  สภาอิสราเอลผ่านร่างกฎหมายนิยามประเทศอิสราเอลว่าเป็นรัฐชาติ ของชาวยวิ รา่ งกฎหมายผ่านความเหน็ ชอบจากสภาคเนสเซท็ ดว้ ยคะแนน ๖๒ ตอ่ ๕๕ เสยี ง เปน็ สว่ นหน่งึ ใน กฎหมายพื้นฐานทเ่ี ป็นเสมอื นรัฐธรรมนูญอสิ ราเอล ก�ำหนดให้ฮีบรเู ป็นภาษาประจ�ำชาติ ส่วนภาษาอาหรับที่เคย เปน็ ภาษาทางการถกู ลดไปเป็นภาษาทม่ี สี ถานะพิเศษ นยิ ามการต้งั ชุมชนชาวยวิ วา่ เปน็ ผลประโยชนข์ องประเทศ กล่าวถึงอิสราเอลว่าเป็นมาตุภูมิประวัติศาสตร์ของชาวยิว  และระบุว่าชาวยิวมีสิทธิก�ำหนดอนาคตของตนเองใน อิสราเอล  ส่วนมาตราที่เจาะจงให้การตั้งชุมชนเฉพาะชาวยิวเป็นส่ิงถูกฎหมายถูกสมาชิกสภาและประธานาธิบดี วิพากษว์ ิจารณอ์ ย่างหนกั จนต้องมีการแกไ้ ข นายกรฐั มนตรีเบนยามนิ เนทันยาฮู กล่าวหลังสภาผา่ นรา่ งกฎหมาย ท่ีรัฐบาลฝ่ายขวาของเขาสนับสนุนว่า  เป็นช่วงเวลาส�ำคัญ ในประวัติศาสตร์รัฐอิสราเอลที่มีการจารึกเรื่องภาษา  เพลงชาติ และธงชาติ  หัวหน้าพันธมิตรพรรคอาหรับในอิสราเอลประณามว่า เป็นวาระสุดท้ายของประชาธิปไตยอิสราเอล  สมาชิกสภาอาหรับ พากันฉีกส�ำเนาร่างกฎหมายกลางสภา  ขณะท่ีเลขาธิการองค์การ ปลดปลอ่ ยปาเลสไตนช์ ว้ี า่ เปน็ กฎหมายเหยยี ดเชอ้ื ชาตแิ ละอนั ตราย รฐั สภาญปี่ ่นุ อนุมตั ิร่างกฎหมายอนุญาตให้ตั้งกาสิโนรีสอร์ท ๓ แหง่ ในประเทศ วันที่  ๒๑  กรกฎาคม  ๒๕๖๑  รัฐสภาญ่ีปุ่นอนุมัติร่างกฎหมายอนุญาตให้ต้ังกาสิโนรีสอร์ท  ๓  แห่ง ในประเทศ  เพอื่ หวงั ดงึ ดดู นกั ทอ่ งเทย่ี วใหม้ ากขนึ้   โดยคาดวา่ กาสโิ นรสี อรท์ ซง่ึ จะประกอบไปดว้ ยโรงแรม หอ้ งประชมุ และห้างสรรพสินค้า  จะสามารถเปิดด�ำเนินการได้ในราวกลาง ปี  ๒๕๖๓  อย่างไรก็ตาม  ผลส�ำรวจของสื่อมวลชนญี่ปุ่นพบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วยกับแผนการนี้  เพราะเป็นการมอมเมา ให้ประชาชนติดการพนันและเกิดอาชญากรรมเพิ่มข้ึน  ขณะท่ี ผู้เชี่ยวชาญคาดว่า  ผู้ที่เข้าไปเท่ียวในกาสิโนรีสอร์ทจะเป็นชาวญ่ีปุ่น มากกวา่ ท่ีจะเปน็ นักทอ่ งเทยี่ วต่างชาติ

รอบรั้วสภา - ข่าวตา่ งประเทศ 23 คณะมนตรคี วามมนั่ คงแห่งสหประชาชาตอิ อกแถลงการณเ์ รยี กร้องใหเ้ มียนมารบั ผูอ้ พยพชาวโรฮงิ ญากลับประเทศ วันท ี่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๖๑ สมาชิก ๑๕ ชาติ คณะมนตรคี วามมน่ั คงออกแถลงการณเ์ รยี กร้องในการ ประชุมลับรวมท้ังเรียกร้องให้เพิ่มความช่วยเหลือด้านการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจและอ�ำนวยความสะดวก ในการเดินทางกลับของชาวโรฮงิ ญาและผไู้ รท้ อ่ี ยู่อาศัยไปยังบ้านเรอื นในรฐั ยะไข่ นอกจากนี้ ทป่ี ระชมุ คณะมนตรี ความม่ันคงยังได้ย้�ำถึงความส�ำคัญในการสอบสวนข้อกล่าวหาละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างอิสระและโปร่งใส  ด้าน นางครสิ ทนี ชราเนอร์ บรู เ์ กเนอร์ ทตู ยเู อน็ ประจำ� เมยี นมากลา่ ววา่ รฐั บาลเมยี นมายนิ ดรี บั ชาวโรฮงิ ญาหลายแสนคน กลบั ไปยงั รฐั ยะไข่ แตก่ ย็ อมรบั วา่ ยงั คงมคี วามตงึ เครยี ดระหวา่ งชาวมสุ ลมิ โรฮิงญาและชาวพุทธในรฐั ยะไข ่ สว่ นการหารือกับนางออง ซาน ซู จี ผนู้ �ำเมยี นมาเปน็ ไปอย่างสร้างสรรค์และเปิดกวา้ ง และว่านางซู จี รบั รู้ ถึงความยากลำ� บากและความท้าทาย ทตู ยูเอ็นเดนิ ทางไปยงั เมียนมา มาแลว้ ๒ ครั้งนบั แต่เข้ารบั ต�ำแหน่งเม่ือ ๒ เดอื นก่อน ซึ่งมกี ำ� หนดจะ เดินทางไปเยือนอีกคร้ังในเดือนกันยายน  และมีแผนจะเดินทางไป เยอื นรัฐอ่ืนๆ ในเมียนมาดว้ ย สมาชิกลทั ธโิ อมชินริเกียวถกู ประหารชีวติ เพม่ิ อกี วันท่ี  ๒๖  กรกฎาคม  ๒๕๖๑  สมาชิกอย่างน้อย  ๒  คนในลัทธิโอมชินริเกียว  ถูกประหารชีวิตในวันนี้ การประหารชวี ติ สมาชกิ โอมชนิ รเิ กยี ว  มขี น้ึ ภายหลงั จากทางการแขวนคอประหารชวี ติ นายโชโก อาซาฮาระ ผู้นำ� ลทั ธิ และสมาชกิ อกี ๖ คน ไปเม่อื ต้นเดอื น  ญ่ปี ุ่นเป็น หน่ึงในประเทศพัฒนาแล้วเพียงไม่ก่ีประเทศที่ยังคงโทษประหารชีวิต  และประชาชน จ�ำนวนมากยังคงสนับสนุนการบังคับใช้โทษประหารแม้ว่าจะมีเสียงวิจารณ์ต�ำหนิจาก กลมุ่ สทิ ธมิ นษุ ยชนระหวา่ งประเทศกต็ าม  เหตสุ มาชกิ ลทั ธโิ อมชนิ รเิ กยี ว  ปลอ่ ยแกส๊ พษิ ซารินในรถไฟฟ้าใต้ดินโตเกียว  ปี  ๒๕๓๘  ในช่วงเวลาเร่งด่วน  ท�ำให้มีผู้เสียชีวิต ๑๓ คน ปว่ ยและบาดเจบ็ อกี หลายพันคน ประธานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ปากสี ถาน ยืนยนั ว่าการนบั คะแนนเลอื กตัง้ ทลี่ า่ ช้าเปน็ ผลจากปญั หาทางเทคนคิ วนั ที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๑  ประธานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั (กกต.) ปากีสถาน นายซาร์ดาร์ มฮู มั หมดั แถลงเป็นครั้งแรกต้ังแต่ปิดคูหาว่า  การเลือกต้ังเป็นธรรมและโปร่งใสร้อยเปอร์เซ็นต์  สาเหตุท่ีล่าช้าเพราะเคร่ือง นับผลคะแนนแบบใหม่เกิดขัดข้องอย่างไม่คาดคิด  การแถลงยืนยันดังกล่าวหลังจากนายชาห์บาซ  ชารีฟ  หัวหน้า พรรคสันนิบาตมุสลิมปากีสถานนาวาซ  (พีเอ็มแอล-เอ็น)  ซ่ึงเป็นรัฐบาลชุดปัจจุบันกล่าวหาว่า  มีการโกงอย่าง มโหฬารท่ีจะท�ำให้ประเทศเสียหายอย่างไม่สามารถแก้ไขได้  พร้อมกับกล่าวหาเจ้าหน้าท่ีเลือกต้ังว่าขัดขวาง ไม่ให้ตัวแทนพรรคร่วมเป็นสักขีพยานการนับคะแนน  เช่นเดียวกับอีกหลายพรรคที่กล่าวหาว่ามีการบงการ การนบั คะแนน  กอ่ นหนา้ นใ้ี นชว่ งหาเสยี งเลอื กตง้ั พรรคพเี อม็ แอล-เอน็ อา้ งว่าถูกกองทัพกล่นั แกลง้ เพราะนายนาวาซ ชารฟี หัวหน้าพรรค ถกู ปลดจากตำ� แหนง่ นายกรฐั มนตรเี มอื่ ปกี อ่ นและจำ� คกุ ขอ้ หาทจุ รติ ไมก่ วี่ นั ก่อนการเลอื กตง้ั เปน็ การเอ้ือใหแ้ กน่ ายอมิ ราน ขา่ น อดีตนักคริกเกต็ ขวญั ใจประชาชนท่ผี ันตัวมาเปน็ นักการเมือง

เอกสารขา่ วรฐั สภา 24 หลายพรรคการเมอื งในปากสี ถานรวมตวั กนั ไมย่ อมรับผลการเลือกต้ัง วันที่  ๒๘  กรกฎาคม ๒๕๖๑  นายเมาลานา ฟาซาล อูร์ เรห์มาน ประธานพันธมิตรเอ็มเอ็มเอ ซ่งึ เป็นการรวมตวั ของพรรคการเมอื งเครง่ ศาสนาอิสลาม ๕ พรรค เปดิ การแถลงขา่ วเม่ือวันศกุ รว์ ่า ไมย่ อมรบั ผลการเลือกตั้งเมื่อวันท่ี  ๒๕  กรกฎาคม  และจะเร่ิมเคล่ือนไหวเรียกร้องให้จัดการเลือกตั้งใหม่  ด้านพรรค สนั นิบาตมุสลมิ ปากสี ถาน-นาวาซ (พเี อม็ แอล-เอ็น) ของอดตี นายกรัฐมนตรีนาวาซ ชารีฟ แสดงท่าทียอมรับวา่ นายอิมราน  ข่าน  อดีตนักคริกเก็ตชื่อดังเป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่  หลังจากตอนแรกยังไม่ยอมรับผลคะแนนที่ ยังนับไม่เสร็จส้ิน  ขณะท่ีคณะสังเกตการณ์จากสหภาพยุโรป มองว่า  เป็นการเลือกตั้งที่ไม่มีการแข่งขันอย่างเท่าเทียม นายขา่ น วยั ๖๕ ปี ประธานพรรคปากสี ถานเทหร์ คี อี อนิ ซาฟ กลา่ วสุนทรพจนป์ ระกาศชัยชนะตั้งแตว่ ันท่ี  ๒๖ กรกฎาคม ทั้งท่ียังนับคะแนนไม่แล้วเสร็จ  พร้อมกับเสนอจะสอบสวน เสียงครหาเร่ืองมีการโกงการเลือกต้ัง  เพราะต้องการให้ ประเทศสามคั คีกนั ภายใตก้ ารนำ� ของเขา โฆษกพรรคซีพีพขี องกมั พูชาเผยว่าพรรคจะตง้ั รฐั บาลใหม่ภายใน ๖๐ วัน หลังชนะเลือกตัง้ วันท่ี  ๓๑  กรกฎาคม  ๒๕๖๑  โฆษกพรรคซีพีพีเผยว่า  พระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม  สีหมุนี จะทรงโปรดเกลา้ ฯ ใหผ้ ู้ไดร้ บั เลือกต้ังเป็นสมาชิกรัฐสภาชุดใหม่เปดิ การประชมุ ภายใน ๖๐ วัน นับจากวนั เลือกต้งั ๒๙ กรกฎาคม และจะมกี ารจดั ตั้งรัฐบาลใหมห่ ลงั การประชมุ คาดว่าจะเป็นวันท่ี ๒๕-๒๖ กนั ยายน สว่ นโฆษก รฐั บาลชดุ ปัจจบุ ันแถลงวา่ รัฐบาลใหมม่ เี ปา้ หมายเร่อื งการปกครองดว้ ยหลกั ธรรมาภิบาล การรกั ษาการเติบโต ทางเศรษฐกิจให้อยใู่ นระดบั สูงต่อไป การรักษาสนั ตภิ าพและเสถียรภาพทางสังคม ขณะท่ีกระทรวงตา่ งประเทศ แถลงว่า หวังว่าประชาคมโลกจะยังให้การสนับสนุนกมั พูชาต่อไป  ด้านนายสม รังสี อดตี แกนนำ� ฝ่ายค้านท่ีลี้ภยั อยใู่ นฝรง่ั เศสกลา่ วกบั สอื่ วา่   การเลอื กตง้ั นไี้ มไ่ ดส้ ะทอ้ นถงึ เจตนารมณข์ องประชาชนแตอ่ ยา่ งใด  เพราะพรรคซพี พี ี กวาดทน่ี ัง่ ในสภาไปหมดทงั้ ๑๒๕ ท่ีนัง่ ฝา่ ยค้านกัมพูชาและนกั วเิ คราะหช์ ีว้ า่ การเลือกต้งั ทีผ่ า่ นมามบี ัตรเสีย ร้อยละ  ๘.๔  ของบัตรลงคะแนนทั้งหมด  ๗.๖๔  ล้านใบ เปน็ การแสดงออกของประชาชนทตี่ อ้ งการประทว้ งการเลอื กตงั้ สหภาพยุโรป  (อียู)  แถลงว่า  การเลือกตั้งไม่มีการแขง่ ขนั อย่างแท้จริงและไม่มีกระบวนการมีส่วนร่วมทางการเมือง จึงไม่สะท้อนถึงเจตนารมณ์ประชาธิปไตยของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ชาวกมั พูชา ผลการเลอื กตงั้ จึงขาดความน่าเช่ือถือ

รอบรว้ั สภา - ข่าวต่างประเทศ 25 สมาคมประชาชาตเิ อเชยี ตะวันออกเฉยี งใต(้ อาเซียน)หวังจะท�ำข้อตกลงเร่อื งความปลอดภยั ไซเบอรก์ บั รัสเซยี วันที่  ๒  สิงหาคม  ๒๕๖๑  ในการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน  มีการหารือเร่ืองการท�ำ ข้อตกลงความปลอดภัยไซเบอร์กับรัสเซีย  ซึ่งจะเผยแพร่ในวันปิดการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน และการประชุมท่ีเกี่ยวข้อง  ๔  สิงหาคมน้ี  ส�ำเนาร่างเอกสารระบุว่า  อาเซียนยินดีที่จะกระชับความร่วมมือ เรื่องความปลอดภัยไซเบอร์กับรัสเซียผ่านการออกแถลงการณ์ รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนและรัสเซีย  ประธานอาเซียนสิงคโปร์ วาระปัจจุบันเพิ่งถูกโจมตีไซเบอร์ครั้งร้ายแรงที่สุดเม่ือไม่นานมานี้ เม่ือแฮกเกอร์เจาะฐานข้อมูลสุขภาพของหน่วยงานรัฐ  เข้าถึงข้อมูล ส่วนตัวของประชาชน  ๑.๕  ล้านคน  มีนายกรัฐมนตรีลี  เซียนลุง รวมอยู่ด้วย  ขณะท่ีเม่ือต้นปีมาเลเซียเผยว่า  ได้สกัดแฮกเกอร์ ทพี่ ยายามเจาะระบบธนาคารกลาง คณะกรรมการการเลอื กตั้ง(กกต.)ซมิ บบั เว ประกาศใหป้ ระธานาธบิ ดีเอม็ เมอรซ์ อน นงั กา-กวา ชนะการเลือกตง้ั วนั ท่ี ๓ สงิ หาคม ๒๕๖๑ ประธานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ (กกต.) ซมิ บบั เวประกาศว่า ประธานาธิบดี นงั กา-กวาวยั ๗๕ ปี ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ ๕๐.๘ นำ� นายเนลสนั ชามซิ า หวั หนา้ พรรคฝา่ ยคา้ นเอม็ ดซี ี ทไี่ ดร้ อ้ ยละ ๔๔.๓ จากการเลอื กตัง้ ได้คะแนนเกินครง่ึ หน่งึ ไม่ตอ้ งจดั การเลือกต้งั รอบสอง ท้ังน้ีก่อนท่ี กกต.  จะประกาศผล โฆษก พรรคเอ็มดีซี  ได้ข้ึนไปบนเวทีของศูนย์ประกาศผล  ประณามว่าเป็นการนับคะแนนจอมปลอมก่อนถูกต�ำรวจ นำ� ตัวออกไป และเมอ่ื   กกต.  ประกาศผล  เขากลา่ วว่า  พรรคเอม็ ดซี ี ไม่ยอมรับและจะฟ้องศาล  ขณะเดียวกันทหารต�ำรวจออกลาดตระเวน ตามท้องถนนในกรุงฮาราเรตลอดคืนที่ผ่านมาไม่มีรายงานการประท้วง ครั้งใหม่หลัง  กกต.  ประกาศผลการเลือกต้ัง  ต่างจากเม่ือวันพุธท่ี กองทัพยงิ กระสุนจรงิ ใสผ่ ู้สนับสนนุ พรรคเอ็มดีซีท่ีประทว้ งการเลอื กตัง้ วา่ มกี ารโกง ผปู้ ระท้วงเสยี ชวี ิต ๖ คน นายนงั กา-กวาวัย นายอลั อาบาดขี องอิรกั กล่าววา่ อริ กั ไม่เหน็ ด้วยกบั มาตรการคว่ำ� บาตรของสหรัฐท่มี ีกับอิหรา่ น วนั ท่ี ๘ สงิ หาคม ๒๕๖๑ นายไฮเดอร์ อลั อาบาดี  นายกรฐั มนตรีอริ กั   กล่าวว่า มาตรการคว่ำ� บาตร อิหร่านเป็นกลยุทธ์ท่ีผิดพลาดและไม่ถูกต้อง  แต่อิรักจ�ำเป็นต้องท�ำตามเพ่ือรักษาผลประโยชน์ของประชาชนชาว อิรักไว้  ก่อนหน้าน้ีประธานาธิบดีโดนัลด์  ทรัมป์  ผู้น�ำสหรัฐประกาศว่าบริษัทท่ียังท�ำธุรกิจกับอิหร่านจะต้องโดน ค�ำส่ังห้ามติดต่อกับสหรัฐอีกต่อไป  ขณะที่มาตรการคว�่ำบาตรอิหร่าน เริ่มมีผลบังคับใช้แล้วต้ังแต่วันอังคาร  สหรัฐและอิหร่านเป็นพันธมิตร รายใหญ่และเพื่อนบ้านของอิรัก  ซ่ึงมาตรการคว่�ำบาตรล่าสุดท�ำให้ รัฐบาลอิรักอยู่ในภาวะล�ำบากใจ  มาตรการคว่�ำบาตรของสหรัฐท่ีมี กับอิหร่านมีเป้าหมายสกัดการเข้าถึงเงินดอลลาร์สหรัฐ  การค้าเหล็ก ถ่านหิน ธรุ กจิ ซอฟตแ์ วร์ และยานยนต์ ขณะที่ราคาน้�ำมันโลกปรบั ข้นึ ในวันอังคารตามความกังวลว่ามาตรการคว่�ำบาตรจะส่งผลให้ปริมาณ น�้ำมันในตลาดโลกลดลง นายไฮเดอร์ อัลอาบาดี

เอกสารข่าวรฐั สภา 26 นายกรฐั มนตรฮี ุน เซน ของกัมพูชาประกาศเล่อื นก�ำหนดการต้งั รัฐบาลชุดใหม่ วันที่  ๘  สิงหาคม  ๒๖๕๑  นายฮุน  เซน  นายกรัฐมนตรีกัมพูชา  กล่าวต่อบรรดาแรงงานสิ่งทอใน จงั หวัดก�ำปงสปือ ทางตะวนั ตกเฉยี งใต้ของประเทศวา่ จะต้งั รฐั บาลชุดใหมใ่ นวนั ที่ ๖ กนั ยายน โดยเปน็ การ เลือ่ นขน้ึ เรว็ กว่ากำ� หนดเดมิ ในวันท่ี ๒๐ กันยายน ทั้งน้ี กัมพชู ามีกำ� หนดเปดิ ประชมุ รฐั สภาในวันท่ี ๕ กันยายน จากน้ันท่ีประชุมจะลงมติเพ่ือต้ังรัฐบาลชุดใหม่ในเช้าวันรุ่งขึ้น  และในตอนบ่ายก็ จะมีพิธีสาบานตนของรัฐบาลชุดใหม่  คณะรัฐบาลชุดใหม่จะเริ่มเปิดประชุมเป็น ครั้งแรกในวันท่ี  ๗  กันยายน  การเล่ือนก�ำหนดวันตั้งรัฐบาลชุดใหม่ให้เร็วข้ึน ก็เพื่อให้เขาได้มีเวลาส�ำหรับการเข้าร่วมประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ ครัง้ ท่ี ๗๓ ทีน่ ครนิวยอร์กของสหรัฐในวนั ที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๖๑ นายฮุน เซน สหประชาชาตยิ ังไมไ่ ด้รับอนุญาตจากทางการเมยี นมาให้เดินทางเขา้ ไปปฎบิ ตั ิงานในรัฐยะไข่ วนั ท่ี ๘  สิงหาคม ๒๕๖๑ สำ� นักงานข้าหลวงใหญ่ผ้ลู ีภ้ ัยแหง่ สหประชาชาติ หรอื ยเู อน็ เอชซีอาร์ และ สำ� นักงานโครงการพฒั นาแห่งสหประชาชาติ หรือ ยเู อน็ ดีพี ไดล้ งนามในข้อตกลงกบั รัฐบาลเมยี นมารเ์ ม่ือเดอื น มิถุนายนท่ีผ่านมา  ซึ่งภายใต้ข้อตกลงน้ี  ทางการเมียนมาจะยอมอนุญาตให้เจ้าหน้าท่ีของสหประชาชาติเข้าไป ท�ำงานในรัฐยะไข่  ท่ีเป็นสถานท่ีที่ชาวมุสลิมโรฮิงญาหลายแสนคนต้องอพยพออกจากบ้านเรือน  หลังจาก กองทพั เมียนมาเริ่มใชป้ ฎบิ ัติการกวาดล้างรนุ แรงในรฐั ยะไข่ ตามขอ้ ตกลงดงั กล่าว สหประชาชาติจะไดร้ บั อนญุ าต ให้เข้ามาช่วยเมียนมาในการสร้างสภาพพื้นที่ที่จะเกิดความปลอดภัยและโน้มน้าวให้ชาวโรฮิงญาที่อพยพไปยัง บังกลาเทศเดินทางกลับมายังรัฐยะไข่  แต่จนถึงขณะน้ี  ชาวโรฮิงญายังไม่ยอมเดินทางกลับมาหากยังไม่มีการ รับประกันในเร่ืองของความปลอดดภัยและสิทธิข้ันพ้ืนฐาน  เช่น  การรับรองเป็นพลเมืองของเมียนมา  ยูเอ็น เอชซีอาร์และยูเอ็นดีพี  ออกแถลงการณ์ร่วมระบุว่า  ค�ำขอเข้าพ้ืนท่ีในรัฐยะไข่ที่ส่ง ใหเ้ มยี นมาตง้ั แตก่ ลางเดอื นมถิ นุ ายนยงั ไมไ่ ดร้ บั การตอบรบั ใด  ๆ  จากทางการเมยี นมา แม้ยเู อน็ เอชซอี าร์ จะมสี �ำนกั งานในรฐั ยะไข่ แตเ่ จา้ หนา้ ท่กี ็ไมส่ ามารถทำ� งานใน ภาคสนามไดอ้ ย่างเปน็ อสิ ระ  แถลงการณร์ ว่ มเรียกร้องใหท้ างการเมยี นมา ยอมให้ เสรภี าพในการเดินทางและร่วมมอื ในการแกป้ ัญหาท่ตี น้ เหตุของวกิ ฤตกิ ารณ์ท่ีเกดิ ข้ึน นายทรโู ด ยังคงกดดันซาอุดอี าระเบียในเรื่องเสรีภาพต่อไปแม้วา่ จะเกดิ ขอ้ พพิ าททางการทูตครัง้ ใหญ่ วนั ที ่ ๙ สงิ หาคม ๒๕๖๑ นายจสั ติน ทรโู ด นายกรัฐมนตรีแคนาดา กลา่ วถึงข้อพพิ าทกบั ซาอดุ อี าระเบยี วา่ เปน็ เป็นความเหน็ ที่แตกต่างกันทางการทตู และระบวุ า่ เมือ่ วนั องั คารท่ีผา่ นมา นางครสิ เทีย ฟรแี ลนด์ รฐั มนตรี ตา่ งประเทศแคนาดาไดพ้ ูดคุยกับนายอเดล อัล-จูเบอรี ์ รฐั มนตรีตา่ งประเทศซาอดุ ีอาระเบียเป็นระยะเวลานาน แตเ่ ขาไม่ไดก้ ลา่ วถงึ รายละเอียดในการสนทนาครั้งน้ี นายทรูโด กลา่ วว่า การเจรจาทางการทูตยังคงดำ� เนินต่อไป และแคนาดาก็ไม่ต้องการให้ความสัมพันธ์กับซาอุดิอาระเบียไม่ราบร่ืน  ซาอุดีอาระเบียเป็นประเทศที่มีความ ส�ำคัญและก็มีความคืบหน้าบางประการในเรื่องของสิทธิมนุษยชน  ขณะที่แคนาดายังคงมีจุดยืนไม่เปล่ียนแปลง ในเรื่องของเสรีภาพและสิทธขิ องพลเมอื ง นายอเดล อัล-จูเบอรี ์ รัฐมนตรตี ่างประเทศซาอดุ ีอาระเบีย ซงึ่ ไม่พอใจ กับค�ำเรียกร้องของแคนาดาท่ีให้ปล่อยตัวนักเคล่ือนไหวเพื่อสิทธิพลเมืองท่ีถูกจับกุมในทันที  กล่าวก่อนหน้าน้ีว่า ขณะน้ีไม่มีพ้ืนท่ีส�ำหรับการไกล่เกล่ียข้อพิพาทและระบุว่ารัฐบาลแคนาดาทราบดีว่า จำ� เปน็ จะตอ้ งดำ� เนนิ การอยา่ งไรเพอ่ื แกไ้ ขความผดิ พลาดครงั้ ใหญท่ เี่ กดิ ขน้ึ   กอ่ นหนา้ น้ี รัฐบาลซาอุดีอาระเบียระงับการท�ำข้อตกลงการค้าใหม่กับแคนาดาและสั่งขับ นกั การทตู แคนาดาออกนอกประเทศ ทงั้ ยังยุตกิ ารสนบั สนนุ โครงการการศึกษาและ การแพทย์ในแคนาดาดว้ ย นายจัสติน ทรูโด

รอบร้วั สภา - ขา่ วตา่ งประเทศ 27 ถอดเอกสทิ ธค์ิ ้มุ ครองนักการเมืองฝ่ายค้าน ๒ คน อยเู่ บอ้ื งหลังความพยายามใชโ้ ดรนสงั หารประธานาธบิ ดี วนั ท่ี ๙ สงิ หาคม ๒๕๖๑ สภาร่างรัฐธรรมนูญเวเนซเู อลาไดล้ งมติเปน็ เอกฉนั ท์ ให้ถอดเอกสิทธ์ิคุ้มครอง ของนักการเมืองฝา่ ยค้าน ๒ คน ที่มีท่นี ัง่ ในสภา ซ่ึงฝ่ายค้านครองเสียงข้างมาก ไดแ้ ก่  นายฮุลโิ อ บอร์เกส และ นายฮวน เรเกเซน โดยนายบอร์เกส ขณะนก้ี ำ� ลังล้ภี ยั อยู่ในกรงุ โบโกตา ของโคลอมเบีย ส่วนนายเรเกเซน ไดถ้ ูก จบั กมุ แลว้ เม่ือวนั องั คารทผี่ ่านมา ประธานาธบิ ดมี าดโู ร ได้กล่าวหาทง้ั สองคนว่ามีสว่ นเก่ียวข้องกบั ความพยายาม ลอบสังหารเขาโดยใช้โดรนตดิ ระเบิด ขณะท่เี ขากำ� ลงั กล่าวสนุ ทรพจน์ ท่ีปะรำ� พิธีกลางแจง้ กับทหาร อยา่ งไรกต็ าม พรรคฝ่ายค้านปฏิเสธข้อกล่าวหา  โดยระบุว่า  นายมาดูโร  จัดฉากเหตุการณ์ดังกล่าว  เพื่อเป็นข้ออ้างจัดการ นักการเมืองฝ่ายค้านท่ีต่อต้านรัฐบาล  ด้านประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ กล่าวว่า นายบอร์เกส และนายเรเกเซน เป็นเพียงนกั การเมอื ง ๒ คนแรก ท่ีถูกด�ำเนินการในการสอบสวนเร่ืองการใช้โดรนติดระเบิดโจมตีคร้ังนี้ ขณะท่มี ีการระบวุ ่า มผี ู้เกีย่ วขอ้ งท้งั หมด ๑๙ คน ซึง่ ๖ คน ในจำ� นวนน้ี ถกู จบั กมุ แลว้ โดยมกี ารระดมคน ๑๑ คน จากการชมุ นมุ ตอ่ ตา้ นนายมาดโู ร และน�ำไปฝกึ แถบพรมแดนติดกับโคลอมเบีย นายนิโคลสั มาดูโร คณะกรรมการการเลอื กตั้งอสิ ระ (กกต.) ของอริ ักเผยแพรผ่ ลการนับคะแนนใหม่ วนั ท ่ี ๑๐ สงิ หาคม ๒๕๖๑ คณะกรรมการการเลอื กตงั้ อสิ ระ (กกต.) ของอริ กั เผยแพรผ่ ลการนบั คะแนนใหม่ หลังจากรฐั สภามีค�ำสั่งเมอื่ เดอื นมถิ นุ ายนให้นบั คะแนนใหม่  เนอื่ งจากมีเสียงครหาอย่างกว้างขวางเรื่องความซื่อสัตย์ ในการลงคะแนน  ผลการนับคะแนนใหม่สอดคล้องกับผลการนับครั้งแรก  พรรคของนายมอกตาดา  อัล  ซาดร์ ยังคงครองได้ที่น่ังมากที่สุดเท่าเดิม  ๕๔  ท่ีนั่ง  กลุ่มแกนน�ำชีอะห์ยังคงตามอยู่เป็นอันดับสอง  แต่ได้เพ่ิมเป็น ๔๘ ทน่ี ั่ง และกลมุ่ ของนายกรฐั มนตรไี ฮเดอร์ อัล อาบาดี ได้อนั ดบั สาม ๔๒ ท่นี ง่ั นายอาบาดจี ะท�ำหน้าท่ี นายกรัฐมนตรรี กั ษาการตอ่ ไปจนกวา่ อริ ักจะมรี ัฐบาลใหม่ พรรคต่าง ๆ ในอิรักยงั ไมส่ ามารถตกลงกนั เรือ่ งตั้งรัฐบาลผสมท้ังท่ีผ่านการเลือกตั้งมาแลว้ ๓ เดอื น นายซาดร์ต้ังเงอื่ นไข ๔๐ ขอ้ ส�ำหรับผูท้ ี่จะด�ำรงต�ำแหนง่ นายกรัฐมนตรี เชน่ ไมส่ ังกดั พรรคการเมอื ง ไม่ลง เลือกตั้งอีกสมัย  หากไม่เป็นไปตามน้ันก็จะไม่เข้าร่วมรัฐบาลผสม ความไม่แน่นอนในการต้ังรัฐบาลใหม่ยิ่งท�ำให้ชาวอิรักประท้วงไม่พอใจ เพราะต้องทนกับบริการพื้นฐานย่�ำแย่  อัตราว่างงานสูง  และการฟื้นฟู ประเทศเป็นไปอย่างล่าช้านับแต่เปิดฉากสู้รบกับกลุ่มรัฐอิสลาม  (ไอเอส) ตั้งแตป่ ี ๒๕๕๗ และยดื เยอ้ื จนถึงปจั จุบนั นายมอกตาดา อลั ซาดร์

เอกสารขา่ วรัฐสภา 28 ประธานาธิบดีอินโดนเี ซยี เลอื กประธานองค์กรมสุ ลมิ เป็นคู่สมัครในการเลือกต้งั วนั ที ่ ๑๐  สงิ หาคม ๒๕๖๑ นายโจโก ดีวิโดโด  ประธานาธิบดอี นิ โดนีเซีย  วัย ๕๗ ปี ประกาศตอ่ ผู้ สนับสนนุ วา่ เลือกนายมารุฟ อามิน วยั ๗๕ ปี ประธานสภาอเู ลมาอินโดนีเซยี ซึง่ เปน็ องค์กรมุสลิมสงู สดุ ของ ประเทศและประธานนาหด์ ลาตลุ อลู ามา องค์กรมสุ ลมิ ใหญท่ ีส่ ุดในโลก เปน็ ผสู้ มคั รชิงตำ� แหนง่ รองประธานาธบิ ดี คู่กับเขาในการเลือกต้ังประธานาธิบดี  ๑๗  เมษายนปีหน้า  พร้อมกับย้�ำว่า  ต้องการให้การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น การต่อสู้ทางความคิดและความส�ำเร็จ  ไม่ใช่การสร้างความแตกแยก  เอเอฟพีต้ังข้อสังเกตว่า  การประกาศ ตัวผู้สมัครคู่เป็นบุคคลที่เคร่งศาสนาอาจช่วยเรียกคะแนนจากกลุ่มเคร่งศาสนาให้แก่ประธานาธิบดีวิโดโด  แต่อาจ สร้างความไม่พอใจให้แก่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งหัวก้าวหน้า  เพราะนายอามิน  มักแสดงความเห็นดูหมิ่นคนกลุ่มน้อย เชน่ กลุ่มรกั เพศเดยี วกัน อีกทั้งยังเป็นผทู้ ที่ ำ� ใหน้ ายบาซูกี ปรู น์ ามา หรอื อาฮก อดตี ผ้วู ่าการกรงุ จาการ์ตาถูกจ�ำคุก เมื่อปีก่อน จากการประกาศวา่ เขาดูหมน่ิ ศาสนา ส่วนค่แู ขง่ ของนายวโิ ดโด กับนายอามนิ คือ พล.ท. ปราโบโว ซูเบยี นโต นายพลเกษียณราชการ วัย  ๖๖  ปี  ท่ีเคยพ่ายให้วิโดโดมาแล้วในการเลือกตั้งปี  ๒๕๕๗  และ นายซันเดียกา อูโน รองผูว้ า่ การกรุงจาการ์ตา วยั ๔๙ ปี นายกรัฐมนตรชี ินโซ อาเบะของญ่ปี ุ่นมีแนวโนม้ จะชนะเลือกตงั้ ประธานพรรคเสรีประชาธปิ ไตย (แอลดพี )ี อีกสมยั วนั ที่  ๑๐  สงิ หาคม  ๒๕๖๑  นายชเิ กรุ อชิ บิ ะ วัย ๖๑ ปี อดีตรัฐมนตรกี ลาโหมและรฐั มนตรีเกษตร ปา่ ไม้และประมง ประกาศว่า จะลงสมคั รชงิ ตำ� แหน่งประธานพรรคแอลดพี ี ในการเลือกตัง้ วันที่ ๒๐ กันยายน โดยชูเรื่องกอบกู้ความไว้วางใจทางการเมือง  แต่ผลการส�ำรวจของส่ือพบว่า  นายอาเบะวัย  ๖๓  ปี  ซึ่งด�ำรง ต�ำแหน่งประธานพรรคมาตั้งแต่เดือนกันยายน  ๒๕๕๕  และน�ำพรรคชนะเลือกตั้งในเดือนธันวาคมปีเดียวกัน มีเสยี งสมาชิกแอลดีพใี นมือแล้วร้อยละ ๗๐ จากท้ังหมด ๔๐๕ เสยี ง ส่วนอกี ๔๐๕ เสยี ง​  จะจดั สรรตามคะแนน ที่ได้จากสมาชกิ พรรค  หากไมม่ ผี ู้สมคั รคนใดได้เสียงข้างมากในการลงคะแนนรอบแรก  กจ็ ะ จัดการลงคะแนน รอบสอง  เป็นการลงคะแนนของ สมาชิกพรรค ๔๐๕ เสียง และสาขาพรรคระดับท้องถ่ิน ๔๗ เสยี ง ด้านนายฟูมโิ อะ กิชดิ ะ อดตี รัฐมนตรีต่างประเทศถอนตวั ตั้งแต่ยงั ไมเ่ ริ่มการแข่งขัน  ขณะท่นี างเซอโิ กะ  โนดะ  รฐั มนตรมี หาดไทย ทีห่ วังเป็นนายกรฐั มนตรีหญงิ คนแรกของประเทศตอ้ งไดเ้ สยี งสนบั สนนุ อยา่ งนอ้ ย  ๒๐  เสีย ง  จึงจะมสี ิทธิ ลงเลือกตั้งชิงประธานพรรคประธานพรรคแอลดพี ีคนใหมจ่ ะไดด้ ำ� รงต�ำแหน่งวาระ  ๓  ปี  และค่ อนข้างแน่ชัด ทจ่ี ะได้เป็นนายกรัฐมนตรเี น่อื งจากพรรคแอลดีพีครองเสยี งขา้ งมากในรฐั สภา  สถานีโทรทัศ น์เอน็ เอชเคเผยผล ส�ำรวจช่วงสุดสัปดาห์ที่ผ่านมาว่า  ผู้ตอบร้อยละ  ๓๕.๖  สนับสนุน พรรคแอลดีพีทิ้งขาดพรรคประชาธิปไตยรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น  ฝ่ายค้าน ทมี่ เี สยี งสนบั สนนุ เพียงรอ้ ยละ  ๕.๖  ขณะทผี่ ตู้ อบร้อยละ  ๔๓.๒  ไมช่ อบ พรรคใดเป็นพิเศษ  ญี่ปุ่นจะมีการเลือกตั้งท้องถ่ินในเดือนเมษายนปีหน้า และเลือกตั้งวฒุ ิสภาในเดอื นกรกฎาคมปหี นา้ นายชนิ โซ อาเบะ

แวดวงกรรมาธิการ 29 แวดวง คณะกรรมาธกิ าร คณะกรรมาธกิ ารการพลงั งาน สภานิตบิ ัญญตั แิ หง่ ชาติ วนั ที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ณ ศนู ยบ์ รกิ าร (Call Center) ชน้ั ๑ อาคารรฐั สภา ๒ พลเอก สกนธ์ สจั จานติ ย์ ประธานคณะกรรมาธิการการพลังงาน  สภานิติบัญญัติแห่งชาติ และคณะ  ให้การต้อนรับนายสุทิน  แสงสาคร  อิหม่าม มัสยิดเกาะปันหยีดารุสลาม  และคณะ  ที่ขอเข้าเยี่ยมคารวะ เพื่อแสดงความขอบคุณ  จากกรณีท่ีหมู่บ้านเกาะปันหยีไม่มี ไฟฟ้าใช้ ซงึ่ ทางคณะกรรมาธิการได้น�ำเรอ่ื งดงั กล่าวเข้าทป่ี ระชุม และแจง้ ขอความรว่ มมอื หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง ทำ� ใหก้ ารดำ� เนนิ การ มีความก้าวหนา้ และไดร้ ับการชว่ ยเหลอื เป็นอยา่ งดี คณะกรรมาธิการการสาธารณสุข สภานิติบญั ญตั ิแห่งชาติ วันท่ี  ๑๔  กรกฎาคม  ๒๕๖๑  ณ  โรงพยาบาลนครพนม  จังหวัดนครพนม  นายเจตน์  ศิรธรานนท์ ประธานคณะกรรมาธกิ ารการสาธารณสขุ   สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาต ิ ศกึ ษาดงู านเกย่ี วกบั การดำ� เนนิ งานดา้ นสาธารณสขุ ตามนโยบายและยทุ ธศาสตรก์ ารบรหิ ารจดั การงบประมาณในพน้ื ที่ และระบบการให้บริการการส่งต่อผู้ป่วย  รวมทั้ง  การให้บริการ ในระบบปฐมภูมิ โดยมนี างพรรณทพิ า มธี รรม รองนายแพทย์ สาธารณสุขจังหวัดนครพนม  นายแพทย์ยงยุทธ  ตรีสกุล ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลนครพนม  และคณะ  ร่วมต้อนรับ พร้อมบรรยายสรปุ แลกเปล่ยี นความคดิ เห็น คณะกรรมาธิการการบรหิ ารราชการแผ่นดิน สภานติ บิ ัญญตั ิแหง่ ชาติ วนั ท่ี ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ณ ศาลากลางจังหวดั ลำ� พนู นายอนวุ ฒั น์ เมธีวบิ ูลวฒุ ิ ประธาน คณะอนุกรรมาธิการการจัดระบบการบริหารราชการส่วนกลาง  ส่วนภูมิภาค  และรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวง มหาดไทย ในคณะกรรมาธกิ ารการบริหารราชการแผน่ ดิน สภานติ ิบญั ญัตแิ ห่งชาติ รับฟงั การบรรยายสรปุ พร้อม แลกเปลีย่ นความคดิ เหน็ รว่ มกับ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรตั น์ ผู้ว่าราชการจังหวดั ลำ� พนู และหัวหนา้ ส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง  ในประเด็นการด�ำเนินการรับเรื่องราวร้องทุกข์และ การแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนต่าง  ๆ  ในพ้ืนท่ีภารกิจโครงสร้าง และกรอบอตั รากำ� ลงั ของศนู ยด์ ำ� รงธรรมจงั หวดั และศนู ยด์ ำ� รงธรรม อ�ำเภอ  รวมถึงประเด็นการประกอบธุรกิจให้เช่าท่ีพักของ ผู้ประกอบการในพื้นท่ี  และการด�ำเนินการขออนุญาตตาม กฎหมายที่เก่ียวข้อง และการด�ำเนนิ งานตามแผนงานโครงการ ยุทธศาสตรจ์ งั หวดั และการบูรณาการรองรับการปฏิรปู ประเทศ ตามยุทธศาสตร์ชาตขิ องจงั หวัดลำ� พนู

เอกสารขา่ วรัฐสภา 30 คณะกรรมาธกิ ารการเกษตรและสหกรณ์ สภานติ บิ ญั ญัตแิ หง่ ชาติ วนั ท่ี ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ณ หอ้ งโถง อาคารรฐั สภา ๑ นายพรี ะศกั ดิ์ พอจิต รองประธาน สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาติ คนทสี่ อง พรอ้ มดว้ ยพลเอก ดนยั มชี เู วท ประธานคณะกรรมาธกิ ารการเกษตรและสหกรณ์ สภานติ ิบัญญัตแิ ห่งชาติ และนายวิทวัส บญุ ญสถิตย์ โฆษกคณะกรรมาธกิ ารการเศรษฐกิจ การเงินและการคลงั สภานิติบัญญัติแห่งชาติ  รับหนังสือจาก  กลุ่มภาคีเครือข่ายการยาสูบแห่งประเทศไทย  น�ำโดย  นายณรงค์ศักดิ์ กิจพิทักษ์  ประธานชมรมชาวไร่บ่มเอง  เพื่อแสดงความขอบคุณท่ีสภานิติบัญญัติแห่งชาติ  ได้ผลักดันและ ประสานงานเพ่ือหาแนวทางช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกใบยาสูบ  จากกรณีที่ประธานสภาองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดแพร่  ได้เข้าพบเพื่อย่ืนหนังสือขอให้ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ  พิจารณาหาแนวทางช่วยเหลือ ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากพระราชบัญญัติสรรพสามิต พ.ศ.  ๒๕๖๐  และกฎกระทรวงพิกัดอัตราภาษีสรรพ สามิตซึ่งส่งผลกระทบต่อเกษตรกรผู้ปลูกใบยาสูบในพ้ืนที่ ภาคเหนอื และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ รวม ๑๗ จังหวดั และผู้ประกอบอาชีพท่ีเกีย่ วขอ้ งกับการปลูกใบยาสบู คณะกรรมาธิการการพลงั งาน สภานติ ิบญั ญตั ิแหง่ ชาติ วนั ท่ี ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ณ จงั หวดั ระยอง คณะกรรมาธิการการพลงั งาน สภานิตบิ ัญญัตแิ ห่งชาติ โดย  พลเอก  ศุภกร  สงวนชาติศรไกร  รองประธานคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาและติดตามด้าน พลงั งานทดแทน พร้อมดว้ ย พลโท อ�ำพน ชปู ระทมุ ประธานคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศกึ ษาและติดตาม ด้านพลังงานฟอสซลิ และคณะ ศึกษาดงู านบรษิ ัท เอสซจี ี เคมิคอลส์ และเยีย่ มชมกิจการ Floating Solar Farm หรือโซลาร์ฟารม์ ลอยนำ้� แหง่ แรกของประเทศไทยบนพนื้ น้�ำขนาด ๗ ไร่ ซึง่ เป็นการต่อยอดจากธุรกจิ ปิโตรเคมี ด้วยการน�ำเม็ดพลาสติกโพลิเอทิลีนเกรดพิเศษมาออกแบบและพัฒนาเป็นทุ่นลอยส�ำหรับใช้กับแผงโซลาร์ ซึ่งประหยัดพ้ืนท่ีได้ถึงร้อยละ  ๑๐  เม่ือเทียบกับ การติดต้ังโซลาร์เซลล์แบบลอยน�้ำชนิดอื่น  ๆ  จากนั้น ศึกษาดูงานและรับฟังภาพรวมการด�ำเนินธุรกิจโรงกล่ัน ของบรษิ ทั สตาร์ ปโิ ตรเลยี ม รไี ฟน์นงิ่ จ�ำกดั (มหาชน) ซ่งึ มกี �ำลังการกลั่นน้�ำมนั ดิบ ๑๖๕,๐๐๐ บารเ์รลต่อวนั คิดเป็นก�ำลังการผลิตสัดส่วนร้อยละ  ๑๓  ของก�ำลัง การกลัน่ น�้ำมนั ดบิ ทัง้ หมดของประเทศไทย

แวดวงกรรมาธกิ าร 31 คณะกรรมาธิการการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สารสนเทศ และการส่ือสารมวลชน สภานติ ิบญั ญัตแิ หง่ ชาติ วนั ที่๑๘กรกฎาคม๒๕๖๑ณหอ้ งรบั รอง๑-๒ชนั้ ๓อาคารรฐั สภา๒พลอากาศเอกชาลีจนั ทรเ์ รอื งประธาน คณะกรรมาธิการการวิทยาศาสตร์  เทคโนโลยี  สารสนเทศ  และการสื่อสารมวลชน  สภานิติบัญญัติแห่งชาติ เปน็ ประธานเปดิ การเสวนาเรอ่ื ง “กระตกุ ตอ่ มเทคโนฯ รบั มอื ดจิ ทิ ลั พลกิ โลก (Digital Disruption and Transformation)” ทั้งนี้  วัตถุประสงค์การจัดเสวนาครั้งนี้เพ่ือเป็นการแลกเปล่ียนข้อมูลและสร้างความรับรู้ความเข้าใจ  ตลอดจน เตรียมความพร้อมในการรองรับผลกระทบจาก  Digital  Disruption  ท่ีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงและ ความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลย ี ตลอดจนการนำ� ดจิ ทิ ลั เทคโนโลยมี าประยกุ ต์ ใช้ในการสร้างโอกาสให้กับทุกภาคส่วน  เพ่ือก�ำหนดเป้าหมาย การเติบโตในอนาคตและยกระดับการท�ำงานให้ก้าวทันกับกระแสโลก ดิจิทัล  พร้อมท้ังเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กรภาครัฐและภาคเอกชน ท่ีเกี่ยวข้อง  ตลอดจนผู้มีบทบาทส�ำคัญในการพิจารณากฎหมายเพ่ือ เตรียมการจัดทำ� นโยบายและบญั ญตั ิกฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ้ ง คณะกรรมาธกิ ารการพาณิชย์ การอตุ สาหกรรม และการแรงงาน สภานิตบิ ัญญตั ิแหง่ ชาติ วันท่ี ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ณ กรงุ ฮานอย สาธารณรฐั สังคมนยิ มเวียดนาม พลเอก สิงห์ศึก สงิ ห์ไพร ประธานคณะกรรมาธิการการพาณิชย์  การอุตสาหกรรม  และการแรงงาน  สภานิติบัญญัติแห่งชาติ  และคณะ ศกึ ษาดูงานการด�ำเนินธุรกจิ ของ Big C Thang Long กรงุ ฮานอย และ หารอื เกยี่ วกบั กฎหมายการลงทนุ ของชาวตา่ งชาต ิ จากนน้ั   คณะฯ  ไดป้ ระชมุ ทวิภาคีกับนางสาวพรรณกาญจน์  เจียมสุชน  ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน ส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ  พร้อมท้ังรับฟังปัญหาอุปสรรคของ นักลงทุนไทยในเวียดนาม  ข้อมูลด้านการค้าการลงทุน  และเย่ียมชม ตลาดลองเบียนตลาดคา้ สง่ ผลไม้ คณะกรรมาธกิ ารการศาสนา ศลิ ปะ วัฒนธรรมและการทอ่ งเที่ยว สภานิติบัญญตั แิ หง่ ชาติ วนั ที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ณ ห้องรับรอง ๑-๒ ชนั้ ๓ อาคารรัฐสภา ๒ นายสมพร เทพสิทธา ประธาน คณะอนุกรรมาธิการด้านการศาสนา  ในคณะกรรมาธิการการศาสนา  ศิลปะ  วัฒนธรรมและการท่องเท่ียว สภานิติบัญญัติแห่งชาติ  เป็นประธานเปิดการสัมมนาเรื่อง  “การอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนา และศาสนาอื่น”  ทั้งนี้  การจัดสัมมนาในคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย  พุทธศักราช  ๒๕๖๐  มาตรา  ๖๗  อีกทั้งเพื่อรวบรวมข้อมูลและข้อคิดเห็นประกอบการ พิจารณาในการจัดท�ำแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการ  โดยให้ผู้แทนองค์การศาสนาได้มีโอกาสแสดงความเห็น และให้ข้อเสนอแนะเก่ียวกับการอุปถัมภ์และคุ้มครองศาสนาในประเทศไทยเสนอต่อหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องต่อไป ส�ำหรับการจัดสัมมนาในคร้ังน้ีมีผู้เข้าร่วมสัมมนา  ได้แก่  ผู้แทน จากองคก์ ารพระพุทธศาสนา ผ้แู ทนจากองค์การศาสนาอิสลาม ผู้แทนจากองค์การศาสนาคริสต์  ผู้แทนจากองค์การศาสนา พราหมณ์ ฮนิ ดู ผแู้ ทนจากองคก์ ารศาสนาซกิ ข์ ผแู้ ทนของหนว่ ยงาน ราชการ  และสถาบนั การศกึ ษาทเี่ กี่ยวข้อง

เอกสารข่าวรัฐสภา 32 คณะกรรมาธิการการพาณิชย์ การอุตสาหกรรม และการแรงงาน สภานิตบิ ญั ญัตแิ หง่ ชาติ วนั จนั ทร์ที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ณ สาธารณรฐั ประชาชนจนี พลเอก สิงห์ศกึ สงิ ห์ไพร ประธาน คณะกรรมาธิการการพาณิชย์ การอตุ สาหกรรม และการแรงงาน สภานติ ิบัญญัติแหง่ ชาติ เขา้ ร่วมประชมุ ทวภิ าคี กบั นายเหลา หนิงจวิน รองนายกเทศมนตรีเมอื งฉงจ่ัว เก่ยี วกบั นิคมอุตสาหกรรมไทย-เมืองฉงจ่วั ซง่ึ เป็นหนึ่งใน นิคมอตุ สาหกรรมท่ีส�ำคัญในกว่างซี ท่เี นน้ ความร่วมมือในกลมุ่ อาเซียนเมอื งฉง จากนั้น ไดเ้ ข้าเยยี่ มชมโรงงาน น้�ำตาลฝหู นานตงย่าตง้ั อยู่อำ� เภอฝสู ยุ มีสายการหบี ออ้ ย ๑๗,๐๐๐ ตนั ตอ่ วัน โรงงานดงั กล่าวไดร้ บั การรับรองระบบคณุ ภาพและการจัดการ ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มท่ไี ดร้ บั รางวลั จากรฐั บาลจนี พรอ้ มทงั้ ได้เย่ยี มชมฐาน สาธติ และการจ�ำหนา่ ยนวัตกรรมท่ีเป็น Start up เปน็ พ้นื ท่พี ัฒนาด้าน ไฮเทคของนครหนานหนงิ มบี รษิ ัทด้านวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยมี า รวมอยู่เพื่อผลิตและจ�ำหน่ายสินค้านวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยจี ำ� นวนมาก คณะกรรมาธิการการสังคม กจิ การเด็ก เยาวชน สตรี ผสู้ งู อายุ คนพิการและผดู้ อ้ ยโอกาส สภานติ ิบญั ญัติ วนั ท่ี ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ณ เทศบาลต�ำบลบา้ นนาเดมิ จงั หวัดสุราษฎรธ์ าน ี พลเรอื เอก  พลวฒั น์ สิโรดม  ประธานคณะอนุกรรมาธิการกิจการผู้สูงอายุ  ในคณะกรรมาธิการ การสังคมกิจการเด็ก  เยาวชน  สตรี  ผู้สูงอายุ  คนพิการและผู้ด้อยโอกาส สภานิติบัญญัต ิ และคณะ  ได้เดนิ ทางไปศึกษาดงู านด้านการดแู ล ส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุของอ�ำเภอบ้านนาเดิม  เทศบาลต�ำบล บ้านนา โรงเรยี นผสู้ งู อายุของบ้านนาเดิม และศูนยเ์ ดยแ์ คร์ คณะกรรมาธกิ ารการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ สภานติ บิ ัญญัติแห่งชาติ วันที่  ๒  สิงหาคม  ๒๕๖๑  ณ  อาคารรัฐสภา  ๒  พลเอก  บุญสร้าง  เนียมประดิษฐ์  ประธาน คณะกรรมาธิการการบริหารราชการแผ่นดิน  สภานิติบัญญัติแห่งชาติ  เป็นประธานการประชุมเพ่ือพิจารณา แผนโครงการและก�ำหนดการศึกษาดูงานและสัมมนาของคณะกรรมาธิการการบริหารราชการแผ่นดิน สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาติ ณ จงั หวดั จนั ทบรุ ี โดยทป่ี ระชมุ จะเดนิ ทางไปจงั หวดั จนั ทบรุ ี เพอ่ื หารอื กบั ผบู้ รหิ ารจงั หวดั และผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในประเด็นแนวทางการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติให้ สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล  รวมถึงประเด็นสถานการณ์ความม่ันคงในพื้นที่ชายแดนกับประเทศเพื่อนบ้าน จากนั้น  ที่ประชุมยังได้หารือเกี่ยวกับประเด็นสิทธิประโยชน์ของเงินบ�ำเหน็จตกทอดตามกฎหมายว่า ด้วยบ�ำเหน็จบ�ำนาญข้าราชการที่ได้มอบหมายให้คณะอนุกรรมาธิการการปกครอง  การบริหารราชการแผ่นดิน และการพัฒนาระบบราชการ  จัดท�ำความเห็นและข้อเสนอแนะไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง  โดยท่ีประชุม เห็นว่าประเด็นสิทธิประโยชน์ของเงินบ�ำเหน็จตกทอดตามกฎหมายว่าด้วยบ�ำเหน็จบ�ำนาญข้าราชการควรดูท่ีกลุ่ม ข้าราชการบ�ำนาญที่ได้รับความเดือดร้อนเป็นหลัก  ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มผู้ได้รับบ�ำนาญรายเดือนน้อยไม่เพียง พอต่อการด�ำรงชีพ  ดังนั้น  การจ่ายบ�ำเหน็จด�ำรงชีพ  ควรอ้างอิงจาก กลมุ่ คนท่ีไดร้ บั ความเดือดร้อนเป็นหลกั ซ่ึงขณะน้คี ณะอนกุ รรมาธกิ ารฯ ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ก�ำลงั อยรู่ ะหว่างการรวบรวมความเห็น  พร้อมจัดท�ำ เป็นข้อเสนอแนะต่อไป

แวดวงกรรมาธกิ าร 33 คณะกรรมาธกิ ารการกฎหมาย กระบวนการยตุ ิธรรมและกิจการตำ� รวจ สภานิตบิ ัญญตั แิ ห่งชาติ วนั ท่ี ๖ สงิ หาคม ๒๕๖๑ ณ ต�ำรวจภธู รภาค ๘ พลตำ� รวจโท วิบูลย์ บางทา่ ไม้ ประธานคณะอนุกรรมาธิการ กิจการตำ� รวจ ในคณะกรรมาธกิ ารการกฎหมาย กระบวนการยตุ ิธรรมและกจิ การตำ� รวจ สภานติ บิ ัญญัติแห่งชาติ และคณะ  ศึกษาดูงานเพ่ือรับทราบข้อมูลเก่ียวกับการปฏิบัติงาน ด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม  มาตรการเกี่ยวกับ การเก็บรักษารถของกลาง  และแนวทางการด�ำเนินการเพื่อให้ ประชาชนสวมหมวกนิรภัยในขณะท่ีขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์ ตลอดจนปัญหาและอุปสรรคในการด�ำเนินงานของต�ำรวจภูธรภาค  ๘  เพ่ือรวบรวมข้อมูลและน�ำไปประกอบการพิจารณาศึกษาตาม หนา้ ท่ีและอำ� นาจของคณะกรรมาธกิ ารต่อไป คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเก่ียวกับการขัดกันระหว่างประโยชน์ สว่ นบุคคลกบั ประโยชน์สว่ นรวม พ.ศ. …. สภานิติบัญญัติ วันท่ี ๖ สงิ หาคม ๒๕๖๑ ณ สำ� นักงาน ป.ป.ช. ประจำ� จงั หวดั หนองคาย พลตำ� รวจเอก ชัชวาลย์ สุขสมจิตร์  ประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเก่ียวกับการขัดกัน ระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นบุคคลกับประโยชน์สว่ นรวม พ.ศ. …. สภานติ ิบัญญตั ิ และนายเจริญศกั ดิ์ ศาลากิจ และ พลเอก สงิ หศ์ ึก สิงห์ไพร ศกึ ษาดงู านเพือ่ รบั ทราบขอ้ มลู เก่ยี วกบั ผลกระทบจากการตรากฎหมายร่างพระราช บัญญตั ิวา่ ดว้ ยความผิดเกย่ี วกับการขดั กนั ระหวา่ งประโยชน์สว่ นบคุ คลกับประโยชนส์ ว่ นรวม พ.ศ. …. จากนั้น  เข้าร่วมเสวนาทางวิชาการเรื่อง  “รับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิด เกี่ยวกับการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลกับประโยชน์ สว่ นรวม พ.ศ. …. สัญจร คร้งั ท่ี ๒” ณ โรงแรมอมันตา จังหวดั หนองคาย  โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื รบั ฟงั ความคดิ เหน็   รบั ทราบขอ้ มลู และให้ความรู้เก่ียวกับร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเก่ียวกับ การขดั กนั ระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นบคุ คลกบั ประโยชนส์ ว่ นรวม พ.ศ.  .... คณะกรรมาธิการการพาณชิ ย์ การอุตสาหกรรม และการแรงงาน สภานิตบิ ญั ญัติ วันท่ี ๖ สิงหาคม ๒๕๖๑ ณ ทว่ี า่ การอ�ำเภอเวียงแหง จงั หวดั เชียงใหม่ ประกอบดว้ ย พลเอก ยทุ ธศิลป์ โดยช่ืนงาม  ประธานคณะอนุกรรมาธิการสนับสนุนภารกิจพาณิชย์  อุตสาหกรรม  และการแรงงาน  ในคณะ กรรมาธิการการพาณิชย์ การอตุ สาหกรรม และการแรงงาน สภานิตบิ ัญญตั ิ พรอ้ มด้วยคณะ เยีย่ มชมและศกึ ษา การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีเก่ียวกับข้ันตอนการขออนุญาตออกนอก เขตพื้นท่ีควบคุมของชนกลุ่มน้อยหรือกลุ่มชาติพันธุ์ที่ไม่มีสัญชาติไทย ทอ่ี าศัยอยใู่ นอ�ำเภอเวยี งแหง โดยมนี ายชัชวาลย์ พุทธโธ นายอ�ำเภอ เวยี งแหง ใหก้ ารตอ้ นรบั จากนนั้ เขา้ รว่ มประชมุ กบั นายอำ� เภอเวยี งแหง ก�ำนัน  ผู้ใหญ่บ้าน  ผู้น�ำชุมชน  และตัวแทนชนกลุ่มน้อยหรือกลุ่ม ชาติพันธุ์ฯ  ที่อาศัยอยู่ในอ�ำเภอเวียงแหง  ในประเด็นเก่ียวกับการ ท�ำงานของคนต่างด้าวที่เป็นชนกลุ่มน้อยหรือกลุ่มชาติพันธุ์ที่ไม่มี สญั ชาติไทย

เอกสารข่าวรัฐสภา 34 คณะกรรมาธิการการกฎหมาย กระบวนการยตุ ิธรรมและกิจการตำ� รวจ สภานิตบิ ัญญตั ิแห่งชาติ วนั ที่ ๗ สงิ หาคม ๒๕๖๑ ณ หอ้ งกานดาฮอลล์ ชัน้ ๒ โรงแรมกะตะบีช รสี อร์ท แอนดส์ ปา จังหวดั ภเู ก็ต พลเรอื เอก ศิษฐวชั ร วงษ์สวุ รรณ ประธานคณะกรรมาธกิ ารการกฎหมาย กระบวนการยุติธรรมและกจิ การ ต�ำรวจ  สภานิติบัญญัติแห่งชาติ  เป็นประธานเปิดการสัมมนา  “แนวทางด�ำเนินการให้ประชาชนสวมหมวก นริ ภัยเพอื่ ความปลอดภยั ในการขับขร่ี ถจักรยานยนต”์ ซง่ึ การสัมมนาในครั้งน้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อใหท้ ุกภาคส่วน ท้งั ภาครฐั และเอกชน และโดยเฉพาะประชาชนผใู้ ช้รถจักรยานยนต์ท้งั ผขู้ บั ขแี่ ละผโู้ ดยสาร ตระหนักถงึ ความสำ� คญั ในการสวมหมวกนิรภัยในขณะขับข่ีและโดยสารรถจักรยานยนต์บนท้องถนน  และเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง ทกุ ภาคส่วนได้มีส่วนรว่ มแสดงความคิดเหน็ และนำ� เสนอข้อเท็จจรงิ และสภาพปญั หา ตลอดจนเสนอแนะเกย่ี วกบั แนวทางการด�ำเนินการเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนสวมหมวกนิรภัยในขณะขับขี่และโดยสารรถจักรยานยนต์  โดยมี ผูแ้ ทนจากส�ำนักงานศาลยุตธิ รรม ส�ำนกั งานอยั การสงู สุด ส�ำนักงาน ตำ� รวจแห่งชาติ ฝ่ายปกครอง องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น ส�ำนักงาน ศกึ ษาธิการจังหวดั สำ� นกั งานสาธารณสุขจังหวัด  ผูแ้ ทนองค์กรอิสระ องคก์ รเอกชน สื่อมวลชน และประชาชนที่สนใจ เขา้ รว่ มการสัมมนา คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพจิ ารณาศึกษาการจดั ตั้งหนว่ ยงานเพอ่ื บรหิ ารการสง่ เสริมวิสาหกจิ ขนาดกลาง ขนาด เลก็ และขนาดยอ่ ย สภานิตบิ ญั ญตั ิแห่งชาติ วันท่ี ๗ สิงหาคม ๒๕๖๑ ณ ห้องวายุภกั ษ์ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง ประกอบด้วย พันตำ� รวจโท พงษช์ ัย วราชิต ประธานคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาศกึ ษาการจัดต้ังหนว่ ยงานเพ่ือบรหิ ารการส่งเสริมวสิ าหกิจ ขนาดกลาง ขนาดเลก็ และขนาดย่อย สภานติ บิ ัญญตั แิ หง่ ชาติ และคณะ เดนิ ทางเข้าพบนายอภศิ ักด์ิ ตันตวิ รวงศ์ รัฐมนตรวี า่ การ กระทรวงการคลัง  เพื่อหารือและแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นเก่ียวกับ แนวทางการจัดต้ังหน่วยงานเพ่ือบริหารการส่งเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก และขนาดย่อย พรอ้ มทัง้ หารอื เกีย่ วกบั ปญั หาและอปุ สรรคตา่ ง ๆ เพือ่ นำ� ข้อมลู ดังกลา่ วไปประกอบการ พิจารณาศึกษาการจัดต้ังหน่วยงานเพื่อบริหารการส่งเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลาง ขนาดเลก็ และขนาดยอ่ ย และช่วยเหลอื คนจนไม่ให้มีหนส้ี ินทงั้ ในและนอกระบบตอ่ ไป

กฎหมายควรร� 3๕ กฎหมายควรรู้ พระราชบัญญตั กิ ารยาสบู แหง ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ หลกั การและเหตผุ ล โดยท่ีโรงงานยาสูบ กระทรวงการคลังเป็นรัฐวิสาหกิจประเภทหน่วยงานธุรกิจท่ีรัฐบาลเป็นเจ้าของ แต่ไม่เป็นนิติบุคคล ทําให้มีข้อจํากัดบางประการในการดําเนินกิจการ ประกอบกับการผลิตบุหรี่ซิกาแรตเป็น กิจการผูกขาดของรัฐ สมควรดําเนินการโดยนิติบุคคลซึ่งจัดข้ึนโดยกฎหมายเฉพาะและกําหนดให้มีคณะกรรมการ การยาสูบแห่งประเทศไทยซ่ึงแต่งต้ังจากผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ เพ่ือทําหน้าท่ีและมีอํานาจวาง นโยบายและควบคุมกิจการอันจะส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพในเชิงอุตสาหกรรมและขจัดอุปสรรคในการดําเนิน ธรุ กจิ รวมทงั้ สง่ เสรมิ ดา้ นการวจิ ยั และพฒั นา การปรบั ปรงุ และควบคมุ มาตรฐานการผลติ โดยคาํ นงึ ถงึ ความรบั ผดิ ชอบ ตอ่ สงั คม จึงจาํ เป็นต้องตราพระราชบัญญัตนิ ี้ สรุปสาระสําคัญของพระราชบัญญัติ การยาสูบแห่งประเทศไทย การยาสบู แหง่ ประเทศไทย หรอื “ยสท.” (Tobacco Authority of Thailand : TOAT ) จัดต้งั ขน้ึ เพอ่ื ประกอบ อุตสาหกรรมและดําเนินธุรกิจเก่ียวกับยาสูบ ใบยา หรือ ผลติ ภัณฑ์จากพชื อืน่ ท้งั ในและนอกราชอาณาจกั ร รับจา้ ง ผลติ ยาสบู เพอ่ื สง่ ออกไปจาํ หนา่ ยนอกราชอาณาจกั ร ดาํ เนนิ ธุรกิจเกี่ยวกับอุปกรณ์ เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ท่ีเก่ียวข้อง กับอุตสาหกรรม หรือธุรกิจส่งเสริมให้มีการศึกษา วิจัย พัฒนา และปรบั ปรงุ คุณภาพและมาตรฐานการผลติ ยาสูบ ใบยา หรือผลิตภัณฑ์จากพืชอ่ืน และให้ความร่วมมือกับ หน่วยงานของรัฐในการปองกันและปราบปรามการกระทํา ความผดิ เกยี่ วกับยาสูบ ใบยา หรือผลิตภณั ฑ์จากพืชอน่ื

เอกสารขาวรัฐสภา 3๖ อา� นาจหนา้ ท่ขี องการยาสูบแหง่ ประเทศไทย การยาสูบแห่งประเทศไทย มีอํานาจกระทํากิจการภายในขอบแห่งวัตถุประสงค์ของการจัดตั้ง ยสท. ท้ังในและนอกราชอาณาจักรและมีอาํ นาจในการถอื กรรมสทิ ธ์ิ มีสทิ ธิครอบครอง มที รพั ยสทิ ธิต่าง ๆ หรอื มสี ิทธิอืน่ กระทํานิตกิ รรมใด ๆ ชว่ ยเหลอื แนะนํา ให้คําปรึกษา ฝกอบรม ใหค้ วามรหู้ รอื ความร่วมมือทางวชิ าการ เกีย่ วกบั ยาสูบ ใบยา หรอื ผลติ ภณั ฑ์จากพืชอน่ื กู้หรอื ยมื เงนิ ให้กู้หรอื ให้ยมื เงินโดยมีหลักประกนั ด้วยบคุ คลหรือทรัพยส์ ิน เพื่อส่งเสริมกิจการใบยา อุตสาหกรรมยาสูบ หรือผลิตภัณฑ์จากพืชอื่น สามารถออกพันธบัตรหรือตราสาร อ่ืนใดเพื่อใช้ในการลงทุน จัดตั้งบริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัดเพื่อประกอบธุรกิจเก่ียวกับหรือเก่ียวเนื่อง กบั กจิ การของ ยสท. ทง้ั น้ี บรษิ ทั จาํ กดั หรอื บรษิ ทั มหาชนจาํ กดั ทจี่ ดั ตง้ั ในราชอาณาจกั รจะมคี นตา่ งดา้ ว ตามกฎหมาย ว่าด้วยการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวถือหุ้นอันเป็นทุนเกินกว่าร้อยละสี่สิบเก้าของทุนจดทะเบียนของบริษัท นนั้ ไมไ่ ด้ สามารถเขา้ ร่วมกจิ การกบั หนว่ ยงานอืน่ ไมว่ า่ จะเป็นของเอกชนหรือของรฐั ทั้งในและนอกราชอาณาจักร หรือเข้าเป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนท่ีเป็นนิติบุคคล หรือถือหุ้นในบริษัทจํากัด หรือบริษัทมหาชนจํากัด ทั้งน้ี เพ่ือประโยชนแ์ กก่ ิจการอนั อย่ใู นวตั ถปุ ระสงคข์ อง ยสท. คณะกรรมการการยาสบู แห่งประเทศไทย ประกอบด้วย ประธานกรรมการหน่ึงคนและกรรมการอื่นอีกไม่เกินเก้าคน โดยให้คณะรัฐมนตรีเป็น ผู้แต่งตั้งประธาน กรรมการ และกรรมการ ต้องมีความรู้ความเช่ียวชาญ ด้านเกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์ วศิ วกรรมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การบรหิ าร เทคโนโลยสี ารสนเทศหรือกฎหมาย มีวาระการดํารง ตาํ แหน่งคราวละสามป ี และดํารงตําแหนง่ ตดิ ต่อกันไม่เกนิ สองวาระ ในกรณีที่ประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งพ้นจากตําแหน่งก่อนวาระ ให้คณะ กรรมการ ประกอบดว้ ย กรรมการทง้ั หมดทม่ี อี ยจู่ นกวา่ จะมกี ารแตง่ ตงั้ ประธานกรรมการหรอื กรรมการแทนตาํ แหนง่ ท่ีว่าง และในกรณีท่ีประธานกรรมการพ้นจากตําแหน่งก่อนวาระ ให้กรรมการที่เหลือเลือกกรรมการคนหนึ่ง ทําหนา้ ทปี่ ระธานกรรมการเป็นการชั่วคราว ในกรณีท่ีคณะรัฐมนตรีแต่งต้ังประธานกรรมการหรือกรรมการแทนตําแหน่งที่ว่างหรือในกรณีที่คณะ รฐั มนตรีแตง่ ต้งั กรรมการเพิม่ ขึ้นในระหว่างท่กี รรมการซึ่งแตง่ ตัง้ ไวแ้ ลว้ ยังมวี าระอยู่ในตําแหน่ง ให้ผทู้ ่ไี ดร้ บั แตง่ ตงั้ แทนตําแหน่งท่ีว่าง หรือเป็นกรรมการเพ่ิมข้ึนอยู่ในตําแหน่งเท่ากับวาระท่ีเหลืออยู่ของกรรมการซึ่งได้แต่งตั้ง ไวแ้ ล้ว อา� นาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการยาสบู แหง่ ประเทศไทย ๑. ออกระเบียบหรอื ข้อบังคับเพอื่ ปฏบิ ตั กิ ารใหเ้ ปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์และอํานาจ ๒. ประกาศกาํ หนดหลกั เกณฑแ์ ละเงอ่ื นไขเกย่ี วกบั การประกอบกจิ การใบยา หรอื การดาํ เนนิ การ เกย่ี วกบั ผลิตภณั ฑจ์ ากพืชอนื่ ๓. ออกระเบยี บหรือขอ้ บังคบั เก่ียวกับการบริหารและการดําเนนิ งาน ๔. ออกระเบยี บหรอื ขอ้ บงั คบั การประชมุ และการดาํ เนินกิจการของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ ๕. ออกขอ้ บังคับว่าดว้ ยการปฏบิ ัตงิ านของผวู้ า่ การ และการมอบใหผ้ ูอ้ ื่นปฏิบตั งิ านแทนผ้วู า่ การ ๖. ออกระเบียบหรอื ข้อบังคับว่าด้วยการบรรจุ แตง่ ตั้ง การประเมินผลงาน การเลอ่ื นเงินเดือน หรือ ลดเงินเดอื น วนิ ยั และการลงโทษทางวนิ ัย การรอ้ งทกุ ขแ์ ละการอทุ ธรณก์ ารลงโทษทางวินยั การออกจากตาํ แหนง่ ตลอดจนการกําหนดตาํ แหนง่ อัตราเงินเดือน ค่าจ้าง และเงนิ อนื่ ๆ ของพนักงาน และลกู จา้ ง

กฎหมายควรรู้ 37 ๗. ออกข้อบังคับว่าด้วยกองทุนสงเคราะห์  หรือการสงเคราะห์อื่นเพื่อสวัสดิการของพนักงาน  ลูกจ้าง และครอบครัว ๘. ออกระเบียบว่าด้วยเคร่ืองแบบและเคร่ืองแต่งกายของประธานกรรมการ  กรรมการ  ผู้ว่าการ  และ พนกั งาน ๙. แตง่ ต้ังคณะอนุกรรมการเพอ่ื ดําเนินกจิ การตามท่คี ณะกรรมการมอบหมาย ผ้วู า่ การการยาสบู แห่งประเทศไทย ผู้ว่าการการยาสูบแห่งประเทศไทยเป็นกรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการการยาสูบ แหง่ ประเทศไทย มวี าระอยใู่ นตาํ แหนง่ คราวละไมเ่ กนิ สปี่ ี และอาจไดร้ บั แตง่ ตงั้ อกี ได้ แตต่ อ้ งไมเ่ กนิ สองวาระตดิ ตอ่ กนั และใหผ้ ู้วา่ การฯ แตง่ ตง้ั พนักงาน จํานวนไม่เกนิ สองคน เปน็ ผู้ช่วยเลขานกุ าร อ�ำนาจหนา้ ทขี่ องผู้วา่ การการยาสบู แหง่ ประเทศไทย ๑. บรรจุ แตง่ ต้ัง ถอดถอน เลอ่ื น ลด ตดั เงินเดือนหรอื ค่าจ้าง ลงโทษทางวินัย และกิจการอ่ืน ดา้ นการ บรหิ ารงานบคุ คลของพนกั งานและลกู จ้าง ตามระเบียบหรอื ข้อบังคับทคี่ ณะกรรมการกาํ หนด แต่ถ้าเปน็ พนกั งาน ตง้ั แตต่ าํ แหนง่ ผู้อาํ นวยการฝา่ ยหรอื เทยี บเทา่ ขน้ึ ไปจะต้องได้รบั ความเหน็ ชอบ จากคณะกรรมการก่อน ๒. วางระเบียบเกี่ยวกับการปฏบิ ัตงิ านและกําหนดเง่อื นไขในการทํางานของพนักงานและ ลกู จา้ ง โดย ไม่ขัดหรอื แย้งกับระเบยี บหรือขอ้ บังคบั และนโยบายท่คี ณะกรรมการกําหนด ในกรณีที่ผู้ว่าการไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ีได้ด้วยเหตุหน่ึงเหตุใด  หรือเม่ือตําแหน่ง  ผู้ว่าการว่างลงและยัง มิไดม้ กี ารแต่งต้งั ผูว้ า่ การ ใหค้ ณะกรรมการแต่งตงั้ พนกั งานในระดบั รองผู้ว่าการคนหน่ึงเปน็ ผูร้ กั ษาการแทน แตใ่ น กรณีท่ีไม่มีรองผู้ว่าการหรือรองผู้ว่าการไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้  ให้คณะกรรมการแต่งต้ังกรรมการคนหน่ึงเป็น ผูร้ ักษาการแทน ให้ผรู้ ักษาการแทนผวู้ า่ การมีหนา้ ท่แี ละอํานาจอย่างเดียวกบั ผวู้ ่าการ การก�ำกับดูแลและควบคุมการยาสูบแหง่ ประเทศไทย การยาสูบแห่งประเทศไทยจะอยู่ภายใต้การก�ำกับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง  ท่ีมีอ�ำนาจ ก�ำกบั กจิ การของ ยสท. ใหช้ ี้แจงข้อเทจ็ จรงิ แสดงความคิดเหน็ ท�ำรายงาน กระทาํ การหรอื ยับย้ังการกระทาํ ใด เพ่ือให้เป็นไปตามนโยบายของรัฐบาลหรือมติคณะรัฐมนตรีตลอดจนสั่งสอบสวนข้อเท็จจริงเก่ียวกับ  การดําเนิน กจิ การของ ยสท. ได้ นอกจากนี้ ยสท. ตอ้ งได้รบั ความเหน็ ชอบจากคณะรัฐมนตรกี ่อน จงึ จะดาํ เนนิ การ ดังต่อไปนไ้ี ด้ (๑) โครงการลงทนุ ท่ีมีมลู ค่าต้ังแต่หนึ่งพันล้านบาทขึ้นไป (๒) กู้ยมื หรอื ให้กูย้ มื เงนิ เปน็ จาํ นวนเกินคราวละหนงึ่ ร้อยลา้ นบาท (๓) ออกพันธบัตรหรอื ตราสารอน่ื ใดเพ่ือใชใ้ นการลงทุน (๔) จาํ หนา่ ยอสังหาริมทรพั ยท์ ่ีมีราคาเกินสบิ ล้านบาท (๕) จัดตั้งบริษทั จาํ กัดหรอื บริษัทมหาชนจาํ กดั ในหรอื นอกราชอาณาจักร (๖) เข้าร่วมกิจการกับบุคคลอื่น  หรือถือหุ้นในบริษัทจํากัด  บริษัทมหาชนจํากัด  หรือเข้าเป็นหุ้นส่วน ในหา้ งหนุ้ ส่วนท่ีเปน็ นิตบิ ุคคล

เอกสารขา วรฐั สภา 3๘ ภาพเก่าเล่าเรื่อง จากพระทีน่ ่งั อนนั ตสมาคม... สสู่ ปั ปายะสภาสถาน วลิ าสณิ ี ฉายรัตนตระกูล* หากกล่าวถึงประวัติการเปล่ียนแปลงการปกครองของไทย พ.ศ. ๒๔๗๕ เช่ือได้ว่าประชาชนชาวไทยทุกคนต่างผ่านกระบวนการการบ่มเพาะความรู้และ การศกึ ษาเกย่ี วกบั เรอ่ื งราวทางประวตั ศิ าสตรด์ งั กลา่ วมาเปน็ อยา่ งดี ทงั้ จากหลกั สตู รการ เรียนการสอนในสถาบันการศึกษา การเผยแพร่และการประชาสัมพันธ์จากหน่วยงาน ราชการต่าง ๆ การเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตยท่ีจัดโดยหน่วยงานของ ภาครัฐหรือภาคเอกชน หรือแม้แต่การศึกษาด้วยตนเองอันมีท่ีมาจากความสนใจ ส่วนบุคคล ในทางกลับกัน หากกล่าวถึงประวัติความเป็นมาของอาคารรัฐสภาไทย ซึ่งเป็นสถานที่ส�าคัญท่ีใช้เป็นที่ประชุมส�าหรับสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และการ ประชุมร่วมของสองสภาน้ัน กลับพบว่าประชาชนชาวไทยน้อยคนนักท่ีรู้จักประวัติ ความเป็นมาของอาคารแห่งนี้ ทั้งที่อาคารดังกล่าวอยู่คู่กับสถาบันและอ�านาจ นติ บิ ัญญัติของไทยมาอยา่ งยาวนาน นบั ตงั้ แต่ปี พ.ศ. ๒๔๗๕ กล่าวคือ ประวตั ิอาคาร รัฐสภาไทยน้ันมีจุดเริ่มต้นคู่ขนานกับการเปล่ียนแปลงการปกครองของไทยภายหลัง จากที่ประเทศไทยเปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็น ระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์เปน็ ประมขุ นบั ต้ังแตว่ ันท่ี ๒๔ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ นน้ั พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว รชั กาลท่ี ๗ ได้พระราชทาน พระบรมราชานุญาตให้คณะราษฎรใช้พระที่นั่งอนันตสมาคมเป็นสถานท่ีประชุม สภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกของผู้แทนราษฎรไทยชุดแรก เม่ือวันที่ ๒๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ หรือภายหลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง ๓ วัน ดังน้ัน พระที่นั่ง * วทิ ยากรชาํ นาญการ กลมุ งานวจิ ยั และพฒั นา สาํ นกั วชิ าการ สาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู ทนราษฎร

ภาพเก่าเล่าเรอ่ื ง 39 อนันตสมาคมจึงเป็นอาคารรัฐสภาแห่งแรกของประเทศไทย (พ.ศ.  ๒๔๗๕-๒๕๑๗)  นอกจากน้ี  ยังเป็นสถานที่ประกอบ พระราชพิธีและรัฐพิธีส�ำคัญต่าง  ๆ  อาท ิ พระราชพธิ สี ถาปนา สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  มหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร รชั กาลท ี่ ๑๐  ครง้ั ดำ� รงพระอสิ รยิ ยศเปน็ สมเดจ็ พระเจา้ ลกู ยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ  ข้ึนเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร  รัฐพิธีพระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราช อาณาจักรไทย  รัฐพิธีเปิดประชุมสภา  เป็นต้น  พระที่น่ัง อนันตสมาคมถูกสร้างข้ึนในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว รัชกาลท่ี ๕ เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๕๐ บริเวณถนนราชด�ำเนินนอก  เขตดุสิต  กรุงเทพฯ  ด้วย ทรงมีพระราชประสงค์ให้ใช้เป็นที่รับรองแขกบ้านแขกเมือง ราชอาคนั ตกุ ะและสถานทสี่ ำ� หรบั ประชมุ ปรกึ ษาราชการแผน่ ดนิ โดยทรงโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้เจ้าพระยายมราช (ปัน้ สุขุม) เป็นแม่กองจดั การก่อสรา้ ง นายมาริโอ ตามานโย สถาปนิกชาวอิตาลีเป็นนายช่างออกแบบ  ศาสตราจารย์ แกลิเลโอ คนิ ี และนายซี ริกลุ ี เป็นช่างเขยี นภาพ องคพ์ ระทนี่ ัง่ อนันตสมาคมถูกสร้างด้วยหินอ่อนจากเมืองคาราราประเทศ อิตาลีด้วยรูปแบบสถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ แห่งอิตาลี  (Italian  Renaissance)  ลักษณะเป็นอาคารสูง ๒ ชน้ั มโี ดมใหญอ่ ยตู่ รงกลาง และรายลอ้ มดว้ ยโดมเลก็ อกี ๖ โดม ชน้ั บนเปน็ หอ้ งโถงขนาดใหญ ่ ซึ่งแบ่งเป็นห้องโถง ประชุมและห้องโถงส�ำหรับประกอบพิธีต่าง  ๆ  ส่วนชั้นล่างประกอบด้วยห้องจ�ำนวน  ๑๔  ห้อง  แบ่งเป็นห้อง ขนาดเลก็ ๑๐ ห้อง หอ้ งขนาดกลางและใหญ่ อย่างละ ๒ ห้อง และมหี อ้ งโถงตรงกลางอกี ๑ ห้อง (คณะกรรมการ การสอื่ สารทางการเมอื ง,  ม.ป.ป.;  อสิ รยิ า  เลาหตีรานนท์,  ๒๕๕๒)  ต่อมา  เม่ือจ�ำนวนสมาชิกสภาเพิ่มข้ึนตามสัดส่วนของจ�ำนวนประชากรไทยที่ค่อยๆ  เพ่ิมสูงข้ึน  ท�ำให้ พระท่ีน่ังอนันตสมาคมคับแคบเกินกว่าท่ีใช้เป็นท่ีประชุมสภาได้อีกต่อไป  คณะรัฐบาลชุดจอมพลถนอม  กิตติขจร จึงได้กราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช  มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี  จักรีนฤบดินทร สยามินทราธริ าชบรมนาถบพิตร รชั กาลท่ี ๙ ขอพระราชทานท่ดี นิ ดา้ นหลงั พระท่ีนั่งอนันตสมาคม บริเวณถนน อทู่ องใน เขตดุสติ กรุงเทพฯ ซ่งึ เดมิ เป็นของหน่วยรถถงั กรมตำ� รวจ เพื่อจัดสรา้ งอาคารรัฐสภาแห่งใหมท่ ี่มีพนื้ ที่ มากกว่าเดมิ หรืออาคารรัฐสภาปัจจบุ ัน (พ.ศ. ๒๕๑๗–ปัจจบุ ัน) ซึ่งเร่มิ ดำ� เนินการกอ่ สร้างเมอ่ื พ.ศ. ๒๕๑๓ และ แลว้ เสร็จในป ี พ.ศ.  ๒๕๑๗  อาคารถูกออกแบบโดยนายพล  จุลเสวก  นายช่างสถาปนกิ เอกของกรมโยธาธิการ ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจในการวาดแบบจากอาคารรัฐสภาบราซิล  และมีบริษัทพระนครก่อสร้างเป็นผู้รับเหมา กอ่ สรา้ ง  ประกอบด้วยอาคาร ๓ หลัง ได้แก่ อาคารห้องประชุมรัฐสภาและส�ำนกั งานเลขาธกิ ารรัฐสภา อาคาร ส�ำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร  และสโมสรรัฐสภา  ในส่วนของอาคารห้องประชุมรัฐสภาน้ันถูกใช้ เป็นทปี่ ระชมุ รัฐสภาครง้ั แรก  เม่อื วนั ที่ ๑๙ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๑๗ ภายหลังได้มีการกอ่ สรา้ งอาคารเพม่ิ เติม

เอกสารขาวรฐั สภา ๔๐ อีกจา� นวน ๓ หลงั คอื อาคารทท่ี า� การรฐั สภาและห้องประชุมกรรมาธกิ าร อาคารจอดรถ และอาคารกองรกั ษาการณ์ และฝายอาคารสถานที่ในปัจจุบัน มีการก่อสร้างอาคารเพิ่มเติมอีกหลายอาคารภายในอาณาบริเวณของรัฐสภา และมกี ารเปลี่ยนช่อื เรยี กอาคาร ดงั น้ี อาคารรฐั สภา ๑ อาคารรัฐสภา ๒ อาคารรัฐสภา ๓ อาคารสโมสร รัฐสภาใหญ่ อาคารสโมสรรัฐสภาเลก็ อาคารกองรักษาการณแ์ ละฝา ยอาคารสถานที่ อาคารจอดรถ พพิ ิธภัณฑ์ รัฐสภา ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ ร้านจ�าหน่ายสินค้าท่ีระลึก และเรือนนอนส�าหรับบุคลากรของส�านักรักษา ความปลอดภัย (กรงุ เทพมหานคร, ๒๕๕๔; พโี รภาส ตรสี วุ รรณ, ๒๕๔๙; สา� นกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร, สา� นกั ประชาสัมพันธ,์ ๒๕๕๕) แต่ในทีส่ ุด อาคารรฐั สภาปัจจุบนั กเ็ รม่ิ ประสบปญั หาเชน่ เดยี วกนั กบั พระท่นี ั่งอนันตสมาคม ที่เป็นรัฐสภา แห่งแรก กลา่ วคอื ปัญหาพน้ื ที่ใช้สอยไม่เพียงพอ อันเน่อื งมาจากปัจจยั สองประการ คือ จา� นวนสมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาที่เพ่ิมข้ึนตามจ�านวนประชากรไทย และจ�านวนข้าราชการที่เพ่ิมข้ึนเพื่อรองรับ การปฏบิ ตั หิ นา้ ทข่ี องสมาชกิ รฐั สภา ดว้ ยเหตนุ ี้ เมอ่ื ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ คณะรฐั บาล ชดุ นายสมคั ร สนุ ทรเวช มีมติเห็นชอบอนุมัติงบประมาณเพื่อก่อสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ บนท่ีดินราชพัสดุ ถนนทหาร (เกียกกาย) เขตดุสิต กรุงเทพฯ โดยนายธีรพล นิยม์ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป (สถาปัตยกรรม) และคณะ จากบริษทั สงบ ๑๐๕๑ ไดร้ บั คดั เลือกใหเ้ ป็นผชู้ นะการประกวดแบบอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ ภายใตช้ ่ือ “สปั ปายะ สภาสถาน” ในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ และมีบริษัท ซิโน–ไทย เอ็นจิเนียร่ิง แอนด์ คอนสตรัคช่ัน จ�ากัด (มหาชน) เป็นผู้รับเหมาก่อสร้าง ส�าหรับ คา� ว่า “สัปปายะสภาสถาน” นนั้ แปลวา่ “สภาแหง่ ความสงบรม่ เยน็ และ ปญั ญา” รปู แบบอาคารเปน็ แบบสถาปตั ยกรรมไทยประยกุ ต์ ลกั ษณะเปน็ อาคารสูง ๙ ชนั้ และช้นั ใตด้ นิ ๒ ช้ัน รวมเปน็ ๑๑ ช้นั และหอ้ งประชุม สภารูปทรงคร่ึงวงกลม ๒ หอ้ ง โดยแบง่ เป็น หอ้ งประชุมสุรยิ ันส�าหรบั สภาผู้แทนราษฎร และห้องประชุมจันทราส�าหรับวุฒิสภา ส่วนรูปแบบ การตกแต่งภายในอาคารเป็นแบบอาคารสมัยใหม่ ซ่ึงค�านึงถึงระบบการ

ภาพเกาเลา เร่ือง ๔๑ ทา� งานของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒสิ ภาทตี่ ้อง สอดประสานกันตามบทบาทหน้าท่ีขององค์กรนิติบัญญัติภายใต้รัฐธรรมนูญ สัปปายะสภาสถานเร่ิมก่อสร้าง เม่ือ พ.ศ. ๒๕๕๔ และในปัจจุบันยังอยู่ในระหว่างการด�าเนินการก่อสร้าง (ส�านักงานเลขาธิการสภาผู้แทน ราษฎร, ๒๕๕๔; คณะกรรมการการสื่อสารทางการเมือง, ม.ป.ป.; ฐะปะนยี ์ จฬุ ารมย,์ ม.ป.ป.) จะเห็นได้ว่าประวัติอาคารรัฐสภาไทยน้ันมีจุดเร่ิมต้นพร้อมกับการเปล่ียนแปลงการปกครองจากระบบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๕ โดย มีอาคารรัฐสภาแห่งแรกคือ พระท่ีนั่งอนันตสมาคม อาคารรัฐสภาปัจจุบัน และอาคารรัฐสภาแห่งใหม่คือ สปั ปายะสภาสถาน ซง่ึ รองรบั การปฏิบัติหน้าท่ีดา้ นนิตบิ ัญญตั ิของสมาชกิ รฐั สภา ควบคู่ไปกับพลวัตของการเมือง ไทยและพัฒนาการของระบอบประชาธิปไตยไทย แม้ว่าในอนาคตจะมีการเคลื่อนย้ายจากอาคารรัฐสภาปัจจุบัน ไปสู่สัปปายะสภาสถาน แต่พระท่ีน่ังอนันตสมาคมและอาคารรัฐสภาปัจจุบันจะถูกจารึกไว้ในหน้าประวัติศาสตร์ การเมืองการปกครองไทยในฐานะอาคารท่ีประชุมอันศักดิสิทธิ์ของอ�านาจฝายนิติบัญญัติให้อนุชนรุ่นหลังได้ ศกึ ษาเรยี นรู้ และประทับไว้ในความทรงจา� ของท้งั สมาชิกรฐั สภาและบุคลากรในวงงานท่ีครัง้ หน่งึ เคยปฏิบัติหน้าท่ี อยา่ งแขง็ ขันเพื่อความเจริญก้าวหนา้ ของประเทศชาตใิ นอาคารรฐั สภาทัง้ สองแห่ง ขอ้ มลู :- คณะกรรมการการส่อื สารทางการเมอื ง. (ม.ป.ป.). รูจ ักรฐั สภา. สืบค้น ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ จาก http://www.parliament. go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/main.php?filename=creative_know ส�านักงานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร. (๒๕๕๔). ความเปนมาของโครงการกอ สรา งอาคารรัฐสภาแหงใหม “สัปปายะ สภาสถาน”. สบื คน้ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ จาก http://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/main. php?filename=history_newsapa พีโรภาส ตรีสวุ รรณ. (๒๕๔๙). อาคารรัฐสภาแหงใหม: การจดั ผังและการออกแบบอาคารเบื้องตน . สบื คน้ ๒๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๐ จาก http://doi.nrct.go.th/ListDoi/listDetail?Resolve_DOI=10.14457/TU.the.2006.184 อิสรยิ า เลาหตรี านนท.์ (๒๘ มกราคม ๒๕๕๒). พระท่ีน่ังอนันตสมาคม. สืบค้น ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ จาก http://www.royin. go.th/?knowledges=พระทนี่ ่ังอนันตสมาคม-๒๘ ส�านกั งานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร, ส�านักวิชาการ, กลุ่มงานพิพิธภัณฑแ์ ละจดหมายเหต.ุ (ม.ป.ป.). พพิ ิธภณั ฑร ฐั สภา. สบื ค้น ๒๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๐ จาก http://library2.parliament.go.th/museum/content/brochure-th.pdf กรงุ เทพมหานคร, สา� นักผงั เมอื ง. (กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๔). รายงานโครงการวางผังพัฒนาพ้นื ทย่ี า นเกยี กกาย. สืบค้น ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ จาก http://www.bma-cpd.go.th/files/admin/area5307.pdf สุวิมล ลลี าวรพร. (ม.ป.ป.). นายพล จลุ เสวก สถาปนิกใหญแหงกรมโยธาธกิ าร. สืบคน้ ๒๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๐ จาก http:// eservices.dpt.go.th/eservice_6/ejournal/26/26-02.pdf?journal_edition=26 สา� นกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร, สา� นกั ประชาสมั พนั ธ.์ (๑๗ มกราคม ๒๕๕๕). คมู อื นาํ ชมรฐั สภา. สบื คน้ ๒๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๐ จาก http://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/ewt_w3 c/ewt_dl_link.php?nid=17743 สา� นกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร, สา� นกั ประชาสมั พนั ธ.์ (๒๕๕๔). บทสมั ภาษณพ์ เิ ศษ...๗๙ ปี รฐั สภาไทยยอ้ นมองอดตี ... ส่อู นาคต; ชัย ชดิ ชอบ. รฐั สภาสาร, ๕๙(๖), ๗๔-๙๑. ฐะปะนยี ์ จฬุ ารมย.์ (ม.ป.ป.). สัปปายะสภาสถาน. สืบค้น ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ จาก http://wiki.kpi.ac.th/index. php?title=สปั ปายะสภาสถาน

เอกสารขา วรัฐสภา ๔๒ รูเร่ืองนา Ã°Ñ ÊÀÒä·Â¡ºÑ ÍÒà«Õ¹ นารลี ักษณ ศิรวิ รรณ * สมาคมประชาชาติแหง เอเชียตะวันออกเฉยี งใต (Association of Southeast Asian Nations) หรือ ASEAN กอ ตัง้ ขน้ึ โดยปฏญิ ญากรุงเทพ เมอื่ วนั ที่ ๘ สงิ หาคม ๒๕๑๐ และตอมาไดมีการขยายความรว มมือในดา น เศรษฐกิจและสงั คม จนเกิดมกี ารจดั ทํากฎบตั รอาเซียน (ASEAN Charter) หรอื ธรรมนูญอาเซียนซึง่ เปนกฎหมาย จัดระเบียบองคกรท่ีทําใหอาเซียนมีสถานะเปนนิติบุคคล กลาวคือ เปนการวางกรอบกฎหมายและโครงสราง องคก รใหกับอาเซยี นเพือ่ ใชในการทํางานของประชาคมอาเซียน อยา งไรกต็ าม การดําเนินความสมั พันธระหวาง ประเทศสมาชกิ ในประชาคมยงั อยูบนพืน้ ฐานของกฎหมายระหวางประเทศ ดงั น้ันการทําสนธิสัญญาเพ่อื กําหนด สิทธิและหนาท่ีของประเทศสมาชิก ตลอดจนการบูรณาการหรือการทํากฎหมายใหสอดคลองกันของประชาคม อาเซยี น จงึ ตองศึกษาพนั ธกรณขี องอาเซียนทง้ั ในชวงกอนและภายหลังการมีผลบังคบั ใชของกฎบตั รอาเซียน สําหรับประเทศไทยมีหนวยงานที่รับผิดชอบการดําเนินบทบาทในสวนของฝายรัฐบาลคือ กรมอาเซยี น กระทรวงการตา งประเทศ และคณะกรรมการผแู ทนถาวรประจาํ อาเซยี น (Committee of Permanent Representatives: CPR) มีภารกิจในการสนับสนุนการทํางานของคณะมนตรีประชาคมอาเซียนและองคกรระดับ รฐั มนตรอี าเซยี นเฉพาะสาขา รวมทงั้ ประสานงานกบั สาํ นกั งานเลขาธกิ ารอาเซยี นและสาํ นกั งานเลขาธกิ ารแหง ชาติ ตลอดจนดูแลความรวมมือของอาเซียนกับหุนสวนภายนอก ท้ังน้ี ภายใตแนวนโยบายการขับเคลื่อนในการสราง ความสัมพันธอันดีและการสรางความรวมมือกับ ภูมิภาคอาเซียนไวในกรอบทิศทางการพัฒนา ในแผนยุทธศาสตรชาติ ๒๐ ป (พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๗๙) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๔) และแผนพฒั นาดจิ ิทลั เพือ่ เศรษฐกิจและสงั คม * วิทยากรชํานาญการพเิ ศษ กลุมงานวจิ ยั และพัฒนา สํานักวิชาการ สาํ นกั งานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

เร่ืองนาร� ๔๓ นอกจากบทบาทของรัฐบาลหรือฝายบริหารประเทศแลว ฝายนิติบัญญัติโดยหนวยงานในสังกัด รัฐสภา ไดมีบทบาทสําคญั ในดานตา งประเทศควบคกู ับรฐั บาลตลอดมา ดว ยการเสรมิ สรางความเขาใจและความ สัมพนั ธอนั ดีระดบั โลกในเวทรี ัฐสภาระหวา งประเทศ และระดบั ภูมิภาคในเวทีรัฐสภาอาเซยี นระหวางประเทศไทย กับตางประเทศ เพ่ือชวยแสวงหาแนวทางการแกไขปญหาตาง ๆ ของประชาคมโลก ดวยวิถีทางการทูตของ รัฐสภาในดานตาง ๆ และจากการประเมินแนวโนมบริบท ของประเทศไทยในอนาคต ภายหลังจากการเปลี่ยนผาน เขาสูการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยตาม รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทยพทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ จึงได กําหนดใหมีภารกิจในการเสริมสรางความสัมพันธอันดีและ ความรวมมือในเวทีรัฐสภาระหวางประเทศเพื่อสรางความ เช่ือมั่นและภาพลักษณที่ดีของประเทศไทยใหเปนท่ียอมรับ ทั้งในระดับโลกและระดับภูมิภาคมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะความ รวมมือระหวางประเทศไทยกับภูมิภาคอาเซียนท่ีมีแนวโนม เพิ่มขนึ้ ในอนาคต อันนาํ ไปสกู ารเสรมิ สรา งความสัมพนั ธ ความรวมมือ ทงั้ ในดานการทาํ สนธสิ ัญญา ขอตกลง หรือการเจรจาตอรองทางดานการเมือง สังคมและส่ิงแวดลอม การขยายโอกาสและเพิ่มขีดความสามารถ ในการแขง ขันระหวางกนั การเชอ่ื มโยงกนั ระหวางภูมภิ าคและเศรษฐกจิ โลก การสรา งความเปนหุน สว นการพัฒนา ประเทศรวมกัน ตลอดจนการสงเสริมการสรางฐานการผลติ สินคา บรกิ ารและการประกอบธุรกจิ มากขึ้น เม่ือวันท่ี ๒๙ กนั ยายน ๒๕๕๗ สํานกั งานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎรในฐานะองคกรสนบั สนุน การทําหนาที่ของฝายนิติบัญญัติ ไดจัดต้ังศูนยประชาคมอาเซียนของสํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร ทั้งนี้ โดยการปฏิบัติภารกิจของกลุมงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎรเพื่อสนับสนุนบทบาทภารกิจดานประชาคม อาเซียนของรัฐสภาใหสอดคลองกับแนวโนมบริบทของประเทศไทยในอนาคต และนําไปสูการเสริมสรางความ สัมพันธ ความรวมมือ การทําสนธิสัญญา ขอตกลงหรือการเจรจาตอรองในเวทีประชาคมอาเซียนท้ังในระดับ ทวภิ าคแี ละพหภุ าคี อนั นาํ มาซงึ่ ผลประโยชนข องประเทศชาตแิ ละประชาชนในอนาคต และเพอื่ ใหก ารดาํ เนนิ งาน ดานอาเซียนของรัฐสภาเปนประโยชนตอสถาบันนิติบัญญัติในการพิจารณาประเด็นทางกฎหมายและ ขอ ตกลงตา ง ๆ ระหวางสมาชิกในกลุมประเทศอาเซียน โดยมีการดําเนนิ งานทสี่ าํ คัญ ประกอบดวย (๑) สง เสรมิ ประสานงานและดําเนินการเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในบริบทนิติบัญญัติ (๒) บริหารจัดการระบบฐานขอมูล ท่เี กี่ยวของกับประชาคมอาเซยี น (๓) ประสานความรว มมอื กับสว นราชการภายในและภายนอกตลอดจนหนว ย งานอน่ื ทง้ั ภายในประเทศและตา งประเทศทเ่ี กย่ี วขอ งกบั ประชาคมอาเซยี นในความรว มมอื อยา งเปน ทางการและ ไมเปนทางการ (๔) ประชุมคณะกรรมการประชาคม อาเซียนของสํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร และคณะกรรมการประชาคมอาเซียนของสวนราชการ สังกดั รัฐสภา

เอกสารขาวรัฐสภา ๔๔ ตอมา ในป ๒๕๖๐ ไดมีการจัดทํา “เว็บไซตศูนย ประชาคมอาเซยี นของรัฐสภา” (ASEAN Community Center of the National Assembly) โดยความรวมมือระหวางสํานักงาน เลขาธกิ ารสภาผูแ ทนราษฎร และสาํ นักงานเลขาธิการวุฒิสภา โดย ศาสตราจารยพิเศษพรเพชร วชิ ิตชลชัย ประธานสภานิตบิ ัญญัติ แหงชาติ ไดแตงต้ังคณะกรรมการประชาคมอาเซียนของสวน ราชการสังกดั รฐั สภา เพ่ือบรู ณาการฐานขอ มูล และเว็บไซตด า น ประชาคมอาเซียนของสาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู ทนราษฎร และ สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา ใหเปนหน่ึงเดียวท่ีสามารถสืบคนได ทง้ั ขอมลู ดา นประชาคมอาเซยี น ขอมูลการพจิ ารณากฎหมายอาเซยี น ตราสารอาเซียน งานวิจัยและงานวิชาการ ดา นประชาคมอาเซียน ขา วสารอาเซยี นทง้ั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ตลอดจนเว็บไซตก บั หนว ยงานเครอื ขาย ความรวมมือดา นอาเซียนของรฐั สภา ปจจุบันแผนยุทธศาสตรสํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๑–๒๕๖๔ ไดกําหนด พนั ธกิจในการสนับสนุนสถาบันนติ บิ ญั ญตั ใิ นเวทปี ระชาคมอาเซยี นและรฐั สภาระหวา งประเทศ และมียุทธศาสตร การเสริมสรางความสัมพันธอันดี ตลอดจนความรวมมือในเวทีประชาคมอาเซียนและรัฐสภาระหวางประเทศ โดยมีการดําเนินงานที่เก่ียวของท้ังในดานการรับรองคณะบุคคลสําคัญท่ีมาเยือนรัฐสภาไทย การเขารวมประชุม รัฐสภาอาเซียน การเสวนาผูทรงคุณวุฒิดานอาเซียนในระดับภูมิภาค การเยี่ยมชมศูนยประชาคมอาเซียน ของรัฐสภา การจดั เสวนาทางวิชาการดา นการวิจัยเก่ียวกับประชาคมอาเซยี น และการสรางเครือขายนักวิชาการ ดานอาเซยี น เพอื่ สนบั สนนุ การทําหนาทขี่ องรฐั สภาตอ ไปในอนาคต ขอมลู :- “คําสั่งสาํ นกั งานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร ที่ ๑๙๓๔/๒๕๕๗” เร่ือง จัดตง้ั ศูนยประชาคมอาเซียน ของสํานักงานเลขาธกิ ารสภาผแู ทนราษฎร (๒๙ กันยายน ๒๕๕๗). สํานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู ทนราษฎร. (๒๕๖๐). แผนยทุ ธศาสตรส าํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู ทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๑– ๒๕๖๔. สบื คน ๑๐ มกราคม ๒๕๖๑ จาก http://www.intranet.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/group21/ewt_dl_link. php?nid=1018 สาํ นักงานเลขาธกิ ารสภาผแู ทนราษฎร. (๒๕๕๘). ประวตั ิอาเซยี น. สบื คน ๑๐ มกราคม ๒๕๖๑ จาก http://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/ewt_dl_link.php?nnid=40 สํานักงานเลขาธกิ ารสภาผูแ ทนราษฎร. (๒๕๖๐). รายงานสรุปผลการดาํ เนินงานการบูรณาการฐานขอมูลและเวบ็ ไซต ดานประชาคมอาเซียนของสว นราชการสงั กดั รัฐสภา ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ “เวบ็ ไซตศนู ยป ระชาคม อาเซียนของรัฐสภา”. กรุงเทพฯ: กลุมงานเลขาธกิ ารสภาผูแทนราษฎร

วตั ถุประสงค เปนวารสารฉบับรายเดือนเผยแพรขาวสารและบทความท่ีเกีย่ วของกบั วงงานรฐั สภา และเผยแพรนโยบาย การปฏิบตั งิ านของสาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาผูแ ทนราษฎร ใหสมาชกิ ฯ ขา ราชการ และประชาชนทั่วไปไดรบั ทราบ ระเบยี บการ ๑. ออกเปน รายเดือน (ปละ ๑๒ เลม ) ๒. สวนราชการบอกรับเปนสมาชิกโดยไมเสียคาใชจายใดๆ ที่ผูจัดการเอกสารขาวรัฐสภา กลุมงานผลิตเอกสาร สํานักประชาสัมพันธ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร ถนนประดิพัทธ์ิ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทร. ๐ ๒๒๔๔ ๒๒๙๑ - ๕ โทรสาร ๐ ๒๒๔๔ ๒๒๙๒ e-mail: [email protected] ๓. การยายที่อยูของสมาชิกโปรดแจงใหผูจัดการทราบทันที พรอมท้ังแจงสถานท่ีอยูใหมใหชัดแจง เพื่อความสะดวกในการ จดั สงเอกสาร ท่ีปรกึ ษา เอกสารขา่ วรฐั สภา นายสรศักดิ์ เพยี รเวช ปที ่ี ๔๓ ฉบบั ที่ ๘๖๓ เดอื นกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๑ นางสาวสภุ าสนิ ี ขมะสนุ ทร ภาพกจิ กรรม ๒ บรรณาธกิ าร การประชุมสภา ๙ นางจงเดอื น สทุ ธิรตั น สรปุ ผลการประชมุ สภานิตบิ ัญญัตแิ หง ชาติ ๙ ผจู ดั การ รอบรวั้ สภา ๑๕ นางบุษราคํา เชาวนศ ิริ ขา วในประเทศ ๑๕ เหรญั ญกิ ขาวตางประเทศ ๒๐ นางสาวมณฑา นอยแยม แวดวงคณะกรรมาธิการ ๒๙ กฎหมายควรรู ๓๕ กองบรรณาธกิ าร ภาพเกา เลาเร่อื ง ๓๘ นางพรรณพร สนิ สวสั ด์ิ เร่ืองนารู ๔๒ นางสาวอรทัย แสนบตุ ร นางสาวจุฬว รรณ เติมผล ๒ ๙ ๑๕ ๒๐ นางสาวอารยี ว รรณ พลู ทรัพย ๓๕ ๓๘ ๔๒ นางสาวนธิ มิ า ประเสรฐิ ภักดี นางสาวสหวรรณ เพ็ชรไทย นายพิษณุ จารยี พ ันธ นางสาวอาภรณ เนือ่ งเศรษฐ นางสาวเสาวลกั ษณ ธนชยั อภิภทั ร นางสาวสุรดา เซน็ พานิช นางสาวดลธี จุลนานนท นางสาวจรยิ าพร ดีกัลลา ฝา ยศิลปกรรม นายมานะ เรืองสอน นายนธิ ิทศั น องคอ ศิวชัย นางสาวณัฐนนั ท วชิ ิตพงศเ มธี พมิ พท ี่ สาํ นกั การพมิ พ สาํ นักงานเลขาธกิ ารสภาผแู ทนราษฎร ผพู ิมพผูโฆษณา นางสาวกลั ยรชั ต ขาวสาํ อางค


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook