Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 6 เอกสารข่าวรัฐสถาฉบับเดือนมิถุนายน 2562

6 เอกสารข่าวรัฐสถาฉบับเดือนมิถุนายน 2562

Published by sapasarn2019, 2020-10-06 00:35:42

Description: 6 เอกสารข่าวรัฐสถาฉบับเดือนมิถุนายน 2562

Search

Read the Text Version

วตั ถปุ ระสงค เปน วารสารฉบบั รายเดอื นเผยแพรข าวสารและบทความทเี่ ก่ยี วของกบั วงงานรฐั สภา และเผยแพรนโยบาย การปฏิบตั ิงานของสาํ นกั งานเลขาธิการสภาผแู ทนราษฎร ใหส มาชิกฯ ขาราชการ และประชาชนทว่ั ไปไดร ับทราบ ระเบียบการ ๑. ออกเปนรายเดือน (ปล ะ ๑๒ เลม ) ๒. สวนราชการบอกรับเปนสมาชิกโดยไมเสียคาใชจายใดๆ ท่ีผูจัดการเอกสารขาวรัฐสภา กลุมงานผลิตเอกสาร สํานักประชาสัมพันธ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร ถนนประดิพัทธิ์ แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทร. ๐ ๒๒๔๔ ๒๒๙๑ - ๕ โทรสาร ๐ ๒๒๔๔ ๒๒๙๒ e-mail: [email protected] ๓. การยายท่ีอยูของสมาชิกโปรดแจงใหผูจัดการทราบทันที พรอมทั้งแจงสถานที่อยูใหมใหชัดแจง เพื่อความสะดวกในการ จัดสง เอกสาร ทป่ี รึกษา เอกสารขา่ วรฐั สภา นายสรศักด์ิ เพียรเวช ปที ี่ ๔๔ ฉบบั ท่ี ๘๗๒ เดอื นมถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๖๒ นางสาวสภุ าสินี ขมะสนุ ทร ภาพกิจกรรม ๒ บรรณาธกิ าร รอบรว้ั สภา ๙ นางจงเดอื น สทุ ธริ ตั น ขา วในประเทศ ๙ ผูจ ดั การ ขา วตางประเทศ ๑๙ นางบุษราคํา เชาวนศิริ แวดวงคณะกรรมาธิการ ๒๕ กฎหมายควรรู ๓๒ เหรญั ญิก ภาพเกาเลาเรื่อง ๓๙ นางสาวมณฑา นอยแยม เร่ืองนารู ๔๒ กองบรรณาธกิ าร ๒ ๘ ๒๐ ๒๗ นางสาวอารยี ว รรณ พลู ทรัพย ๓๘ ๔๑ ๔๕ นางสาวอรทัย แสนบตุ ร นางสาวจุฬวรรณ เตมิ ผล นายกองเกยี รติ ผอื โย นางสาวนธิ มิ า ประเสริฐภกั ดี นางสาวสหวรรณ เพช็ รไทย นายพิษณุ จารียพนั ธ นางสาวอาภรณ เนอ่ื งเศรษฐ นางสาวเสาวลกั ษณ ธนชัยอภิภทั ร นางสาวสุรดา เซ็นพานิช นางสาวดลธี จลุ นานนท นางสาวจริยาพร ดีกลั ลา ฝา ยศิลปกรรม นายมานะ เรอื งสอน นายนิธทิ ัศน องคอ ศวิ ชยั นางสาวณัฐนนั ท วชิ ิตพงศเมธี พิมพที่ สํานักการพิมพ สาํ นักงานเลขาธิการสภาผแู ทนราษฎร ผูพิมพผ ูโฆษณา นางสาวกลั ยรัชต ขาวสําอางค































รอบร้วั สภา - ข่าวในประเทศ 17 นายถาวร เสนเนยี ม และนายชมุ พล จุลใส สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ประชาธิปัตยเ์ ขา้ รายงานตัว ต่อสำ� นกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร วนั ท ่ี ๘ พฤษภาคม ๒๕๖๒ นายถาวร เสนเนยี ม สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร (ส.ส.) เขต ๕ จงั หวดั สงขลา และ นายชมุ พล จลุ ใส ส.ส. เขต ๑ จงั หวดั ชมุ พร เปน็ ส.ส. จากพรรค ประชาธปิ ตั ยช์ ดุ แรก  ทเี่ ขา้ รายงานตวั ตอ่ สำ� นกั งานเลขาธกิ าร สภาผู้แทนราษฎร  ณ  อาคารรัฐสภา  เกียกกาย  เมื่อเวลา ๑๐.๑๐ นาฬกิ า พรอ้ มกนั นี้ นายถาวร เผยวา่ ยดึ การทำ� งาน เพ่ือประโยชน์พี่น้องประชาชน  ยึดสถาบันหลักชาติ  ศาสนา พระมหากษตั รยิ เ์ ปน็ ทต่ี ง้ั ภายใตอ้ ดุ มการณป์ ระชาธปิ ไตย ในหลกั นติ ริ ฐั นติ ธิ รรม สว่ นการทำ� งานของพรรคประชาธปิ ตั ย์ ซงึ่ มที งั้ สมาชกิ รนุ่ เกา่ และรนุ่ ใหม่ แตย่ งั คงมวี นิ ยั ยดึ อดุ มการณก์ ารทำ� งาน สมาชกิ ทกุ คนยงั มเี อกสทิ ธแ์ิ ละยดึ มตพิ รรค เปน็ สำ� คญั เลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร ขอใหส้ มาชกิ สภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ใหมเ่ ข้ารายงานตวั เพอื่ ด�ำเนนิ การ ตามขั้นตอน กอ่ นเปิดประชุมสภา วนั ท ี่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๖๒ นายสรศกั ด์ิ เพยี รเวช เลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร เปดิ เผยหลงั ส.ส. เขา้ รายงานตวั ตอ่ สำ� นกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร ในวนั แรกอยา่ งตอ่ เนอื่ ง วา่ ขอให้ ส.ส. ทรี่ บั หนงั สอื รบั รองจาก กกต. แลว้ รีบเข้ามารายงานตัวต่อส�ำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร  จากน้ันจะท�ำหนังสือส่งไปยังส�ำนักเลขาธิการคณะ รฐั มนตร ี นำ� ความขนึ้ กราบบงั คมทลู เพอ่ื ออกพระราชกฤษฎกี าเปดิ ประชมุ สภาผแู้ ทนราษฎรนดั แรก  และมพี ระกรณุ า โปรดเกลา้ ฯ รฐั พธิ เี ปดิ ประชมุ รฐั สภาตอ่ ไป ทงั้ นี้ ในการประชมุ สภา นดั แรกผมู้ อี าวโุ สสงู สดุ จะตอ้ งทำ� หนา้ ทปี่ ระธาน ชว่ั คราว ไดแ้ ก่ นายชยั ชดิ ชอบ ส.ส. พรรคภมู ใิ จไทย อายุ ๙๑ ปี และอดตี ประธานสภาผแู้ ทนราษฎร ซงึ่ ตนไดท้ าบทาม นายชยั   และไดร้ บั การตอบรบั ยนิ ดใี นการทำ� หนา้ ทป่ี ระธานชวั่ คราวใหก้ ารประชมุ สภา นำ� ส.ส. ชดุ ใหมป่ ฏญิ าณตน และเลอื กประธานและรองประธาน ตามลำ� ดบั อยา่ งไรกต็ าม การกอ่ สรา้ งหอ้ งประชมุ สรุ ยิ นั ซงึ่ เปน็ หอ้ งประชมุ ส.ส. ทอี่ าคารรัฐสภา เกียกกาย จะแลว้ เสรจ็ ประมาณ ส.ค.-ก.ย. นี้ ขณะน้จี งึ เตรียมหอ้ งประชมุ ของ บรษิ ทั ทีโอที จำ� กดั (มหาชน)  ถนนแจ้งวัฒนะ ทีส่ ามารถรองรบั จ�ำนวนสมาชกิ ในการ ประชมุ สภา  และการประชุมย่อยต่างๆ ได้ เลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร กลา่ ววา่ ขอใหป้ ระชาชนเชอื่ มนั่ การทำ� งานของ  ส.ส.  เพ่อื ประโยชน์ประเทศชาตแิ ละประชาชน ขณะตนและเจา้ หนา้ ทขี่ องสำ� นกั งานฯ  จะทำ� หนา้ ทอ่ี ยา่ งเตม็ กำ� ลงั ความสามารถ  โอกาสน ้ี ขอแสดงความยนิ ดกี บั   ส.ส.  ทงั้ ๕๐๐ คน ทจ่ี ะเขา้ มาทำ� งานรว่ มกนั เพอ่ื ประโยชนป์ ระเทศตอ่ ไป

เอกสารขา่ วรฐั สภา 18 เลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร น�ำข้าราชการ และเจา้ หน้าทข่ี องสำ� นักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร ถวายพระพรชัยมงคลและลงนามถวายพระพรชัยมงคล  เน่ืองในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ วนั ท ี่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๖๒ นายสรศกั ด์ิ เพยี รเวช เลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร นำ� คณะผบู้ รหิ าร ขา้ ราชการ พนักงานราชการ  และเจ้าหน้าท่ีของส�ำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร  ถวายพระพรชัยมงคลและลงนามถวาย พระพรชยั มงคล เนอ่ื งในการพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ณ หอ้ งประชมุ รมิ แมน่ ำ้� เจา้ พระยา ชน้ั ๔ อาคารรฐั สภา เกยี กกาย โดยเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร ถวายความเคารพหนา้ พระบรมฉายาลกั ษณพ์ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เปดิ กรวยถวายราชสกั การะ และกลา่ วคำ� ถวายพระพรชยั มงคล กอ่ นนำ� คณะผบู้ รหิ าร และผเู้ ขา้ รว่ มพธิ ี ลงนามถวายพระพรชยั มงคล  เนอ่ื งในการพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก  พระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั   เสดจ็ เถลงิ ถวลั ยราชสมบตั สิ บื พระบรมราชสนั ตตวิ งศ์ พระเมตตากรณุ า ยังความปลาบปล้ืมปีติแก่ปวงประชาทุกหมู่เหล่า  ข้าราชการ พนกั งานราชการ  และเจา้ หนา้ ทขี่ องสำ� นกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทน ราษฎร  จึงพร้อมใจกันถวายพระพรชัยมงคล  และร่วมลงนาม ถวายพระพรชยั มงคล เพอื่ แสดงความจงรกั ภกั ดแี ละสำ� นกึ ในพระ มหากรณุ าธคิ ณุ สรุปยอดรายงานตัวของ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ท่รี ฐั สภา เกียกกาย รวม ๓ วนั มีผู้มารายงานตัว แล้ว ๓๒๐ คน วนั ท่ี ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๖๒ สำ� นกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร สรปุ ยอดการเขา้ รายงานตวั เปน็ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร (ส.ส.) ณ อาคารรฐั สภา เกยี กกาย  มผี มู้ ารายงานตวั รวม ๓๒๐ คน คงเหลอื ส.ส. ทจี่ ะตอ้ งมา รายงานตวั ๑๗๘ คน โดยวนั ท ี่ ๑๐  พฤษภาคม ๒๕๖๒ มผี มู้ ารายงานตวั ๒๐๖ คน แบง่ เปน็ ส.ส. จากพรรคเพอื่ ไทย ๑๑๔ คน พรรคพลงั ประชารฐั ๖๐ คน พรรคประชาธปิ ตั ย์ ๑๔ คน พรรคภมู ใิ จไทย ๕ คน พรรครวมพลงั ประชาชาตไิ ทย ๔ คน พรรคพลงั ทอ้ งถน่ิ ไท ๓ คน ขณะทพี่ รรคทม่ี ี ส.ส. รายงานตวั พรรคละ ๑ คน ประกอบดว้ ย พรรคอนาคตใหม ่ พรรคครไู ทย เพอื่ ประชาชน  พรรคพลงั ชาตไิ ทย  พรรคประชาภวิ ฒั น์ พรรคพลเมอื งไทย และพรรคประชานยิ ม

รอบรั้วสภา - ขาวตา งประเทศ ๑๙ รอบร้วั สภา ขา่ วต่างประเทศ รฐั สภานิวซแี ลนดแกไ ขกฎหมายการครอบครองอาวธุ ปน วันที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๖๒ รัฐสภานิวซีแลนดไดลงมติใหมีการแกไขกฎหมายการครอบครองอาวุธปน สืบเน่อื งจากเหตกุ ราดยงิ ท่มี สั ยดิ ๒ แหง ในเมอื งไครสตเชริ ช โดยมกี ฎหา มมกี ารใชป น ไรเฟลจโู จมและอาวุธ กงึ่ อตั โนมตั แิ บบทใี่ ชใ นทางทหารทงั้ หมด เนอ่ื งจากเปน อาวธุ แบบทค่ี นรา ยใชใ นการกอ เหตุ โดยรฐั บาลนวิ ซแี ลนด จะนิรโทษกรรมและใชม าตรการซ้ือคนื อาวุธไปจนถึงวนั ท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๖๒ หลังจากนั้นผูท ี่ครอบครองอาวุธ ปน ตอ งหา ม จะถูกดําเนินคดโี ดยมโี ทษปรบั และจาํ คุก ทงั้ นี้ การดาํ เนนิ มาตรการซอื้ คนื อาวุธ คาดวา จะตอ งใช เงนิ งบประมาณมากถงึ ๒๐๐ ลานดอลลารนวิ ซแี ลนด นายไมเคลิ เคลเมนท รองผูบัญชาการตํารวจ กลาววา การท่ีนิวซีแลนดไมมี กฎหมายกําหนดใหประชาชนตองข้ึนทะเบียนอาวุธปนที่มีอยูใน ครอบครองทาํ ใหก ารคาดการณจ าํ นวนอาวธุ ปน ทาํ ไดย าก แตค าดวา จะสามารถรวบรวมอาวุธปนกลับมาไดหลายกระบอก ซ่ึงนับ ตั้งแตเกดิ เหตุมีผูน าํ อาวุธปนมามอบคนื ใหก ับตํารวจมากกวา ๓๐๐ กระบอกแลว รัฐสภาอังกฤษอาจพิจารณาจดั การลงประชามติ Brexit ครง้ั ใหม วนั ที่ ๑๒ เมษายน ๒๕๖๒ นายฟล ปิ แฮมมอนด รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังอังกฤษ กลาววา มีความเปนไปไดอยางมากท่ีรัฐสภาอาจจะพิจารณา ทางเลือกในการจัดการลงประชามติครั้งใหมเก่ียวกับ การแยกตัวออกจากสหภาพยุโรป (Brexit) แมวารัฐบาล ยงั คงมจี ุดยืนคัดคานการจัดการลงประชามติดังกลาวและ การทําประชามติครั้งใหมอาจตองใชเวลาถึง ๖ เดือน ซ่ึงจะทําใหเวลากระชั้นชิดกับวันท่ีอังกฤษมีกําหนด แยกตวั ออกจากสหภาพยโุ รป อยา งไรกด็ ี พรรคแรงงาน ซ่ึงเปนพรรคฝายคาน ไดเพิ่มแรงกดดันใหนายเจเรมี คอรบิน ผูนาํ พรรคแรงงาน เรียกรองใหร ัฐบาลจดั การ ทําประชามตคิ ร้งั ใหมเ พอ่ื แกไขสภาวะการเมอื งในรัฐสภา

เอกสารขา วรัฐสภา ๒๐ รฐั สภาเกาหลีเหนอื ลงมติเลือกประธานคณะกรรมการกจิ การแหงรัฐ วนั ท่ี ๑๒ เมษายน ๒๕๖๒ รฐั สภาของเกาหลเี หนอื มมี ตเิ ลอื กนายคมิ จอง อนึ ผนู าํ สงู สดุ ของเกาหลเี หนอื ใหด าํ รงตาํ แหนง ประธานคณะกรรมการกจิ การแหง รฐั องคก รบรหิ ารสงู สดุ ของเกาหลเี หนอื อกี วาระหนง่ึ ซง่ึ กอ นหนา นี้ นายคมิ จอง อนึ ไดร บั เลอื กใหด าํ รงตาํ แหนง นสี้ มยั แรกในป ๒๕๕๙ โดยมี นายโช รยอง-แฮ ไดร บั การเสนอชอ่ื เขา ดาํ รงตาํ แหนง ประธานสภาประชาชนสงู สดุ แทน นายคมิ ยอง-นมั วยั ๙๐ ป ซง่ึ ดาํ รงตาํ แหนง นมี้ าหลายสบิ ป นอกจากน้ี นายคมิ แจ-รยอง เลขาธกิ าร พรรคแรงงานประจําจงั หวดั ชากงั ซ่งึ อยทู างภาคเหนอื ของประเทศ ใกลกบั ชายแดนของประเทศจนี ไดร บั การเสนอชอ่ื เปน นายกรฐั มนตรี ซง่ึ จะมบี ทบาท สาํ คญั ในการจดั ทาํ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ ของเกาหลเี หนอื ใหเ ตบิ โต ฟนแลนดเลอื กตั้งสมาชกิ รัฐสภา วนั ที่ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๒ ชาวฟน แลนตจ ํานวนกวา ๓ ลา นคน จากผูมสี ิทธิเลอื กตัง้ ทั่วประเทศ ๔,๒๕๕,๔๖๖ คน ไดเขารวมลงคะแนน ในการเลือกต้ังรัฐสภา หลังจากท่ีมีการเลือกตั้งคร้ังลาสุดเมื่อป ๒๕๕๔ สําหรับผลการเลือกต้ังอยางเปนทางการ พรรค Social Democrat Party (SPD) ไดร บั คะแนนสูงสดุ มากถึง ๕๔๕,๕๔๔ เสยี ง โดยไดรับจดั สรรท่นี ง่ั ในรัฐสภามากทีส่ ุดจํานวน ๔๐ ท่ีน่ัง จากท้ังหมด ๒๐๐ ท่นี ง่ั ในขณะทพี่ รรค Finns Party ไดรบั คะแนน ๕๓๘,๓๗๑ เสยี ง ไดร ับจดั สรรท่นี ง่ั จาํ นวน ๓๙ ที่นั่ง ในขณะท่พี รรครวมรฐั บาล National Coalition Party และ Center Party of Finland ไดร บั จัดสรรท่นี ง่ั ในรัฐสภาไปจํานวน ๓๘ และ ๓๑ ที่นั่ง ตามลําดับ สําหรับการเลือกต้ังคร้ังนี้ยังถือเปนครั้งแรกในประวัติศาสตรของฟนแลนดที่ไมมีพรรคการเมืองใดไดรับ คะแนนเสียงเกนิ กวา รอยละ ๒๐ ทั้งนี้ การเจรจาระหวางพรรคการเมอื งเพือ่ จดั ต้งั รฐั บาลผสมยังมแี นวโนมทจ่ี ะ ขยายเวลาตอ ออกไปอกี ระยะหนง่ึ โดยมกี ารวเิ คราะหวา การทพี่ รรครัฐบาลไมสามารถไดเ สยี งสว นใหญในรฐั สภา ๒๐๐ ทนี่ งั่ น้ัน สงผลใหการจดั ตั้งรัฐบาลผสมในครั้งนจ้ี ะตองรวมหน่งึ ในกลมุ พรรคการเมอื งฝายกลางของฟน แลนด ไวดว ย ปจ จบุ นั รฐั บาลฟน แลนดเปนระบบสภาเดยี ว (Enduskunta) มสี มาชกิ ในรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญจาํ นวน ๒๐๐ คน โดยสมาชิกมีวาระดาํ รงตําแหนง ๔ ป ไดรบั เลอื กต้ังตามระบบสดั สวนบญั ชีรายชอ่ื จากเขตเลอื กตัง้ ท่วั ประเทศทง้ั หมด ๑๒ เขต ผนู ํากลุมอยี ู พรอ มรวมบริจาคเงินบูรณะมหาวิหารน็อทร- ดาม วนั ท่ี ๑๖ เมษายน ๒๕๖๒ จากเหตไุ ฟไหมม หาวหิ ารนอ็ ทร- ดาม ในกรงุ ปารสี ของฝรง่ั เศส นายฌอง คลอ็ ด ยุงเกอร ประธานคณะกรรมาธิการยุโรป ไดกลาวตอท่ีประชุมรัฐสภายุโรป ในเมอื งสตราสบรู ก ฝรงั่ เศสวา ประชาชนทว่ั ยโุ รป ตา งรสู กึ เศรา ใจ เสยี ใจ และไดใหคําม่ันสัญญาวาจะรวมบริจาคเงินทุนในการฟนฟูบูรณะมหาวิหาร นอ็ ทร- ดาม พรอ มกนั นี้ นายอนั โตนโิ อ ทาจานี ประธานรฐั สภายโุ รป ขอให สมาชกิ รฐั สภายโุ รปทง้ั ๗๕๑ คน รว มบรจิ าคเงนิ เดอื น เพอื่ ใชใ นการบรู ณะ มหาวหิ ารนอ็ ทร- ดาม

รอบรั้วสภา - ขาวตางประเทศ ๒๑ การเลือกต้งั อินโดนีเซีย วันที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๖๒ หนวยลงคะแนนเลือกต้ังในอินโดนีเซียเปดใหประชาชนเขาไปใชสิทธิ ซ่ึงเปนครัง้ แรกในประวัติศาสตรก ารเมอื ง ทม่ี ผี ูมีสิทธิลงคะแนน ๑๘๖ ลา นคน จากจาํ นวนประชากรทง้ั ประเทศ มากกวา ๒๖๐ ลานคน และจะตอ งใชสิทธเิ ลือกต้งั ประธานาธิบดีและสมาชิกรัฐสภาพรอ มกัน ทงั้ น้ี การเลือกตัง้ สมาชิกรัฐสภาแบงเปน ๕๖๐ ทนี่ ่งั ในสภาผแู ทนราษฎร และ ๑๓๒ ที่นง่ั ในวุฒสิ ภา ดานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ กลางของอนิ โดนเี ซยี (เคพยี ู) ระบวุ า การลงคะแนนจะใชบ ตั ร ๕ ใบ แบง เปนบตั รเลือกตง้ั ประธานาธบิ ดแี ละ รองประธานาธบิ ดจี ะเปน ใบเดยี วกัน สว นอีก ๔ ใบทเี่ หลอื เปน บตั รลงคะแนนสาํ หรับสมาชิกสภาผูแ ทนราษฎร วุฒิสมาชิก และสมาชิกสภาทองถิ่นในเขตของตนเอง รวมถึงนายกเทศมนตรีและสภาเทศบาล โดยใน ทกุ ตาํ แหนงมพี รรคการเมอื งสงผูสมคั รรวมกันมากกวา ๒๔๕,๐๐๐ คน ทั้งนี้ หลังปดหีบเลือกตั้ง อินโดนีเซียจะมีการนับคะแนน ท่ีเรียกวาการนับคะแนนแบบเร็วคลายกับเอ็กซิทโพล การเลือกต้ัง ประธานาธิบดีมีผูสมัครเพียง ๒ คนเทาน้ัน คือ ประธานาธิบดีโจโค วิโดโด วัย ๕๗ ป ลงสมัครในนามตัวแทนพรรคประชาธิปไตย อินโดนีเซีย-การตอสู (พีดีไอ-พี) ซึ่งเปนพรรครัฐบาลชุดปจจุบัน และ เปน พรรคการเมืองขนาดใหญท่ีสดุ ของประเทศดวย และพลโท ปราโบโว ซูเบยี นโต ตวั แทนจากพรรคขบวนการอนิ โดนเี ซยี ยิ่งใหญ (เกอริน ทรา) ซง่ึ เปนพรรคแกนนาํ ฝายคา น นอกจากนี้ นายอารฟี ปรโิ ย ซซู านโต โฆษกคณะกรรมการการเลอื กตงั้ อนิ โดนเี ซยี (เคพยี )ู กลา ววา ตงั้ แตว นั เลอื กตงั้ เสรจ็ สน้ิ ไดมีเจาหนาท่ีจัดการเลือกตั้งเสียชีวิตไปแลว ๒๗๒ คน สวนใหญปวยเน่ืองจากทํางานหนักมากเกินไปเพราะ ตองนบั บัตรเลอื กตั้ง และมเี จาหนา ท่เี ลือกต้งั ปว ยถึง ๑,๘๗๘ คน กระทรวงสาธารณสุขอนิ โดนเี ซียออกจดหมาย เวยี น ขอรองใหโรงพยาบาลตา ง ๆ ใหการรักษา เจาหนา ทจี่ ดั การเลือกต้งั ทป่ี ว ยอยางดที ีส่ ุด ในสวนของกระทรวง การคลังไดกาํ ลังดาํ เนนิ เรือ่ งเพอ่ื อนมุ ัติเงินชดเชยแกค รอบครัวของเจา หนา ท่เี ลอื กตงั้ ท่เี สียชีวติ อียปิ ตจ ดั ทาํ ประชามติรฐั ธรรมนูญฉบับแกไข วันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๖๒ คณะกรรมการ การเลือกต้ังของอียิปตจะจัดทําประชามติรัฐธรรมนูญฉบับแกไข ท่ีจะเปด โอกาสใหน ายอบั เดล ฟต ตาฟ อลั -ซซิ ี ประธานาธบิ ดี ดํารงตําแหนงตอไปจนถึงป ๒๐๓๐ ทั้งน้ี การลงประชามติ มีสาระสําคัญเก่ียวกับการแกไขเพ่ิมเติมรัฐธรรมนูญในหลาย ประเด็น โดยผานความเห็นชอบขั้นสุดทายในรัฐสภาเมื่อวันที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๖๒ สมาชิกรฐั สภาอยี ิปต ๕๙๖ คน สวนใหญ เปนฝายสนับสนุนซซิ ี ลงคะแนน ๕๓๑ ตอ ๒๒ เสยี ง โหวตสนบั สนนุ รางแกไขรัฐธรรมนูญ รฐั ธรรมนญู ฉบับแกไ ข หากไดรบั ความเห็นชอบในการลงประชามติ จะขยายวาระการดํารงตําแหนง ประธานาธบิ ดขี องซิซี จากเดมิ ๔ ป เปน ๖ ป จากน้นั จะเปด โอกาสใหล งสมคั รเปนสมัย ๓ โดยวาระ การดํารงตําแหนงของประธานาธิบดีในปจจุบันจะยุติในปท่ี ๖ นับตั้งแตวันท่ีไดรับเลือกเปนประธานาธิบดี ในป ๒๐๑๘ นอกจากนี้ รัฐธรรมนูญฉบับแกไขยังมอบอํานาจใหมแกประธานาธิบดีในการแตงตั้งเจาหนาที่ ตลุ าการ และเพมิ่ บทบาทของกองทพั

เอกสารขา วรฐั สภา ๒๒ ชาวแอลจเี รียชมุ นมุ เพอ่ื ขบั ไลร ัฐบาล วันท่ี ๑๙ เมษายน ๒๕๖๒ ชาวแอลจเี รียยังคงชุมนมุ ตอเนื่องเปน สัปดาหที่ ๗ โดยมีขอเรยี กรองให รฐั บาลรักษาการลาออก แมวา นายอบั เดลาซิส บูเตฟลิกา ประธานาธบิ ดี ไดป ระกาศลาออกจากตาํ แหนงเมือ่ วันท่ี ๒ เมษายน ๒๕๖๒ ไปแลว รฐั สภาแอลจเี รียประกาศแตง ต้งั ให นายอบั เดลคาเดอร เบนซาลาห ประธานวฒุ ิสภา เขา รับตาํ แหนง รกั ษาการประธานาธบิ ดี พรอมกบั จดั การเลือกตัง้ ในวนั ท่ี ๔ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ดานผูชมุ นมุ เรยี กรองใหน ายเบนซาลาห ลาออกจากตําแหนง รวมทั้ง ใหมีการปลด นายนูเรดดิน เบดูอิ รักษาการนายกรัฐมนตรี และนายทาเย็บ เบไล ประธานสภารัฐธรรมนูญ โดยเห็นวาบุคคลเหลานี้เปนกลุมทางการเมือง ของนายบเู ตฟลกิ า และยงั เปน ผดู แู ลการเลอื กตง้ั ซ่ึงพรรคฝายคานเห็นวาไมมีความยุติธรรม ซ่ึง แกนนําในการชุมนุมยืนยันวาการประทวงจะยัง คงดําเนินการตอไป เพ่ือใหมีการเปล่ียนแปลง นกั การเมอื ง รวมทง้ั ใหม กี ารปฏริ ปู ทางการเมอื ง และแกไ ขปญหาการทุจริต เกาหลเี หนอื ปลดตําแหนง สาํ คัญ วนั ที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๖๒ นายลี ฮเย-ฮุน ประธาน คณะกรรมาธิการขาวกรองของรัฐสภาเกาหลีใต กลาววา นายคิมยอง ชอล ไดถูกปลดจากตําแหนงหัวหนา United Front Department ซงึ่ ถอื เปน หนว ยงานสาํ คญั ของพรรคแรงงาน เกาหลีเหนือในการดูแลความสัมพันธกับเกาหลีใตและสหรัฐ อเมริกา สืบเนื่องจากความลมเหลวของการประชุมสุดยอด ณ กรุงฮานอย ประเทศเวยี ดนาม ทไ่ี มส ามารถบรรลขุ อตกลง ในการผอนคลายมาตรการควํ่าบาตรเกาหลีเหนือ เพ่ือแลกกับ การปลดอาวธุ นวิ เคลยี ร ทงั้ น้ี ไดม กี ารแตง ต้ังนายจาง คุม ชอล เจาหนาที่เกาหลีเหนือ ซ่ึงแทบไมเปนที่รูจักตอสาธารณชนใน กอนหนานี้ ใหเขารับตาํ แหนง แทนนายคิม ยอง ชอล

รอบรัว้ สภา - ขา วตา งประเทศ ๒๓ ศรลี ังกาเฝา ระวงั การกอการราย ออกกฎหามสวมชุดคลุมหนา วนั ที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๖๒ ประธานาธบิ ดไี มตรปี าละ สิริเสนา ใชอ ํานาจภายใตค าํ ประกาศภาวะฉกุ เฉนิ หามการแตงกายทกุ ชนดิ ทป่ี ด บัง ใบหนาเม่ืออยูในที่สาธารณะ คําส่ังหามนี้เร่ิมมีผลทันที เน่ืองจากเหตุผล ดานความม่ันคงภายหลังกลุมอิสลามิสตระเบิดโจมตีวันอีสเตอรฆาเหย่ือ ๒๕๓ คน และอาจจะมแี ผนกอ เหตซุ า้ํ โดยมกี ารปลอมตวั เปนทหาร ทัง้ น้ี ประธานาธบิ ดไี มตรปี าละ สิริเสนา ไดแถลงวา การหามนี้กเ็ พ่อื รักษาความมนั่ คงของประเทศ ไมวา ใครก็ไมควรปดบังใบหนาท่ีทําใหยากตอการแสดงตัวตนของบุคคลนั้น แตไมไดระบุโดยตรงถึงเครื่องแตงกายของ สตรีมสุ ลิม ท้งั ชุดนกิ อบทีเ่ ปดเผยแคดวงตา และบุรกาท่คี ลมุ ศรี ษะอยา งมดิ ชิด ซง่ึ กอ นหนา นี้ องคกรครูสอนศาสนา อิสลามในศรีลังกาไดออกมาเรียกรองใหสตรีมุสลิมหลีกเล่ียงการคลุมหนาในสถานที่สาธารณะ เน่ืองจากหวั่นเกรงวา จะไดร บั ผลกระทบจากเหตกุ ารณท นี่ กั รบอสิ ลามสิ ตซ ง่ึ ประกาศสวามภิ กั ดติ์ อ กลมุ รฐั อสิ ลาม (ไอเอส) ไดร ะเบดิ ฆา ตวั ตาย เพอื่ โจมตโี รงแรมหรู ๓ แหง ในเมอื งหลวง และโบสถค รสิ ตอ กี ๓ แหง ระหวา งการประกอบพธิ มี สิ ซาเนอื่ งในวนั อสี เตอร โดยทางการศรลี ังกาจบั กุมผตู อ งสงสัยไวแลว ๑๕๐ คน และกาํ ลงั ตามลา ผตู อ งสงสัยอีกราว ๑๔๐ คนทเ่ี ชือ่ วาเปน สาวกของไอเอสท่ปี ระกาศอา งวาอยูเบือ้ งหลงั การโจมตีคร้ังนี้ ทัง้ น้ี ศรีลงั กาไดเพม่ิ การรักษาความมนั่ คงเขมงวดข้นึ ใหค วามคมุ ครองมสั ยิดและโบสถคริสต ซงึ่ คริสตจักรทั่วศรีลังกาไดยกเลกิ พธิ ีมสิ ซาเพือ่ ปองกันเหตรุ า ย ชาวฮองกงเรยี กรองใหรฐั บาลถอดถอนรา งกฎหมาย วันท่ี ๒๙ เมษายน ๒๕๖๒ ชาวฮองกงเดินขบวนไปยังรัฐสภา เพื่อเรียกรองใหรัฐบาลถอดถอน รางกฎหมายท่ีอนุญาตใหสงตัวผูตองสงสัยขามแดนไปดําเนินคดีในประเทศจีน เน่ืองจากเกรงวาชาวฮองกงจะถูก ลิดรอนสิทธมิ นษุ ยชน อสิ รภาพ และไมไ ดร ับการคมุ ครองทางกฎหมาย ตาํ รวจฮองกงประเมินวา มีผูประทวงออกมาชุมนมุ ประมาณ ๒๒,๐๐๐ คน และอาจมีผอู อกมารวมชุมนมุ ครงั้ นมี้ ากถงึ ๑๓๐,๐๐๐ คน ซง่ึ การชมุ นมุ ประทว งครง้ั นถ้ี อื เปน การชมุ นมุ ประทว งครงั้ ใหญท สี่ ดุ นายเหลยี ง กวอ็ กหง อดีตสภานิติบัญญัติ และนักเคลื่อนไหวทางการเมืองของฮองกง กลาววาการเคล่ือนไหวของรัฐบาลฮองกง เปนการยึดอิสรภาพของประชาชน ชาวฮองกงกําลังจะสูญเสียสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย และอาจตองเผชิญกับ กระบวนการยุติธรรมที่ไมยุติธรรมในจีนแผนดินใหญ ขณะท่ี นายคริส แพทเทน อดีตผูวาการเกาะฮองกงชาวอังกฤษ คนสดุ ทา ย กอนอังกฤษจะคนื ฮอ งกงใหกบั จนี ในป ๒๕๔๐ ไมเหน็ ดวยเชนกัน โดยระบวุ า การเสนอรางกฎหมายฉบบั นี้ ถือเปน การโจมตีความมน่ั คงและความปลอดภัยของฮอ งกง

เอกสารขาวรฐั สภา ๒๔ พระราชพธิ สี ละราชสมบตั ิ วนั ที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ สมเดจ็ พระจกั รพรรดอิ ากฮิ โิ ตะแหง ญปี่ นุ ทรงประกอบพธิ บี วงสรวงเพอื่ แจง พระราชประสงคท จ่ี ะสละราชสมบตั ิ ในชว งเยน็ ของวนั ท่ี ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ซง่ึ จะถอื เปน จดุ สน้ิ สดุ ของรชั สมยั เฮเซทยี่ าวนาน ๓๐ ป และยงั เปน ครงั้ แรกในรอบ ๒๐๐ ป ทจ่ี กั รพรรดญิ ป่ี นุ สละบัลลังกในขณะที่ยังมีพระชนมชีพอยู พระราชพิธีสละราชสมบัติจัดข้ึน ณ พระทนี่ งั่ ตน สน (Matsu no ma) ภายในพระราชวงั อมิ พเี รยี ล โดยมผี เู ขา รว มพธิ ปี ระมาณ ๓๐๐ คน สมเดจ็ พระจกั รพรรดิ อากิฮิโตะมีพระชนมายุ ๘๕ พรรษา ทรงเปนจักรพรรดิญ่ีปุนพระองคแรกภายใตรัฐธรรมนูญฉบับหลังสงครามโลก ครง้ั ที่ ๒ ทัง้ น้ี สมเด็จพระจักรพรรดอิ ากฮิ โิ ตะไดทรงประกอบพธิ บี วงสรวงเพ่อื แจงเร่ืองการสละราชสมบัติ (Taiirei- Tojitsu-Kashikodokoro-Omae-no-gi) ณ สถานท่บี ูชาสรุ ิยเทวี (Amaterasu Omikami) ซง่ึ ตามตํานานเชือ่ วา เปนตน ตระกลู ของราชวงศญ ี่ปุน รวมถงึ สถานทีส่ กั การะดวงพระวญิ ญาณจกั รพรรดิองคกอ นๆ และศาลเจาชินโต ภายในพระราชวังอมิ พเิ รียล สาํ หรบั พระราชพิธีสละราชสมบตั จิ ะมีขน้ึ ในชว งเยน็ โดยเจา หนาท่สี าํ นักพระราชวัง จะนาํ ตราแผน ดินและตราพระราชลญั จกรประจาํ พระองคเขา สหู องพิธี รวมถึง เครอ่ื งราชกกุธภัณฑสามสิง่ อัน เปนสญั ลักษณแหง ความเปนจักรพรรดิ ไดแก กระจก พระขรรค และอัญมณีมางาตามะ รูปทรงคลายหยดน้าํ ซ่ึง ตํานานกลาววาสุริยเทวีผูเปนตนตระกูลจักรพรรดิไดมอบใหแกหลาน และหลานผูนี้เปนทวดของจักรพรรดิองค แรกแหง ญ่ีปุน จากนนั้ เจา ฟา ชายนารฮุ โิ ตะ พระชนมายุ ๕๙ พรรษา จะทรงเขา สพู ระราชพธิ ขี น้ึ ครองราชยเ ปน จกั รพรรดิ พระองคใ หมใ นเชา วนั ที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ทงั้ น้ี สมเดจ็ พระจกั รพรรดอิ ากฮิ โิ ตะจะยงั ทรงดาํ รงสถานะพระจกั รพรรดิ อยจู นถงึ เวลาเทย่ี งคนื วนั ที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ กอ นทจ่ี ะเขา สรู ชั สมยั เรวะ (Reiwa) ซงึ่ หมายถงึ ความผสมผสาน กลมกลนื กนั อยา งสงบสขุ รัฐสภาองั กฤษประกาศโลกรอ นเปนสถานการณฉกุ เฉนิ วนั ท่ี ๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรองั กฤษมีมติเห็นชอบญตั ตทิ ่ีเสนอโดย นายเจเรมี คอรบิน ผูนําพรรคแรงงาน ที่เปนพรรคฝายคานหลัก เพื่อประกาศสถานการณฉุกเฉินดานส่ิงแวดลอมและ การเปลีย่ นแปลงของสภาพภมู อิ ากาศ แมมตนิ ้ีไมมผี ลบังคับ ทางกฎหมายใหรัฐบาลตองปฏิบัติตาม แตนับวาเปนจุดเริ่ม ตนท่ีสําคัญ และขอเรียกรองใหรัฐบาลดําเนินมาตรการนี้ อยา งจริงจงั เพอ่ื แกไ ขปญ หาโลกรอน มตนิ เ้ี ปนมติจากรฐั สภาแหง แรกในโลกท่ปี ระกาศให เรอื่ งโลกรอนเปน เร่อื งฉกุ เฉนิ ซ่ึงการตัดสนิ ใจมขี ึน้ ภายหลัง ผูประทวงชุมนุมสนับสนุนเรื่องดังกลาวน้ีในกรุงลอนดอน ติดตอกนั นานถึง ๑๑ วนั พรอมกนั นี้ ญัตตขิ องพรรคแรงงาน ยงั เรยี กรอ งใหร ฐั บาลกาํ หนดเปา หมายการปลอ ยมลพษิ เปน ศนู ยก อ นป ๒๕๙๓ และขอใหร ฐั มนตรจี ดั ทาํ ขอ เสนอแนะ เรงดว นในการสรา งเศรษฐกจิ ท่ปี ลอดขยะภายใน ๖ เดอื น

แวดวงกรรมาธิการ ๒๕ แวดวง คณะกรรมาธกิ าร คณะกรรมาธกิ ารการบรหิ ารราชการแผน ดิน สภานิตบิ ญั ญัตแิ หงชาติ วนั ท่ี ๑๘ เมษายน ๒๕๖๒ ณ สถานคุมครองและพฒั นาคนพกิ ารบา นราชาวดี (ชาย) จังหวดั นนทบุรี พลเอก บุญสรา ง เนียมประดษิ ฐ ประธานคณะกรรมาธิการการบริหารราชการแผนดิน สภานติ บิ ัญญัติแหง ชาติ พรอมดวยคณะกรรมาธิการและทีป่ รึกษา รว มจดั กิจกรรมเลย้ี งอาหารกลางวนั มอบเงินและสง่ิ ของเครอื่ งใชจําเปน ใหก บั เดก็ ๆ และผพู กิ าร โดยมนี างจติ รา เตมศี รสี ขุ ผปู กครองสถานคมุ ครองและพฒั นาคนพกิ ารบา นราชาวดี (ชาย) กลาวตอนรับและกลาวขอบคุณคณะกรรมาธิการฯ ที่ใหความสําคัญกับคนพิการและผูดอยโอกาส ท้งั นี้ ภารกิจสาํ คัญของบานราชาวดี (ชาย) คือ การอปุ การะเดก็ พกิ ารทางสมองและปญ ญาเพศชาย อายุแรกรับประมาณ ๗-๑๘ ป ซ่ึงครอบครัว ประสบปญหาเดือดรอนดานเศรษฐกิจหรือขาด ผูอุปการะดูแล โดยใหการเลี้ยงดูฟนฟูและ พัฒนาทักษะในดานตาง ๆ เพ่ือใหสามารถชวยเหลือตัวเองได ภายใตหลักการแหงสิทธิมนุษยชน และ อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก ปจจุบันในสถานคุมครองแหงน้ีมีผูท่ีอยูในความอุปการะอายุมากท่ีสุดถึง ๕๖ ป ซ่ึงนอกจากจะมอบส่ิงของเคร่ืองใชท่ีจําเปนแลว คณะกรรมาธิการฯ ยังไดจัดกิจกรรมบันเทิงเพื่อสรางความ สนกุ สนานใหก ับเด็ก ๆ และผูพ กิ าร อาทิ การรอ งเพลง การเตน และการเลน เกม พรอมกันน้ียงั ไดร ับชมการแสดง ชุดบกั แตงโม และโอ บานานา จากเด็ก ๆ ในสถานคมุ ครองและพฒั นาคนพกิ ารบา นราชาวดี (ชาย) อกี ดว ย คณะกรรมาธกิ ารการปกครองทอ งถน่ิ สภานิติบญั ญัตแิ หงชาติ วันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๖๒ ณ หองรัตนโกสนิ ทร ชั้น ๑ ศาลาวา การกรุงเทพมหานคร พลโท ชาญชยั ภูทอง ประธานคณะกรรมาธิการการปกครองทองถ่ิน สภานิติบัญญัติแหงชาติ พรอมคณะเดินทางมารับฟง ข  อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ ก า ร เ ต รี ย ม ก า ร เ ลื อ ก ต้ั ง ผู  ว  า ร า ช ก า ร ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร แ ล ะ ส ม า ชิ ก ส ภ า กรุงเทพมหานคร รวมท้ังการบริหารจัดการน้ํา ของกรุงเทพมหานคร กรณีนํ้าเสียและน้ําทวมขัง โดยมี นายสมภาคย สุขอนันต รองปลัด กรงุ เทพมหานคร นายธนติ ตนั บวั คลี่ ผอู าํ นวยการ สํานักงานปกครองและทะเบียน นายเจษฎา จันทรประภา ผูอํานวยการสํานักงานพัฒนา ระบบระบายนาํ้ และคณะผบู รหิ ารกรงุ เทพมหานคร ใหการตอนรับและใหขอมูล จากนั้น คณะกรรมาธิการไดลงพ้ืนที่เพื่อศึกษาดูงานสถานีสูบน้ําคลองขุดวัดชองลม แขวงชองนนทรี เขตยานนาวา กรงุ เทพมหานคร

เอกสารขา วรฐั สภา ๒๖ คณะกรรมาธกิ ารการศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรมและการทอ งเทย่ี ว สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง ชาติ วนั ที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๖๒ พลตาํ รวจเอก พชิ ิต ควรเดชะคุปต ประธานคณะกรรมาธิการการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและการทองเท่ียว สภานิติบัญญัติแหงชาติ เปนประธานการประชุมเพ่ือพิจารณารายงานการ ศึกษาประเด็นเกี่ยวกับการเสนอใหประเทศไทยเปนศูนยกลางสมาธิโลก ซึ่งรายงานดังกลาวไดนําเสนอสมาธิในคําสอนทุกศาสนาและความเช่ือสมาธิตาม แนวพระพุทธศาสนาเถรวาท ความพรอมของไทยในการเปนศูนยกลางสมาธิ โลกและตัวอยางความพรอมของสํานักปฏิบัติธรรมประจําจังหวัด ตลอดจน แนวทางการขับเคลื่อนท่ีตองสรางการประสานความรวมมือระหวางหนวยงาน ภาครัฐ เอกชน และภาคสว นตา ง ๆ ของประเทศใหมีเอกภาพ เพอ่ื เสนอ พลตาํ รวจเอก พิชิต ควรเดชะคปุ ต ไปยังองคการสหประชาชาติ(UN) พิจารณาและสนับสนุน พรอมกับมีขอเสนอแนะสําคัญ ๓ ประการ ในการผลักดันใหไทยเปนศูนยกลางสมาธิโลก ทั้งการจัดต้ังองคกรในการขับเคลื่อนใหเปนจริง การกําหนด องคกรกลางในการประสานงานภายในประเทศ และการรณรงคประชาสัมพันธตอสาธารณชน กลาวคือ จัดต้ัง องคกรเฉพาะกิจระดับชาติในรูปแบบคณะกรรมการ ท่ีมีรองนายกรัฐมนตรีเปนประธานและผูแทนจากหนวยงาน ทเี่ ก่ียวของทั้งภาครฐั เอกชน องคการศาสนา มารวมเปน กรรมการในการขับเคลอื่ น และใหสํานกั งานพระพุทธ ศาสนาแหงชาติเปนเจาภาพ รับผิดชอบและเปนหนวยงานประสานงานกลางของการขับเคล่ือนเพ่ือดําเนินการ เตรียมความพรอมภายในประเทศ รวมถึงการรณรงคและประชาสัมพันธเพ่ือกระตุนและเพ่ิมแรงสนับสนุนจาก สาธารณชนในการขับเคล่ือนใหประเทศไทยเปนศูนยกลางสมาธิโลกใหเพ่ิมมากย่ิงข้ึน ท้ังน้ี คณะกรรมาธิการฯ จะจัดทาํ สรปุ รายงาน เสนอไปยงั หนว ยงานที่เกี่ยวขอ งเพ่อื พิจารณาดาํ เนินการตอไป คณะกรรมาธกิ ารการกฎหมาย กระบวนการยตุ ธิ รรมและกจิ การตาํ รวจ สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง ชาติ วนั ที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๖๒ ณ ตาํ รวจภธู รจงั หวดั ภเู กต็ พลเรอื เอก ศษิ ฐวชั ร วงษส วุ รรณ ประธานคณะ กรรมาธกิ ารการกฎหมาย กระบวนการยตุ ธิ รรมและกจิ การตาํ รวจ สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง ชาติ ศกึ ษาดงู านและประชมุ หารอื รว มกบั ตาํ รวจภธู รภาค ๘ ฝา ยปกครอง อยั การจงั หวดั ภเู กต็ ทพั เรอื ภาคที่ ๓ ตาํ รวจภธู รจงั หวดั ภเู กต็ และสว นราชการ ทเ่ี กยี่ วขอ ง พรอ มทงั้ รบั ฟง ขอ มลู และแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ กบั หนว ยงานทเ่ี กยี่ วขอ งกบั การดาํ เนนิ งานดา นกฎหมาย การคมุ ครองผบู รโิ ภคดา นการทอ งเทยี่ ว และดา นกจิ การตาํ รวจ โดยมี พลตาํ รวจโท พงษว ฒุ ิ พงษศ รี ผบู ญั ชาการตาํ รวจภธู รภาค ๘ ใหก ารตอ นรบั นอกจากนี้ ได มกี ารรบั ฟง ขอ มลู และแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ ในประเดน็ เกย่ี วกบั การดาํ เนนิ การ ตามกฎหมายกบั บคุ คลทสี่ รา งบา นลอยนาํ้ (Seasteading) บรเิ วณนอกชายฝง จงั หวดั ภเู กต็ มาตรการแกไ ขปญ หาการจราจรในจงั หวดั ภเู กต็ แนวทางการดาํ เนนิ การเพอ่ื ใหป ระชาชนสวมหมวกนริ ภยั ในขณะทข่ี บั ขแี่ ละโดยสารรถจกั รยานยนต ตลอดจนปญ หาและอปุ สรรคในการดาํ เนนิ งานของเจา หนา ที่ ซง่ึ คณะกรรมาธกิ ารฯ จะไดนําขอมูล ขอคิดเห็น และขอเสนอแนะตาง ๆ ท่ีไดรับไปประกอบการ พิจารณาดําเนินการตามหนาท่ีและอํานาจ รวมท้ังเสนอไปยังรัฐบาล และ หนว ยงานทเี่ กย่ี วขอ งเพอ่ื พจิ ารณาตอ ไป

แวดวงกรรมาธกิ าร ๒๗ คณะกรรมาธิการการคมนาคม สภานติ บิ ัญญตั แิ หง ชาติ วันท่ี ๒๕ เมษายน ๒๕๖๒ ณ ทาอากาศยานกระบี่ จงั หวัดกระบี่ พลโท จเรศักณ์ิ อานุภาพ ประธาน คณะกรรมาธกิ ารการคมนาคม สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง ชาติ ประชมุ หารอื รว มกบั ผูบริหารและเจาหนาที่ของทาอากาศยานกระบ่ี เพื่อติดตามความคืบหนา และปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานโครงการพัฒนาทาอากาศยานกระบี่ โดยมี นายสมโภช โชตชิ ูชวง รองผวู าราชการจังหวัดกระบ่ี และนายอรรถพร เนื่องอุดม ผูอํานวยการทาอากาศยานกระบ่ี พรอมเจาหนาท่ีทาอากาศยาน กระบ่ี บรรยายสรปุ ขอ มูลและใหการตอ นรับ คณะกรรมาธกิ ารการปกครองทอ งถน่ิ สภานติ บิ ัญญัติแหง ชาติ วันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๖๒ ณ หอ งประชุมสภา เทศบาลเมืองปากชอง ชั้น ๒ สํานักงานเทศบาลเมือง ปากชอ ง อาํ เภอปากชอ ง จงั หวดั นครราชสมี า พลโท ชาญชยั ภูทอง ประธานคณะกรรมาธิการการปกครองทองถ่ิน สภานิติบัญญัติแหงชาติและคณะ ศึกษาดูงานเก่ียวกับการ จัดบริการสาธารณะการขนสงมวลชนขององคกรปกครอง สวนทองถ่ิน โดยมีนายสุรวุฒิ เชิดชัย นายกเทศมนตรี นครนครราชสมี า นายคมกฤษณ ลิ้มปญ ญาเลิศ นายกเทศมนตรี นายยุทธนา เกยี รตขิ จรไกล รองนายกเทศมนตรี และคณะผูบริหารเทศบาลเมอื งปากชอ ง ใหการตอ นรับและใหขอมูลเกี่ยวกบั การรว มมอื กบั ภาคเอกชนในการจดั บรกิ ารสาธารณะในดานการขนสงมวลชน (รถบสั โดยสารไฟฟา ) ของเทศบาลนครนครราชสีมาและการจัดบรกิ าร สาธารณะในดานการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลเมืองปากชอง คณะกรรมาธิการการคมนาคม สภานติ บิ ัญญตั ิแหงชาติ วันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๖๒ ณ หองประชมุ พนมเบญจา ชัน้ ๕ ศาลากลางจงั หวัดกระบ่ี พลโท จเรศักณิ์ อานภุ าพ ประธานคณะกรรมาธิการการคมนาคม สภานิติบัญญตั แิ หง ชาติ ประชุมหารือและรับฟงความคิดเห็นเก่ียวกับการพัฒนาระบบโลจิสติกส เพ่ือสงเสริมการทองเท่ียวในพ้ืนที่ภาคใต และแนวทางการสงเสริมให ประเทศไทยเปน ศนู ยก ลางมารนี า ของอาเซยี น โดยมี พนั ตาํ รวจโท หมอ มหลวง กติ ิบดี ประวิตร ผูวาราชการจังหวัดกระบ่ี และผแู ทนหนวยงานราชการ ตาง ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ ง บรรยายสรปุ ขอมลู และใหการตอ นรบั

เอกสารขา วรฐั สภา ๒๘ คณะกรรมาธิการการกฎหมาย กระบวนการยุตธิ รรมและกิจการตาํ รวจ สภานติ บิ ัญญัติแหงชาติ วนั ท่ี ๒๖ เมษายน ๒๕๖๒ ณ โรงแรมบยี อนด รสี อรต กะตะ จังหวัดภูเก็ต พลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษสุวรรณ ประธาน คณะกรรมาธกิ ารการกฎหมาย กระบวนการยตุ ธิ รรมและกจิ การตาํ รวจ สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง ชาติ เปด การเสวนา เรอ่ื ง “สรปุ ผลการดาํ เนนิ งาน ๕ ป คณะกรรมาธกิ ารการกฎหมาย กระบวนการยตุ ธิ รรมและกจิ การ ตํารวจ” โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือเปนการสรุปภาพรวมและประเมินผล การดาํ เนนิ งานของคณะกรรมาธกิ าร ในชว งระยะทผ่ี า นมา (๙ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๗ – ปจ จบุ นั ) พรอ มทง้ั แลกเปลย่ี นประสบการณแ ละรวบรวมความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั แนวทางการพฒั นาและ เสรมิ สรา งศกั ยภาพการดาํ เนนิ งานของคณะกรรมาธกิ ารสามญั ประจาํ สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง ชาติ หรอื คณะกรรมาธกิ ารสามญั ประจาํ วฒุ สิ ภาในอนาคตตอ ไป สวนวันท่ี ๒๗ เมษายน ๒๕๖๒ ณ ทาอากาศยานภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต พลเรอื เอก ศษิ ฐวชั ร วงษส วุ รรณ ประธานคณะกรรมาธกิ ารการกฎหมาย กระบวนการ ยตุ ธิ รรมและกจิ การตาํ รวจ สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง ชาติ ศกึ ษาดงู านและประชมุ หารอื รว มกบั ตาํ รวจตรวจคนเขา เมอื ง ตาํ รวจทอ งเทย่ี ว และเจา หนา ทก่ี ารทา อากาศยานภเู กต็ พรอ ม ท้ังรับฟงขอมูลและแลกเปล่ียนความคิดเห็นในประเด็นเก่ียวกับการปฏิบัติงานดานการ ตรวจผูโดยสารที่เดินทางเขา–ออกประเทศโดยพาหนะทางอากาศ มาตรการการรักษา ความปลอดภยั ใหแ กน กั ทอ งเทย่ี ว การใหค วามชว ยเหลอื นกั ทอ งเทยี่ วกรณปี ระสบภยั ทาง ทะเล มาตรฐานการใหบริการและการดูแลรักษาความปลอดภัย รวมทั้งแผนการจัดใหมี ส่ิงอํานวยความสะดวกแกผูโดยสารที่มาใชบริการภายในบริเวณทาอากาศยาน ตลอดจน ปญ หาอปุ สรรคในการดาํ เนนิ งานของเจา หนา ท่ี ทงั้ นี้ จะไดน าํ ขอ มลู ขอ คดิ เหน็ และขอ เสนอแนะตา ง ๆ ทไี่ ดร บั ไป ประกอบการพจิ ารณาดาํ เนนิ การตามหนา ทแี่ ละอาํ นาจ รวมทงั้ จะไดเ สนอไปยงั รฐั บาลและหนว ยงานทเี่ กย่ี วขอ งเพอ่ื พจิ ารณาตอ ไป คณะกรรมาธกิ ารการเมือง สภานติ ิบญั ญตั แิ หง ชาติ วนั ท่ี ๒๙ เมษายน ๒๕๖๒ ณ หองหมายเลข ๒๗๐๒ ช้นั ๒๗ อาคารสุขประพฤติ นายกลานรงค จันทิก ประธานคณะกรรมาธิการ การเมือง สภานิติบัญญัติแหงชาติ เปนประธานเปดการสัมมนาเพื่อ รายงานผลการดําเนนิ งานของคณะกรรมาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๗ - ๒๕๖๒ ซงึ่ ไดศึกษาในประเดน็ ทเี่ ก่ียวขอ งกับการเมือง อาทิ ระบบการเลือกตงั้ และ พรรคการเมือง, องคกรตามรัฐธรรมนูญ และดานการเมืองในภาพรวม พรอมกับแลกเปล่ียนความเห็นเพื่อนํา เสนอ เปนขอ มลู ใหส มาชิกวฒุ ิสภาชดุ ใหมนําไปพจิ ารณา นายกลา นรงค ไดกลา ววา คณะกรรมาธิการจะหมดหนาท่ีลงประมาณวันที่ ๒๔ พฤษภาคม คาดวา จะเปน วันเปดประชมุ สภาผแู ทนราษฎรนัดแรก หลังจากทคี่ ณะกรรมการการเลือกต้งั ประกาศรบั รองผลเลอื กตง้ั สมาชิก สภาผูแทนราษฎ ในวันที่ ๙ พฤษภาคมนี้ จากวนั ดังกลาว นับไป ๓ วนั จะเปน ข้นั ตอนทูลเกลา ฯ เสนอรายช่ือ สมาชิกวุฒิสภา อยางไรก็ตามท่ีผานมายอมรับวากฎหมายที่สภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณามีหนวยงานท่ีรับ กฎหมายไปปฏบิ ตั แิ ปลความการใชอาํ นาจไปในทางที่ไมถกู ตอ ง หรอื ไมตรงกับเจตนารมณข องกฎหมาย แตก รณี ดงั กลา วสามารถตรวจสอบและประเมนิ ประสิทธิภาพไดต ามทร่ี ัฐธรรมนญู มาตรา ๗๗ กําหนดไว

แวดวงกรรมาธกิ าร ๒๙ คณะกรรมาธิการการศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรมและการทอ งเท่ยี ว สภานติ ิบญั ญัตแิ หง ชาติ วันท่ี ๒๙ เมษายน ๒๕๖๒ ณ โรงแรมโรแมนติค รสี อรท & สปา เขาใหญ จงั หวดั นครราชสีมา พลตาํ รวจเอก พชิ ติ ควรเดชะคุปต ประธานคณะกรรมาธิการการศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรมและการทอ งเทยี่ ว สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง ชาติ เปน ประธาน เปด การสัมมนา เรือ่ ง “สรุปผลการดําเนินงาน ตุลาคม ๒๕๕๗ – พฤษภาคม ๒๕๖๒ : มงุ ม่ันในหนา ท่ี ๕ ปท ผ่ี กู พัน” คณะกรรมาธกิ ารการศกึ ษาและการกีฬา สภานติ ิบญั ญัตแิ หงชาติ วนั ที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ณ หอ งภาณมุ าศ ชั้น ๑๐ โรงแรมรอยัลริเวอร กรุงเทพฯ นายตวง อันทะไชย ประธานคณะกรรมาธิการการศึกษาและ การกฬี า สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง ชาติ เปด การสมั มนา เร่อื ง สรุปบทเรยี น ๔ ปกบั การปฏริ ูปการศึกษา เพื่อ นาํ เสนอการทํางานของคณะกรรมาธิการฯ ต้ังแตว นั ที่ ๙ ตลุ าคม ๒๕๕๗ - ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ โดยมี ผชู ว ย ศาสตราจารยเ ฉลมิ ชยั บญุ ยะลพี รรณ รองประธาน คณะกรรมาธกิ าร กลา วรายงาน และพลเอก องอาจ พงษศกั ดิ์ รองประธานคณะกรรมาธิการ กลาวตอ นรับ ในการสัมมนาคร้งั น้ี คุณหญงิ สุมณฑา พรหมบุญ รองประธานอนุกรรมาธกิ ารการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน กลาวตอนหนึ่งวา ผลการศึกษาการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของประเทศไทยทําผิด เพราะเนนใหการศึกษาเด็กในระดับ มหาวิทยาลัย ท้ังที่ส่ิงถูกตองตองเนนการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ดังน้ันทางแกไขคือ ตองปรับหลักสูตรข้ันพื้นฐาน รวมถงึ กระจายความรับผดิ ชอบของคุณภาพการศึกษา ดานนายวฒุ ิชัย กปล กาญจน ประธานอนุกรรมาธกิ ารการอาชีวศึกษา กลาวตอนหนึง่ วา การแกปญหา ดานอาชีวศกึ ษา แมห นว ยงานจะดําเนินการแกปญ หา แตบ างเรอ่ื งทาํ ชาเกินไป ดงั น้นั หนว ยงานทเ่ี กี่ยวขอ งตอง เรงรัดแกปญหาท่ีสะสมมานาน นอกจากนัน้ ส่ิงสําคญั ตอการปฏิรูปดานอาชวี ศึกษา ตองเรงพฒั นาในหลายดาน อาทิ สรางครูอาชีวศึกษาใหค รอบคลุมทุกดา น รวมถึงยกระดบั คุณภาพชีวติ ของบุคลากรในวงการอาชวี ศกึ ษาดว ย นายเฉลิมชัย บุญยะลีพรรณ ประธานอนุกรรมาธิการการอุดมศึกษา กลาววาการปฏิรูปการศึกษา ดา นการอดุ มศกึ ษาตอ งเนนการพฒั นาและปฏริ ปู แบบองครวม โดยรว มกับการพัฒนาการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน และ อาชีวศกึ ษา เพอ่ื ใหเกิดการพฒั นาคนมากกวาการผลิตบัณฑติ สาขาตา งๆ สําหรบั รายงานสรุปผลการทํางานของคณะกรรมาธกิ ารทีผ่ านมา รวม ๔ ป และ ๘ เดือนกรรมาธิการฯ ไดศึกษาขอมูลที่เก่ียวของกับการศึกษาและกีฬา เพ่ือนําเสนอตอท่ีประชุมสภานิติบัญญัติแหงชาติ ท้ังหมด ๓๘ เรื่อง จากการศึกษาของคณะอนกุ รรมาธกิ ารฯ รวมทัง้ หมด ๖ คณะ และคณะทํางานตามประเดน็ ที่ถูกนาํ เสนอ รวม ๒๕ คณะ, พิจารณาเรอ่ื งรองเรียน ๒๕๔ เรอื่ ง, ไปดูงานภายในประเทศ ๓๒ ครั้ง, รว มประชมุ ทวภิ าคี ท่ตี า งประเทศ จํานวน ๗ ครั้ง

เอกสารขา วรฐั สภา ๓๐ คณะกรรมาธิการการสาธารณสขุ สภานิติบัญญัตแิ หง ชาติ วันท่ี ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ณ อาคารภูมิสิริ มังคลานุสรณ โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ สภากาชาดไทย นายเจตน ศิรธรานนท ประธานคณะกรรมาธิการ การสาธารณสุข สภานิติบัญญัติแหงชาติ และคณะ นําแจกันดอกไมถวายเบื้องหนาพระฉายาลักษณและ รวมลงนามถวายพระพรสมเด็จพระนางเจาสิริกิต์ิพระบรม ราชนิ นี าถ ในรชั กาลท่ี ๙ และพระเจา วรวงศเ ธอ พระองคเ จา โสมสวลี พระวรราชาทินดั ดามาตุ ขอพระองคทรงหายจาก พระอาการประชวรโดยเร็วและทรงมีพระพลานามัยสมบูรณแข็งแรงเพ่ือทรงเปนมิ่งขวัญของปวงชนชาวไทยตลอดไป คณะกรรมาธกิ ารการสังคม เดก็ เยาวชน สตรี ผูส งู อายุ คนพิการ และผูด อ ยโอกาส สภานิตบิ ญั ญัตแิ หงชาติ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ณ ศูนยเ รยี นรู การพัฒนาสตรแี ละครอบครวั ภาคกลาง จงั หวดั นนทบุรี นางสวุ รรณี สริ เิ วชชะพนั ธ รองประธานคณะกรรมาธกิ ารฯ และประธานคณะอนุกรรมาธิการกิจการสตรีในคณะ กรรมาธิการการสังคม เด็ก เยาวชน สตรี ผูสูงอายุ คนพิการ และผูดอยโอกาส สภานิติบัญญัติแหงชาติ พรอ มดวย พลเอก วรี ณั ฉันทศาสตรโกศล กรรมาธิการ และที่ปรึกษาและรองประธานคณะอนุกรรมาธิการ ศึกษาดูงานดานการดูแลและการฝกอบรมวิชาชีพใหกับ สตรแี ละครอบครวั โดยมี นางลกั ษณา อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ผอู าํ นวยการศนู ยฯ ใหก ารตอ นรบั ทง้ั น้ี ศนู ยด งั กลา ว เปนศูนยที่มีบทบาทภารกิจในการใหการศึกษา ใหการอบรมวิชาชีพและสงเสริมการจัดสวัสดิการใหกับ สตรีและครอบครัวที่ประสบปญหาสังคม กลุมเส่ียงที่อาจถูกลอลวงเขาสูกระบวนการคาประเวณีและการ คามนุษย และผูท่ีถูกศาลส่ังใหคุมครองสวัสดิภาพ ตลอดจนเปนศูนยกลางในการถายทอดงานดานการ พัฒนาสตรีและครอบครัว นอกจากน้ี ยังไดใหการสนับสนุนการดําเนินงานโครงการรณรงคยุติความรุนแรง ของคณะอนุกรรมาธิการ ตอจากน้ัน คณะอนุกรรมาธิการไดเยี่ยมชมการสาธิตทักษะอาชีพ อาทิ การ เสริมสวย การตดั เยบ็ เสือ้ ผา อาหารและเบเกอร่ี นวดแผนไทย และการชงกาแฟ ตลอดจนเย่ียมชมอาคาร เผยแพรผลติ ภณั ฑ at non cafe พรอมมอบยาและเวชภณั ฑใหกบั ศนู ยฯ เพ่อื ใชใหบ ริการดา นพยาบาลเบอ้ื งตน แกผเู ขา รบั การอบรมและฝก ทกั ษะอาชีพ

แวดวงกรรมาธกิ าร ๓๑ คณะกรรมาธกิ ารการปกครองทอ งถน่ิ สภานติ ิบัญญตั แิ หง ชาติ วนั ท่ี ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ณ หอ งประชมุ ช้ัน ๒ เทศบาลตําบลโพตลาดแกว อําเภอทา วุง จงั หวัดลพบรุ ี พลโท ชาญชัย ภูท อง ประธานคณะกรรมาธิการการปกครองทอ งถ่นิ สภานิติบัญญัตแิ หงชาติ และคณะศกึ ษาดู งาน ณ เทศบาลตาํ บลโพตลาดแกว โดยมี นายผดงุ ศกั ดิ์ หารปรีชาสวัสดิ์ รองผูวาราชการจังหวัดลพบุรี พลตรี เชษฐา ตรงดี รองผูบัญชาการหนวยบัญชาการ สงครามพิเศษ พระวิจิตร อัคคจิตโต รองเจาอาวาส วัดถ้าํ กระบอก นายสนุ นั ท แจงวงษ นายกเทศมนตรี ตําบลโพตลาดแกว และคณะผูบริหารเทศบาลตําบล โพตลาดแกว ใหการตอนรับและใหขอมูลเกี่ยวกับ การดําเนินโครงการขับเคล่ือนการพัฒนาทองถิ่น ตามยุทธศาสตรชาติของเทศบาลตําบลโพตลาดแกว โดยมพี ระธดุ งคจากวดั ถา้ํ กระบอก อาํ เภอพระพทุ ธบาท จงั หวัดสระบุรี มาปกกลดและใหค วามรเู ร่อื งยาเสพตดิ และมีนิทรรศการจากวัดถ้ํากระบอก โดยแบงออกเปน ๑๐ สถานี ดังนี้ ๑. ออกแบบและผลิตสิ่งของจาก คอมพิวเตอร 3D ๒. ปลูกปา จากใบไม ๓. ภาพกระจก ๔. ผลติ ถว ยชามใบไมร กั ษโลก ๕. ผลติ กระถางจากฟาง ๖. กลนั่ น้ําสม ควันไม ๗. ผลติ กระถางจากผา ๘. ผลติ แกว ไมไผ ๙. ผลิตปุยจากใบไม และ ๑๐. ผลิตปยุ อนิ ทรยี จ าก ของเหลอื ใชอนิ ทรีย คณะกรรมาธิการการเศรษฐกจิ การเงินและการคลัง สภานติ ิบัญญตั ิแหง ชาติ วันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ณ โรงแรมโนโวเทล สุขุมวิท ๒๐ กรงุ เทพฯ พลอากาศเอก ชนะ อยูสถาพร ประธานคณะกรรมาธิการการเศรษฐกิจการเงินและการคลัง สภานิติบัญญัติแหงชาติ เปนประธานในการ จัดสัมมนา เรื่อง \"สรุปผลการดําเนินงาน ของคณะกรรมาธิการ : ๕ ป ท่ีทําไว... และสิ่งท่ีอยากใหสานตอ\" โดยมีวัตถุประสงค เพ่ือเปนการสรุปภาพรวมและประเมินผล การดําเนินงานของคณะกรรมาธิการในชวง ระยะเวลาที่ผานมา รวมทั้ง ไดมีการรวม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณดาน สถานการณเศรษฐกิจ โดยมี นายปรดี ี ดาวฉาย กรรมาธกิ าร ในฐานะประธานสมาคมธนาคารไทย และนายสุพันธุ มงคลสุธี ในฐานะประธาน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ไดบรรยาย เก่ียวกับการคาดการณสถานการณเศรษฐกิจ ไทย ภายหลังการเลือกต้งั

เอกสารขา วรัฐสภา 3๒ กฎหมายควรรู้ พระราชบญั ญตั ิการจดั ประชารฐั สวัสดกิ าร เพอ่ื เศรษฐกิจฐานรากและสังคม พ.ศ. ๒๕๖๒ พระราชบญั ญตั กิ ารจดั ประชารฐั สวสั ดกิ ารเพอ่ื เศรษฐกจิ ฐานรากและสงั คม พ.ศ. ๒๕๖๒ เสนอโดยคณะรัฐมนตรี ชุดที่มี พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา เปนนายกรัฐมนตรี ตอ ประธาน สภานิติบัญญัติแหงชาติ เมื่อวันที่ ๔ กันยายน ๒๕๖๑ เพื่อใหสภานิติบัญญัติแหงชาติ พิจารณาตามบทบัญญตั ิของรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สาํ หรบั เหตุผลในการประกาศใชเน่ืองจากสมควรใหมีการจัดสวัสดิการใหแกประชาชนผูมีรายไดนอย เพ่ือลดความเหล่ือมลํ้าทางเศรษฐกิจและสังคม กระจายรายไดอยางเปนธรรม ตลอดจน ยกระดับและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนอยางยั่งยืน โดยมีการดําเนินการรวมกัน ระหวางภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน อันจะมีผลทําใหประชาชนผูมีรายไดนอยมีปจจัย ที่เพียงพอและสามารถดํารงชีวิตไดอยางมีคุณภาพ รวมทั้งมีความเปนอยูที่ดีขึ้น ในการน้ี เพ่ือใหการดําเนินการจัดสวัสดิการเปนไปตามวัตถุประสงคอยางมีประสิทธิภาพ จึงจําเปน ตองตราพระราชบัญญัตินี้

กฎหมายควรรู้ 33 พระราชบัญญัติการจดั ประชารัฐสวัสดกิ ารเพือ่ เศรษฐกิจฐานรากและสงั คม พ.ศ. ๒๕๖๒ มเี นอ้ื หา สาระส�ำคญั โดยสรปุ ดงั น้ี ๑. บทนิยาม “ประชารฐั สวัสดิการ”  หมายความวา่   สวสั ดิการทจ่ี ดั ขน้ึ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์ในการลดความเหล่อื มล�ำ้ เพิ่มศักยภาพให้ประชาชนผู้มีรายได้น้อยมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น  และสนับสนุนโครงการที่ให้บริการทางสังคม แก่ประชาชน โดยมกี ารดำ� เนินการร่วมกนั ระหวา่ งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน อนั จะเปน็ การแก้ไขปัญหา และพัฒนาเศรษฐกิจให้เป็นไปอยา่ งยงั่ ยนื “โครงการลงทะเบียนเพอ่ื สวัสดิการแหง่ รฐั ” หมายความว่า โครงการทกี่ ระทรวงการคลงั ก�ำหนดให้ ประชาชนผูม้ ีรายไดน้ อ้ ยทมี่ ีคุณสมบตั ิมาลงทะเบยี น เพือ่ เปน็ ฐานข้อมูลในการจัดประชารฐั สวสั ดกิ ารท่ีเปน็ การให้ ความชว่ ยเหลือผ่านบตั รสวัสดกิ ารแหง่ รฐั “กองทนุ ” หมายความว่า กองทุนประชารัฐสวัสดิการเพ่อื เศรษฐกิจฐานรากและสังคม “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการประชารฐั สวสั ดกิ ารเพือ่ เศรษฐกจิ ฐานรากและสังคม “กรรมการ” หมายความวา่ กรรมการประชารัฐสวัสดิการเพ่อื เศรษฐกิจฐานรากและสงั คม “สานักงาน” หมายความวา่ สำ� นกั งานปลัดกระทรวง กระทรวงการคลงั ๒. คณะกรรมการประชารฐั สวสั ดกิ ารเพ่อื เศรษฐกิจฐานรากและสังคม ก�ำหนดให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า  “คณะกรรมการประชารัฐสวัสดิการเพ่ือเศรษฐกิจ ฐานรากและสังคม” ประกอบดว้ ย (๑) รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงการคลัง เป็นประธานกรรมการ (๒) ปลดั กระทรวงการคลัง เป็นรองประธานกรรมการ (๓) กรรมการโดยต�ำแหน่ง  ได้แก่  ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เลขาธกิ ารคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั งบประมาณ อธบิ ดกี รมบญั ชกี ลาง และผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั งานเศรษฐกิจการคลงั

เอกสารขา วรัฐสภา 3๔ (๔) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จ�านวนสามคน ซ่ึงประธานกรรมการแต่งตั้งจากผู้มีความรู้ความ เชี่ยวชาญและประสบการณ์ดา้ นเศรษฐศาสตร ์ สงั คม การพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย ์ หรอื ดา้ นอน่ื อันจะเป็นประโยชน์ แก่การจดั ประชารฐั สวัสดิการ ทงั้ น ี้ ใหป้ ลดั กระทรวงการคลงั แตง่ ตง้ั รองปลดั กระทรวงการคลงั คนหนงึ่ เปน็ กรรมการและเลขานกุ าร และแตง่ ตง้ั ขา้ ราชการในสา� นกั งานจา� นวนไมเ่ กนิ สองคน เปน็ ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร ๓. คุณสมบัติและไมม่ ีลกั ษณะตอ งหามของกรรมการผูทรงคุณวุฒิ และวาระการด�ารงต�าแหนง่ (๑) คุณสมบัตแิ ละไมม่ ีลกั ษณะต้องหา้ ม ได้แก่ มสี ัญชาตไิ ทย มอี ายุไมเ่ กนิ ๖๕ ปบี รบิ รู ณ ์ ไมเ่ ป็น บคุ คลลม้ ละลายหรอื เคยเป็นบุคคลลม้ ละลายทจุ ริต ไมเ่ ปน็ คนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไรค้ วามสามารถ ไมเ่ คย ได้รับโทษจ�าคุกโดยค�าพิพากษาถึงท่ีสุดให้จ�าคุก เว้นแต่เป็นโทษส�าหรับความผิดที่ได้กระท�าโดยประมาทหรือ ความผิดลหุโทษ ไม่เคยถูกลงโทษไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากงานเพราะทุจริตต่อหน้าที่หรือประพฤติช่ัว ร้ายแรง ไม่เป็นผู้ด�ารงต�าแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นหรือกรรมการหรือ ผู้ด�ารงต�าแหน่งท่ีรับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมือง ท่ีปรึกษาพรรคการเมืองหรือเจ้าหน้าท่ีของพรรคการเมือง ไม่เป็นผู้มีสว่ นได้เสยี ไมว่ า่ โดยตรงหรอื โดยออ้ มในการจัดประชารัฐสวสั ดิการ (๒) มีวาระการดา� รงต�าแหนง่ คราวละ ๔ ปี (๓) นอกจากการพ้นจากต�าแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากต�าแหน่งเม่ือตาย ลาออก ประธานกรรมการให้ออกเพราะบกพรอ่ งต่อหน้าท่ี มีความประพฤตเิ สอ่ื มเสยี หรอื หยอ่ นความสามารถ หรอื ขาดคุณสมบตั หิ รือมลี ักษณะต้องห้าม ๔. อา� นาจและหนา ทีค่ ณะกรรมการประชารัฐสวสั ดกิ ารเพ่อื เศรษฐกิจฐานรากและสังคม (๑) เสนอนโยบาย แผนการด�าเนินงาน มาตรการหรือโครงการเก่ียวกับประชารัฐสวัสดิการ ท่ีเป็นการให้ความช่วยเหลือในการด�ารงชีพและเพิ่มศักยภาพให้แก่ประชาชนผู้มีรายได้น้อยตามโครงการลง ทะเบยี นเพ่ือสวสั ดิการแหง่ รัฐ เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายในครัวเรอื นและคา่ ใชจ้ ่ายในการเดนิ ทาง โดยการสนับสนุน ค่าใช้จา่ ยบางส่วนทจี่ �าเปน็ ตอ่ คณะรฐั มนตรีเพือ่ พจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบ (๒) พิจารณาการสนับสนุนโครงการท่ีให้บริการทางสังคมที่จัดท�าข้ึนโดยหน่วยงานของเอกชน มูลนิธิ หรือองค์กรสาธารณประโยชน์ เพ่ือช่วยเหลือประชาชนในภาวะล�าบากทุกประเภท เสนอคณะรัฐมนตรี เพอ่ื พจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบ (๓) จัดให้มีฐานข้อมูลของประชาชนผู้มีรายได้น้อยซึ่งผ่านการตรวจสอบคุณสมบัติในโครงการ ลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐท่ีถูกต้องและเป็นปัจจุบัน เพ่ือใช้ในการจัดประชารัฐสวัสดิการ การก�ากับดูแล การบรหิ ารจดั การ และการประเมนิ ผลการดา� เนินการได้อย่างเหมาะสม (๔) ก�ากับดูแลการบริหารจัดการ ตรวจสอบข้อมูล และติดตามการด�าเนินงานให้เป็นไปตาม วตั ถปุ ระสงคข์ องการจัดประชารัฐสวสั ดกิ าร (๕) ประเมินผลการด�าเนินงานและความคุ้มค่าในการจัดประชารัฐสวัสดิการอย่างน้อยปีละ หนง่ึ ครงั้ พร้อมทง้ั รายงานผลการประเมินดงั กลา่ วต่อคณะรฐั มนตร ี ทัง้ น้ี หลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารประเมนิ ใหเ้ ปน็ ไป ตามที่คณะกรรมการก�าหนดโดยความเห็นชอบของคณะรฐั มนตรี (๖) ออกระเบียบเกยี่ วกับการรบั เงิน การจา่ ยเงนิ และการเกบ็ รักษาเงินของกองทนุ (๗) แต่งตง้ั คณะอนุกรรมการเพอ่ื ด�าเนนิ การใหเ้ ปน็ ไปตามพระราชบญั ญตั ินี้ (๘) ออกระเบยี บ ประกาศ หรือค�าสั่ง เพอื่ ปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบญั ญตั ิน้ี (๙) ปฏบิ ตั กิ ารอนื่ ใดตามทกี่ า� หนดไวใ้ นพระราชบญั ญตั นิ ห้ี รอื การจดั ประชารฐั สวสั ดกิ ารทค่ี ณะรฐั มนตรี มอบหมาย

กฎหมายควรรู้ 35 ๕. การประชุมคณะกรรมการ การประชุมของคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ�ำนวนกรรมการ ท้ังหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม  กรณีกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ีได้  ให้รองประธานกรรมการ เป็นประธานในทป่ี ระชมุ แตถ่ ้าทั้งประธานกรรมการและรองประธานกรรมการไม่มาประชมุ ให้เลือ่ นการประชมุ การวินิจฉัยช้ีขาดของท่ีประชุมให้ถือเสียงข้างมาก  กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหน่ึงในการลงคะแนน ถา้ มีคะแนนเสียงเทา่ กันให้ประธานในทป่ี ระชุมออกเสียงเพิ่มขึน้ อกี เสยี งหน่ึงเป็นเสียงชขี้ าด ๖. การเสนอนโยบาย การเสนอนโยบาย แผนงานด�ำเนินการ มาตรการหรอื โครงการ และการสนับสนุนโครงการท่ใี ห้ บริการทางสงั คม ใหค้ ณะกรรมการกำ� หนดผูร้ บั ผิดชอบในการดำ� เนนิ งาน ประมาณการรายจา่ ย วธิ กี ารประเมนิ ผล การวัดความคมุ้ ค่า และประโยชน์ทจ่ี ะได้รับ รวมทง้ั วิเคราะห์ผลกระทบจากการดำ� เนนิ โครงการ เพ่อื ประกอบการ พิจารณาของคณะรัฐมนตรี ๗. บตั รสวัสดิการแห่งรฐั การจัดประชารัฐสวัสดิการที่เป็นการให้ความช่วยเหลือในการด�ำรงชีพแก่ประชาชนผู้มีรายได้น้อย ตามโครงการลงทะเบยี นเพอื่ สวสั ดิการแห่งรฐั ใหด้ �ำเนินการผา่ นบัตรสวัสดกิ ารแหง่ รัฐ โดยให้กระทรวงการคลงั ออกบัตรสวัสดิการแห่งรัฐให้แก่ประชาชนผู้มีรายได้น้อยซ่ึงผ่านการตรวจสอบคุณสมบัติในโครงการลงทะเบียน เพอ่ื สวสั ดิการแหง่ รัฐ ๘. ส�ำนกั งานเลขานุการของคณะกรรมการประชารฐั สวสั ดิการเพือ่ เศรษฐกิจฐานรากและสังคม ส�ำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการประชารัฐสวัสดิการเพื่อเศรษฐกิจฐานรากและสังคม  มีหน้าที่ และอ�ำนาจศึกษาและวิเคราะห์แนวทางในการจัดประชารัฐสวัสดิการเพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะ กรรมการ  บริหารจัดการฐานข้อมูลของประชาชนผู้มีรายได้น้อย  เพ่ือใช้ในการจัดประชารัฐสวัสดิการ ได้อย่างเหมาะสม  รวมท้ังรับเงิน  จ่ายเงิน  และเก็บรักษาเงินของกองทุนตามระเบียบที่คณะกรรมการก�ำหนด จัดท�ำรายงานการเงินและการบัญชีของกองทุน  รายงานผลการด�ำเนินงานของกองทุนเสนอต่อคณะกรรมการ ด�ำเนินงานของกองทุนให้เปน็ ไปตามระเบยี บ ประกาศ คำ� ส่งั และมติของคณะกรรมการ  ด�ำเนินการและประสาน งานกับหน่วยงานของรัฐหรือเอกชนที่เก่ียวข้องกับการจัดประชารัฐสวัสดิการและการด�ำเนินงานของกองทุน รวมท้ังปฏบิ ัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการมอบหมาย

เอกสารขา วรัฐสภา 3๖ ๙. กองทนุ ประชารัฐสวัสดิการเพื่อเศรษฐกจิ ฐานรากและสงั คม ให้จัดตั้งกองทุนประชารัฐสวัสดิการเพื่อเศรษฐกิจฐานราก โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือใช้จ่ายในการจัด ประชารัฐสวัสดิการที่เป็นการให้ความช่วยเหลือประชาชนผู้มีรายได้น้อยหรือเพ่ือสนับสนุนโครงการที่ให้บริการ ทางสังคมท่เี ป็นการชว่ ยเหลอื ประชาชนในภาวะลา� บากทกุ ประเภท กองทนุ ประกอบด้วยเงินและทรัพย์สนิ ดงั น้ี (๑) เงินและทรัพย์สินท่ีเกี่ยวเนื่องกับกองทุนประชารัฐเพ่ือเศรษฐกิจฐานราก ท่ีโอนมาจาก สา� นักงานปลัดกระทรวงการคลงั กระทรวงการคลงั ตามมติคณะรฐั มนตรี เมอื่ วันท่ ี ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๐ (๒) เงนิ อดุ หนนุ ที่รฐั บาลจัดสรรจากงบประมาณรายจา่ ย (๓) เงินหรือทรัพยส์ นิ ที่มีผ้บู รจิ าคให้ (๔) เงนิ หรอื ทรพั ย์สินท่ตี กเปน็ ของกองทนุ หรอื ที่กองทุนได้รับตามกฎหมายอ่นื (๕) ดอกผลหรือผลประโยชน์ทีเ่ กิดจากเงินหรือทรัพย์สนิ ของกองทุน ๑๐. การใชจ่ายเงนิ ของกองทุน เงนิ ของกองทุนใหใ้ ชจ้ ่ายเพื่อการจดั ประชารฐั สวสั ดิการและกิจการ ดังน้ี (๑) การให้ความชว่ ยเหลือประชาชนผมู้ ีรายได้นอ้ ยตามโครงการลงทะเบยี นเพือ่ สวสั ดิการแหง่ รัฐ (๒) การสนับสนุนโครงการทใ่ี ห้บริการทางสงั คมท่จี ดั ท�าขึ้นโดยหน่วยงานของเอกชน มูลนิธิ หรอื องคก์ รสาธารณประโยชน ์ เพื่อชว่ ยเหลือประชาชนในภาวะลา� บาก (๓) การดา� เนินงานและบรหิ ารกองทนุ ตามท่คี ณะกรรมการใหค้ วามเห็นชอบ นอกจากนี้ก�าหนดให้เงินกองทุนประชารัฐสวัสดิการเพ่ือเศรษฐกิจฐานรากและสังคม ฝากไว้ ท่กี ระทรวงการคลงั รวมทงั้ กา� หนดให้สา� นักงานปลดั กระทรวง กระทรวงการคลัง วางและรกั ษาไวซ้ งึ่ ระบบบญั ชี ที่เหมาะสมเพ่ือให้สามารถจัดท�ารายงานการเงิน แสดงฐานะทางการเงิน และผลการด�าเนินงานของกองทุน ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องตามหลกั การบญั ชที ี่รับรองทัว่ ไป และกา� หนดใหส้ า� นกั งานปลัดกระทรวง กระทรวงการคลงั จดั ทา� รายงานการเงินของกองทนุ ส่งผู้สอบบญั ชีภายใน ๖๐ วนั นบั แตว่ นั สน้ิ ปบี ัญชี

กฎหมายควรรู้ 37 ๑๑. การตรวจสอบบัญชขี องกองทุน (๑) ก�ำหนดให้ส�ำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินหรือบุคคลที่ส�ำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินให้ ความเห็นชอบเปน็ ผสู้ อบบัญชขี องกองทุนและจดั ทำ� รายงานการสอบบญั ชีเสนอตอ่ คณะกรรมการภายใน ๑๕๐ วัน นับแต่วันสิ้นปีบัญชี  และให้คณะกรรมการน�ำส่งรายงานการเงินพร้อมด้วยรายงานการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชี ต่อกระทรวงการคลงั ภายใน ๓๐ วนั นบั แต่วนั ท่ีได้รับรายงานจากผ้สู อบบัญชี (๒) กำ� หนดใหส้ ำ� นักงานปลัดกระทรวง กระทรวงการคลัง จัดใหม้ รี ะบบการตรวจสอบภายใน เพื่อตรวจสอบการด�ำเนินงานของกองทุน  โดยให้ถือปฏิบัติตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์ท่ีกระทรวงการคลัง ก�ำหนด ๑๒. รายงานประจ�ำปขี องกองทุนต่อคณะรัฐมนตรี ภายในหนง่ึ รอ้ ยแปดสบิ วนั นบั แตว่ นั สน้ิ ปงี บประมาณ  ใหค้ ณะกรรมการเสนอรายงานประจำ� ปขี องกองทนุ ต่อคณะรัฐมนตรี  สภาผู้แทนราษฎร  และวุฒิสภา  รายงานน้ีให้กล่าวถึงผลงานของกองทุนในปีท่ีล่วงมาแล้ว โดยเฉพาะด้านผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพการใช้จ่ายเงินของกองทุน  รายงานการเงินพร้อมด้วยรายงานการ สอบบัญชีของผู้สอบบญั ชี ทัง้ น้ี ให้เปิดเผยรายงานดงั กล่าวใหป้ ระชาชนทราบเป็นการท่วั ไป ๑๓. การยุบเลิกกองทนุ ประชารัฐสวสั ดกิ ารเพือ่ เศรษฐกจิ ฐานราก และสังคม กรณีท่ีไม่มีความจ�ำเป็นที่ต้องด�ำเนินการตามวัตถุประสงค์ของกองทุนประชารัฐสวัสดิการ เพ่ือเศรษฐกิจฐานรากและสงั คม อีกต่อไป ใหร้ ฐั มนตรีวา่ การกระทรวงการคลังเสนอต่อคณะรฐั มนตรเี พ่อื พิจารณา ให้มีการยุบเลกิ กองทุน และเม่ือคณะรัฐมนตรีมมี ตเิ ห็นชอบ ใหก้ องทุนยุบเลิกเม่อื พน้ ก�ำหนด ๓๐ วนั นับแตว่ ัน ที่คณะรัฐมนตรีมีมติ  และให้ปลัดกระทรวงการคลังแต่งตั้งผู้ช�ำระบัญชีเพื่อตรวจสอบทรัพย์สินและช�ำระบัญชี รวมทั้งการโอนหรือจ�ำหน่ายทรัพย์สินท่ียังคงเหลืออยู่  โดยด�ำเนินการให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์  วิธีการ  และ เง่ือนไขท่ีคณะกรรมการประกาศก�ำหนด  ทั้งน้ี  เงินหรือทรัพย์สินท่ีเหลือหลังจากการช�ำระบัญชีให้น�ำส่งคลัง เปน็ รายได้แผ่นดิน

เอกสารขาวรัฐสภา 3๘ พระราชบัญญัติการจัดประชารัฐสวัสดิการเพื่อเศรษฐกิจฐานรากและสังคม พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นการ ขยายวัตถุประสงค์ของกองทุนประชารัฐเพื่อเศรษฐกิจฐานราก ท�าให้กองทุนมีแหล่งเงินทุนในการด�าเนินการ สนับสนุนโครงการท่ีให้บริการสังคมเพื่อช่วยเหลือประชาชนในภาวะล�าบากได้อย่างครอบคลุมและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งยังส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากโดยก�าหนดให้รัฐจัดสวัสดิการให้แก่ประชาชนผู้มีรายได้น้อย ที่สมควรได้รับการช่วยเหลืออย่างแท้จริงให้เข้าถึงปัจจัยพ้ืนฐานที่จ�าเป็นต่อการด�ารงชีพ อันเป็นการลดความ เหลื่อมล�้าทางเศรษฐกิจ เกิดการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม ตลอดจนยกระดับและพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ประชาชนได้อย่างยงั่ ยืน และยังทา� ใหก้ ารดา� เนินงานของกองทนุ ประชารฐั เป็นไปอย่างรอบคอบ รัดกุม อยู่ภายใต้ กรอบวินัยการเงินการคลังที่ดี อีกทั้งยังสามารถช่วยบรรเทาภาระงบประมาณในระยะยาว ส่งผลให้เกิด เสถียรภาพทางด้านการเงินและเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้จ่ายเงินของประเทศ รวมทั้งยังเป็นกลไกสนับสนุน และช่วยเหลือประชาชนผู้มีรายได้น้อยและเกษตรกรท่ีลงทะเบียนในโครงการลงทะเบียนเพ่ือสวัสดิการแห่งรัฐ ให้มีโอกาสเข้าถึงทรัพยากรที่จ�าเป็นเพื่อส่งเสริมการประกอบอาชีพ การพัฒนาศักยภาพ และเป็นพ้ืนฐาน ส�าหรับการขยายผลไปสู่การสร้างโอกาสในการสนับสนุนช่วยเหลือประชาชนในภาวะล�าบาก ซึ่งสอดคล้องกับ ภารกิจและเจตนารมณ ์ รวมทง้ั วตั ถุประสงค์ในการจัดสวสั ดิการเพือ่ ให้ความชว่ ยเหลือแก่ประชาชนผูม้ รี ายได้น้อย ******************** ขอมูล :- พระราชบญั ญัตกิ ารจัดประชารฐั สวัสดิการเพื่อเศรษฐกิจฐานรากและสังคม พ.ศ. ๒๕๖๒ สืบคน้ เมอ่ื วนั ท ี่ ๒๐ เมษายน ๒๕๖๒ จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/ A/025/T_0001.PDF รา่ งพระราชบญั ญตั ิการจดั ประชารฐั สวัสดกิ ารเพอื่ เศรษฐกจิ ฐานรากและสงั คม พ.ศ. .... (คณะรัฐมนตร ี เปน็ ผู้เสนอ) สบื ค้นเม่อื วนั ท ่ี ๒๐ เมษายน ๒๕๖๒ จาก http://web.senate.go.th/document/ manual/738.pdf ร่างพระราชบญั ญัติการจดั ประชารัฐสวัสดกิ ารเพ่อื เศรษฐกิจฐานรากและสงั คม พ.ศ. ... สบื ค้น เม่ือวนั ท่ี ๒๐ เมษายน ๒๕๖๒ จาก http://web.senate.go.th/bill/bk_data/407-3.pdf

ภาพเกาเลาเร่ือง ๓๙ ภาพเก่าเลา่ เร่ือง พระทนี่ ่ังสุทไธสวรรยปราสาท พระท่ีน่ังสุทไธสวรรยปราสาท ตั้งอยูบนกําแพง พระบรมมหาราชวัง ระหวางประตูเทวาพิทักษและประตูศักดิ์ ไชยสทิ ธิ์ เปน พระทีน่ ่ังยอดปราสาทต้ังอยูบนฐานสงู มอี ัฒจันทร ข้นึ ๒ ตอน คอื อฒั จันทรดานเหนอื และใตเ ปน ทางขึ้นจากพื้น สูฐาน จากฐานมีอัฒจันทรขึ้นสูพระท่ีน่ังทั้งทางตะวันออก ตะวันตก เหนือ และใต ดานตะวันออกมีพระเฉลยี งไม เพื่อ เปนที่ประทับทอดพระเนตรขบวนแหในพระราชพิธีสนานใหญ และการฝกชาง ลักษณะเปนพลบั พลาโถง ทาํ ดวยเคร่อื งไม เปนสีหบัญชรสําหรับเสด็จออกใหประชาชนเฝาทูลละอองธุลี พระบาท

เอกสารขา วรฐั สภา ๔๐ พระท่ีน่ังองคนี้เดิมสรางในรัชกาลที่ ๑ เรียกวา “พลับพลาสูง” ถึงรัชกาลที่ ๓ โปรดใหรอ้ื และสรางใหม และทรง พระราชทานนามวา “พระที่น่ังสุทธาสวรรย” ตอมาพระบาท สมเด็จพระปรเมนทรมหามงกฎุ พระจอมเกลา เจาอยหู ัว ทรง บูรณปฏิสงั ขรณใน พ.ศ. ๒๓๙๖ และพระราชทานนามใหมวา “พระทน่ี ่ังสทุ ไธสวรรยปราสาท” และโปรดใหน ับเปน พระที่นงั่ หน่งึ ในหมพู ระอภิเนาวน ิเวศน ตอ มา พ.ศ. ๒๔๙๒ มกี ารตอเตมิ สรา งเฉลยี งไมด า นตะวันออกเปนสหี บัญชร พระบรมฉายาลักษณ “พระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจาอยูหัว และสมเด็จพระนางเจารําไพพรรณี พระบรมราชินี ประทับที่หนาพลับพลาสูงหนาพระที่นั่งสุทไธสวรรย ปราสาท ดา นนอกพระบรมมหาราชวงั รถมา ประดษิ ฐานรฐั ธรรมนญู วงิ่ ผา น หนาพระท่ีน่ัง บนถนนสนามไชย เปนงานฉลองรัฐธรรมนูญ ครงั้ แรก ในป พ.ศ. ๒๔๗๕” (ภาพสมดุ ภาพพระยาพหลพล พยหุ เสนา ภาค ๑, สํานกั พิมพตนฉบับ) พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร เสด็จออกสีหบญั ชร พระท่ีนั่งสุทไธสวรรยปราสาท พรอมดวยสมเด็จ พระนางเจาสริ ิกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ เม่อื วันท่ี ๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ สีหบัญชร หมายถึง หนาตางของพระทนี่ ่งั ตา ง ๆ ที่ พระมหากษัตริยเสดจ็ ออกใหเ ขา เฝา เชน สหี บญั ชรที่พระท่นี ่งั อนันตสมาคม พระราชวงั ดสุ ิต สีหบัญชรท่พี ระทนี่ ่ังสทุ ไธสวรรย ปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง

ภาพเกาเลา เร่ือง ๔๑ การเสด็จออกสีหบัญชรในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร เสด็จออกสหี บญั ชร พระท่ีน่งั สุทไธสวรรยปราสาทพรอ มดวยสมเด็จพระนางเจา สริ ิกติ ์ิ พระบรมราชินีนาถ เพ่อื ใหประชาชนเฝาทลู ละอองธลุ ีพระบาทถวายพระพรชัยมงคล เม่ือวันที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ การเสดจ็ ออกสีหบัญชรในการพระราชพิธบี รมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระเจา อยูหวั รชั กาลท่ี ๑๐ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหประชาชนเฝา ทลู ละอองธลุ ีพระบาทถวายพระพรชัยมงคล ณ สหี บญั ชร พระทีน่ ่งั สุทไธสวรรยปราสาท เชนเดียวกนั กบั ในสมยั รชั กาลท่ี ๙ พระราชพิธบี รมราชาภิเษก เปน ข้ันตอนพธิ ที ่ีพระบาท สมเดจ็ พระเจาอยหู ัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหป ระชาชน คณะทูตานุทูต กงสุล ผูแทนองคการระหวางประเทศ เฝาทลู ละอองธุลีพระบาทถวายพระพรชยั มงคล เมือ่ วันท่ี ๖ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ขอ มูลจาก : - ปณณวชิ ญ ปองธรรม. ศลิ ปวัฒนธรรม “รชั กาลที่ ๗ และสมเดจ็ พระราชินีเสดจ็ ฯ งานฉลองรัฐธรรมนูญคร้ัง แรก” วันที่ ๒๖ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๒ สบื คนจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_29920 เมือ่ วันท่ี ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒ - ศนู ยข อ มลู เกาะรตั นโกสนิ ทร “พระบรมมหาราชวงั ” กรมศลิ ปากร. จดหมายเหตกุ ารอนรุ ักษกรงุ รัตนโกสนิ ทร. กรุงเทพฯ : กรมศลิ ปากร, 2525 สบื คนจาก http://www.thapra.lib.su.ac.th/ratanagosin/grand_palace13.htm เม่อื วนั ที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒

เอกสารขา วรฐั สภา 4๒ รู้เรือ่ งน่า การประชุมในกรอบของสมัชชารัฐสภาอาเซียนทเ่ี ก่ียวขอ ง ๑. การประชมุ ใหญ่สมชั ชารฐั สภาอาเซยี น (General Assembly) ๒. การประชมุ คณะกรรมการบรหิ าร (Executive Committee) ๓. การประชมุ ระหวา่ งผนู้ �าอาเซยี นและคณะผู้แทนของ AIPA ๔. การประชุม AIPA Caucus ๕. การประชุมคณะกรรมาธิการศึกษาข้อเท็จจริงของสมัชชารัฐสภาอาเซียนว่าด้วยการปราบปราม ภยั คุกคามจากยาเสพติด (AIFOCOM) ๖. การเขา้ ร่วมการประชมุ อื่นๆ เชน่ การประชุมด้านสตรี ดา้ นสทิ ธิมนษุ ยชน ๑. การประชมุ ใหญส่ มัชชารัฐสภาอาเซียน (General Assembly) สมชั ชารฐั สภาอาเซยี นจดั ประชุมสมชั ชาใหญ่อยา่ งนอ้ ยปลี ะหนง่ึ ครง้ั เพ่อื ก�าหนดนโยบายของ AIPA พิจารณาเรอ่ื งต่าง ๆ ท่ีมคี วามสา� คัญตอ่ อาเซยี น และเสนอแนะมาตรการด้านรฐั สภาและมาตรการดา้ นนิติบญั ญัติ ในการพัฒนาอาเซยี นและแก้ไขปัญหาในอาเซียน

เรอื่ งน่ารู้ 43 การประชุมใหญ่สมัชชารัฐสภาอาเซียนจะต้องประกอบไปด้วยผู้แทนจากรัฐสภาประเทศสมาชิก ประเทศละ ไม่เกิน ๑๕ คน โดยมีประธานรัฐสภาหรือบคุ คลท่ปี ระธานรฐั สภามอบหมายใหท้ �ำหนา้ ทเี่ ปน็ หัวหน้าคณะ ตามธรรมนูญสมัชชารัฐสภาอาเซียนก�ำหนดให้จัดการประชุมปีละหน่ึงครั้ง  และในกรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติตามน้ีได้ ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามมตขิ องคณะกรรมการบรหิ าร ซงึ่ สถานทใี่ นการจดั การประชมุ สมชั ชาใหญน่ นั้ ประเทศสมาชกิ จะผลดั เปลย่ี น หมุนเวียนกันเป็นเจ้าภาพตามล�ำดับอักษร  หากในกรณีที่ประเทศเจ้าภาพไม่สามารถจัดการประชุมใหญ่สมัชชา รฐั สภาอาเซียนได้ ให้คณะกรรมการบรหิ ารเป็นผตู้ ดั สนิ วา่ จะใช้สถานทีใ่ ดเปน็ ท่ีจัดการประชุม ท่ีประชุมสามารถริเร่ิมเสนอแนะแนวนโยบาย  ตลอดจนผลักดันให้เกิดการจัดท�ำข้อกฎหมายท่ีเก่ียวกับ ผลประโยชน์ร่วมกันภายในอาเซียน  เพื่อเสนอให้ฝ่ายบริหารพิจารณา  ข้อมติที่ได้รับการรับรองจากที่ประชุม จะถูกส่งผ่านไปยังหน่วยประจ�ำชาติเพื่อด�ำเนินการแจ้งให้รัฐบาลและรัฐสภาแห่งชาติรับทราบและปฏิบัติตามข้อมติน้ัน  ๆ ต่อไป ท่ีประชุมใหญ่สมัชชารัฐสภาอาเซียน  จะใช้หลักฉันทามติ  ในการพิจารณาประเด็นปัญหาต่าง  ๆ ประเด็นทไ่ี ม่ไดร้ บั ความเหน็ ชอบตามหลกั ฉนั ทามตถิ ือว่าตกไป คณะผแู้ ทนในการประชมุ ใหญส่ มัชชารัฐสภาอาเซยี น ประกอบดว้ ย ๑. ผูแ้ ทนรฐั สภาประเทศสมาชกิ AIPA ๑๐ ประเทศๆ ละ ๑๕ คน ๒. ผแู้ ทนรฐั สภาประเทศผู้สังเกตการณ์ AIPA ๑๑ ประเทศ และ ๑ องค์กร คอื ออสเตรเลีย แคนาดา จีน ญป่ี ุน่ เกาหลี นวิ ซีแลนด์ รัสเซีย ปาปวั นวิ กนิ ี สหรฐั อเมรกิ า อินเดีย ติมอร์ - เลสเต เบลาลุส และสภายุโรป ประเทศละ ๒ คน ๒. การประชุมคณะกรรมการบรหิ าร (Executive Committee) การประชุมคณะกรรมการบริหารฯ  ประกอบด้วย  ประธานสมัชชารัฐสภาอาเซียนเป็นประธาน คณะกรรมการ และสมาชิกรัฐสภาจากประเทศสมาชกิ ไมเ่ กินประเทศละ ๓ คน โดยหน่งึ ในสามคนจะต้องเป็น ประธานรัฐสภาหรือผแู้ ทนคณะกรรมการบริหาร มีวาระ ๑ ปี เชน่ เดียวกบั วาระการดำ� รงตำ� แหนง่ ของประธาน AIPA หน้าท่ีของคณะกรรมการบริหารของสมชั ชารัฐสภาอาเซยี นมีดงั น้ี ๑) พิจารณาและเสนอแนะการเป็นสมาชิกภาพของรัฐสภาประเทศสมาชิกและการเข้าเป็นผู้สังเกตการณ์ ตลอดจนพิจารณาบคุ คลหรือองคก์ รท่สี มชั ชารัฐสภาอาเซียนจะเชญิ เขา้ ร่วมกิจกรรมหรือการประชุมขององค์กร ๒) ริเริ่มกจิ กรรมของสมัชชารฐั สภาอาเซยี น ๓) ติดตามการปฏิบัติตามข้อมติท่ผี ่านการพิจารณาจากทปี่ ระชุมสมัชชาใหญ่ ๔) เตรยี มหัวข้อการประชุมและก�ำหนดการทแี่ ตล่ ะประเทศสมาชิกเสนอเพ่ือให้ทีป่ ระชมุ สมัชชาใหญ่ ให้ความเห็นชอบ ๕) เสนอการจัดตั้งคณะกรรมาธิการสามัญ  คณะกรรมาธิการศึกษาและคณะกรรมาธิการวิสามัญ เมือ่ มคี วามจ�ำเปน็ ตอ้ งจัดต้ัง ๖) ก�ำกับ ติดตาม และดูแลควบคุมส�ำนกั งานเลขาธกิ ารสมชั ชารฐั สภาอาเซียน ๗) เสนอการแต่งตงั้ เจา้ หนา้ ทข่ี องสำ� นกั งานเลขาธิการสมชั ชารัฐสภาอาเซียน ๘) ก�ำหนดขอ้ บังคับการประชุมของคณะกรรมการบริหารแต่ละคร้ัง

เอกสารขาวรัฐสภา 44 ๓. การประชุมระหว่างคณะผู้แทนสมัชชารัฐสภาอาเซียนกับผู้นําอาเซียนในระหว่างการประชุมสุดยอด อาเซยี น (AIPA – ASEAN Meeting During ASEAN Summit) การประชุมระหว่างคณะผแู้ ทนสมชั ชารฐั สภาอาเซยี นกับผู้น�าอาเซียนในระหว่างการประชุมสดุ ยอด อาเซียน (AIPA – ASEAN Meeting during ASEAN Summit) เปน็ กรอบความรว่ มมอื ระหว่างสมัชชารฐั สภาอาเซียน (ASEAN Inter - Parliamentary Assembly : AIPA) และสมาคมประชาชาตเิ อเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian Nations : ASEAN) ในความพยายามทจี่ ะสนบั สนุนการทา� งานรว่ มกันระหว่างฝา่ ยบริหารและ ฝ่ายนติ ิบัญญตั ิในการแลกเปลยี่ นขอ้ มลู และปรึกษาหารือในกิจการรอบดา้ นของภูมภิ าค กรอบความร่วมมือระหว่าง AIPA และอาเซียน เป็นความคิดริเร่ิมในความพยายามท่ีจะยกระดับ การท�างานร่วมกันและมีความเห็นร่วมกันในการแลกเปล่ียนระหว่างกันในทุกระดับและความมุ่งมั่นท่ีจะขยาย กรอบความรว่ มมอื และการรวมตัวกันในภูมภิ าคใหร้ อบด้านมากย่ิงข้นึ ซงึ่ ด�าเนินการภายใต้หลักการสา� คัญ ได้แก่ ๑) ธรรมนญู AIPA ขอ้ ๑๗ วา่ ด้วยความสัมพันธ์กับอาเซียน ซง่ึ ใจความส�าคญั ระบุถงึ การสร้างกรอบ ความรว่ มมือ การปฏสิ ัมพันธ์ และการปรกึ ษาหารอื กบั อาเซียน เพอ่ื สร้างความต่อเน่ืองในการด�าเนินงานระหวา่ ง ๒ องค์กร ๒) ขอ้ มตกิ ารประชมุ ใหญส่ มัชชารัฐสภาอาเซยี น คร้งั ที่ ๒๗ (กันยายน ๒๕๔๙) ว่าด้วยแนวทาง การสร้างการพบปะกันอย่างสม�่าเสมอระหว่างผู้น�าของท้ัง ๒ องค์กร ในการประชุมสุดยอดอาเซียนและ การประชุมใหญส่ มัชชา-รฐั สภาอาเซยี น ๓) กฎบตั รอาเซียน ในภาคผนวก ๒ หมวดองคภาวะทม่ี คี วามสมั พนั ธก์ บั อาเซยี น ซ่ึงระบใุ ห้ AIPA เปน็ หุ้นส่วนสา� คญั ลา� ดบั ตน้ ของอาเซียน กล่าวคือ บริบทที่ทั้ง ๒ องค์กรอยู่ในช่วงเวลาของการปรับเปล่ียนรูปแบบและการท�างานของ องค์กร โดยอาเซียนยกระดับตนเองให้เป็นองค์กรที่มีรูปแบบและกฎระเบียบแบบแผนมากย่ิงขึ้น มีประชาชนเป็น ศนู ยก์ ลางและมี กฎบตั ร-อาเซยี นเปน็ หวั ใจหลกั ของการดา� เนนิ งาน เพอื่ มงุ่ ไปสกู่ ารสรา้ งประชาคมอาเซยี น (ASEAN Community) ในขณะท่ี AIPA สร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กร โดยการบูรณาการการท�างานฝ่ายนิติบัญญัติ เพื่อกระชับความร่วมมือระหว่างรัฐสภาให้มีความใกล้ชิดยิ่งขึ้น และเพ่ิมช่องทางการท�างานร่วมกับอาเซียน ในการตดิ ตามการทา� งานควบคกู่ นั ระหวา่ งฝา่ ยนติ บิ ญั ญตั แิ ละฝา่ ยบรหิ ารไดอ้ ยา่ งทนั เหตกุ ารณ์ และเพอ่ื วางกรอบ การทา� งานรว่ มกนั ระหวา่ ง AIPA และอาเซยี นภายใตก้ ฎบตั รอาเซยี นและธรรมนญู AIPA เพอื่ ขบั เคลอื่ นความรว่ มมอื ภายในภมู ภิ าคเพ่ือก้าวไปสูป่ ระชาคมอาเซียนทมี่ ี “ประชาชนอาเซยี น” เปน็ ศูนย์กลางและการเตรยี มพร้อมทีจ่ ะ รองรับการพัฒนาและการขยายตัวของภูมิภาคในอนาคต ๔. การประชุม AIPA Caucus AIPA Caucus เปน็ การประชมุ ในกรอบของสมัชชารัฐสภาอาเซยี น (AIPA) โดยมวี ัตถุประสงคห์ ลัก ในการร่วมกันท�าให้มาตรการ ระเบียบข้อบังคับหรือข้อก�าหนดทางกฎหมายของประเทศสมาชิกเป็นไป ในแนวทางเดียวกัน เพ่ือน�าไปสู่การสร้างความสอดคล้องทางกฎหมายของประเทศสมาชิก AIPA และยกระดับ การท�างานร่วมกนั ระหว่าง AIPA กับ ASEAN การประชมุ AIPA Caucus ถือเป็นกลไกของ AIPA ในการหาแนวทางการจดั ท�ากฎหมายร่วมกนั ภายในกลมุ่ ประเทศสมาชิก ทั้งน้ี ส�านักงานเลขาธกิ าร AIPA จะทา� หนา้ ทีเ่ ปน็ ผู้ประสานงานและหยบิ ยกประเด็น ปัญหาทม่ี ีความเร่งดว่ นขึ้นมาเป็นหวั ขอ้ การประชมุ นอกจากน้ี AIPA Caucus ยังสนับสนุนความรว่ มมือระหวา่ ง

เร่ืองน่ารู้ 45 AIPA กับ ASEAN โดยเฉพาะทางฝ่าย ASEAN Mutual Legal Agreements และการแลกเปลยี่ น best practice ในการแกไ้ ขปญั หาดว้ ย องคป์ ระกอบของผเู้ ข้าร่วมการประชมุ คอื ผแู้ ทนรัฐสภาสมาชิก AIPA ประเทศละไม่เกิน ๓ คน ผูแ้ ทนจากประเทศผสู้ ังเกตการณ์ ประเทศละไมเ่ กนิ ๑ คน เลขาธิการ AIPA และเจา้ หน้าท่จี ากสำ� นักงานเลขาธกิ าร หน่วยประจำ� ชาติ ประเทศละ ๑ คน ตามที่ระบุไว้ในบันทึกข้อตกลงของ AIPA Caucus (Terms Of Reference of the AIPA Caucus) ประธาน AIPA Caucus จะเปน็ ผแู้ ต่งตัง้ รองประธานการประชุม (Deputy Chairperson) ซึ่งในการประชมุ AIPA Caucus ครงั้ ท่ี ๑ ท่มี าเลเซยี ประธาน AIPA Caucus ได้เสนอให้รองประธาน AIPA Caucus มาจากประเทศท่ีจะ เปน็ เจา้ ภาพในลำ� ดบั ต่อไป คือ ฟลิ ปิ ปนิ ส์ แต่เน่อื งจากฟิลิปปินส์ไมส่ ามารถรับต�ำแหน่งดังกล่าวได้ ในการประชมุ AIPA Caucus คร้ังท่ี ๑ หวั หน้าคณะ-ผ้แู ทนรฐั สภามาเลเซยี จึงทำ� หนา้ ที่เปน็ รองประธานการประชมุ แทน โดย เลขาธิการ AIPA ทำ� หน้าที่เลขานุการการประชุม AIPA Caucus ทง้ั น้ี การประชุม AIPA Caucus สามารถจัดขึน้ ได้ตามความเหมาะสมโดยด�ำริของประธาน AIPA โดยหารือร่วมกับประธาน AIPA Caucus ซ่งึ การดำ� รงต�ำแหนง่ เจา้ ภาพจดั การประชมุ นัน้ ประเทศสมาชกิ AIPA จะเวียนกันเป็นเจ้าภาพตามลำ� ดบั ตวั อกั ษร เจ้าภาพการประชุมจะเปน็ ผกู้ �ำหนดวัน เวลาและสถานทีจ่ ดั การประชุม ๕.  การประชุมคณะกรรมาธิการศึกษาข้อเท็จจริงของสมัชชารัฐสภาอาเซียนว่าด้วยการปราบปรามภัยคุกคาม จากยาเสพตดิ The AIPA Fact Finding Committee to Combat the Drug Menace (AIFOCOM) คณะกรรมาธิการศึกษาข้อเท็จจริงของสมัชชารัฐสภาอาเซียนในการปราบปรามภัยคุกคามจาก ยาเสพตดิ (The Fact Finding Committee to Combat the Drug Menace หรอื AIFOCOM) เป็นกลไกการท�ำงาน ปราบปรามภัยคุกคามจากยาเสพติดของสมัชชารัฐสภาอาเซียนตามมติการประชุมสมัชชาใหญ่องค์การรัฐสภา อาเซยี น ครง้ั ที่ ๒๓ ณ สาธารณรัฐสงั คมนิยมเวียดนาม ในปี ๒๕๔๕ ท้ังนี้ การประชุม AIFOCOM มีความตอ่ เนอ่ื ง โดยรฐั สภาประเทศสมาชกิ ท่รี ับเป็นเจ้าภาพจัดการ ประชุมใหญ่ AIPA จะเปน็ เจา้ ภาพจัดการประชมุ AIFOCOM ด้วย วัตถุประสงค์ของการประชุม ๑. แลกเปลยี่ นขอ้ มลู และความเข้าใจในหม่ปู ระเทศสมาชกิ อาเซยี นเพือ่ แกไ้ ขปญั หาการเสพและการคา้ ยาเสพติด ๒. ปรับใช้และบงั คับใชก้ ฎหมายในประเทศอาเซียนทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การตอ่ ตา้ นยาเสพติดใหส้ อดคลอ้ งกนั ๓. สนบั สนุนการทำ� งานของรัฐบาลด้วยการออกกฎหมาย นโยบายและโครงการต่าง ๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ ง กบั การควบคุมยาเสพตดิ

เอกสารขาวรฐั สภา 4๖ ๔. ดแู ลและติดตามภารกจิ ท่ีเกดิ จากการ บงั คับใชก้ ฎหมาย นโยบายและโครงการตา่ ง ๆ เพือ่ ขจดั ยาเสพติดในหมปู่ ระเทศสมาชิก ๕. เป็นเวทีที่ใช้ปรึกษาหารือ และขอ ความร่วมมือจากองคก์ รนานาชาติ ๖. ท�าหน้าท่ีเป็นตัวประสานระหว่าง รัฐบาลและองคก์ รเอกชนในการตอ่ สกู้ ับยาเสพตดิ พฒั นาการและย่างก้าวต่อไปของสมัชชารัฐสภาอาเซยี น ย่างก้าวต่อไปของสมชั ชารฐั สภาอาเซยี น คอื ในฐานะขององค์กรด้านนติ บิ ัญญตั ิ AIPA จะมุง่ ม่ัน ในการสร้างความสอดคล้องทางกฎหมายในประเทศสมาชิก และกระตุ้นให้ฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติของ ประเทศสมาชิกน�าข้อมติจากการประชุมสมัชชาใหญ่ไปสู่การปฏิบัติท่ีเป็นรูปธรรมให้มากยิ่งขึ้น และจะพยายาม ลดความเหล่ือมล�้าของประเทศสมาชิกเพื่อให้ประเทศสมาชิกทุกประเทศก้าวเดินไปข้างหน้าพร้อม ๆ กัน และ การกา้ วเดนิ ไปขา้ งหนา้ ในฐานะห้นุ สว่ นท่ีสา� คญั ของอาเซียน ในการร่วมการสนับสนุนพัฒนาการดา้ นตา่ ง ๆ ของ ประชาคมอาเซียน และการสร้างความร่วมมือผ่านกรอบการประชุมระหว่างคณะผู้แทนสมัชชารัฐสภาอาเซียน กบั ผ้นู า� อาเซียนในการประชมุ สุดยอดอาเซียน (AIPA – ASEAN Interface Meeting) ซึง่ เปน็ ช่องทางสา� หรับการ ปรึกษาหารือและสร้างความสอดคล้องในระดับนโยบายเพื่อสร้างความเป็นเอกภาพภายใต้กรอบการด�าเนินการ ของประชาคมอาเซียน ทงั้ น้ี ในระหว่างปี ๒๕๕๙ – ๒๕๖๒ (๓ ปี) รฐั สภาไทยไดเ้ สนอชอื่ นายอสิ รา สุนทรวฒั น์ ด�ารง ตา� แหนง่ เลขาธิการสมชั ชารฐั สภาอาเซยี น ประจ�าอยู่ ณ กรุงจาการต์ า ซึง่ เป็นทต่ี ัง้ ของสา� นกั งานเลขาธิการสมชั ชา รัฐสภาอาเซียน ท้งั นีก้ ารด�ารงตา� แหนง่ เลขาธิการ AIPA ของนายอสิ รา สุนทรวัฒน์ จะเป็นโอกาสสา� คญั ทจ่ี ะมีคนไทย ไปด�ารงต�าแหน่งส�าคัญของภูมิภาค ซ่ึงจะมีบทบาทส�าคัญในการเป็นตัวกลางสนับสนุนและผสานความร่วมมือ ระหวา่ งประเทศสมาชกิ เพ่อื น�าไปสูค่ วามเข้าใจอันดีและการสร้างความมั่นคงและมงั่ คั่งในภมู ิภาคอย่างยัง่ ยืนตอ่ ไป “นิติบัญญัติรว่ มมอื รว่ มใจ กา้ วไกล เพ่ือประชาคมที่ยง่ั ยืน” (Advancing Parliamentary Partnership for Sustainable Community) รัฐสภาไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระหว่างคณะผู้แทนสมัชชารัฐสภาอาเซียนกับผู้น�าอาเซียน ในระหวา่ งการประชมุ สดุ ยอดอาเซยี น (ASEAN Leaders’ Interface with Representatives of the ASEAN Inter-Parliamentary Assembly (AIPA) During the ASEAN Summit) ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๐ – ๒๓ มถิ นุ ายน ๒๕๖๒ ณ โรงแรมอนิ เตอร์ คอนตเิ นนตลั กรุงเทพมหานคร การประชมุ ระหวา่ งคณะผแู้ ทนสมชั ชารฐั สภาอาเซียนกบั ผนู้ �าอาเซยี นในระหวา่ งการประชุมสดุ ยอด อาเซยี น (AIPA – ASEAN Meeting during ASEAN Summit) เป็นกรอบความร่วมมอื ระดบั สงู สดุ ระหวา่ งสมัชชา รัฐสภาอาเซียน (ASEAN Inter - Parliamentary Assembly : AIPA) และอาเซยี น มีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือยกระดับ ความร่วมมือระหว่างสมัชชารัฐสภาอาเซียนกับอาเซียน สนับสนุนการท�างานร่วมกันระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติและ ฝ่ายบริหาร แลกเปล่ียนข้อมูล และปรึกษาหารือเก่ียวกับกิจการของอาเซียนในทุกระดับ รวมท้ังขับเคล่ือน ประชาคมอาเซียนให้มีความก้าวหน้าบนพ้ืนฐานของการที่มีประชาชน เป็นศูนย์กลางและการสร้างความตระหนักรู้ ในองคก์ รอาเซียน และรองรบั การขยายตวั ของอาเซยี นในอนาคต ซึ่งด�าเนินการภายใต้หลกั การส�าคัญ ไดแ้ ก่

เร่ืองนา่ รู้ 47 ๑) ธรรมนญู AIPA ข้อ ๑๗ วา่ ดว้ ยความสมั พนั ธก์ บั อาเซียน ซง่ึ บญั ญตั ิถงึ การสร้าง กรอบความ ร่วมมือ  การสร้างปฏิสัมพันธ์  และการปรึกษาหารือกับอาเซียน  เพ่ือสร้างความต่อเน่ือง  ในการร่วมกัน ขับเคลื่อนอาเซียน ๒) ข้อมติการประชมุ ใหญ่สมัชชารัฐสภาอาเซียน คร้งั ท่ี ๒๗ ในเดอื นกันยายน ๒๕๔๙ วา่ ดว้ ย แนวทางการสร้างการพบปะกันอย่างสม�่ำเสมอระหว่าผู้น�ำของสมัชชารัฐสภาอาเซียนและผู้น�ำอาเซียน  ระหว่าง การประชุมสดุ ยอดอาเซยี นและการประชมุ ใหญ่สมัชชารัฐสภาอาเซยี น ๓) กฎบัตรอาเซียน ในภาคผนวก ๒ หมวดองคภาวะทม่ี ีความสัมพนั ธ์กบั อาเซียน ซ่ึงระบใุ ห้ สมชั ชา รฐั สภาอาเซยี นเปน็ หนุ้ ส่วนส�ำคญั ในล�ำดับต้นของอาเซียน การประชมุ AIPA–ASEAN Interface จัดขนึ้ เป็นครัง้ แรกในการประชุมสดุ ยอดอาเซียน คร้งั ที่ ๑๔ ระหวา่ งวนั ที่ ๒๖ กมุ ภาพนั ธ์ – ๑ มีนาคม ๒๕๕๒ ณ อ�ำเภอหวั หิน จงั หวดั ประจวบคีรขี นั ธ์ ซ่งึ รฐั บาลไทยและ รฐั สภาไทยในขณะนน้ั เปน็ ผรู้ เิ รม่ิ การจดั ประชมุ ดงั กลา่ วขน้ึ เปน็ ครงั้ แรก  และประสบความสำ� เรจ็ อยา่ งดยี งิ่   จนนำ� มาสู่ การประชุมระหว่างคณะผู้แทนสมัชชารัฐสภาอาเซียนกับผู้น�ำอาเซียนในระหว่างการประชุมสุดยอดผู้น�ำอาเซียน แล้วถงึ ๘ ครั้ง ส�ำหรับการประชุมระหวา่ งคณะผแู้ ทนสมัชชารัฐสภาอาเซยี นกับผู้น�ำอาเซยี นในระหวา่ ง  การประชุม สุดยอดผนู้ ำ� อาเซียน ครั้งที่ ๙ จะจัดขนึ้ ในระหวา่ งวนั ที่ ๒๐ – ๒๓ มถิ ุนายน ๒๕๖๒ ณ โรงแรมอินเตอร์ คอนตเิ นนตัล กรุงเทพมหานคร โดยก่อนการประชุมจะเรม่ิ ขึ้น ๑ วนั คณะผแู้ ทน AIPA (AIPA Delegations) จะประชมุ เตรียมการของผแู้ ทน AIPA (AIPA Preparatory Meeting for the AIPA–ASEAN Interface) เพ่ือพจิ ารณา ยกร่างคำ� กลา่ วของประธาน AIPA ส�ำหรับใช้แถลงตอ่ ผนู้ �ำ ASEAN และคดั เลอื กประเดน็ หรอื หัวขอ้ เร่ืองส�ำหรบั ใช้ในการกำ� หนดระเบยี บวาระประชุม การประชุม AIPA–ASEAN Interface ครง้ั ล่าสดุ ณ สาธารณรฐั ฟิลิปปนิ ส์ ในปี ๒๕๖๐ ผู้น�ำสมชั ชา รัฐสภาอาเซยี นกบั ผู้น�ำอาเซยี นได้เห็นพอ้ งกนั ใน ๓ ประเดน็ ไดแ้ ก่ ๑) สร้างการมีส่วนรว่ มและการหารอื อยา่ งมีประสิทธภิ าพระหว่าง AIPA กับ ASEAN ในทุกระดับ ใหม้ ากข้ึน ๒) ขยายความรว่ มมอื และความช่วยเหลอื ระหวา่ ง AIPA และ ASEAN เพ่ือใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายดา้ น สันตภิ าพ ความม่นั คง และความก้าวหน้าของการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนตามกรอบของสหประชาชาติ (Sustainable Development Goals: SDG) ๓) ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างสององค์การในรูปแบบนวัตกรรมและการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม และจริงจัง รัฐสภาไทยมุ่งหวังจะผลักดันการท�ำงานร่วมกับอาเซียน  เพื่อให้ประชาคมอาเซียนบรรลุวิสัยทัศน์ อาเซยี น ๒๐๒๕ และปูทางสวู่ ิสัยทัศน์อาเซียน ๒๐๔๐ ภายใตธ้ ีมการประชมุ “นติ ิบญั ญัติรว่ มมอื ร่วมใจ ก้าวไกล เพ่อื ประชาคมท่ยี ่ังยนื ” ..................................................... ข้อมูลจาก : ความเปน็ มา/วตั ถุประสงคก์ ารประชุม. สำ� นกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (สำ� นกั องค์การรฐั สภา ระหวา่ งประเทศ) (ส�ำนกั ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ) (ส�ำนักภาษาต่างประเทศ).วนั ที่ ๒ พ.ค. ๒๕๖๒ สืบคน้ จากhttps://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/aipa2019/ewt_news.php? nid=304  เมอ่ื วันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook