เอกสารขา่ วรฐั สภา 50 รู้เร่อื งน่า ทม่ี า: https://apnews.com/81b6b85d695f4422887c29276b2a4d75 สมใจ ทองกุล* การเลือกตัง้ ทอ้ งถิน่ สมยั ที ่ ๗ ของสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต)้ การเลือกต้ังท้องถิ่นเป็นกิจกรรมทางการเมืองอย่างหนึ่งท่ีมีความส�ำคัญเพราะเป็นสิทธ์ิของประชาชน ในระดับท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมในการเลือกตัวแทนของตนเข้าไปใช้อ�ำนาจตัดสินใจทางการเมืองเพ่ือพัฒนาและบริหาร ท้องถ่ินของตนให้มีความเจริญรุ่งเรือง ดังน้ันการเมืองท้องถ่ินจึงเป็นจุดเริ่มต้นของการปลูกฝังให้ประชาชนได้ตระหนัก และเกดิ การเรยี นรูก้ ระบวนการทางการเมอื งตามระบอบประชาธิปไตยไดเ้ ป็นอยา่ งดี ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) เริ่มจัดให้มีการเลือกต้ังท้องถ่ินขึ้นเป็นคร้ังแรกเมื่อปี ๒๕๓๘ เป็นต้นมา โดยการเลอื กตงั้ ทอ้ งถ่ินคร้ังล่าสดุ ไดจ้ ดั ข้นึ ไปเมือ่ วนั ท ี่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๑ ท่ีผา่ นมา นับเปน็ การเลอื กต้ัง ระดับท้องถ่ินสมัยท่ี ๗ ของประเทศ ซ่ึงการเลือกตั้งท้องถิ่นของเกาหลีใต้ได้ก�ำหนดรูปแบบ ข้ันตอน และวิธีการเลือกต้ัง ไว้อย่างละเอียด และค่อนข้างมีความชัดเจนสามารถน�ำมาศึกษาเปรียบเทียบ และประยุกต์ใช้กับบริบทการเมืองท้องถิ่น ของไทยได ้ โดยเฉพาะการก�ำหนดใหม้ ีการเลือกต้งั ตำ� แหนง่ ตา่ ง ๆ ประกอบด้วย ๗ ประเภท ดังต่อไปน้ี ๑. ศกึ ษาธิการจงั หวดั (๑๗ จงั หวดั /มหานคร) ๒. ผู้ว่าราชการจงั หวดั (๑๗ จังหวัด/มหานคร) * นักวเิ ทศสมั พนั ธ์ชำ� นาญการ ส�ำนกั ภาษาตา่ งประเทศ ส�ำนกั งานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร
51 เร่ืองน่ารู้ ๓. นายกเทศมนตร ี (๒๒๖ เมือง/อำ� เภอ) ๔. สมาชกิ สภาจังหวัด/มหานคร แบบเขตเลอื กตงั้ ๕. สมาชกิ สภาจังหวดั /มหานคร แบบบัญชรี ายชอ่ื ๖. สมาชกิ สภาเมือง/อำ� เภอ แบบเขตเลอื กตั้ง ๗. สมาชกิ สภาเมือง/อำ� เภอ แบบบัญชรี ายช่อื จากผลการเลือกตั้งครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๑ ปรากฏว่าประชากรผู้มีสิทธิ์เลือกต้ังของ เกาหลีใต้ได้ออกไปใช้สิทธิ์ในการเลือกต้ังครั้งน้ีมีสัดส่วนคิดเป็นร้อยละ ๖๐.๒ ถือเป็นคร้ังที่สองที่มีผู้ออกมาใช้สิทธ์ิมาก สดุ นับต้ังแต่ประเทศได้เรม่ิ จัดใหม้ ีการเลือกตั้งทอ้ งถ่ิน ส�ำหรับการเลือกต้ังครั้งน้ีพบว่า พรรคประชาธิปไตย (Democratic Party of Korea) ซึ่งเป็นพรรคฝ่ายรัฐบาล ประสบความส�ำเร็จจากการเลือกต้ังอย่างมาก เพราะสามารถคว้าชัยชนะด้วยการกวาดเก้าอ้ีชิงต�ำแหน่งผู้ว่าราชการ จังหวัดทั่วประเทศสูงถึง ๑๔ จังหวัด จากจ�ำนวนท้ังส้ิน ๑๗ จังหวัด และได้ต�ำแหน่งนายกเทศมนตรีจ�ำนวน ๑๕๑ ท่ีน่ัง จากจ�ำนวนทั้งสิ้น ๒๒๖ ท่ีนั่ง ทั้งนี้การเลือกตั้งท้องถิ่นในคร้ังน้ีเป็นช่วงเวลาเดียวกับการเลือกต้ังซ่อมของสมาชิก รัฐสภาด้วย โดยพรรครัฐบาลสามารถคว้าชัยชนะจาก การเลือกตั้งซ่อมด้วยเช่นเดียวกันท�ำให้ได้สมาชิกรัฐสภาเพ่ิมขึ้นจ�ำนวน ๑๑ ท่ีน่ัง จึงส่งผลให้พรรคฯ มีสมาชิกรัฐสภารวมทั้งส้ินจ�ำนวน ๑๓๐ ที่นั่ง ในขณะที่พรรคเสรีแห่งเกาหลี (Liberty Korea Party) ซึ่งเป็นแกนน�ำ พรรคฝ่ายค้าน ได้สมาชิกรัฐสภาเพิ่มเข้ามาเพียง ๑ ท่ีนั่ง ท�ำให้มีสมาชิกรัฐสภารวมท้ังสิ้น จ�ำนวน ๑๑๓ ท่ีน่ัง และ พรรคการเมืองอื่น ๆ มีสมาชิกรัฐสภาจ�ำนวนท้ังสิ้นประกอบด้วย The Bareunmirae Party จ�ำนวน ๓๐ ที่น่ัง Party for Democracy and Peace จ�ำนวน ๑๔ ที่นั่ง Justice Party จ�ำนวน ๖ ที่น่ัง และสมาชิกรัฐสภา ทไ่ี ม่สังกดั พรรคการเมอื งอกี จ�ำนวน ๖ ทนี่ ัง่ ตารางท่ ี ๑ แสดงการดำ� เนินการเลือกตัง้ ทอ้ งถน่ิ สมยั ที่ ๗ วัน/เดือน การด�ำเนินการ ๑๓ ก.พ. ๖๑ ลงทะเบียนว่าทีผ่ ู้สมัครรบั เลอื กต้ัง(ผวู้ า่ ราชการจังหวัด/มหานคร และศกึ ษาธิการจงั หวดั ) ๒ ม.ี ค. ลงทะเบียนว่าที่ผสู้ มัครรับเลอื กตง้ั (สมาชกิ สภาจงั หวดั /มหานคร สมาชิกสภาเมอื ง/เขต และนายกเทศมนตรเี มอื ง/ผู้อำ� นวยการเขต ๑ เม.ย. ลงทะเบียนวา่ ท่ผี สู้ มคั รรบั เลอื กตง้ั (สมาชกิ สภาอำ� เภอ และนายกเทศมนตรอี �ำเภอ ๒๒-๒๖ พ.ค. แจง้ ความจ�ำนงในการใชส้ ิทธ์เิ ลอื กตั้ง ๒๔-๒๕ พ.ค. ลงทะเบยี นผ้สู มคั รรับเลอื กตงั้ (เวลา ๐๙.๐๐-๑๘.๐๐ นาฬิกา) ๓๑ พ.ค. วันเริม่ ต้นในการหาเสียงเลอื กตัง้ ๓๑ พ.ค.-๑๒ มิ.ย. ระยะเวลาในการหาเสยี งเลอื กตัง้ ๑ มิ.ย. ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธ์ิเลือกตั้ง ๘-๙ มิ.ย. ใช้สทิ ธ์ิเลือกตัง้ ลว่ งหนา้ (เวลา ๐๖.๐๐-๑๘.๐๐ นาฬิกา) ๑๓ มิ.ย. วนั เลือกตัง้ (เวลา ๐๖.๐๐-๑๘.๐๐ นาฬกิ า) และนบั คะแนนหลังปดิ หบี เลือกต้ังทนั ที ท่ีมาข้อมลู : https://terms.naver.com/entry.nhn?docId=5570293&cid=43667&categoryId=43667
เอกสารขา่ วรัฐสภา 52 ข้อมูลสำ� คญั ในการเลือกต้ังทอ้ งถ่นิ สมยั ท่ี ๗ ของสาธารณรัฐเกาหลี - ข้อมูลจังหวดั และเมืองที่เปน็ เขตเลือกตั้ง การเลือกตั้งท้องถ่ิน สมัยที่ ๗ ของเกาหลีใต้ก�ำหนดให้มีการเลือกตั้งบุคคลในตำ� แหน่งส�ำคัญต่าง ๆ ดังน้ี ๑. ศึกษาธิการจังหวัด ๒. ผู้ว่าราชการจังหวัด/มหานคร ๓. นายกเทศมนตรีเมือง/อ�ำเภอ และผู้อ�ำนวยการเขต ๔. สมาชิกสภาจังหวัด/มหานคร แบบเขตเลือกต้ัง ๕. สมาชิกสภาจังหวัด/มหานคร แบบบัญชีรายช่ือ ๖. สมาชิก สภาเมือง/อ�ำเภอ แบบเขตเลือกตั้ง และ ๗. สมาชิกสภาเมือง/อ�ำเภอ แบบบัญชีรายช่ือ รวมท้ังยังจัดให้มี การเลือกต้ังซ่อมของสมาชิกรัฐสภาจ�ำนวน ๑๒ เขตอีกด้วย โดยการปกครองส่วนท้องถ่ินของเกาหลีใต้ก�ำหนดให้ผู้ท่ีได้ รับเลือกต้ังมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ ๔ ปี คือ (ต้ังแต่วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๑–๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๕) และการเลอื กต้งั ซอ่ มของสมาชกิ รัฐสภานั้น กำ� หนดใหม้ วี าระดำ� รงตำ� แหนง่ จนกระท่งั ถงึ วนั ท่ ี ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ตารางที่ ๒ แสดงประเภท จำ� นวนตำ� แหนง่ และข้อมลู ส�ำคัญ การเลือกตง้ั ตำ� แหนง่ ต่างๆ ขอ้ มลู ส�ำคัญและจ�ำนวนตำ� แหน่ง ผวู้ า่ ราชการ(จังหวดั /มหานคร) นครพเิ ศษ มหานคร นครปกครองตนเองพเิ ศษ จังหวดั จังหวัดปกครองตนเองพิเศษ จ�ำนวนทัง้ ส้ิน ๑๗ คน๑ นายกเทศมนตรี(เมอื ง/อ�ำเภอ) นายกเทศมนตรเี มอื ง/อำ� เภอ และผู้อ�ำนวยการเขต (ยกเว้นนครปกครองตนเองพเิ ศษ ผู้อำ� นวยการเขต เซจงและจงั หวดั ปกครองตนเองพิเศษเชจ)ู จำ� นวนทั้งส้ิน ๒๒๖ คน สมาชิกสภาจงั หวดั /มหานคร สมาชิกสภาจังหวดั และสมาชกิ สภามหานคร จำ� นวนท้ังสนิ้ ๗๓๗ คน แบบเขตเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาเมือง/อำ� เภอ สมาชิกสภาเมอื ง/อ�ำเภอ/เขต (ยกเวน้ นครปกครองตนเองพิเศษเซจงและจงั หวดั แบบเขตเลอื กตั้ง ปกครองตนเองพิเศษเชจู) จ�ำนวนทงั้ สิ้น ๒,๕๔๑ คน สมาชิกสภาจงั หวดั /มหานคร สมาชิกสภาจงั หวัด/มหานคร แบบบัญชรี ายช่อื จำ� นวนทงั้ ส้นิ ๘๗ คน แบบบัญชรี ายช่ือ สมาชิกสภาเมอื ง/อ�ำเภอ สมาชกิ สภาเมือง/อำ� เภอ/เขต แบบบญั ช ี (ยกเว้นนครปกครองตนเองพเิ ศษเซจงและ แบบบญั ชรี ายชอื่ จังหวัดปกครองตนเองพิเศษเชจ)ู จ�ำนวนทัง้ สน้ิ ๓๘๖ คน ศกึ ษาธิการจังหวัด ศกึ ษาธกิ ารประจ�ำจังหวัด/มหานคร จำ� นวนทงั้ สน้ิ ๑๗ คน กรรมการศกึ ษาธกิ ารจงั หวัด เฉพาะจังหวัดปกครองตนเองพิเศษเชจู จำ� นวน ๕ คน เลอื กต้งั ซ่อมสมาชกิ รัฐสภา การเลือกตงั้ ซ่อมสมาชกิ รัฐสภาในเขตพนื้ ทต่ี ่างๆ เชน่ กรุงโซล อนิ ชอน กวงั จ ู อลุ ซาน ชงุ ชองเหนอื ชงุ ชองใต ้ ชอนลาใต้ กยองซงั เหนอื และกยองซังใต ้ เป็นต้น จำ� นวนทัง้ ส้นิ ๑๒ คน ท่มี าข้อมลู : https://terms.naver.com/entry.nhn?docId=5570293&cid=43667&categoryId=43667 ๑ ประกอบดว้ ย - นครพเิ ศษ (กรุงโซล) - นครปกครองตนเองพเิ ศษ (เซจง) - มหานคร (ปซู าน แทกู อนิ ชอน แทจอน กวงั จู อุลซาน) - จงั หวดั (กยองกี คังวอน ชงุ ชองเหนอื ชงุ ชองใต้ ชอนลาเหนอื ชอนลาใต้ กยองซงั เหนอื กยองซังใต้) และ- จงั หวัดปกครองตนเองพิเศษ (เชจ)ู
53 เรอื่ งนา่ รู้ - การใช้สิทธ์เิ ลอื กตง้ั ล่วงหน้า การใช้สิทธ์ิเลือกตั้งล่วงหน้าในการเลือกต้ังท้องถิ่นคร้ังน้ีจัดให้มีขึ้นระหว่างวันที่ ๘-๙ มิถุนายน ๒๕๖๑ รวมระยะเวลา ๒ วัน ผลปรากฏว่ามีผู้ไปใช้สิทธ์ิเลือกต้ังคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ ๒๐.๑๔ ซึ่งนับว่ามีจ�ำนวนมากกว่า ในคราวการเลือกตั้งท้องถิ่นสมัยท่ีผ่านมาเมื่อปี ๒๕๕๗ และมีจ�ำนวนสัดส่วนมากกว่าการเลือกต้ังสมาชิกรัฐสภา สมัยล่าสุดเมื่อปี ๒๕๕๙ อย่างไรก็ตาม พบว่าจ�ำนวนผู้ใช้สิทธ์ิเลือกต้ังล่วงหน้าในการเลือกต้ังประธานาธิบดี สมัยท ่ี ๑๙ เม่ือเดอื นพฤษภาคม ๒๕๖๐ มจี ำ� นวนสัดสว่ นมากท่ีสุดคดิ เปน็ ร้อยละ ๒๖.๐๖ - ขนั้ ตอนและวิธีการเลอื กตั้ง ภาพที ่ ๑ แสดงขน้ั ตอนและวธิ กี ารเลือกต้งั ทมี่ าภาพ: http://www.hankookilbo.com/v/fbcca8e513794cb49cece85b1ba20132
เอกสารข่าวรฐั สภา 54 ภาพท่ี ๒ ตวั อยา่ งบตั รเลือกตั้งทัง้ ๗ ประเภท ท่ีมาภาพ: http://www.zdnet.co.kr/news/news_view.asp?artice_id=20140603150438 - สัดส่วนผูใ้ ชส้ ิทธเ์ิ ลือกตัง้ ข้อมูลจากคณะกรรมการการเลือกต้ังของสาธารณรัฐเกาหลี เปิดเผยว่า การเลือกต้ังท้องถิ่นสมัยที่ ๗ ซึ่งจัดขึ้นเม่ือวันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๑ นั้น พบว่ามีผู้ใช้สิทธิ์เลือกตั้งจ�ำนวน ๒๕.๘๔ ล้านคน จากจ�ำนวนผู้มีสิทธ์ิ เลือกตั้งทั้งส้ินจ�ำนวน ๔๒.๙๐ ล้านคน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ ๖๐.๒ ที่มีจ�ำนวนผู้มาใช้สิทธ์ิเกินร้อยละ ๖๐ ซึ่งหาก พิจารณาเชิงสถิตินับว่าเป็นครั้งท่ีสองตั้งแต่ประเทศเกาหลีใต้ได้จัดให้มีการเลือกต้ังท้องถิ่นขึ้น ส�ำหรับผู้ใช้สิทธ์ิที่มีจ�ำนวน เกนิ กวา่ ร้อยละ ๖๐ ครง้ั แรก คือ สมยั การเลอื กต้งั ท้องถ่ินสมัยแรกเมอื่ ป ี ๒๕๓๘ ตารางที่ ๓ แสดงสถติ ิของสัดสว่ นผู้ใช้สทิ ธเ์ิ ลือกตั้งทอ้ งถิ่น การเลือกตั้งท้องถิน่ สมยั ท่ี/ปี จ�ำนวนสดั ส่วน(%) สมัยที ่ ๑ ป ี ๒๕๓๘ ๖๘.๔ สมยั ท่ ี ๒ ปี ๒๕๔๑ ๕๒.๗ สมัยท่ ี ๓ ปี ๒๕๔๕ ๔๘.๘ สมัยท่ี ๔ ปี ๒๕๔๙ ๕๑.๖ สมยั ที ่ ๕ ปี ๒๕๕๓ ๕๔.๕ สมัยที ่ ๖ ปี ๒๕๕๗ ๕๖.๘ สมัยท ่ี ๗ ป ี ๒๕๖๑ ๖๐.๒ ทม่ี าขอ้ มลู : https://terms.naver.com/entry.nhn?docId=5570293&cid=43667&categoryId=43667
55 เรอ่ื งน่ารู้ สรปุ ผลการเลอื กต้งั - ต�ำแหนง่ ผวู้ ่าราชการจงั หวดั /มหานคร ตารางที ่ ๔ แสดงรายชอ่ื ผู้ได้รับเลือกตงั้ เป็นผวู้ ่าราชการจังหวัด/มหานคร ทัว่ ประเทศ จงั หวดั /มหานคร ชอ่ื -สกลุ สังกัดพรรค จำ� นวนสมยั ๑. กรุงโซล พัค วอนซุน ประชาธิปไตย ๓ สมยั ๒. ปูซาน โอ กอ-โดน ประชาธิปไตย ๒ สมยั ๓. แทกู กวอน ยอง-จนิ เสรแี ห่งเกาหล ี ๔. อินชอน พัค นัม-ชุน ประชาธิปไตย ๒ สมยั ๕. กวังจ ู ลี ยง-ซอบ ประชาธปิ ไตย ๓ สมัย ๖. แทจอน ฮอ แท-จอง ประชาธิปไตย ๓ สมัย ๗. อุลซาน ซง ชอล-โฮ ประชาธิปไตย ๒ สมัย ๘. เซจง ลี ชนุ -ฮ ี ประชาธิปไตย ๙. กยองกี ลี แจ-มยอง ประชาธิปไตย ๒ สมัย ๑๐. คังวอน เช มนุ -ซุน ประชาธปิ ไตย ๑๑. ชุงชองเหนอื ลี ซี-จอง ประชาธปิ ไตย ๑๒. ชงุ ชองใต้ ยงั ซงึ -โจ ประชาธิปไตย ๑๓. ชอนลาเหนอื ซอง ฮา-จิน ประชาธปิ ไตย ๑๔. ชอนลาใต ้ คมิ ยอง-รก ประชาธิปไตย ๑๕. กยองซงั เหนือ ลี ชอล-อู เสรีแหง่ เกาหลี ๑๖. กยองซังใต้ คิม กยอง-ซ ู ประชาธปิ ไตย ๑๗. เชจ ู วอน ฮ-ี รยอง ไม่สังกดั พรรค ท่มี าขอ้ มลู : https://terms.naver.com/entry.nhn?docId=5570293&cid=43667&categoryId=43667 ภาพท ่ี ๓ แผนทแ่ี สดงผลการเลือกต้งั ผู้วา่ ราชการจงั หวดั /มหานคร ทั้ง ๑๗ แห่งท่ัวประเทศของพรรคการเมอื ง ทีม่ าภาพ: http://www.wikiwand.com/ko/
เอกสารข่าวรัฐสภา 56 - ตำ� แหน่งนายกเทศมนตรเี มือง/อำ� เภอ และสมาชิกสภาจงั หวดั /มหานคร/เมอื ง/อ�ำเภอ นายกเทศมนตรีเมือง หรือนายกเทศมนตรีประจ�ำอ�ำเภอ ท่ัวประเทศมีทั้งหมดจ�ำนวน ๒๒๖ คน โดย พรรคฝ่ายรัฐบาลสามารถครองพ้ืนท่ีด้วยการคว้าชัยชนะเป็นอันดับ ๑ ได้ท่ีน่ังจ�ำนวน ๑๕๑ ท่ีน่ัง ในขณะที่แกนน�ำ พรรคฝ่ายค้านได้รับเลือกต้ังเพียง ๕๓ ที่น่ัง ส่วนท่ีเหลือเป็นผู้ได้รับเลือกตั้งจากพรรคฝ่ายค้านอื่นจ�ำนวน ๕ ที่น่ัง และผู้ได้รับการเลือกตั้งท่ีไม่ได้สังกัดพรรคอีกจ�ำนวน ๑๗ ท่ีน่ัง ส�ำหรับต�ำแหน่งสมาชิกสภาจังหวัดหรือสมาชิก สภามหานครน้ัน มีท้ังส้ินจ�ำนวน ๘๒๔ คน ปรากฏว่าพรรคฝ่ายรัฐบาลคว้าชัยชนะกวาดท่ีนั่งได้ถึง ๖๔๗ ที่นั่ง ในขณะทแี่ กนน�ำพรรคฝา่ ยค้านได้ไปเพียง ๑๑๖ ทีน่ ง่ั - การเลือกตงั้ ซอ่ มสมาชิกรฐั สภา การเลือกตั้งซ่อมสมาชิกรัฐสภาในครั้งนี้จัดให้มีการเลือกตั้งท้ังส้ินจ�ำนวน ๑๒ เขตเลือกต้ังแทนต�ำแหน่งท่ี ว่างลงในแต่ละพ้ืนท่ีของประเทศตามจังหวัดหรือมหานครท่ีกล่าวมาข้างต้น ซึ่งผลการเลือกต้ังปรากฏว่าพรรคฝ่ายรัฐบาล สามารถคว้าชัยชนะไปอย่างท่วมท้นจ�ำนวน ๑๑ เขต และแกนน�ำพรรคฝ่ายค้านได้ไปเพียงจ�ำนวน ๑ เขต ซ่ึงอยู่ใน จังหวัดกยองซังเหนือเท่าน้ัน ชัยชนะดังกล่าวจึงท�ำให้พรรคฝ่ายรัฐบาลมีสมาชิกรัฐสภาเพ่ิมขึ้นทั้งส้ินจำ� นวน ๑๓๐ ท่ีน่ัง และแกนนำ� พรรคฝ่ายค้านมีสมาชกิ รัฐสภาท้ังสิ้นจ�ำนวน ๑๑๓ ทน่ี ั่ง - ตำ� แหน่งศึกษาธกิ ารจงั หวัด ภาพท่ี ๔ แสดงรายช่อื ประสบการณข์ องบุคคลทีไ่ ดร้ ับเลือกตง้ั เป็นศึกษาธิการจังหวดั ๑๗ แห่ง ทั่วประเทศ ท่ีมาภาพ: http://shindonga.donga.com/3/all/13/1356657/1
57 เรอื่ งน่ารู้ ประเทศเกาหลีใต้นับว่ามีรูปแบบและกระบวนการในการจัดการปกครองท้องถ่ินท่ีค่อนข้างประสบ ความส�ำเร็จและมีความก้าวหน้าอย่างมาก โดยความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเกิดข้ึนภายหลังที่ประเทศก้าวข้ามสู่ความเป็น ประชาธิปไตยที่มีความม่ันคงยิ่งขึ้นและได้ด�ำเนินการปฏิรูปประเทศอย่างจริงจัง มีการแก้ไขหรือบัญญัติกฎหมาย กฎ ระเบียบต่าง ๆ ให้เกิดความทันสมัย รวมถึงการปรับเปล่ียนโครงสร้างองค์กรส�ำคัญต่าง ๆ ของประเทศ ให้สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงตามยุคสมัย ด้วยการน�ำพาของผู้น�ำประเทศ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ รวมถึง ภาคประชาสงั คมท่ีเก่ยี วข้องในขณะนน้ั อาจกล่าวได้ว่า ประเทศเกาหลีใต้ได้เล็งเห็นความส�ำคัญของการปกครองท้องถ่ินในระดับต่าง ๆ อย่าง จริงจัง เนื่องจากแต่ละท้องถ่ินหรือสังคมเกาหลี มีลักษณะภูมิประเทศ ขนาดพ้ืนที่ ความหนาแน่นของประชากร อัตลักษณ์ของสังคม วิถีชีวิต หรือการประกอบอาชีพ ท่ีมีความหลากหลายและค่อนข้างแตกต่างกัน ดังน้ัน การเปิด โอกาสให้ประชากรในแต่ละท้องถิ่นได้มีสิทธ์ิเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมือง การมีส่วนร่วมในพรรคการเมือง อย่างเสมอภาคและเท่าเทียม โดยเฉพาะการคัดเลือกตัวแทนพรรคเพื่อลงสมัครรับเลือกตั้ง ท้ังการเลือกตั้งในระดับชาติ และการเลือกต้ังผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อท�ำหน้าท่ีในฝ่ายบริหารในระดับต่าง ๆ เช่น ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ว่าราชการ มหานคร นายกเทศมนตรีเมือง สมาชิกสภาจังหวัดสมาชิกสภาเมืองเพื่อท�ำหน้าท่ีในฝ่ายนิติบัญญัติในระดับต่าง ๆ หรือแม้กระทั่งการเลือกต้ังศึกษาธิการประจ�ำจังหวัด ซ่ึงสะท้อนให้เห็นว่าเป็นการให้ความส�ำคัญต่อการศึกษาอย่างย่ิง ด้วยการก�ำหนดให้สิทธิ์แก่ประชาชนแต่ละท้องถ่ินนั้น สามารถตัดสินใจเลือกต้ังผู้บริหารการศึกษาในแต่ละจังหวัดของ ตนเอง นับเป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนท้ังหลายได้มีส่วนร่วมในการก�ำหนดอนาคต การพิจารณาตัดสินใจ หรือ แก้ไขปัญหาต่างๆ ในท้องถิ่นหรือสังคมของตนเองผ่านการแสดงออกด้วยการใช้สิทธิ์ หน้าท่ี และอ�ำนาจการปกครอง ท้องถิ่น ท้ังอ�ำนาจบริหารและอ�ำนาจนิติบัญญัติในท้องถิ่นท่ียึดโยงกับบทบัญญัติในกฎหมายได้อย่างถูกต้องเหมาะสม สอดคล้องกับบริบทการปกครองในสังคมหรือท้องถ่ินนั้นได้เป็นอย่างดี ถือเป็นการปลูกฝังให้ประชาชนเกิดการตระหนัก และเรียนรู้ระบบการเมืองการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันก่อให้เกิดการพัฒนาและยกระดับความก้าวหน้า ในทกุ มิติส่งผลใหป้ ระเทศมคี วามเจรญิ รุ่งเรอื งอย่างตอ่ เน่อื ง ขอ้ มลู อ้างอิง
Search