บรรยายสรปุ จงั หวดั แพร่ ปี 2565
สารบัญ • การพาณชิ ยกรรม ............................................... 36 • การปศสุ ตั ว์ ......................................................... 37 ประวตั จิ งั หวดั แพร่ ............................... 4 • การประมง .......................................................... 38 ขอ้ มลู ท่วั ไปจงั หวดั แพร่ ..................... 5-7 • การอตุ สาหกรรม ................................................ 39 • ทรพั ยากรแรธ่ าตุ ................................................. 41 • ตราประจำ� จงั หวดั แพร่ ......................................... 5 • แรงงาน ............................................................... 41 • ตน้ ไมป้ ระจำ� จงั หวดั แพร่ ...................................... 5 • การประกนั สงั คม ................................................ 44 • ธงจงั หวดั แพร่ ...................................................... 5 • การทอ่ งเทย่ี ว ...................................................... 44 • คำ� ขวญั ประจำ� จงั หวดั แพร่ ................................... 5 • การถอื ครองทด่ี นิ ................................................ 45 • สภาพทางภมู ศิ าสตร์ ............................................ 6 • หมบู่ า้ นยากจน .................................................... 47 • สถานทต่ี งั้ อาณาเขต ............................................ 6 • ลกั ษณะภมู อิ ากาศ ............................................... 7 ดา้ นการเมอื ง ............................... 48-49 ดา้ นการปกครอง .............................. 7-8 • การเลอื กตง้ั ส.ส. และ ส.ว. ................................ 48 • การแบง่ เขตการปกครอง ...................................... 7 • ข้อมลู ประชากร ................................................... 8 ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิ งแวดล้อม ดา้ นสังคม ...................................... 9-26 ..... 49-56 • การศกึ ษา ............................................................. 9 • แหลง่ นำ�้ ธรรมชาติ .............................................. 49 • ศาสนา ................................................................ 13 • ทรพั ยากรปา่ ไม้ ................................................... 52 • ศลิ ปวฒั นธรรม ประเพณี .................................... 13 • สาธารณสขุ ......................................................... 24 ดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐานและระบบสาธารณปู โภค ดา้ นเศรษฐกจิ .............................. 26-48 ..... 56-64 • ผลติ ภณั ฑม์ วลรวม/รายไดป้ ระชากร ................... 26 • การชลประทาน .................................................. 56 • การเงนิ การธนาคาร การจดั เกบ็ ภาษี ................. 27 • การคมนาคมขนสง่ .............................................. 59 • การเกษตรกรรม ................................................. 30 • การไฟฟา้ ............................................................ 62 • ตลาดสนิ คา้ เกษตร ............................................. 32 • การประปา .......................................................... 63 • การสอ่ื สาร .......................................................... 64 • การพฒั นาจงั หวดั ............................................... 65 ยทุ ธศาสตรจ์ งั หวดั แพร่ ................. 66-68 ขอ้ มลู ทอ่ งเที่ยวจงั หวดั แพร่ ........... 69-71
4 บรรยายสรุปจังหวัดแพร่ ปี 2565 ประวัตจิ ังหวัดแพร่ เมอื งแพร่ เปน็ เมืองโบราณสร้างมาชา้ นานแล้วตง้ั แตอ่ ดตี กาล แตย่ งั ไมป่ รากฏหลกั ฐานแน่ชัดวา่ สรา้ งขึน้ ในสมยั ใดและใครเปน็ ผูส้ ร้าง เมอื งแพรเ่ ปน็ เมอื งทไี่ มม่ ปี ระวตั ขิ องตนเองจารกึ ไวใ้ นทใ่ี ดๆ โดยเฉพาะ นอกจากปรากฏในตำ� นานพงศาวดาร และจารกึ ของเมอื งอนื่ ๆ บา้ งเพียงเลก็ น้อย จากการศึกษาค้นคว้าและตรวจสอบหลักฐานจากต�ำนานเมืองเหนือพงศาวดารโยนกและศิลาจารึก พอ่ ขนุ รามค�ำแหง เมอื งแพร่น่าจะสร้างยุคเดยี วกันกับกรงุ สุโขทัย เชียงใหม่ ล�ำพูน พะเยา น่าน เมืองแพร่มีชื่อเรียกกันหลายอย่าง ต�ำนานเมืองเหนือเรียกว่า “พลนคร” หรือ “เมืองพล” ดังปรากฏ ในต�ำนานสร้างพระธาตุล�ำปางหลวงว่า “เบ้ืองหน้าแต่น้ันนานมา ยังมีพระยาสามนตราชองค์หนึ่ง เสวยราชสมบัติ ในพลรฐั นคร อนั มีในท่ใี กล้กนั กบั ลัมภกัปปะนคร (ล�ำปาง) น่ี ทราบวา่ สรรี พระธาตุพระพทุ ธเจ้ามีในลมั ภกปั ปะนคร กป็ รารถนาจะใครไ่ ด้” ในสมยั ขอมเรืองอำ� นาจราว พ.ศ. 1470 - 1560 นนั้ พระนางจามเทวีไดแ้ ผอ่ �ำนาจเขา้ ครอบครองดินแดน ในเขตลานนา ได้เปลี่ยนชอื่ เมอื งในเขตลานนาเปน็ ภาษาเขมร เชน่ ลำ� พูนเปน็ หริภญุ ไชย น่านเป็นนันทบุรี เมืองแพร่ เป็นโกศยั นคร หรอื นครโกศัย ชอ่ื ทปี่ รากฏในศลิ าจารกึ พอ่ ขนุ รามคำ� แหง เรยี กวา่ “เมอื งพล” และไดก้ ลายเสยี งตามหลกั ภาษาศาสตรเ์ ปน็ “แพร”่ ชาวเมืองนิยมออกเสียงว่า “แป”้ ทมี่ า : หนังสอื ประวัติมหาดไทยสว่ นภูมภิ าคจังหวดั แพร่
บรรยายสรุปจงั หวัดแพร่ ปี 2565 5 ข้อมูลท่ัวไปจงั หวดั แพร่ ตราประจำ� จังหวดั แพร่ ตราประจ�ำจังหวัดแพร่เป็นรูปม้ายืน และมีโบราณสถานท่ีส�ำคัญของ จังหวัดแพร่คอื พระธาตชุ ่อแฮประกอบอยบู่ นหลงั ม้า ธงจงั หวดั แพร่ ธงพนื้ สีน้�ำตาล - แดง แบง่ ตามแนวตง้ั ตรงกลางเปน็ รปู วดั พระธาตุช่อแฮ ตน้ ไมป้ ระจ�ำจงั หวดั แพร่ คอื ตน้ ยมหนิ มลี ำ� ตน้ ตรง สงู ประมาณ 15-25 เมตร เปลอื กนอกมสี นี ำ้� ตาลถงึ สนี ำ�้ ตาลดำ� ใบประกอบ แบบขนนกปลายค่ี ยาวประมาณ 30 - 50 ซ.ม. มใี บยอ่ ยทอ่ี อกตรงขา้ มกนั 4 - 10 คู่ และทป่ี ลายกา้ นอกี 1 ใบ ดอกมีลักษณะเป็นช่อมีกลิ่นหอม มีความยาว 1.5 ซ.ม. ผลเป็นแบบผลแห้ง มีเปลือกแข็งสีน้�ำตาลรูปทรง แบบไข่ ขนาดยาว 2.5 - 5.0 ซ.ม. เมอื่ แก่จะมสี ีด�ำ เมลด็ มลี กั ษณะแบนเปน็ แผ่นบางๆ สีน้�ำตาล คำ� ขวญั ประจ�ำจงั หวัดแพร่ “หม้อหอ้ ม ไมส้ กั ถิ่นรักพระลอ ช่อแฮศรีเมือง ลือเล่อื งแพะเมอื งผี คนแพร่นี้ใจงาม”
6 บรรยายสรุปจงั หวดั แพร่ ปี 2565 สภาพทางภูมศิ าสตร์ พนื้ ท่จี งั หวัดแพร่ลอ้ มรอบดว้ ยภเู ขาท้ัง 4 ทิศ พนื้ ท่ีส่วนใหญ่ประมาณรอ้ ยละ 80 เปน็ ภเู ขา มพี ้ืนท่รี าบเพียง ร้อยละ 20 โดยลาดเอยี งไปทางทศิ ใตต้ ามแนวไหลของแม่น�้ำยมคล้ายก้นกระทะ พนื้ ท่รี าบของจังหวัดจะอยู่ระหวา่ ง หุบเขามี 2 แปลงใหญ่ คือ ท่ีราบบรเิ วณพ้นื ท่ีอ�ำเภอร้องกวาง อ�ำเภอเมืองแพร่ อำ� เภอสูงเมน่ และอำ� เภอเด่นชัย และ อกี หนึ่งแปลงคอื บรเิ วณที่ตัง้ อ�ำเภอลองและอำ� เภอวงั ชน้ิ ซ่งึ ทีร่ าบดงั กล่าวใชเ้ ปน็ ทีอ่ ยู่อาศยั และท�ำการเกษตร สถานท่ีตงั้ อาณาเขต จงั หวดั แพรเ่ ปน็ 1 ใน 17 จงั หวดั ภาคเหนอื ของประเทศไทย ตงั้ อยรู่ ะหวา่ งเสน้ รงุ้ เหนอื ท่ี 14.70 ถงึ 18.44 องศา กับเส้นแวงท่ี 99.58 ถงึ 100.32 องศา อยู่สงู กวา่ ระดับน้�ำทะเลประมาณ 155 เมตร อยหู่ า่ งจากกรงุ เทพมหานคร ตามทางหลวงหมายเลข 11 และ 101 ประมาณ 551 กโิ ลเมตร และทางรถไฟ 550 กิโลเมตร (ถึงสถานรี ถไฟเด่นชยั ) มเี น้ือที่ประมาณ 6,538.59 ตารางกโิ ลเมตร หรอื ประมาณ 4,086,625 ไร่ และมอี าณาเขตติดต่อกบั จงั หวดั ใกลเ้ คียง ไดแ้ ก่ ทศิ เหนือ เขตอ�ำเภอสอง และอำ� เภอร้องกวาง ติดตอ่ กับ จังหวดั ลำ� ปาง น่าน และพะเยา ทิศตะวนั ออก เขตอำ� เภอเมอื งแพร่ และอำ� เภอรอ้ งกวาง ตดิ ต่อกบั จังหวัดนา่ นและอตุ รดิตถ์ ทิศใต้ เขตอ�ำเภอเดน่ ชัย และอำ� เภอวงั ชิ้น ติดตอ่ กบั จงั หวดั อุตรดติ ถ์ และสุโขทัย ทิศตะวันตก เขตอำ� เภอสอง อำ� เภอลอง และอำ� เภอวงั ชนิ้ ตดิ ตอ่ กบั จงั หวัดลำ� ปาง ทีม่ า : หนงั สือประวตั มิ หาดไทยสว่ นภมู ภิ าคจังหวดั แพร่
บรรยายสรุปจังหวดั แพร่ ปี 2565 7 ลักษณะภูมิอากาศ 1) ฤดูกาล ลักษณะภูมิอากาศของจังหวัดแพร่จัดอยู่ในลักษณะแบบฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดูหรือแบบ ทุง่ หญ้าเมืองรอ้ น (Tropical Savanna) บรเิ วณดังกล่าวอย่ใู นเขตรอ่ งอากาศเขตรอ้ น (Intertropical Convergence Zone) ปรมิ าณและการกระจายของฝนจะไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากลมมรสมุ 2 ประเภท คอื ลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใต้ ทำ� ให้ มฝี นตกชกุ และลมมรสมุ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ทน่ี ำ� เอาอากาศหนาวและแหง้ แลง้ จากประเทศจนี มาปกคลมุ ทว่ั บรเิ วณ ภาคเหนอื ของประเทศไทย นอกจากนล้ี กั ษณะพนื้ ทขี่ องจงั หวดั แพรท่ เี่ ปน็ แอง่ คลา้ ยกน้ กระทะและลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ เป็นภเู ขา จงึ ท�ำใหส้ ภาพอากาศแตกต่างกนั มาก ลักษณะภูมอิ ากาศของจังหวัดแพรแ่ บง่ เป็น 3 ฤดูกาล ฤดูหนาว เร่ิมตง้ั แตก่ ลางเดือนตุลาคมถงึ กลางเดือนกมุ ภาพนั ธ์ ฤดรู อ้ น เริ่มตั้งแต่กลางเดอื นกุมภาพนั ธถ์ งึ กลางเดอื นพฤษภาคม ฤดฝู น เริม่ ตัง้ แตก่ ลางเดือนพฤษภาคมถงึ กลางเดือนตุลาคม 2) ปรมิ าณนำ้� ฝน ของจงั หวดั แพรใ่ นคาบ 5 ปี ระหวา่ งปี พ.ศ. 2560 - 2564 มคี า่ เฉลยี่ ประมาณ 1,168.16 ม.ม. ปรมิ าณฝนตกมากทสี่ ดุ ในปี 2560 วดั ได้ 1,413.7 ม.ม. จำ� นวนวนั ทฝ่ี นตก 137 วนั ปรมิ าณฝนตกนอ้ ยทส่ี ดุ ในปี 2562 วัดได้ 999.9 ม.ม. จำ� นวนวันทฝ่ี นตก 100 วัน 3) อณุ หภูมิ ของจังหวัดแพรใ่ นคาบ 5 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 2560 - 2564 มีอณุ หภูมิเฉล่ยี ประมาณ 25.65 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉลี่ยต�่ำสุดต่อปีประมาณ 19.01 องศาเซลเซียส เมื่อปี 2562 อุณหภูมิเฉล่ียสูงสุดต่อปี ประมาณ 38.12 องศาเซลเซยี ส เมื่อปี 2562 อณุ หภมู ิตำ่� สุดวดั ได้ 8.2 องศาเซลเซยี ส เมื่อเดอื นธนั วาคม ปี 2560, 2562 อุณหภมู ิสงู สดุ วัดได้ 43.1 องศาเซลเซยี ส เม่ือเดอื นเมษายน ปี 2563 ที่มา : สถานีอตุ ุนยิ มวทิ ยาแพร่, ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 27 ตลุ าคม 2564 ด้านการปกครอง การแบง่ เขตการปกครอง จงั หวัดแพร่ แบง่ เขตการปกครองออกเป็น - 8 อำ� เภอ 78 ตำ� บล 708 หมู่บ้าน 18 ชมุ ชน - องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ 84 แหง่ ประกอบดว้ ย องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั 1 แหง่ เทศบาลเมอื ง 1 แหง่ เทศบาลต�ำบล 25 แหง่ และองค์การบริหารส่วนต�ำบล 57 แห่ง
8 บรรยายสรปุ จงั หวัดแพร่ ปี 2565 ตารางแสดงข้อมลู จำ� นวน ตำ� บล หมบู่ า้ น ชมุ ชน อบจ. ทม. ทต. และอบต. อำ� เภอ จ�ำนวน ทม. ทต. อบต. ตำ� บล หมูบ่ า้ น ชุมชน อบจ. 9 12 อ�ำเภอเมืองแพร่ 20 166 18 1 1 9 4 7 อ�ำเภอสงู เมน่ 12 110 - - - 1 5 5 อ�ำเภอเด่นชยั 5 52 - - - 3 8 7 อ�ำเภอสอง 8 85 - - - 2 57 อ�ำเภอลอง 9 90 - - - 6 อ�ำเภอหนองมว่ งไข่ 6 35 - - - 1 อำ� เภอรอ้ งกวาง 11 93 - - - 2 อ�ำเภอวงั ช้ิน 7 77 - - - 1 รวม 78 708 18 1 1 25 ขอ้ มูลประชากร จังหวดั แพร่ มีประชากร ณ เดือนมกราคม จ�ำนวน 437,074 คน จำ� แนกเปน็ ชาย 210,828 คน (ร้อยละ 48.24) หญิง 226,246 คน (รอ้ ยละ 51.76 ) ตารางแสดงขอ้ มูลจำ� นวนประชากรและครัวเรอื น อำ� เภอ จำ� นวนราษฎร (คน) จ�ำนวน ชาย หญิง รวม ครวั เรือน อ�ำเภอเมอื งแพร่ 54,779 61,238 116,017 อำ� เภอสงู เม่น 35,861 38,127 72,988 52,384 อ�ำเภอเดน่ ชยั 17,133 17,416 34,549 29,711 อ�ำเภอสอง 23,850 25,220 49,070 15,074 อำ� เภอลอง 26,433 27,160 53,593 19,198 อ�ำเภอหนองม่วงไข่ 8,076 9,237 17,313 20,595 อำ� เภอรอ้ งกวาง 23,030 24,985 48,015 6,932 อ�ำเภอวงั ช้นิ 22,666 22,863 45,529 18,609 16,656 รวม 210,828 226,246 437,074 179,159 ท่มี า : ท่ที �ำการปกครองจงั หวดั แพร่, ข้อมลู ณ เดอื นตลุ าคม 2564
บรรยายสรปุ จงั หวัดแพร่ ปี 2565 9 ด้านสังคม การศึกษา 1. การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ไดแ้ ก่ สถานศกึ ษาตงั้ แตร่ ะดบั กอ่ นประถมศกึ ษา ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย มโี รงเรยี นในสงั กดั สำ� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาแพร่ เขต 1 จำ� นวน 118 แหง่ สงั กดั สำ� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาแพร่ เขต 2 จำ� นวน 124 แหง่ และสงั กดั สำ� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา มัธยมศกึ ษาแพร่ จ�ำนวน 16 แห่ง สำ� นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาแพร่ เขต 1 เปน็ หนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบดแู ลสถานศกึ ษาในเขต อำ� เภอเมอื งแพร่ อ�ำเภอสอง อำ� เภอหนองมว่ งไข่ และอ�ำเภอรอ้ งกวาง จัดการศกึ ษาระดบั กอ่ นประถมศกึ ษาถงึ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ มโี รงเรยี นในสงั กดั จำ� นวน 118 แหง่ มหี อ้ งเรยี น จำ� นวน 718 หอ้ ง ครู จำ� นวน 630 คน นกั เรยี น จำ� นวน 10,268 คน (ลดลงจากปี 2563 จำ� นวน 344 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.03) ตารางแสดงข้อมลู จำ� นวนโรงเรียน ห้องเรียน ครู และนกั เรยี น ในเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาแพร่ เขต 1 ปีการศกึ ษา 2564 จ�ำนวน จำ� นวน จ�ำนวน จ�ำนวนนักเรยี น (คน) อ�ำเภอ โรงเรยี น หอ้ งเรยี น ครู ก่อนประถม ประถม มธั ยมศึกษา รวม (แหง่ ) (ห้อง) (คน) ศึกษา ศกึ ษา ตอนต้น อ�ำเภอเมืองแพร่ 4,601 อำ� เภอรอ้ งกวาง 45 290 246 710 3,780 111 2,099 อำ� เภอสอง 3,056 อ�ำเภอหนองม่วงไข่ 33 149 126 408 1,397 294 512 10,268 รวม 32 225 225 609 2,136 311 8 54 33 57 449 6 118 718 630 1,784 7,762 722 ทม่ี า : สำ� นกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาแพร่ เขต 1, ข้อมลู ณ วนั ที่ 25 มถิ นุ ายน 2564 ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 2 เป็นหน่วยงานท่ีรับผิดชอบดูแลสถานศึกษา ในเขตอ�ำเภอสูงเม่น อ�ำเภอเด่นชัย อ�ำเภอลอง และอ�ำเภอวังชิ้น จัดการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษาถึงระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มโี รงเรยี นในสงั กัด จำ� นวน 124 แหง่ มีหอ้ งเรียน จ�ำนวน 955 หอ้ ง ครู จำ� นวน 722 คน นักเรียน จำ� นวน 8,886 คน (ลดลงจากปี 2563 จ�ำนวน 440 คน คิดเป็นร้อยละ 4.6)
10 บรรยายสรปุ จังหวดั แพร่ ปี 2565 ตารางแสดงขอ้ มูลจ�ำนวนโรงเรียน หอ้ งเรียน ครู และนักเรียน ในเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาแพร่ เขต 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 อำ� เภอ จำ� นวน จำ� นวน จ�ำนวน ก่อนประถม จ�ำนวนนกั เรยี น (คน) รวม โรงเรยี น หอ้ งเรยี น ครู ศึกษา อ�ำเภอสูงเม่น (แห่ง) (หอ้ ง) (คน) 359 ประถม มธั ยมศึกษา 1,762 อ�ำเภอเดน่ ชัย 163 ศึกษา ตอนต้น 1,541 อำ� เภอลอง 32 224 151 435 1,251 152 2,908 อ�ำเภอวงั ชิน้ 18 152 126 387 1,175 203 2,675 34 272 228 1,344 1,942 531 8,886 รวม 40 307 217 1,899 389 124 955 722 6,267 1,275 ที่มา : สำ� นักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 2, ขอ้ มลู ณ วันที่ 25 มถิ นุ ายน 2564 สำ� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาแพร่ เปน็ หนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบการศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษา ตอนต้นถงึ มธั ยมศึกษาตอนปลาย มโี รงเรยี นในสังกัดที่อยใู่ นพ้นื ที่จังหวดั แพร่ จ�ำนวน 16 แห่ง มหี อ้ งเรยี น จ�ำนวน 421 ห้อง ครู จ�ำนวน 755 คน นกั เรียน จำ� นวน 13,367 คน ตารางแสดงข้อมูลจำ� นวนโรงเรยี น หอ้ งเรียน ครู และนกั เรียน ปีการศึกษา 2563 จ�ำนวน จ�ำนวน จำ� นวนครู จำ� นวนนักเรียน (คน) โรงเรยี น ห้องเรียน (คน) อำ� เภอ (แหง่ ) (หอ้ ง) มธั ยมศึกษา มัธยมศกึ ษา ตอนตน้ ตอนปลาย อ�ำเภอเมอื งแพร่ 6 187 388 3,591 633 3,263 อ�ำเภอสงู เมน่ 2 41 60 318 383 736 287 อ�ำเภอเด่นชัย 1 24 35 692 492 248 377 อำ� เภอสอง 1 39 64 563 196 551 399 อำ� เภอลอง 2 38 63 7,395 575 5,972 อำ� เภอหนองมว่ งไข่ 1 17 30 อำ� เภอรอ้ งกวาง 1 33 51 อำ� เภอวงั ชน้ิ 2 42 64 รวม 16 421 755 ท่มี า : สำ� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาแพร่, ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 18 กรกฎาคม 2563
บรรยายสรุปจงั หวัดแพร่ ปี 2565 11 2. ระดบั อาชวี ศกึ ษา มสี ถานศกึ ษาในสงั กดั สำ� นกั งานคณะกรรมการอาชวี ศกึ ษา ซง่ึ เปดิ สอนในระดบั ปวช. ปวส. และปริญญาตรี จ�ำนวน 6 แห่ง ได้แก่ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ วิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร่ วิทยาลัยเกษตรและ เทคโนโลยีแพร่ วทิ ยาลัยสารพดั ชา่ งแพร่ วทิ ยาลัยการอาชพี สอง และวทิ ยาลัยการอาชพี ลอง ตารางแสดงข้อมูลจ�ำนวนหอ้ งเรยี น ครู และนกั เรยี น ระดบั อาชวี ศกึ ษา ปีการศึกษา 2564 สถานศกึ ษา จ�ำนวน จำ� นวนครู ปวช. จำ� นวนนกั เรยี น (คน) รวม ห้องเรยี น (คน) วทิ ยาลยั เทคนิคแพร่ (หอ้ ง) 1,749 ปวส. ป.ตรี 3,130 วิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร่ 123 1,010 1,830 วิทยาลัยการอาชีพสอง 115 90 347 1,278 103 498 วิทยาลัยการอาชีพลอง 73 36 365 785 35 553 49 37 151 - 47 188 - วิทยาลยั สารพดั ชา่ งแพร่ 24 36 338 62 - 400 วทิ ยาลยั เกษตรและ 30 32 350 203 - 553 เทคโนโลยีแพร่ ทม่ี า : วิทยาลัยเทคนิคแพร่, ข้อมลู ณ วันท่ี 26 ตุลาคม 2564 / วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาแพร่, ขอ้ มูล ณ วันท่ี 31 สิงหาคม 2563 / วิทยาลยั การอาชีพสอง, ข้อมูล ณ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2564 / วิทยาลัยการอาชีพลอง, ข้อมูล ณ วันที่ 25 มถิ นุ ายน 2564 / วิทยาลยั สารพัดชา่ ง แพร่, ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 27 ตุลาคม 2564 / วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีแพร,่ ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 26 ตุลาคม 2564 3. ระดับอุดมศึกษา มีการจัดตั้งสาขาหรือหน่วยการสอนระดับอุดมศึกษา 6 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัย แมโ่ จ-้ แพร่ เฉลมิ พระเกยี รต,ิ มหาวทิ ยาลยั รามคำ� แหงสาขาวทิ ยบรกิ ารเฉลมิ พระเกยี รตจิ งั หวดั แพร,่ ศนู ยว์ ทิ ยบรกิ าร จงั หวดั แพร่ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อตุ รดติ ถ,์ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตแพร,่ วทิ ยาลยั พยาบาล บรมราชชนนีแพร่ และวิทยาลยั ชุมชนแพร่ ตารางแสดงขอ้ มูลจำ� นวนหอ้ งเรียน ครู และนกั เรียน ในระดบั อดุ มศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564 สถานศกึ ษา จ�ำนวน จ�ำนวนครู จำ� นวนนักศึกษา (คน) ห้องเรียน (คน) อนปุ ริญญา ปรญิ ญา รวม มหาวิทยาลัยรามคำ� แหง สาขาวทิ ยบรกิ าร (หอ้ ง) เฉลมิ พระเกยี รติ จังหวัดแพร่ - - 708 708 มหาวิทยาลยั แม่โจ-้ แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 10 95 - 871 871 มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย 43 68 - 495 495 วทิ ยาเขตแพร่ 25
12 บรรยายสรุปจงั หวัดแพร่ ปี 2565 สถานศกึ ษา จำ� นวน จำ� นวนครู จำ� นวนนกั ศึกษา (คน) ห้องเรยี น (ห้อง) (คน) อนุปริญญา ปรญิ ญา รวม ศนู ยว์ ิทยบริการจังหวดั แพร่ 2 12 - 36 36 มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุตรดิตถ์ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนแี พร่ 4 40 - 203 203 วิทยาลยั ชุมชนแพร่ 13 16 232 - 232 ทมี่ า : มหาวทิ ยาลยั รามคำ� แหง สาขาวทิ ยบรกิ ารเฉลมิ พระเกยี รตจิ งั หวดั แพร,่ ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2564 / มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ-้ แพร่ เฉลมิ พระเกยี รต,ิ ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 25 ตลุ าคม 2564 / มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตแพร,่ ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 25 ตลุ าคม 2564 / ศนู ยว์ ทิ ยบรกิ ารจงั หวดั แพร่ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อตุ รดติ ถ,์ ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 27 ตลุ าคม 2564 / วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนแี พร,่ ข้อมลู ณ วนั ท่ี 24 มกราคม 2563 / วิทยาลัยชุมชนแพร่, ข้อมูล ณ วันที่ 27 ตลุ าคม 2564 4. สำ� นกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั แพร่ เปน็ หนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบ จัดการศึกษาระดับประถมศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปัจจุบันมีนักศึกษา กศน. จ�ำนวน 5,417 คน ครู จ�ำนวน 117 คน (เพ่ิมขึ้นจากปี 2563 จำ� นวน 17 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.31) และ กศน.ตำ� บล จ�ำนวน 78 แห่ง ตารางแสดงข้อมลู จ�ำนวนนกั เรียน ครู และหอ้ งเรยี น ปีการศกึ ษา 2564 จ�ำนวน จ�ำนวน จ�ำนวน จำ� นวนนกั เรยี น (คน) กศน.ตำ� บล หอ้ งเรยี น ครู สถานศกึ ษา (คน) ประถม มธั ยมศกึ ษา มัธยมศกึ ษา รวม (แหง่ ) (หอ้ ง) ศกึ ษา ตอนตน้ ตอนปลาย กศน. อ.เมอื งแพร่ 28 1,440 กศน. อ.สูงเม่น 20 35 19 330 359 726 711 กศน. อ.เด่นชัย 12 18 7 377 กศน. อ.สอง 58 14 44 260 416 581 กศน. อ.อลอง 8 15 12 561 กศน. อ.หนองมว่ งไข่ 9 15 10 45 94 162 454 กศน. อ.ร้องกวาง 6 11 15 770 กศน. อ.วงั ช้ิน 11 21 12 124 170 289 522 7 13 117 5,417 รวม 78 135 77 205 303 120 120 219 104 228 497 62 195 268 906 1,631 2,880 ที่มา : สำ� นักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั แพร,่ ข้อมูล ณ วันที่ 29 ตลุ าคม 2564
บรรยายสรุปจังหวัดแพร่ ปี 2565 13 ศาสนา จงั หวัดแพร่ มีประชาชนท่นี บั ถือศาสนาพทุ ธ จำ� นวน 444,846 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 99.10 ศาสนาครสิ ต์ จ�ำนวน 3,600 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.08 ศาสนาอสิ ลาม จำ� นวน 105 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.02 ศาสนาอน่ื ๆ จำ� นวน 2 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.0004 มศี าสนสถาน จำ� นวน 413 แห่ง แยกเป็น พระอารามหลวง จำ� นวน 2 แหง่ วดั ราษฎร์ จำ� นวน 373 แหง่ โบสถ์ จ�ำนวน 35 แหง่ และมัสยดิ จ�ำนวน 3 แหง่ มีวัดท่ีได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา จ�ำนวน 331 แห่ง แยกเป็น มหานิกาย จ�ำนวน 328 แห่ง ธรรมยตุ นิกาย จ�ำนวน 3 แห่ง และวดั ท่ียงั ไมไ่ ด้รับพระราชทานวิสงุ คามสมี า จำ� นวน 43 แหง่ แยกเปน็ มหานิกาย จ�ำนวน 36 แห่ง ธรรมยุตนิกาย จำ� นวน 7 แหง่ มวี ดั รา้ ง จำ� นวน 17 แหง่ ที่พักสงฆ์ จ�ำนวน 66 แหง่ พระภกิ ษุ จำ� นวน 1,157 รปู และสามเณร จำ� นวน 743 รูป ทม่ี า : ส�ำนกั งานวัฒนธรรมจังหวัดแพร,่ ขอ้ มลู ณ เดือนตุลาคม 2564 ศลิ ปวฒั นธรรม ประเพณี โบราณสถานทสี่ �ำคญั ของจงั หวัดแพร่ ปจั จุบนั มโี บราณสถานในจงั หวดั แพร่ท่ีไดร้ บั การประกาศขึ้นทะเบียนโดยกรมศลิ ปากรแล้วท้ังสิน้ 10 แห่ง ดงั นี้ อนั ดับ ทต่ี งั้ สถานที่ ปที ขี่ ้ึนทะเบียน (พ.ศ.) 1 วดั พระธาตชุ อ่ แฮ ต.ปา่ แดง อ.เมอื งแพร่ 2 วดั พระหลวง (วัดพระหลวงธาตุเนง้ิ ) ต.พระหลวง อ.สูงเม่น 2478, 2523 3 วดั พระธาตุปูแจ ต.บ้านเวียง อ.ร้องกวาง 2478, 2523 4 วัดพระธาตศุ รีดอนค�ำ ต.ห้วยออ้ อ.ลอง 2478, 2523 5 พระธาตแุ หลมล่ี ต.หว้ ยอ้อ อ.ลอง 2497, 2523 6 วดั จอมสวรรค์ ต.ทุง่ กวาว อ.เมอื งแพร่ 7 วัดศรชี มุ ต.ในเวยี ง อ.เมืองแพร่ 2497 8 วดั หวั ขว่ ง ต.ในเวยี ง อ.เมอื งแพร่ 2523 9 วดั หลวง ต.ในเวียง อ.เมืองแพร่ 2523 10 จวนผ้วู ่าราชการจงั หวดั แพร่ ต.ในเวียง อ.เมอื งแพร่ 2523 2541 2541
14 บรรยายสรุปจงั หวัดแพร่ ปี 2565 พระธาตชุ อ่ แฮ : วดั พระธาตชุ อ่ แฮ พระอารามหลวง อ.เมอื งแพร่ (ไดร้ บั การประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเลม่ ท่ี 52 ตอน 75 หนา้ 3693 ลงวันท่ี 8 มีนาคม 2478) แหล่งโบราณสถานในจังหวัดแพร่ ท่ีได้รับการประกาศขึ้นทะเบียนตามพระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 มีจ�ำนวน 12 แห่ง ข้ึนทะเบียนโดยประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา จ�ำนวน 10 แห่ง และขึ้นโดยอายุประวัติความเป็นมาของโบราณสถานซึ่งเก่ียวข้องกับ ประวัตศิ าสตร์ จำ� นวน 2 แห่ง ดงั น้ี พระธาตชุ อ่ แฮ ตงั้ อยใู่ นวดั พระธาตชุ อ่ แฮ พระอารามหลวง ต.ชอ่ แฮ อ.เมอื งแพร่ จ.แพร่ เปน็ พระธาตศุ กั ดสิ์ ทิ ธค์ิ บู่ า้ นคเู่ มอื ง ของจังหวดั แพร่ ตามต�ำนานพระธาตุชอ่ แฮกล่าวถึงการสร้างพระธาตุไว้วา่ พระธาตชุ ่อแฮสร้างข้นึ ระหว่างจุลศักราช 586 - 588 (พ.ศ. 1879 - 1881) ในสมยั พุทธกาล โดยชาวลั๊วะ ช่อื ขุนล๊ัวะอา้ ยกอ้ ม และต�ำนานเมอื งสุโขทยั กลา่ วถึง ตอนน้ีว่า พระมหาธรรมราชาลิไทพระราชทานพระบรมสารีริกธาตุแก่ขุนลั๊วะอ้ายก้อม น�ำไปบรรจุไว้ในฐานเจดีย์ ทีส่ รา้ งใหค้ นทงั้ หลายกราบไหว้แทนพระพทุ ธองค์ ณ บริเวณดอยโกสิยธชัคคะ โดยเอาผอบพระบรมสารรี กิ ธาตบุ รรจุ ไว้ในสงิ ห์ทองค�ำ สร้างแทน่ ท่ตี ง้ั ผอบด้วยเงนิ และทองแลว้ ตง้ั สงิ หท์ องคำ� ไว้ให้โบกปูนทบั อกี ชั้นหนง่ึ หลังจากน้นั ก็จัด งานบำ� เพญ็ กศุ ลเฉลมิ ฉลอง 7 วนั 7 คนื และมกี ารทำ� นบุ ำ� รงุ เสรมิ สรา้ งพระธาตชุ อ่ แฮมาโดยลำ� ดบั ตอ่ มาเมอื่ พ.ศ. 2467 ครูบาศรีวิชัย นักบุญแห่งลานนาได้เป็นประธานบูรณะปฏิสังขรณ์พระธาตุร่วมกับคณะสงฆ์จังหวัดแพร่ โดยรื้อเอา ทองจังโกออก แล้วเสริมสร้างองค์เจดีย์ให้มีขนาดกว้างและสูงขึ้น โดยกว้าง 11 เมตร สูง 33 เมตร โดยรอบองค ์ ท้ังพระธาตุมีล�ำเวียงหรือร้ัวเหล็กล้อมรอบหนาแน่น มีประตูเข้าออก 4 ประตู แต่ละประตูมีซุ้มสลักลวดลายอย่าง งดงาม ทกุ ปจี ะมีงานนมสั การคอื “งานไหวพ้ ระธาตชุ ่อแฮ เมอื งแพรแ่ ห่ตงุ หลวง” ในวนั ข้ึน 11-15 ค่�ำ เดอื น 6 เหนือ
บรรยายสรุปจงั หวดั แพร่ ปี 2565 15 พระธาตุเนง้ิ : วัดพระหลวง อ.สงู เม่น วดั พระธาตปุ ูแจ อ.รอ้ งกวาง (ไดร้ ับการประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เล่มที่ 52 ตอน 75 หน้า 3693 (ได้รับการประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 52 ตอน 75 ลงวันท ่ี ลงวันที่ 8 มีนาคม 2478) 8 มนี าคม 2478) พระธาตเุ นงิ้ 1 สว่ น และฝงั ไวท้ รี่ งู นู น้ั 1 สว่ น ตอ่ มามผี มู้ าตงั้ บา้ นเรอื น พระธาตุเน้งิ ต้งั อยใู่ นวดั พระหลวง บ้านพระหลวง บรเิ วณน้ี และสรา้ งวดั สรา้ งเจดยี บ์ นรงู ทู บี่ รรจซุ ากงนู นั้ ไว้ หมู่ท่ี 8 ต.ดอนมูล อ.สูงเม่น จ.แพร่ พระธาตปุ ูแจ เจดีย์ทรุดเอนไปทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือกว่า พระธาตปุ แู จ ตง้ั อยใู่ นวดั พระธาตปุ แู จ บา้ นบญุ เรงิ 1 ศตวรรษแลว้ จงึ เรยี กวา่ “พระธาตเุ นง้ิ ” (เนง้ิ หมายถงึ หมู่ที่ 4 ต.บา้ นเวียง อ.ร้องกวาง จ.แพร่ การเอน) ลักษณะองค์พระธาตุเป็นเจดีย์รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ตามตำ� นานวดั พระหลวง ตามคำ� บอกเลา่ สบื ตอ่ กนั มา ยาวประมาณด้านละ 4 เมตร สูง 8 เมตร เปน็ เจดยี ท์ ี่ เช่ือว่าวัดพระหลวงและบ้านพระหลวงเดิมเป็นดงหลวง บรรจุกระดูกตาตุ่มข้างขวาขององค์สมเด็จพระสัมมา- เคยเป็นป่าใหญ่ มีสัตว์ร้ายอาศัยอยู่ เช่น งูใหญ่ หรือ สัมพทุ ธเจ้า ภาษาถน่ิ เหนอื เรยี กวา่ “งหู ลวง” งใู หญต่ วั นน้ั ขดุ รอู ยตู่ รง บริเวณองค์พระเจดีย์ และมักจะกินสัตว์เล้ียง สัตว์ ตามตำ� นานพระธาตปุ แู จ กลา่ วถงึ การสรา้ งพระธาตุ พาหนะของชาวบ้านและของพ่อค้าเสมอ เม่ือพ่อค้า ไวว้ า่ พระธาตปุ แู จและวดั พระธาตปุ แู จ ไมป่ รากฏหลกั ฐาน จนี ฮอ่ นำ� สนิ คา้ บรรทกุ มา้ มาขาย และปลอ่ ยมา้ ทบ่ี รรทกุ ว่าสร้างข้ึนในสมัยใด แต่ได้รับการบูรณะปฏิสังขรณ ์ สินค้าให้เท่ียวหากินในบริเวณนั้นก็จะถูกกินเสียทุกคร้ัง เปน็ ประจำ� เสมอมาโดยเจา้ ผู้ครองนครแพร่หลายๆ องค์ พวกพ่อค้าฮ่อแค้นใจมาก จึงหาวิธีฆ่างูใหญ่ตัวนั้น โดย ซึ่งนับว่าเป็นโบราณสถานที่ส�ำคัญแห่งหนึ่งของ ท�ำกับดักจากผิวไม้ไผ่สานขัดเป็นตาแหลว (ตาแหลว จงั หวดั แพร่ หมายถึง บ่วงแร้วชนิดหน่ึงใช้ดักสัตว์) น�ำไปดักไว้ท ี่ ปากรงู ู เมอ่ื งตู ดิ บว่ งตาแหลวจงึ ฆา่ เสยี แลว้ ตดั งเู ปน็ ทอ่ นๆ กองไว้ท่ีใกล้ปากรูงูนั้น แล้วน�ำสินค้าไปขายต่อไป เมื่อสินค้าหมดแล้วก็พากันกลับมาที่เดิมก็พบว่าซากงู ทต่ี ดั กองไวก้ ลายเปน็ ทอ่ นเงนิ ทอ่ นทอง จงึ ตกลงแบง่ ออก เป็น 3 ส่วน คอื แบง่ กนั เอง 1 ส่วน น�ำไปถวายเจา้ ฟ้า
16 บรรยายสรปุ จังหวัดแพร่ ปี 2565 พระธาตศุ รีดอนคำ� วดั พระธาตศุ รีดอนคำ� อ.ลอง พระธาตุศรดี อนคำ� (ได้รับการประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มท่ี 71 ตอน 3 ตง้ั อยใู่ นวดั พระธาตศุ รดี อนคำ� บา้ นหว้ ยออ้ หมทู่ ่ี 7 ต.หว้ ยออ้ ลงวันท่ี 5 มกราคม 2497) อ.ลอง จ.แพร่ ตามตำ� นานวดั พระธาตศุ รดี อนคำ� กลา่ วถงึ การสรา้ งพระธาตุ ไวว้ า่ พระธาตศุ รดี อนคำ� สรา้ งขน้ึ ราว พ.ศ. 1078 คราวเมอื่ พระนาง จามเทวีเสด็จจากเมืองละโว้ไปเมืองหริภุญชัย (จังหวัดล�ำพูน ในปจั จบุ นั ) ทกุ ปจี ะมงี านนมสั การในเดอื นยเ่ี หนอื ขน้ึ 12 - 15 คำ�่ จึงนับได้ว่าพระธาตุศรีดอนค�ำเป็นศาสนสถานอันศักด์ิสิทธิ์ แสดงถึงประวัติศาสตร์อนั ยาวนานของชาวอ�ำเภอลอง พระธาตแุ หลมล่ี วัดแหลมล่ี อ.ลอง พระธาตุแหลมลี่ (ได้รับการประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 71 ตอน 3 ตง้ั อยใู่ นวัดแหลมล่ี บ้านหาดทรายคำ� หม่ทู ่ี 9 ต.ปากกาง ลงวันที่ 5 มกราคม 2497) อ.ลอง จ.แพร่ ตามตำ� นานพระธาตแุ หลมลี่ กลา่ วถงึ การสรา้ งพระธาตไุ วว้ า่ พระธาตแุ หลมลี่ สรา้ งเมอ่ื ประมาณ พ.ศ. 949 โดยพญาศรธี รรม- มาโศกราชพรอ้ มดว้ ยพระสงฆอ์ งคอ์ รหนั ต์ 400 องค์ ไดน้ ำ� พระธาตุ ของพระพทุ ธเจา้ มาบรรจไุ ว้ ณ ดอยลเ่ี หลย้ี มแหลม (ดอยแหลมล)ี่ ทกุ ปจี ะมงี านนมสั การในเดอื น 6 เหนอื (เดอื น 5 ใต)้ ขน้ึ 14 - 15 คำ�่ จึงนับว่าพระธาตุแหลมลี่เป็นปูชนียสถานท่ีเก่าแก่เป็นท่ีเคารพ บูชาของชาวอำ� เภอลองมาตัง้ แตโ่ บราณจนถึงปัจจุบนั วดั จอมสวรรค์ อ.เมืองแพร่ วัดจอมสวรรค์ (ได้รบั การประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เล่มท่ี 97 ตอน 159 ต้งั อยถู่ นนยันตรกิจโกศล ต.ในเวยี ง อ.เมอื งแพร่ ลงวนั ท่ี 14 ตลุ าคม 2523) ลักษณะวิหารเป็นไม้สักทั้งหลัง ฉลุไม้ประดับกระจกอย่าง งดงามโดยเฉพาะเพดาน ส่วนของวิหารนอกจากใช้เป็นกุฎิและ ศาลาการเปรียญในหลังเดียวกันแล้ว ส่วนหนึ่งในวิหารหลังนี้ ยงั ไดแ้ สดงศลิ ปะวตั ถโุ บราณไวม้ ากมาย เชน่ คมั ภรี โ์ บราณทท่ี ำ� จาก งาชา้ ง เรียกวา่ คมั ภรี ป์ ฏิโมกข์ จารึกเปน็ ภาษาพม่า ดอกไมห้ นิ พระพุทธรูปงาชา้ ง ปืนดาบศิลา หลวงพอ่ สาน นอกจากนน้ั ยงั มี โบราณสถานที่ส�ำคัญคือ เจดีย์พระพุทธรูป ซุ้มประตูวิหาร เปน็ ศลิ ปะแบบพมา่
บรรยายสรุปจงั หวัดแพร่ ปี 2565 17 วัดหวั ขว่ ง อ.เมอื งแพร่ วดั ศรีชมุ อ.เมอื งแพร่ (ได้รบั การประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม่ ท่ี 97 ตอน 123 ลงวนั ที่ (ไดร้ บั การประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เล่มท่ี 97 ตอน 159 ลงวนั ที่ 12 สิงหาคม 2523) 14 ตลุ าคม 2523) วดั หัวขว่ ง ได้รับการบูรณะซ่อมแซมหลายคร้ัง และเป็นวัดท่ีสร้าง ต้งั อยถู่ นนค�ำแสน ต.ในเวยี ง อ.เมอื งแพร่ จ.แพร่ มานานนบั เปน็ เวลาพนั กวา่ ปี จงึ นบั วา่ เปน็ โบราณสถาน เก่าแก่อีกแหง่ หนึง่ ในจงั หวดั แพร่ มโี บราณสถานเก่าแก่คอื เจดยี ฐ์ านสูง ตามต�ำนานวัดหัวข่วงกล่าวถึงการสร้างเจดีย์ไว้ว่า วดั ศรชี มุ ตง้ั อยถู่ นนเจรญิ เมอื ง ต.ในเวยี ง อ.เมอื งแพร่ อยรู่ มิ เจดยี ว์ ดั หวั ขว่ ง สรา้ งขน้ึ ราว พ.ศ. 1443 สมยั ขนุ พนมสงิ ห์ โปรดให้อาราธนาครูบาศรีใจมาจากเมืองลัมปะนคร ประตเู มอื งดา้ นตะวันตก มีโบราณสถานเก่าแกค่ ือ เจดยี ์ (ลำ� ปาง) เปน็ ประธานกอ่ สรา้ ง กลา่ วกันวา่ ในเดอื นแรม พระอโุ บสถ วิหาร หอไตร พระพทุ ธรูปปางประทับยืน ราว 14 - 15 ค่�ำ จะปรากฏแกว้ สุกใสลอยจากยอดเจดีย์ ท่ใี หญท่ สี่ ดุ ในจังหวดั แพร่ พุง่ วาบๆ ไปทางทิศตะวันออกของเมืองพลรัฐนครเสมอ ตามตำ� นานวดั ศรชี มุ กลา่ วถงึ การสรา้ งวดั ศรชี มุ ไวว้ า่ วดั หวั ขว่ ง สรา้ งขนึ้ เมอื่ ปพี ทุ ธศกั ราช 1389 ในสมยั วัดศรีชุมสร้างขึ้นเม่ือปีพ.ศ. 1322 และจากต�ำนาน ของขนุ หลวงพล เจ้าหลวงเมอื งแพร่ (ขณะน้ันเมอื งแพร่ เมอื งเหนอื เลา่ วา่ บรเิ วณท่ีต้งั ของวดั ศรีชุมเดิมเปน็ ดงไม้ ชื่อว่า เมืองพล หรือพลนคร หรือช่ือเดิมเมืองพล) ปา่ สกั อยู่ใกลแ้ ม่นำ้� ยม เปน็ ทีบ่ �ำเพญ็ ตบะสมาธภิ าวนา ทรงชรามากแลว้ จงึ มอบใหท้ า้ ยพหสุ งิ หค์ รองเมอื งพลแทน ของนักพรต (ฤาษี) ต่อมาเจ้าเมืองและชาวบ้าน ท้ายพหุสิงห์เป็นผู้ท่ีเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา ได้รว่ มมอื กันสร้างวัดขน้ึ เรียกว่า “วดั ฤาษชี ุม” หมายถงึ หลงั จากครองเมอื ง 1 ปี จงึ ใหข้ นุ พระพษิ ณวุ งั ไชยไปวา่ จา้ ง ทชี่ มุ นมุ ของนกั พรต ตอ่ มาสำ� เนยี งเพย้ี นไปเปน็ “ศรชี มุ ” ช่างจากเวียงพางค�ำเชียงแสนมาบูรณซ่อมแซมวัดหลวง ปัจจุบันยังมีรูปปั้นฤาษี 3 ตน อยู่ตรงหน้าพระวิหาร แม่เฒ่าจันค�ำวงศ์แม่ของขุนหลวงพลเห็นฝีมือของช่าง เปน็ สัญลกั ษณ์การชมุ นุมของนกั พรตทัง้ หลาย จากเวียงพางค�ำเชียงแสนสวยงาม จึงให้ช่างดังกล่าว สร้างวัดขึ้นอีกวัดหน่ึง โดยเลือกเอาที่ดินซ่ึงเป็น ลานกว้างขวาง แต่เดิมใช้เป็นสนามกีฬาประจ�ำเมือง “ข่วงเล่นกีฬาประจ�ำเมือง” เป็นที่สร้างวัด และเรียก วัดท่ีสร้างขึ้นใหม่นี้ว่า “วัดหัวข่วงสิงห์ชัย” วัดหัวข่วง
18 บรรยายสรปุ จงั หวัดแพร่ ปี 2565 วัดหลวง อ.เมอื งแพร่ วัดหลวง (ได้รับการประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ที่ 115 ตอน 38 ตัง้ อยู่ ถ.คำ� ลอื ซอย 1 ต.ในเวียง อ.เมืองแพร่ ลงวนั ที่ 20 ตลุ าคม 2541) มีโบราณสถานเก่าแก่คือ เจดีย์พระธาตุหลวงไชยช้างค้�ำ ซึง่ มีการบูรณะซอ่ มแซมหลายคร้ัง วดั หลวง เปน็ วดั ทสี่ นั สนั นษิ ฐานวา่ สรา้ งมาพรอ้ มกบั การสรา้ ง เมืองแพร่ ภายในวัดนอกจากจะมีพระธาตุหลวงไชยช้างค้�ำแล้ว ยังมีโบราณวัตถุที่มีคุณค่า ได้แก่ พระเจ้าแสนหลวง ซึ่งเป็น พระประธานในวหิ ารพระเจา้ แสนทอง และมคี มุ้ พระลอ พพิ ธิ ภณั ฑ์ และหอวัฒนธรรมซ่ึงเป็นท่ีเก็บโบราณวัตถุอันทรงคุณค่าของ จงั หวดั คุ้มเจ้าหลวงเมอื งแพร่ อ.เมอื งแพร่ (ได้รับการประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มท่ี 115 ตอน 38 ลงวนั ที่ 20 พฤษภาคม 2542) จวนผูว้ า่ ราชการจังหวดั แพร่ ตั้งอยูถ่ นนคุ้มเดิม ต.ในเวียง อ.เมืองแพร่ จ.แพร่ เดมิ เรียกวา่ “คมุ้ เจา้ หลวง” สรา้ งขนึ้ สมยั เจา้ พิรยิ ะเทพวงค์อดุ รฯ เจ้าเมอื งแพร่องคส์ ุดท้าย ราวพ.ศ. 2435 อาคารคุ้มเจ้าหลวงนี้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี คร้งั เม่อื เสด็จประพาสเมอื งแพร่ได้ทรงให้น�ำ รูปแบบอาคารไปประยกุ ตป์ ระกอบการก่อสรา้ งหอสมดุ สยามราชกุมารีทว่ั ประเทศ และในพ.ศ. 2540 ค้มุ เจา้ หลวง เมอื งแพร่ ได้รับรางวลั สถาปตั ยกรรมไทยดเี ด่น จึงเป็นความภาคภูมิใจของชาวแพร่
บรรยายสรปุ จังหวัดแพร่ ปี 2565 19 กำ� แพงเมือง และ คเู มอื ง เสาหลักเมือง (สะดือเมอื ง) กำ� แพงเมอื งแพร่ ชาวแพรเ่ รยี กวา่ เมฆ เปน็ กำ� แพง เสาหลักเมือง เป็นสถานที่ชาวบ้านเรียกว่าเป็น ช้ันเดยี วสูงประมาณ 7 เมตร กว้างประมาณ 15 เมตร ใจกลางเมอื งแพร่ ตง้ั อยู่ ถ.คมุ้ เดมิ เยอ้ื งจวนผวู้ า่ ราชการ ความยามทง้ั หมดประมาณ 4,000 เมตร ดา้ นนอกกำ� แพง จังหวัดแพร่ ติดกับโรงเรียนนารีรัตน์จังหวัดแพร ่ เป็นดิน ส่วนแกนมีอิฐโบราณก่อเป็นระยะๆ เมืองแพร่ ในศาลหลักเมอื งมีเสาหลกั เมอื งตงั้ อยู่ แต่เดิมมีประตเู มอื ง 4 ประตู ดังน้ี ประตูชัย อยทู่ างทิศ ตะวันออกของเมือง เป็นประตูใหญ่และสำ� คัญของเมอื ง ในอดีตเมืองแพร่ไม่มีเสาหลักเมือง บริเวณพื้นท่ี บุคคลส�ำคัญที่เป็นแขกเมืองจะได้รับการต้อนรับน�ำเข้า สะดือเมืองเป็นป่ารก มีหอผีท่ีชาวบ้านนับถือตั้งอยู ่ เมืองผา่ นทางประตูน้ี ประตูศรีชมุ อยูท่ างทศิ ตะวันตก ต่อมาเม่ือมีการขุดปรับพื้นท่ีด้านทิศเหนือของเมือง ติดกับวัดศรีชุม เป็นประตูออกไปสู่ท่าน้�ำในแม่น้�ำยม (ใกล้ประตูใหม่) เพ่ือสร้างเรือนจ�ำ บริเวณดังกล่าวเป็น เรียกว่า ท่าน�้ำศรีชุม ประตูยั้งม้า หรือประตูเลี้ยงม้า วัดร้าง ชาวบ้านเรียกว่าวัดศรีบุญเริง ได้พบศิลาจารึก อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของตัวเมือง เป็นประตู รูปใบเสมา ซึ่งได้น�ำศิลาท่ีพบน้ีมาต้ังเป็นหลักเมือง ท่ีชาวเมืองน�ำม้าออกไปเลี้ยง และเป็นจุดที่ผู้ใช้ม้าท่ีจะ หลักศิลาจารึกน้ีไม่ระบุว่าสร้างในสมัยใด ต่อมาเม่ือ เขา้ เมอื งพกั มา้ ประตมู าร อยทู่ างทศิ ตะวนั ตกเฉยี งเหนอื พ.ศ. 2535 จงั หวดั แพรไ่ ดจ้ ดั สรา้ งศาลหลกั เมอื งขน้ึ ใหม่ ตรงขา้ มกบั ประตยู งั้ มา้ ชาวแพรใ่ นอดตี ถอื วา่ เปน็ ประตผู ี เป็นแบบจตุรมุข ในวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2536 เนอื่ งจากประตนู เ้ี ปน็ ทางผา่ นในการนำ� ศพไปฝงั นอกเขต สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ก�ำแพงเมือง เป็นเขตป่าช้าและท่ีประหารชีวิตนักโทษ ทรงวางศิลาฤกษ์ และในวันที่ 6 มถิ ุนายน พ.ศ. 2537 ต่อมาบ้านเมืองพัฒนาขึ้น ได้สร้างทางเข้าออกเมือง สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช สยามกฏุ ราชกมุ าร ไดเ้ สดจ็ อกี ทางหนง่ึ ดา้ นทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เรยี กวา่ ประตใู หม่ เปน็ องค์ประธานในพิธีเปิดศาลหลกั เมอื งแพร่ ส่วนศิลา สร้างประมาณ พ.ศ. 2482 จงึ ท�ำให้เมืองแพร่ในปัจจุบัน จารึกที่ใช้เป็นหลักเมืองมาแต่เดิมน้ันยังคงต้ังไว้ท่ี มปี ระตเู มือง 5 ประตู ดา้ นหลงั ของเสาหลกั เมอื งทส่ี รา้ งขน้ึ ใหมใ่ นศาลหลกั เมอื ง
20 บรรยายสรุปจงั หวัดแพร่ ปี 2565 วฒั นธรรมประเพณีประจ�ำปี ประเพณีนมัสการพระธาตุชอ่ แฮเมืองแพรแ่ ห่ตุงหลวง พระธาตชุ อ่ แฮเปน็ ปชู นยี สถานทศี่ กั ดสิ์ ทิ ธค์ิ บู่ า้ นคเู่ มอื งของเมอื งแพรม่ าชา้ นาน จะสรา้ งขนึ้ เมอื่ ใด ไมม่ หี ลกั ฐาน ปรากฏชัด สันนษิ ฐานว่าคงสรา้ งข้นึ พรอ้ มๆ กับการสร้างเมืองแพร่ คอื กอ่ นสโุ ขทัยเปน็ ราชธานี เน่อื งจากมีหลักฐาน ชดั เจนในประวตั กิ ารบรู ณปฏสิ งั ขรณอ์ งคพ์ ระธาตชุ อ่ แฮวา่ ในระหวา่ งปพี .ศ. 1879 - 1881 พระยาลไิ ท กษตั รยิ ส์ โุ ขทยั องคห์ นง่ึ เมื่อคร้ังยงั ทรงเป็นพระมหาอุปราชปกครองเมืองศรีสัชชนาลยั ไดย้ กรพ้ี ลเสด็จมาบูรณปฏสิ ังขรณพ์ ระธาตุ ช่อแฮ และจากต�ำนานพระธาตุช่อแฮได้กล่าวไว้ว่า พระธาตุช่อแฮเป็นท่ีบรรจุพระเกศาและพระบรมสารีริกธาต ุ พระศอกซา้ ยของสมเดจ็ พระสัมสัมพทุ ธเจา้ หลงั จากพระยาลไิ ทไดบ้ รู ณปฏสิ งั ขรณแ์ ลว้ ไดโ้ ปรดใหม้ งี านฉลองสมโภช 5 วนั 5 คนื ระหวา่ งวนั ขนึ้ 11 คำ�่ ถงึ วนั ขนึ้ 15 คำ่� เดอื น 6 เหนอื เดอื น 4 ใต้ ซงึ่ จะอยรู่ ะหวา่ งในชว่ งปลายเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ – ตน้ เดอื นมนี าคมของทกุ ปี นบั ตงั้ แตบ่ ดั นน้ั เปน็ ตน้ มา เจา้ ผคู้ รองนครแพรท่ กุ องคจ์ งึ ไดย้ ดึ ถอื เปน็ ประเพณไี หวพ้ ระธาตปุ ระจำ� ปี สบื ตอ่ มาจนกระทง่ั ถึงปจั จุบันนี้ ในปพี ทุ ธศกั ราช 2530 รฐั บาลไดป้ ระกาศใหเ้ ปน็ ปแี หง่ การทอ่ งเทย่ี วไทย คณะกรรมการจดั งานไหวพ้ ระธาตุ ช่อแฮ ไดม้ มี ติขยายการจดั งานจาก 5 วนั 5 คืน เปน็ 7 วัน 7 คนื คือจัดระหว่างวนั ขึน้ 9 ค่ำ� ถงึ วนั ข้นึ 15 คำ่� เดอื น 6 เหนอื เดือน 4 ใต้ ซึ่งชว่ งระยะเวลาจดั งานทไี่ ด้ปรับเปลีย่ น จงั หวัดได้ยึดถือปฏบิ ัตมิ าจนถึงทกุ วันน้ี ต่อมาในปีพ.ศ. 2536 คณะกรรมการจัดพิจารณาเห็นว่า ตุงกระด้างขนาดใหญ่ซ่ึงแกะสลักด้วยไม้สัก เปน็ ลวดลายอยา่ งสวยงามทอี่ ยใู่ นพระอโุ บสถของวดั เกา่ แกโ่ บราณมจี ำ� นวนมากนน้ั นา่ จะไดน้ ำ� มาแสดงในรว้ิ ขบวนดว้ ย จงึ มมี ตใิ หน้ ำ� ตงุ ขนาดใหญด่ งั กลา่ วเขา้ รว่ มขบวนตง้ั แตบ่ ดั นนั้ เปน็ ตน้ มา และเปลย่ี นชอื่ งานชอื่ งานจาก “งานประเพณี ไหว้พระธาตชุ อ่ แฮ” เปน็ “งานประเพณมี นัสการพระธาตุช่อแฮเมอื งแพร่แห่ตุงหลวง”
บรรยายสรปุ จังหวัดแพร่ ปี 2565 21 ประเพณปี จู าต้าวตงั สี่ ประเพณปี จู าตา้ วตงั สี่ เปน็ ประเพณขี องชาวเหนอื ทป่ี ฏบิ ตั สิ บื ทอดมาตงั้ แตส่ มยั โบราณ คาดวา่ นา่ จะเกดิ ขนึ้ พรอ้ มกับเทพยดา ฟ้าดนิ เม่ือถึงวันขา้ งขน้ึ ของแต่ละเดือน ผเู้ ฒ่าผแู้ กท่ เ่ี ปน็ เจา้ ของบา้ นนยิ มใหม้ ีพธิ บี ูชาทา้ วทั้งส่คี ือ บูชาท้าวจตโุ ลกบาล เทพผ้ยู ง่ิ ใหญท่ ร่ี ักษาทศิ ทัง้ ส่ี เม่ือมีงานมงคลใดๆ กอ่ นจะเรม่ิ พธิ ีนั้นๆ เจา้ ของบา้ นกจ็ ะท�ำพธิ บี ูชาทา้ วทัง้ ส่กี อ่ น เช่น พิธยี กเสาเอกก่อน ปลกู บา้ น งานทำ� บญุ ขน้ึ บา้ นใหม่ สบื ชะตา งานมงคลสมรส นอกจากนงี้ านประเพณสี ำ� คญั ของจงั หวดั งานบญุ ประจำ� ปี ของวัดต่างๆ พิธีบูชาท้าวท้ังส่ี จะต้องด�ำเนินการก่อนปฏิบัติการอื่นใดเสมอ ประเพณีบูชาท้าวท้ังส่ียังสืบทอดและ ยดึ ถือปฏิบตั สิ บื ตอ่ กนั มาจนถึงปัจจบุ ัน ประเพณีแหน่ ้ำ� ช้าง ประเพณแี หน่ �้ำชา้ ง ได้ถือปฏิบัติสืบทอดกนั มาเปน็ เวลาประมาณรอ้ ยกว่าปีมาแล้ว พิธีนี้จัดขึ้นระหว่างวันที่ 20 - 26 เมษายนของทกุ ปี จะทำ� พธิ ใี นวนั ใดนน้ั แลว้ แตจ่ ะตกลงกนั ในหมบู่ า้ น ปจั จบุ นั ไดม้ กี ารกำ� หนดวนั ที่ 21 เมษายน ของทกุ ปี กอ่ นวันทำ� พิธีหน่งึ วนั ผเู้ ฒา่ ผแู้ ก่ ผูช้ าย ผ้หู ญงิ และเยาวชนในหมู่บ้านจะชว่ ยกนั จดั สถานทใี่ นการท�ำพธิ ี บรเิ วณทจ่ี ะใชต้ อ้ งมพี น้ื ทกี่ วา้ งคอื ทส่ี นามโรงเรยี นบา้ นวงั ลกึ ผหู้ ญงิ จะชว่ ยกนั เยบ็ บายศรเี พอื่ ใชป้ ระกอบพธิ แี ละเตรยี ม สิง่ ของประกอบพิธมี ากมาย เชน่ มะพรา้ วออ่ น กลว้ ย ออ้ ย หญา้ อ่อน ไกต่ ม้ ข้าวเปลือก ผา้ สีขาว ผ้าสีแดง เปน็ ตน้ ในวนั ประกอบพธิ ใี นชว่ งเชา้ เวลาประมาณ 09.00 น. เจา้ ของชา้ งจะพาชา้ งมารวมกนั ในบรเิ วณพธิ ี ตอ่ จากนน้ั หมอควาญช้างจะเอาด้ายสายสิญจน์โยงจากบายศรีไปผูกไว้กับหูช้างทุกตัวแล้วเริ่มพิธีอ่านค�ำเอาขวัญช้างไปเร่ือยๆ จนจบ เมื่ออ่านจบแลว้ กจ็ ะเอาสิ่งของต่างๆ ที่จะเปน็ อาหารของชา้ งปอ้ นให้ชา้ งกินทกุ ตัว ในภาคบา่ ยจะมรี วิ้ ขบวนแหแ่ ละธดิ าแหช่ า้ งนำ้� โดยจดั ลำ� ดบั รวิ้ ขบวนจากหมบู่ า้ นตา่ งๆ ทมี่ ารว่ มงานทง้ั หมด 12 หมบู่ ้าน และขบวนผู้ทเี่ ดินตาม ซึ่งในแต่ละปีจะมผี คู้ นมาร่วมงานหลายพนั คน ขบวนแห่ช้างนำ้� จะเดินไปตามถนน ในหมู่บา้ นไปยังศาลเจ้าตา่ งๆ ซงึ่ มีอยปู่ ระมาณ 6 ศาลเจา้ เมอื่ ช้างไปถึงแตล่ ะศาลเจา้ คนทรงของแต่ละศาลเจา้ จะท�ำ พธิ คี ลอ้ งชา้ งโดยเอาชา้ งเทยี มตวั เลก็ ๆ ทำ� ดว้ ยไมค้ ลอ้ งดว้ ยเสน้ ดา้ ยเหมอื นกบั เปน็ การจำ� ลองการคลอ้ งชา้ งปา่ เมอื่ ครง้ั ก่อนโน้น ต่อจากน้ัน คนทรงเจ้าจะรดน้�ำด�ำหัวช้างด้วยน้�ำส้มป่อยจนครบทุกตัว ขบวนแห่จะเคลื่อนต่อไปจนถึง ท้ายหมู่บ้านเพื่อท�ำพิธีจุดบ้องไฟ แล้วขบวนแห่จะวกกลับมายังสถานที่เดิมท่ีใช้ประกอบพิธีในตอนแรกอีกคร้ัง เวลาทม่ี าจะถงึ เยน็ พอดี พธิ เี กยี่ วกบั ชา้ งกย็ ตุ ลิ งเพยี งเทา่ นนั้ แตจ่ ะมมี หรสพแสดง เชน่ ดนตรี การชกมวย รำ� วง เปน็ ตน้
22 บรรยายสรุปจังหวัดแพร่ ปี 2565 ประเพณีกำ� ฟา้ ของชาวไทยพวน ประเพณีก�ำฟา้ ของชาวไทยพวน บา้ นท่งุ โฮ้ง ไทยพวน คือ กลุ่มคนไทยกลุ่มหน่ึงสืบเช้ือสายมาจากชาวพวนในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เมอื งพวนปจั จุบนั ตัง้ อยทู่ ี่เขตเชียงขวาง ติดกบั ประเทศเวยี ดนาม ชนกลุ่มนถ้ี า้ อยูใ่ นลาวเรียกว่า ลาวพวน เมื่ออย่ใู น ประเทศไทยเรยี กวา่ ไทยพวน ชาวไทยพวนเมอื งแพรอ่ ยู่ทบ่ี ้านทุ่งโฮ้ง มีความรูแ้ ละความถนดั ในเรื่องของการทอผา้ และยอ้ มผ้าหม้อหอ้ ม จนกระทั่งต�ำบลทุ่งโฮง้ ได้ชือ่ ว่าเปน็ แหล่งผลติ เส้ือหมอ้ ห้อมที่ใหญท่ ่ีสดุ และมีชื่อเสียงท่สี ดุ ของประเทศไทย ประเพณกี ำ� ฟา้ โบราณนน้ั ชาวไทยพวนจะมกี ารละเลน่ พน้ื บา้ นในตอนกลางคนื ตลอดเทศกาลอยา่ งสนกุ สนาน เชน่ เล่นผีนางดัง เล่นไกห่ มู เป็นตน้ แต่เทศกาลก�ำฟ้าปจั จุบันมีเพยี งร้องร�ำท�ำเพลงร่วมกัน ประเพณีนจ้ี ะจดั ในวันข้นึ 3 - 8 คำ่� เดือน 5 เหนอื ของทกุ ปี ประเพณีตานกว๋ ยสลาก ประเพณีตานก๋วยสลาก หรือประเพณีกิ๋นสลากเป็นประเพณีท�ำบุญโดยมิได้เลือกเจาะจงพระสงฆ์องค์ใด ของชาวลา้ นนา มลี กั ษณะโดยทวั่ ไปคลา้ ยคลงึ กบั ประเพณถี วายสลากภตั ของชาวไทยภาคกลาง หากทางลา้ นนานยิ ม เปน็ การทำ� บญุ จตปุ จั จยั ถวายแดพ่ ระสงฆโ์ ดยมติ อ้ งมกี ารทำ� บญุ เปน็ ภตั ตาหารตา่ งๆ เชน่ เดยี วกบั ภาคกลาง คำ� วา่ กว๋ ย แปลว่า ภาชนะสานประเภทตะกร้าหรือชะลอม ตานก๋วยสลากจึงหมายถึงการถวายทานด้วยวิธีการจับสลาก เครอ่ื งไทยทานทบ่ี รรจมุ าในชะลอม โดยการถวายตานกว๋ ยสลากนมี้ จี ดุ มงุ่ หมาย 2 อยา่ งดว้ ยกนั คอื อยา่ งหนงึ่ เปน็ การ อทุ ศิ ใหเ้ ทพยดาและผทู้ ลี่ ว่ งลบั ไปแลว้ และอกี อยา่ งหนงึ่ เปน็ การอทุ ศิ ไวใ้ หต้ นเองเมอื่ ลว่ งลบั ไปในภายหนา้ การถวาย กว๋ ยสลากถอื กนั วา่ จะไดอ้ านสิ งสแ์ รง เพราะเปน็ การทำ� บญุ แบบสงั ฆทานผถู้ วายไมไ่ ดเ้ จาะจงตวั ผรู้ บั วา่ จะเปน็ พระภกิ ษุ หรอื สามเณรรูปใดๆ
บรรยายสรุปจังหวดั แพร่ ปี 2565 23 ประเพณีสงกรานตเ์ มืองแพร่ ในชว่ งเทศกาลสงกรานต์ ชาวเหนือมกี จิ กรรมตา่ งๆ ดังนี้ วันที่ 12 เมษายน เปน็ วนั ท�ำความสะอาดบ้านเรือนครงั้ ใหญใ่ นรอบปี วนั ท่ี 13 เมษายน “จะขานลอ่ ง” ถอื เปน็ วนั สนิ้ สดุ ของปเี กา่ ชาวบา้ นจะนยิ มทำ� ความสะอาดบา้ นเรอื นเพอื่ เตรียมรับวันใหม่ วนั ที่ 14 เมษายน “วนั เนา่ หรอื วนั เนาว”์ วนั ทส่ี องของประเพณปี ใ๋ี หมเ่ มอื ง จะเปน็ วนั ทตี่ อ้ งเตรยี มสงิ่ ของตา่ งๆ เพอื่ ใชท้ ำ� บญุ จะมกี จิ กรรมขนทรายทแี่ มน่ ำ้� เขา้ วดั เพอ่ื กอ่ เปน็ เจดยี ท์ ราย คนแพรม่ คี วามเชอื่ เรอื่ งวนั เนา่ วา่ ไมค่ วรดา่ ทอ สาปแช่ง หรอื กลา่ วคำ� ร้ายต่อกัน ปากจะเน่าจะเหมน็ เป็นอัปมงคลไปท้งั ปี วนั ที่ 15 เมษายน “วนั พญาวัน” วันนจ้ี ะเปน็ วันส�ำคญั ทีส่ ดุ เริม่ ด้วยตอนเชา้ มดื ของวันนี้ ทุกบ้านจะนำ� อาหารความหวานไปถวายพระทีเ่ รยี กวา่ “ตานขันข้าว” หมายถงึ การทำ� บญุ อุทิศส่วนกุศลใหแ้ กบ่ รรพบรุ ษุ ผู้ล่วงลับ ไปแล้ว เสร็จจากกิจกรรมนี้แล้วก็จะมีพิธีท�ำบุญตักบาตร ซ่ึงถือกันว่าเป็นการท�ำบุญตักบาตรในวันขึ้นปีใหม่ของ ชาวเหนือที่มีพุทธศาสนิกชนคับค่ังที่สุด เสร็จพิธีตักบาตรแล้วก็มักจะต่อด้วยพิธีถวายเจดีย์ทรายที่บรรดาหนุ่มสาว ทง้ั หลายไดพ้ ากันขนทรายเขา้ วดั ต้ังแตว่ นั กอ่ นแล้ว ประเพณสี งกรานต์ชาวแพร่ มกี ารจัดงานเปน็ ประจ�ำทกุ ปี และยงั คงมีเอกลกั ษณข์ องจงั หวัดทท่ี �ำใหผ้ ู้ทม่ี า เที่ยวชมสนกุ สนานไปกบั การเล่นนำ�้ สงกรานต์ และเพลิดเพลินใจกับการแสดงศลิ ปวัฒนธรรมต่างๆ ลว้ นแล้วแตเ่ ป็น เอกลักษณ์ของชาวจังหวัดแพร่ เชน่ การแขง่ ขนั จุดสะโป้ก การประกวดรถแกงคว่ั มหกรรมของดีเมืองแพร่ การแสดง ศลิ ปวัฒนธรรมของนักเรียน ขบวนแหส่ งกรานต์ เป็นต้น นอกจากน้ีในพ้ืนท่ีต่างๆ ทั่วท้ังจังหวัดแพร่ ยังได้มีการจัดงานประเพณีวันสงกรานต์เพื่อให้เกิดความเป็น สิริมงคลแก่ชีวิตในการเร่ิมต้นปีใหม่ของประเพณีพื้นเมือง ได้มีโอกาสรดน�้ำขอขมาส่ิงท่ีอาจล่วงเกินผู้ใหญ่ในบางครั้ง รวมถึงเป็นการขอพรผู้ใหญ่ ได้แก่ บิดา มารดา ญาติผู้ใหญ่ และบุคคลที่มีพระคุณ เพื่อเป็นสิริมงคลและข้อคิด เตือนใจแกต่ นเอง ประเพณีไหว้นมสั การหลวงพอ่ พระพุทธโกศยั “พระพทุ ธโกศยั ศริ ชิ ยั มหาศากยมนุ ”ี หรอื “พระพทุ ธโกศยั ” เปน็ พระพทุ ธรปู คบู่ า้ นคเู่ มอื งแพร่ ประดษิ ฐาน อยทู่ วี่ ดั พระบาทมงิ่ เมอื งวรวหิ าร ต.ในเวยี ง อ.เมอื งแพร่ จ.แพร่ สรา้ งขนึ้ ระหวา่ งวนั ที่ 22 - 24 เมษายน 2498 พรอ้ มกบั สรา้ งเหรียญพระพุทธโกศยั ร่นุ 2498 หรือเหรียญพระพุทธโกศัย รุน่ 1 ไปดว้ ย งานประเพณีไหว้พระพุทธโกศัยศิริชยั มหาศากยมุนี จะจดั ขึ้นในชว่ งระหวา่ งวันขึ้น 9 - 15 คำ�่ เดือน 6 ใต้ เดือน 8 เหนือ ในบริเวณวัดพระบาทม่ิงเมืองวรวิหาร มีกิจกรรมการจัดขบวนแห่เคร่ืองสักการะของอ�ำเภอทุกแห่ง ในจงั หวดั แพร่ และขบวนคณะศรทั ธาของวดั ตา่ งๆ ในจงั หวดั แพร่ การสรงนำ�้ พระธาตมุ งิ่ เมอื ง นมสั การรอยพระพทุ ธบาท การทำ� บญุ เสรมิ ศิริมงคล และการจดั มหรสพสมโภชตลอดระยะเวลาการจัดงาน
24 บรรยายสรปุ จังหวดั แพร่ ปี 2565 ประเพณีตากธรรม ตานขา้ วใหม่ หงิ ไฟพระเจ้า “ประเพณตี ากธมั ม”์ เปน็ ประเพณโี บราณทมี่ อี ายไุ มต่ ำ่� กวา่ 150 ปี ทไี่ มค่ อ่ ยปรากฏเหน็ มากนกั ในสงั คมไทย หรือแทบไม่ปรากฏในท้องถิ่นอ่ืนๆ นอกจากภาคเหนือของประเทศไทย และอาจมีเพียงหน่ึงเดียวคือที่วัดสูงเม่น จงั หวดั แพร่ โดย ครูบากัญจนอรญั ญวาสี หรอื ครบู ามหาเถร แห่งวัดสูงเม่น เปน็ ประเพณที ี่มีจุดมุ่งหมาย 1) เพอ่ื ให้ คนเข้าถึงหลกั ธรรมคำ� สอนในทางพระพุทธศาสนาโดยผา่ นพิธกี รรม และ 2) เพ่อื ให้มกี ารจดั เกบ็ ดูแล รกั ษาสภาพ คัมภรี ธ์ รรมให้มีอายกุ ารใชง้ านท่ีย่ังยนื ตานข้าวใหม่ เป็นประเพณีที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาแต่โบราณ ชาวบ้านจะน�ำข้าวใหม่ท่ีได้เก็บเกี่ยวจากนา เขา้ ยงุ้ ฉางทบ่ี า้ นแลว้ จะนำ� มานงึ่ ใหส้ กุ เพอ่ื นำ� มาตกั บาตร ตานขนั ขา้ ว อทุ ศิ ไปใหพ้ อ่ แมแ่ ละบรรพบรุ ษุ ทลี่ ว่ งลบั ไปแลว้ และเปน็ การขอขมาพระแมโ่ พสพกอ่ นทจี่ ะนำ� มารบั ประทาน มาทำ� บญุ กอ่ น กจิ กรรมนเ้ี ปน็ การกระทำ� ทแ่ี สดงออกถงึ ความกตัญญูกตเวที น�ำของท่ีดีที่สุดอุทิศให้กับบุพการี ดังนั้น ชาวบ้านจึงมีความเชื่อว่าถ้าได้น�ำของใหม่ ข้าวใหม ่ มาท�ำบุญตั้งแต่ต้นปี ปีน้ันตลอดทั้งปีชีวิตก็จะได้แต่ของดีๆ มีความเจริญในหน้าท่ีการงาน การเงิน การสุขภาพ ท�ำกิจอันใดก็สำ� เรจ็ ทุกประการ หงิ ไฟพระเจา้ เปน็ การนำ� ไมข้ นาดกวา้ ง 1 นวิ้ ยาวประมาณ 40 - 50 นวิ้ มาเหลาปอกเปลอื กแลว้ ทาสเี หลอื ง คนละ 1 ไม้ พอถึงวันพระก็น�ำไม้ไปประเคนพระประธานในโบสถ์ แล้วน�ำไม้เหล่านั้นมารวมกันท�ำเป็นกระโจมไว้ หน้าโบสถ์เพ่ือท�ำพิธีจุดไฟ ซึ่งในอดีตพิธีน้ีปฏิบัติกันเพ่ือให้ความอบอุ่นในฤดูหนาวแก่พระสงฆ์และผู้มาท�ำพิธีในวัด แตใ่ นความหมายทางธรรมคอื การใหม้ าเผากเิ ลศ ความโลภ ความโกรธ ความหลง ซงึ่ เปน็ ตน้ เหตขุ องความรอ้ นภายใน ผู้ร่วมพิธีจะน�ำไม้หิงไฟพระเจ้ามาเผาต่อหน้าพระพุทธรูป ซ่ึงทางเหนือเรียกพระพุทธรูปว่าพระเจ้า โดยเผาบริเวณ ลานกว้าง หรือท่ีเรียกว่า ลานธัมม์ นอกวิหารหรืออุโบสถตามท่ีวัดจัดสถานที่ให้ เพ่ือเป็นการสัญญาหรือสาบาน ต่อหน้าส่ิงศักด์ิสิทธ์ิว่าต่อน้ีไปตั้งแต่ต้นปีจะละชั่วและจะท�ำดี ท�ำจิตใจให้บริสุทธ์ิ ตามรอยพระพุทธองค์ถวายเป็น พทุ ธบูชาตลอดปี สาธารณสุข จงั หวัดแพร่ มสี ถานบรกิ ารสาธารณสุขภาครฐั จำ� นวน 133 แห่ง จำ� แนกเป็น โรงพยาบาลทว่ั ไป 1 แหง่ โรงพยาบาลชมุ ชน 7 แหง่ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำ� บล 119 แหง่ สถานบริการสาธารณสขุ ชมุ ชน 4 แหง่ และ โรงพยาบาลเอกชน 2 แหง่ มสี ถานบรกิ ารสาธารณสุขภาคเอกชน จำ� นวน 554 แห่ง จำ� แนกเป็น 6 ประเภท ดังน้ี 1. โรงพยาบาลเอกชน จ�ำนวน 2 แหง่ 2. การพยาบาลและผดงุ ครรภ์ จำ� นวน 42 แหง่ 3. เวชกรรม จ�ำนวน 48 แห่ง 4. เวชกรรมเฉพาะทาง จำ� นวน 31 แห่ง 5. ทนั ตกรรม จ�ำนวน 18 แห่ง 6. อืน่ ๆ จ�ำนวน 413 แห่ง
บรรยายสรุปจังหวัดแพร่ ปี 2565 25 ตารางแสดงข้อมูลโรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพชุมชนและสถานบรกิ ารสาธารณสุขชมุ ชนรายอำ� เภอ ปี 2564 โรงพยาบาล (จำ� นวน/เตียง) อ�ำเภอ รพท. รพช. สัดสว่ นเตียง รพ.สต. สสช. ตอ่ ประชากร อ�ำเภอเมืองแพร่ อำ� เภอสูงเมน่ 1- 500 27 - อ�ำเภอเด่นชัย อำ� เภอสอง -1 40 16 - อ�ำเภอลอง อำ� เภอหนองมว่ งไข่ -1 38 8 - อ�ำเภอร้องกวาง อำ� เภอวังชนิ้ -1 35 15 1 -1 60 14 - -1 30 6 - -1 40 16 1 -1 30 17 - รวม 1 7 790 119 2 ตารางแสดงขอ้ มูลอตั ราสว่ นบุคลากรต่อประชากรจังหวัดแพร่ ปี 2564 ประเภทบคุ ลากร จำ� นวน (คน) อตั ราส่วนบุคลากร สสจ. รพท. รวม ต่อประชากรจงั หวัด แพทย์ 58 124 182 ทันตแพทย์ 35 20 55 0.042 เภสชั กร 52 48 100 0.013 พยาบาลวิชาชีพ 512 558 1,070 0.023 พยาบาลเทคนคิ 437 0.245 นกั วิชาการสาธารณสุข 257 - 257 0.002 เจ้าพนักงานสาธารณสุขชมุ ชน 87 - 87 0.059 เจ้าพนกั งานทันตสาธารณสขุ 50 - 50 0.020 บุคลากรอนื่ ๆ 798 - 798 0.011 1,853 753 2,606 0.182 รวม 0.596
26 บรรยายสรุปจงั หวัดแพร่ ปี 2565 ตารางแสดงข้อมลู สาเหตกุ ารเสียชวี ติ ของประชาชนในจงั หวดั แพร่ ปี 2564 (5 อนั ดบั แรก) สาเหตกุ ารตาย จ�ำนวน (ราย) อัตราการตายตอ่ ประชากรแสนคน 1. วยั ชรา 385 2. ความดนั โลหิตสูง 301 0.38 3. หวั ใจล้มเหลว 229 0.30 0.22 4. ไตวายเร้ือรัง 136 0.13 0.13 5. เบาหวาน 132 ท่มี า : ส�ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดแพร,่ ข้อมูล ณ เดอื นตลุ าคม 2564 ผลิตภณั ฑม์ วลรวม/รายได้ประชากร จงั หวดั แพร่ มผี ลติ ภณั ฑม์ วลรวมจงั หวดั ณ ราคาตลาดประจำ� ปี พ.ศ. 2562 มลู คา่ เทา่ กบั 31,665 ลา้ นบาท โครงสร้างทางเศรษฐกจิ ขึน้ อยกู่ ับ อนั ดบั 1 คือ สาขาเกษตรกรรมฯ 6,094 ลา้ นบาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 19.2 อนั ดบั 2 คอื สาขาการศกึ ษา 4,345 ลา้ นบาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 13.7 อนั ดับ 3 คอื สาขาการขายส่ง ขายปลีกฯ 3,466 ล้านบาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 10.9 รายไดเ้ ฉล่ียตอ่ หวั ของประชากร (GPP per capita) ปี 2562 เท่ากับ 82,678 บาท จดั เป็นอนั ดบั ท่ี 56 ของ ประเทศ และเป็นลำ� ดบั ที่ 15 ของ 17 จังหวัดภาคเหนอื ตารางแสดงขอ้ มลู ผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจงั หวดั แพร่ ประจ�ำปี 2562 จำ� แนกตามสาขาการผลิต สาขาการผลติ ผลิตภัณฑม์ วลรวมจังหวัด ปี 2562 (หนว่ ย : ลา้ นบาท) ภาคเกษตร 6,094 - เกษตรกรรม ป่าไม้ และประมง 6,094 25,571 ภาคนอกเกษตร 619 - การทำ� เหมืองแร่ และเหมอื งหนิ 3,172 - การผลติ อตุ สาหกรรม 415 - ไฟฟา้ กา๊ ซ และระบบปรับอากาศ - การประปา และการจดั การของเสยี 168 - การกอ่ สรา้ ง 1,608 - การขายสง่ การขายปลกี การซอ่ มยานยนต์ และจักรยานยนต์ 3,466 - การขนส่ง และสถานทีเ่ ก็บสนิ คา้ 925
บรรยายสรุปจงั หวดั แพร่ ปี 2565 27 สาขาการผลิต ผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจังหวดั ปี 2562 (หน่วย : ล้านบาท) - ท่พี ักแรม และบริการด้านอาหาร 327 - ข้อมลู ข่าวสาร และการสื่อสาร 525 - การเงนิ และการประกนั ภัย 2,938 - กิจกรรมอสังหารมิ ทรัพย์ 1,910 - กิจกรรมทางวิชาชีพ วทิ ยาศาสตร์ และกิจกรรมทางวิชาการ 13 - กิจกรรมการบริหาร และการบรกิ ารสนบั สนุน 36 - การบรหิ ารราชการ การปอ้ งกันประเทศ และการประกันสงั คม 2,906 - การศึกษา 4,345 - กิจกรรมด้านสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห์ 1,741 - ศลิ ปะ ความบนั เทิง และนันทนาการ 145 - กิจกรรมบริการดา้ นอืน่ ๆ 312 ผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจงั หวัด 31,665 ท่มี า : ส�ำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ, ข้อมูล ณ เดือนมนี าคม 2564 การเงิน การธนาคาร การจดั เก็บภาษี จงั หวดั แพร่ มีธนาคารพาณิชย์ที่เปิดดำ� เนนิ การในปี 2564 จำ� นวน 20 สาขา มเี งนิ ฝาก ณ เดือนสิงหาคม 2564 จ�ำนวน 41,362.51 ล้านบาท เปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2563 จ�ำนวนเงินเพิม่ ข้ึน 2,070.56 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 5.27 และมีสินเชื่อ ณ เดือนสิงหาคม ปี 2564 จ�ำนวน 41,924.42 ล้านบาท เปรียบเทียบกับ ชว่ งเดียวกันของปี 2563 จำ� นวนเงนิ เพ่มิ ขึ้น 1,446.20 ล้านบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 3.57 ตารางแสดงรายชือ่ ธนาคารพาณิชย์และจ�ำนวนสาขา ช่ือธนาคาร จำ� นวนสาขา 1. ธนาคารกรุงเทพ จำ� กัด (มหาชน) 5 2. ธนาคารกสกิ รไทย จำ� กัด (มหาชน) 2 3. ธนาคารกรงุ ไทย จ�ำกดั (มหาชน) 5 4. ธนาคารทหารไทยธนชาต จำ� กดั (มหาชน) 1 5. ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) 2 6. ธนาคารกรงุ ศรอี ยธุ ยา จ�ำกัด (มหาชน) 1 7. ธนาคารแลนด์ แฮนด์ เฮาล์ จ�ำกดั (มหาชน) 1
28 บรรยายสรุปจงั หวดั แพร่ ปี 2565 ช่อื ธนาคาร จ�ำนวนสาขา 8. ธนาคารออมสิน 9 9. ธนาคารอาคารสงเคราะห์ 1 10. ธนาคารเพอ่ื การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 13 11. ธนาคารพัฒนาวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อมแห่ง 1 ประเทศไทย 12. ธนาคารเกียรตินาคินภทั ร จ�ำกดั (มหาชน) 1 13. ธนาคารไทยเครดติ เพอ่ื รายย่อย จำ� กัด (มหาชน) 1 ที่มา : สำ� นกั งานคลังจังหวดั แพร่, ข้อมลู ณ วันที่ 25 ตลุ าคม 2564 การจัดเกบ็ ภาษีสรรพากร การจดั เกบ็ ภาษอี ากรของสำ� นกั งานสรรพากรพน้ื ทแ่ี พร่ ปงี บประมาณ 2564 ไดร้ บั ประมาณการการจดั เกบ็ ภาษสี รรพากร จำ� นวน 605.103 ลา้ นบาท สามารถจดั เกบ็ ฯ ได้ จำ� นวน 818.960 ลา้ นบาท มอี ตั ราสงู วา่ ประมาณการ ทก่ี ำ� หนดไว้ จำ� นวน 213.857 ลา้ นบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 35.34 และจดั เกบ็ ไดส้ งู วา่ ปที ผ่ี า่ นมา จำ� นวน 321.576 ลา้ นบาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 64.65 ตารางแสดงขอ้ มูลการจัดเก็บภาษสี รรพากร ประเภทภาษี ปี 2562 จดั เก็บภาษฯี ไดจ้ ริง ปี 2564 ปี 2563 จำ� นวนเงิน เพ่มิ /ลด 1. บคุ คลธรรมดา จำ� นวนเงิน เพิม่ /ลด (ล้านบาท) (รอ้ ยละ) 2. นิติบุคคล (ล้านบาท) (ร้อยละ) จ�ำนวนเงนิ เพ่ิม/ลด 172.754 60.92 3. มูลคา่ เพ่ิม (ลา้ นบาท) (รอ้ ยละ) 185.089 176.83 4. ธุรกจิ เฉพาะ 142.915 -1.59 107.354 - 24.88 414.993 35.41 5. อากรแสตมป์ 66.859 - 47.33 42.514 246.20 6. รายได้อน่ื 126.950 - 6.88 306.477 - 23.55 12.280 - 32.92 1.946 - 44.26 รวม 400.866 10.07 1.663 86.62 3.493 - 47.38 818.960 64.65 18.307 - 16.63 0.921 - 21.32 497.384 - 28.62 6.638 - 13.62 1.170 - 19.40 696.848 2.96 ทมี่ า : สำ� นกั งานสรรพากรพื้นท่ีแพร่, ข้อมูล ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2564
บรรยายสรุปจังหวดั แพร่ ปี 2565 29 การจดั เก็บภาษีสรรพสามิต ปีงบประมาณ 2564 ส�ำนักงานสรรพสามิตพื้นที่แพร่ ได้รับการจัดเก็บภาษีสรรพสามิต จ�ำนวน 503.22 ล้านบาท สามารถจัดเก็บได้ จ�ำนวน 457.74 ล้านบาท (มีอัตราต�่ำกว่าประมาณการท่ีก�ำหนดไว้ จ�ำนวน -45.48 ล้านบาท คิดเปน็ รอ้ ยละ -9.04 และจดั เกบ็ ไดต้ �่ำกว่าปที ผ่ี า่ นมา จ�ำนวน -20.04 ลา้ นบาท คิดเปน็ รอ้ ยละ -4.20) ตารางแสดงข้อมูลการจดั เกบ็ ภาษสี รรพสามติ ประเภทสินค้า ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ภาษีสุรา 470,671,748.45 463,942,264.00 440,024,649.83 - สรุ ากลน่ั 469,208,471.45 462,868,474.00 439,037,639.83 - สรุ าแช่ 1,463,277.00 1,073,790.00 987,010.00 2. ภาษีเบียร์ - - - 3. ภาษยี าสูบ 2,230,426.00 5,063,287.00 7,969,475.00 4. ภาษรี ถยนต์ - 64,600.00 106,500.00 5. ภาษเี ครอื่ งด่ืม 27,907.70 33,212.43 29,102.40 6. ภาษนี ำ้� มนั และผลติ ภณั ฑน์ ำ�้ มัน - - 7. ภาษรี ถจักรยานยนต์ 367,170.80 32,160.37 8. ภาษีเครอ่ื งปรับอากาศ - - 62,400.00 9. ภาษสี ารทำ� ลายช้นั บรรยากาศ - - - - 10. ภาษีสนามกอล์ฟ 51,335.00 75,190.00 81,110.00 426,374.15 242,604.00 11. ภาษไี นต์คลับ, ดสิ โก้เธค 1,021,020.47 - - - 12. ภาษีอาบ อบ นวด - - 9,724.00 10,478.00 - 13. ภาษโี ทรคมนาคม - - - - - 14. ภาษเี คร่ืองหอม 10,356.00 - - - 9,216,658.88 15. ภาษีแก้ว, เคร่อื งแก้ว - 8,138,796.44 457,742,224.11 477,786,362.39 16. ภาษีพรม - 17. ภาษไี พ่ - 18. ภาษีสาร CFC - 19. รายได้เบด็ เตล็ด 9,488,186.88 รวม 483,868,151.30 ทม่ี า : สำ� นกั งานสรรพสามิตพนื้ ท่แี พร,่ ข้อมูล ณ วันท่ี 26 ตลุ าคม 2564
30 บรรยายสรปุ จังหวัดแพร่ ปี 2565 การเกษตรกรรม จังหวดั แพร่มพี ื้นที่ จำ� นวน 4,086,625 ไร่ มพี น้ื ที่ทำ� การเกษตร จ�ำนวน 795,688 ไร่ คิดเป็นรอ้ ยละ 19.47 ของพนื้ ทท่ี งั้ หมด มคี รวั เรอื นทปี่ ระกอบอาชพี การเกษตร จำ� นวน 63,333 ครวั เรอื น คดิ เปน็ รอ้ ยละ 35.37 ของจำ� นวน ครวั เรือนทั้งหมด ตารางแสดงขอ้ มลู จำ� นวนครัวเรอื นท่ปี ระกอบอาชีพการเกษตร อำ� เภอ ครัวเรอื นทั้งหมด จำ� นวน พน้ื ที่การเกษตร (ไร่) 52,356 ครัวเรอื นเกษตรกร 124,995 อ�ำเภอเมอื งแพร่ 29,688 64,421 อ�ำเภอสูงเมน่ 15,071 10,774 53,435 อ�ำเภอเดน่ ชัย 19,179 7,771 159,513 อ�ำเภอสอง 20,584 4,006 117,637 อ�ำเภอลอง 6,929 9,287 31,164 อ�ำเภอหนองมว่ งไข่ 18,590 10,292 130,726 อ�ำเภอรอ้ งกวาง 16,643 3,142 113,797 อ�ำเภอวังชน้ิ 179,040 8,090 795,688 9,971 รวม 63,333
บรรยายสรปุ จังหวดั แพร่ ปี 2565 31 พืชเศรษฐกจิ ท่ีสำ� คญั ในฤดกู าลผลติ ปี 2563/2564 ไดแ้ ก่ ขา้ ว ข้าวโพดเลย้ี งสตั ว์ มันสำ� ปะหลัง ส้มเขยี วหวาน พรกิ ตารางแสดงข้อมลู พื้นทีเ่ พาะปลูกพชื เศรษฐกิจจงั หวัดแพร่ ปี 2563/2564 ปี 2563/2564 ชนดิ พืช พืน้ ทป่ี ลกู พ้นื ท่ี ผลผลิตเฉลย่ี ผลผลิตรวม มลู ค่า (ไร่) ใหผ้ ลผลติ (กก./ไร)่ (ตนั ) (ลา้ นบาท) (ไร)่ ข้าวนาปี (ปี 2563/64) 304,922 304,922 565 172281 1,464.39 ขา้ วนาปรัง (ปี 2563/64) 40,813 40,813 555 22651 181.21 ข้าวโพดเลยี้ งสัตว์ รุ่น 1 211,277 211,277 654 138175 925.77 (ปี 2563/64) ขา้ วโพดเลย้ี งสัตว์ รุ่น 2 51,831 51,831 789 40895 245.37 (ปี 2563/64) มนั ส�ำปะหลัง 31,460 31,460 3,119 98124 206.06 (ปี 2563/64) สม้ เขียวหวาน 25,833 16,424 928 15241 243.86 พริก 1,421 1,421 2.65 3763 94.08 แตงโมเนือ้ 609 609 3,000 1827 9.14 แกว้ มงั กร 1,223 810 2,000 1620 19.44 ลองกอง 2,151 1,157 342 396 5.14 ลางสาด 4,158 3,844 403 1549 15.49 ล�ำไย 3,547 3,444 349 1202 24.04 ทเุ รียน 2,560 906 347 314 31.44 กาแฟ 3,495 1,833 102 186 2.80 ถวั่ เหลอื ง รนุ่ 1 331 331 219 72.49 1.23 (ปี 2563/64) ถัว่ เหลือง รุน่ 2 1,572 1,572 262 412 5.35 (ปี 2563/64) ปาล์มนำ้� มนั 4,864 1,405 432 607 1.82 ยางพารา 42,965 14,688 220 3231 40.39 รวม 735,032 688,747 - 502,546.49 3,517.02 ท่มี า : สำ� นักงานเกษตรจงั หวดั แพร,่ ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 28 ตลุ าคม 2564
32 บรรยายสรุปจังหวดั แพร่ ปี 2565 ตลาดสินค้าเกษตร สนิ ค้าเกษตรทส่ี ำ� คญั ของจังหวัดแพร่ ไดแ้ ก่ ข้าว ขา้ วโพดเลยี้ งสัตว์ มนั ส�ำปะหลัง พรกิ ใหญ่ ส้มเขยี วหวาน และ ล�ำไย การขายผลผลิตทางการเกษตรของจงั หวัดแพร่ มีลักษณะดังนี้ ขา้ ว เกษตรกรจงั หวัดแพรจ่ ะมกี ารผลิตขา้ วในรปู แบบ 3 ประเ ภท ดังน้ี 1. ผลติ เปน็ เมลด็ พนั ธุ์ 2. ผลติ เพอ่ื บรโิ ภค 3. ผลิตเพือ่ จำ� หน่ายในรปู แบบขา้ วเปลือกและแปรรูปเป็นข้าวขาว ซง่ึ จะจ�ำหนา่ ยให้กบั โรงสขี ้าวและ ทา่ ขา้ วในพน้ื ที่ และจะรวบรวมสง่ ไปจำ� หนา่ ยใหก้ บั โรงสใี นภาคกลาง ไดแ้ ก่ จงั หวดั ชยั นาท จงั หวดั สงิ หบ์ รุ ี และจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ตารางแสดงขอ้ มูลราคาข้าวเปลอื ก ปี 2564 ณ ความช้ืน 15% ราคา (บาท/ตนั ) ณ ความช้นื 25% ราคา (บาท/ตัน) ชนิดข้าว ปกี ารผลติ ปีการผลติ ปีการผลติ ปีการผลิต 2563/64 2564/65 2563/64 2564/65 ข้าวเหนยี วเมลด็ สนั้ 7,500 - 11,000 6,800 - 7,000 5,300 - 9,350 5,800 - 6,000 (สันปา่ ตอง/กข. 10) ขา้ วเหนียวเมลด็ ยาว 8,500 - 11,000 ยังไมม่ กี ารรับซอ้ื 8,000 - 9,350 ยังไม่มกี ารรบั ซอ้ื (กข. 6) ขา้ วหอมมะลนิ อกพน้ื ท่ี 9,0000 - 11,500 ยงั ไมม่ กี ารรบั ซ้อื 8,200 - 9,770 ยังไม่มีการรบั ซอ้ื ขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์ มีการกระจายผลผลิตแบง่ ออกเปน็ 2 ทาง คือ ใชใ้ นจงั หวัดและจ�ำหนา่ ยออกนอก จงั หวดั การรวบรวมผลผลติ โดยพอ่ คา้ คนกลาง สถาบนั เกษตรกร เชน่ สหกรณก์ ารเกษตร ลานรบั ซอื้ และฟารม์ อาหาร สัตว์ ตารางแสดงขอ้ มลู ราคาข้าวโพดเลีย้ งสตั ว์ ปี 2564 รายการ ปีการผลติ ปีการผลติ 2563/64 2564/64 ราคา ณ ความช้นื 14.5% (บาท/กก.) 6.70 - 8.20 8.00 - 9.00 ราคา ณ ความชื้น 30% (บาท/กก.) 5.00 - 6.30 6.20 - 7.20 มนั สำ� ปะหลงั ผปู้ ระกอบการในพน้ื ทจี่ งั หวดั แพรร่ บั ซอ้ื หวั มนั สำ� ปะหลงั สดจากเกษตรกรแบบคละเกรด เพ่ือส่งจ�ำหน่ายต่อหัวมันส�ำปะหลังสดไปยังโรงงานแป้งมันส�ำปะหลังที่ต่างจังหวัด อาทิ จังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัด ก�ำแพงเพชร และมีการแปรรูปจากหัวมันส�ำปะหลังสดเป็นมันเส้นเพื่อส่งต่อจ�ำหน่ายไปยังโรงงานผลิตอาหารสัตว์ท่ี ตา่ งจังหวัด อาทิ จงั หวดั ลำ� พนู จงั หวดั ตาก จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
บรรยายสรุปจงั หวัดแพร่ ปี 2565 33 พรกิ ใหญ่ เกษตรกรผปู้ ลกู พรกิ ใหญจ่ งั หวดั แพร่ มกี ารจำ� หนา่ ยพรกิ ใหญส่ ดใหก้ บั ผปู้ ระกอบการรบั ซอ้ื ในพน้ื ท่ี โดยผปู้ ระกอบการรบั ซ้ือในแต่ละพ้ืนทจ่ี ะมีการจ�ำหน่ายต่อใหก้ บั ผูร้ บั ซ้อื ทง้ั ในและตา่ งจงั หวดั ดังน้ี 1) พริกใหญ่ (เขียว) ส่ตู ลาดผูบ้ ริโภคภายในจังหวดั และต่างจงั หวดั ได้แก่ ตลาดไท ตลาดสีม่ ุมเมอื ง (จงั หวดั ปทุมธานี) ตลาดศรีเมอื ง (จังหวัดราชบุรี) ฯลฯ และจำ� หนา่ ยตอ่ ใหผ้ คู้ ้าสง่ เพ่อื จ�ำหนา่ ยต่อไปยังต่างประเทศ เช่น ประเทศมาเลเซยี เป็นต้น 2) พรกิ ใหญ่ (แดง) เข้าส่โู รงงานผลติ ซอสพริกในตา่ งจงั หวดั เชน่ จงั หวัดสมทุ รปราการ เป็นตน้ ตารางแสดงข้อมลู ราคาพริก ปี 2564 รายการ ปกี ารผลติ 2563/64 พริกใหญ่ (เขียว) (บาท/กก.) 18 พริกกา้ มปู (บาท/กก.) 20 พรกิ แดงเด็ด (บาท/กก.) 15 ส้มเขียวหวาน เกษตรกรผู้ปลูกส้มเขียวหวานจังหวัดแพร่ มีการจ�ำหน่ายผลผลิตส้มเขียวหวานผ่าน ช่องทางต่างๆ ดงั นี้ 1) จ�ำหน่ายผลผลิตส้มเขียวหวานสดไปยังผู้บริโภคภายในจังหวัดและต่างจังหวัดโดยไม่ผ่านพ่อค้า คนกลาง โดยกระจายผลผลิตเองและผา่ นบริษทั ขนส่งสนิ ค้า 2) การจำ� หนา่ ยสม้ เขยี วหวานสดไปยงั ผปู้ ระกอบการรบั ซอื้ สม้ เขยี วหวานในพนื้ ที่ เพอื่ จำ� หนา่ ยสตู่ ลาด ผู้บริโภค ทัง้ ภายในจงั หวดั และตา่ งจงั หวดั เชน่ ตลาดไท ตลาดสม่ี ุมเมือง (จังหวดั ปทมุ ธานี) ตลาดศรีเมอื ง (จังหวัด ราชบรุ )ี และตลาดไทยเจริญ (จงั หวดั พิษณโุ ลก) รวมถงึ ตลาดตา่ งประเทศ เชน่ มาเลเซยี 3) การจำ� หนา่ ยสม้ เขยี วหวานสดไปยงั ผปู้ ระกอบการรบั ซอ้ื สม้ เขยี วหวานจงั หวดั สโุ ขทยั โดยผปู้ ระกอบการ จะมีการจ�ำหน่ายสูต่ ลาดผบู้ ริโภคภายในประเทศ เชน่ จงั หวดั สโุ ขทยั จงั หวดั พษิ ณุโลก กรุงเทพฯ จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา จงั หวัดนครราชสีมา จงั หวดั อดุ รธานี และจังหวดั ขอนแก่น ลำ� ไย ผปู้ ระกอบการในพ้ืนท่ีจังหวัดแพร่ พะเยา และนา่ น เปน็ ผ้รู บั ซือ้ และรวบรวมผลผลิตลำ� ไยสด รูดรว่ งของจังหวัดแพร่ โดยน�ำลำ� ไยสดรูดรว่ งไปอบแหง้ เปน็ ลำ� ไยอบแหง้ จำ� หนา่ ยในพ้ืนท่ีจงั หวดั ล�ำพนู และเชียงใหม่ ส่วนราคารับซื้อ ใช้ราคาอา้ งอิงของจังหวดั ลำ� พนู แล้วมาหักดว้ ยค่าบริหารจัดการมาเปน็ เกณฑใ์ นการรับซือ้ ลำ� ไยของ เกษตรกร ส�ำหรับล�ำไยสดช่อมกี ารกระจายผลผลติ ดังน้ี 1) เกษตรกรและผ้ปู ระกอบการในพน้ื ที่จังหวัดแพร่ รับซ้ือเพอื่ จ�ำหน่ายในพืน้ ทจ่ี ังหวดั แพร่ 2) ผปู้ ระกอบการจงั หวดั พษิ ณโุ ลก เพชรบรู ณ์ มารบั ซอื้ เพอ่ื นำ� ไปจำ� หนา่ ย ณ จงั หวดั พษิ ณโุ ล เพชรบรู ณ์ และจังหวดั อ่นื ๆ 3) กระจายผลผลิตผ่านกิจกรรมเชื่อมโยงกระจายผลผลิตออกนอกแหล่งผลิต ตามโครงการบริหาร จดั การผลไม้ ปี 2564 ของกระทรวงพาณชิ ย์ 4) เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร และผู้ประกอบการในพ้ืนท่ีจังหวัดแพร่รับซื้อ กระจายผลผลิตไปยัง ต่างจงั หวดั โดยผ่านบรษิ ทั ขนส่งสนิ คา้
34 บรรยายสรุปจังหวดั แพร่ ปี 2565 ตลาดต้องชมในจังหวัดแพร่ จำ� นวน 3 แห่ง ดังนี้ ลำ� ดบั รายชอื่ ตลาด ต�ำบลทุ่งโฮง้ สถานทต่ี ัง้ 1 ตลาดต้องชมชมุ ชนจ�ำหนา่ ยผา้ หม้อหอ้ มทงุ่ โฮ้ง ตำ� บลในเวียง อ�ำเภอเมืองแพร่ 2 ตลาดต้องชมกาดสามวยั ตำ� บลปา่ แดง อ�ำเภอเมอื งแพร่ 3 ตลาดต้องชมลานคา้ ชุมชนพระธาตุชอ่ แฮ อำ� เภอเมอื งแพร่ ตลาดที่ส�ำคัญในจงั หวัดแพร่ จ�ำนวน 3 แห่ง ดังนี้ ลำ� ดับ รายชอื่ ตลาด ตำ� บลในเวียง สถานที่ตง้ั 1 กาดกองเกา่ ต�ำบลในเวยี ง อำ� เภอเมอื งแพร่ 2 กาดเมฆฮมิ คอื ตำ� บลป่าแดง อ�ำเภอเมอื งแพร่ 3 ถนนคนเดนิ อ�ำเภอเมืองแพร่
บรรยายสรุปจังหวดั แพร่ ปี 2565 35 ตลาดสดที่ส�ำคัญในจังหวดั แพร่ จำ� นวน 13 แห่ง กระจายอยู่ตามอ�ำเภอตา่ งๆ ดังนี้ ลำ� ดบั รายช่อื ตลาด สถานท่ตี ง้ั 1 ตลาดชมพมู ง่ิ 2 ตลาดเทศบาลเมืองแพร่ ตำ� บลในเวียง อำ� เภอเมืองแพร่ 3 ตลาดบา้ นท่งุ 4 ตลาดบ้านวงั หงส์ ต�ำบลในเวียง อำ� เภอเมืองแพร่ 5 ตลาดบา้ นส�ำเภา 6 ตลาดเมอื งหม้อ (เช้า) ตำ� บลในเวียง อำ� เภอเมืองแพร่ 7 ตลาดบา้ นพระหลวง 8 ตลาดเทศบาลเดน่ ชยั ตำ� บลวงั หงส์ อำ� เภอเมืองแพร่ 9 ตลาดเทศบาลห้วยอ้อ 10 ตลาดหนองมว่ งไข่ ต�ำบลเหมืองหม้อ อำ� เภอเมืองแพร่ 11 ตลาดเทศบาลรอ้ งกวาง 12 ตลาดขวัญนคร ต�ำบลเหมอื งหมอ้ อ�ำเภอเมืองแพร่ 13 ตลาดเทศบาลวงั ชนิ้ ตำ� บลพระหลวง อำ� เภอสูงเม่น ตำ� บลเด่นชัย อำ� เภอเด่นชัย ต�ำบลห้วยออ้ อ�ำเภอลอง ตำ� บลหนองมว่ งไข่ อ�ำเภอหนองมว่ งไข่ ตำ� บลร้องกวาง อำ� เภอร้องกวาง ตำ� บลบา้ นกลาง อ�ำเภอสอง ต�ำบลวงั ช้นิ อำ� เภอวังชิน้ ศนู ยก์ ลางทางการค้าท่สี ำ� คญั ในเขตจงั หวดั แพร่ มีจำ� นวน 8 แหง่ ดงั นี้ ล�ำดบั รายชอื่ ศนู ยก์ ารคา้ ตำ� บลในเวียง สถานทต่ี ้งั 1 บรษิ ัท ท้อปเซน็ เตอร์ จำ� กดั ต�ำบลในเวียง อ�ำเภอเมืองแพร่ 2 บรษิ ทั เจรญิ สินเทรดดง้ิ จำ� กดั ตำ� บลนาจักร อำ� เภอเมืองแพร่ 3 บรษิ ัท แสงไทย จำ� กดั (มาร์คโฟร)์ ต�ำบลในเวยี ง อำ� เภอเมืองแพร่ 4 บรษิ ทั สมสวัสด์ิดีพาร์ทเม้นสโตร์ จ�ำกัด อ�ำเภอเมอื งแพร่ 5 เทสโก้โลตัส สาขาแพร่ ตำ� บลทงุ่ กวาว อำ� เภอเมืองแพร่ 6 บ๊ิกซซี เู ปอรเ์ ซ็นเตอร์ สาขาแพร่ ตำ� บลนาจกั ร อำ� เภอเมอื งแพร่ 7 บรษิ ทั สยามแมคโคร จ�ำกดั สาขาแพร่ ตำ� บลนาจักร อำ� เภอเมืองแพร่ 8 ส. ซเู ปอรม์ าร์เก็ต ตำ� บลสูงเมน่ อ�ำเภอสูงเมน่
36 บรรยายสรปุ จงั หวัดแพร่ ปี 2565 การพาณชิ ยกรรม การจัดตั้งสถานประกอบธรุ กิจในจังหวัดแพร่ ปี 2564 มีผปู้ ระกอบการจดทะเบียนประกอบธรุ กจิ ประเภท นิติบุคคล เช่น บริษัทจ�ำกัด ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล บริษัทมหาชน รวมท้ังส้ิน 233 ราย ตามตารางดังนี้ ตารางแสดงการเปรยี บเทียบการจดทะเบียนนติ บิ คุ คลจดั ตง้ั ใหม่ ระหว่างเดอื นมกราคม - กนั ยายน พ.ศ. 2563 และ พ.ศ. 2564 ทะเบียนนติ บิ ุคคล ปี 2563 ปี 2564 เพม่ิ ขึน้ /ลดลง เพิ่มขนึ้ /ลดลง เพมิ่ ขึน้ /ลดลง (ราย) (บาท) (ร้อยละ) จ�ำนวน (ราย) 97 233 136 140.21 ทนุ จดทะเบียน (บาท) 105,590,000 229,590,000 124,000,000 117.44 ตารางแสดงขอ้ มูลการจดทะเบยี นนติ บิ คุ คลจดั ต้งั ใหมจ่ ำ� แนกตามประเภทธุรกิจ ประเภทนิตบิ ุคคล ประเภทธรุ กจิ บริษทั หจก. บรษิ ทั รวม ทนุ จดทะเบยี น จำ� กดั หจก. สามญั มหาชน (ล้านบาท) นิติบุคคล จำ� กัด เกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง 56 0 0 11 7,800,000 การทำ� เหมอื งแร่ และเหมืองหนิ 00 0 00 0 การผลิต 12 10 0 0 22 30,000,000 การไฟฟ้า กา๊ ซ ไอนำ้� และระบบปรับอากาศ 0 0 0 00 0 การจดั หาน้ำ� การจัดการน�้ำเสียและของเสีย 0 0 0 00 0 รวมถึงกจิ กรรมที่เก่ียวข้อง การกอ่ สร้าง 7 11 0 0 18 20,500,000 การขายส่ง ขายปลกี การซอ่ มแซมยานยนต์ 28 40 0 0 68 78,750,000 จักรยานยนต์ การขนส่งและสถานทเี่ ก็บสินค้า 06 0 0 6 4,290,000 ท่พี ักแรมและบรกิ ารดา้ นอาหาร 11 0 0 2 2,000,000 ขอ้ มูลข่าวสารและการสือ่ สาร 2 32 0 0 34 28,900,000 กจิ กรรมทางการเงินและการประกนั ภัย 00 0 00 0 กจิ กรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ 30 0 0 3 3,000,000
บรรยายสรปุ จังหวดั แพร่ ปี 2565 37 ประเภทนติ ิบุคคล ประเภทธุรกิจ บรษิ ัท หจก. บริษัท รวม ทุนจดทะเบยี น จำ� กัด หจก. สามัญ มหาชน (ล้านบาท) จ�ำกัด นิตบิ คุ คล 0 กิจกรรมวิชาชพี วิทยาศาสตร์และกจิ กรรม 9 53 0 0 62 47,700,000 ทางวิชาการ 0 0 2 1,150,000 กจิ กรรมการบริหารและบรกิ ารสนับสนนุ 11 0 0 0 00 การบรหิ ารราชการ การป้องกันประเทศและ 0 0 0 0 การประกนั สงั คมภาคบงั คบั 2 500,000 0 2 2,000,000 การศกึ ษา 02 0 00 0 1 3,000,000 กิจกรรมด้านสขุ ภาพและงานสังคมสงเคราะห์ 2 0 0 0 00 ศิลปะความบันเทงิ และนันทนาการ 00 0 กิจกรรมการบริการดา้ นอืน่ ๆ 10 0 กิจกรรมการจา้ งงานในครัวเรอื น กิจกรรม 0 0 0 การผลิตสินค้าและบริการท่ที ำ� ข้ึนเองเพอื่ ใช้ ในครัวเรือนซึ่งไมส่ ามารถจ�ำแนกได้ กจิ กรรมขององค์การระหวา่ งประเทศและ 0 0 0 00 ภาคสี มาชกิ 233 229,590,000 รวม 71 162 0 ทม่ี า : ส�ำนกั งานพาณิชยจ์ ังหวัดแพร,่ ข้อมลู ณ วนั ท่ี 5 พฤศจกิ ายน 2564 การปศุสตั ว์ ปี 2564 จังหวัดแพร่ มีครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ จ�ำนวน 31,455 ครัวเรือน พื้นท่ีในการเล้ียงสัตว์ จำ� นวน 3,137 ไร่ มปี ศุสตั วท์ ส่ี �ำคัญคอื โคเนอ้ื กระบอื ไกพ่ ้ืนเมอื ง สกุ ร และโคนม ปัจจุบันจงั หวดั มีนโยบายสง่ เสรมิ การเลี้ยงโคเน้อื คุณภาพดี การเลยี้ งไกพ่ ้นื เมอื ง การเลี้ยงกระบือ และส่งเสริมการเล้ยี งสกุ ร ตารางแสดงขอ้ มลู การเลย้ี งสตั ว์ในจังหวัดแพร่ ปี 2564 อำ� เภอ เกษตรกร โคเนื้อ โคนม กระบือ สกุ ร ไกพ่ ื้นมอื ง ไกไ่ ข่ แพะ (ครัวเรอื น) (ตัว) (ตวั ) (ตัว) (ตัว) (ตวั ) (ตวั ) (ตัว) อ.เมอื งแพร่ อ.สูงเมน่ 8,026 8,326 398 640 4,572 336,204 111,083 447 อ.เดน่ ชยั 2,148 2,188 - 796 2,722 85,655 739 17 1,760 1,154 - 1,049 3,020 75,228 26,852 43
38 บรรยายสรปุ จังหวัดแพร่ ปี 2565 อำ� เภอ เกษตรกร โคเนอ้ื โคนม กระบือ สกุ ร ไก่พื้นมือง ไก่ไข่ แพะ (ครวั เรือน) (ตวั ) (ตัว) (ตัว) (ตวั ) (ตัว) (ตัว) (ตัว) อ.สอง 5,206 4,469 - 1,282 43,162 198,590 2,156 105 13,174 112,917 12,255 180 อ.ลอง 3,986 5,020 - 1,028 4,008 98,191 1,982 99 8,138 206,375 26,962 195 อ.หนองม่วงไข่ 1,994 1,991 - 456 14,009 297,794 16,190 23 92,805 1,410,954 198,219 1,109 อ.รอ้ งกวาง 3,413 5,440 - 1,694 อ.วังชิน้ 4,922 6,106 - 2,717 รวม 31,455 34,694 398 9,662 ทม่ี า : สำ� นกั งานปศุสัตว์จังหวัดแพร,่ ขอ้ มูล ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2564 การประมง ในปี 2564 จงั หวัดแพร่ มีผู้ข้นึ ทะเบียนเกษตรกรผเู้ พาะเลีย้ งสัตวน์ ำ้� จำ� นวน 7,003 ราย คิดเปน็ พืน้ ท่เี ล้ยี ง รวม 6,940.089 ไร่ มีฟารม์ ที่ใชเ้ พาะเลย้ี ง จ�ำนวน 7,005 ฟารม์ ซงึ่ เป็นการเล้ียงแบบยังชีพ จำ� นวน 7,065 ราย หรอื คิดเป็นรอ้ ยละ 98.37 ของจำ� นวนเกษตรกรผู้เพาะเลีย้ งสัตวน์ ำ�้ ทงั้ หมด ชนิดสัตว์น้�ำท่ีมีการเลี้ยงแบบยังชีพมากที่สุด ได้แก่ ปลานิล และปลาดุก เป็นการเล้ียงแบบเชิงพาณิชย์ จำ� นวน 117 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.63 ของจ�ำนวนเกษตรกรผเู้ พาะเลย้ี งสตั วน์ ้ำ� ทง้ั หมด ชนิดสัตว์น�ำ้ ท่ีมีการเล้ียงแบบ เชิงพาณิชย์มากที่สุด ได้แก่ ปลากดหลวงและปลานิล ชนิดของสัตว์น�้ำท่ีจับจากแหล่งน�้ำธรรมชาติมากท่ีสุด ได้แก ่ ปลาตะเพียน ปลานลิ ปลายส่ี กเทศ ปลานวลจันทร์ และปลาสร้อยขาว ตารางแสดงขอ้ มลู สถิติการเพาะเลีย้ งสัตวน์ ้ำ� และการจบั สตั วน์ ำ้� จากแหลง่ น้ำ� ธรรมชาตทิ ่สี ำ� คัญ ในปี 2562 - 2564 ขอ้ มูลสถิตทิ ่ีส�ำคัญ ปที ี่เก็บข้อมลู อตั ราการเปล่ยี นแปลง (ร้อยละ) 1. พน้ื ที่เพาะเลย้ี ง (ไร)่ ปี 2564 ปี 2563 ปี 2562 2. ผลผลิต (ตนั ) ลดลง ร้อยละ 14.94 3. ผลผลิตต่อไร่ (ตัน) ข้อมลู การเพาะเล้ยี งสัตว์น้ำ� 5,545.33 ลดลง ร้อยละ 6.24 1,634.18 เพมิ่ ขนึ้ รอ้ ยละ 10.26 3,742.33 4,401 0.295 1127.92 1,203 0.301 0.273 4. ต้นทนุ การผลติ (บาท/กก.) 32.78 35.53 31.03 ลดลง ร้อยละ 7.34 5. ราคาจ�ำหน่าย (บาท/กก.) 62.40 69.54 60.65 ลดลง รอ้ ยละ 10.25 ขอ้ มลู การจบั สตั วน์ ำ้� จากแหล่งน�้ำธรรมชาติ 1. จ�ำนวนครวั เรือนประมง (ราย) 11,556 11,474 11,460 เพ่ิมขนึ้ ร้อยละ 0.71
บรรยายสรปุ จงั หวัดแพร่ ปี 2565 39 ขอ้ มูลสถิตทิ สี่ ำ� คญั ปี 2564 ปที ่ีเกบ็ ข้อมูล ปี 2562 อตั ราการเปลีย่ นแปลง ปี 2563 1,407.37 (ร้อยละ) 2. ผลผลิตทจ่ี บั ได้ (ตนั ) 2,448.61 2,711.1 9.12 ลดลง รอ้ ยละ 9.68 65.24 เพิม่ ขนึ้ รอ้ ยละ 14.80 3. ต้นทุนการผลิต (บาท/กก.) 9.46 8.24 เพิ่มขนึ้ รอ้ ยละ 5.11 4. ราคาจำ� หนา่ ย (บาท/กก.) 68.96 65.61 ทมี่ า : สำ� นักงานประมงจังหวัดแพร,่ ขอ้ มูล ณ วันท่ี 27 ตุลาคม 2564 การอุตสาหกรรม ปี 2564 จังหวัดแพร่ มีสถานประกอบการอุตสาหกรรม จ�ำนวน 316 แห่ง การกระจายตัวของโรงงาน อุตสาหกรรมในจังหวัดแพร่ มีลักษณะการกระจายตัวของโรงงานอุตสาหกรรม โรงงานส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเขตอ�ำเภอ สูงเม่น อ�ำเภอเมืองแพร่ และอ�ำเภอเด่นชัย เนื่องจากมีความสะดวกทางด้านการคมนาคม ขนส่ง สาธารณูปโภค สว่ นอำ� เภออน่ื ๆ มีการกระจายตัวค่อนข้างน้อย ตารางแสดงข้อมลู การกระจายตัวของโรงงานอุตสาหกรรม ปี 2562 อ�ำเภอ จำ� นวนโรงงาน เงนิ ทนุ จ�ำนวนคนงาน (คน) (แหง่ ) (ล้านบาท) ชาย หญงิ รวม อ�ำเภอเมืองแพร่ 79 1,123.8 835 635 1,470 อ�ำเภอสูงเมน่ 90 597.3 1,077 457 1,534 อำ� เภอเดน่ ชยั 42 819.5 929 441 1,370 อำ� เภอสอง 24 711 120 40 160 อำ� เภอลอง 23 237.5 208 93 301 อ�ำเภอหนองมว่ งไข่ 7 43.4 46 30 76 อำ� เภอร้องกวาง 38 1,974.1 774 551 1,325 อ�ำเภอวังชิ้น 12 708.2 178 133 311 รวม 316 6,216.18 4,167 2,380 6,547
40 บรรยายสรุปจังหวัดแพร่ ปี 2565 ตารางแสดงข้อมูลจ�ำนวนสถานประกอบการอตุ สาหกรรม จ�ำแนกตามประเภทอตุ สาหกรรมปี 2564 (กล่มุ อตุ สาหกรรม) ประเภทอตุ สาหกรรม จ�ำนวน เงินทุน จ�ำนวนคนงาน (คน) จำ� นวน โรงงาน (ล้านบาท) แรงม้า (แห่ง) ชาย หญิง รวม 936.86 14,909 อตุ สาหกรรมการเกษตร 42 262.26 379 206 585 22,845 285 110 395 อตุ สาหกรรมอาหาร 23 - --- - 4.70 14 19 33 239 อุตสาหกรรมเครอ่ื งดม่ื - 18.50 62 228 290 703 5.27 20 80 100 19 อุตสาหกรรมสงิ่ ทอ 2 808.57 1,417 784 2,201 1,6455 687.20 998 529 1,527 8,633 อุตสาหกรรมเคร่อื งแตง่ กาย 2 12.80 31 23 54 1,841 อตุ สาหกรรมเครอ่ื งหนงั 1 - --- - 10.50 10 - 10 124 อตุ สาหกรรมไมแ้ ละผลติ ภัณฑจ์ ากไม้ 70 116.90 72 9 81 1,617 --- - อตุ สาหกรรมเฟอรน์ เิ จอรแ์ ละเครอ่ื งเรอื น 69 - 30 17 47 312 7.57 256 41 297 4916 อุตสาหกรรมกระดาษและผลติ ภัณฑ์ 2 266.39 9-9 56.8 จากกระดาษ 2.83 79 42 121 1,043 63.37 37 - 37 376 อตุ สาหกรรมสิง่ พมิ พ์ - 10.97 --- - 49 5 54 522 อุตสาหกรรมเคมี 1 - 419 287 706 157,611 82.00 4,167 2,380 6,547 232,221.8 อตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมีและผลิตภัณฑ์ 3 2,919.48 6,216.18 อตุ สาหกรรมยาง - อุตสาหกรรมพลาสติก 4 อุตสาหกรรมอโลหะ 31 อตุ สาหกรรมโลหะ 1 อตุ สาหกรรมผลติ ภณั ฑโ์ ลหะ 7 อตุ สาหกรรมเครือ่ งจกั รกล 2 อตุ สาหกรรมไฟฟา้ - อุตสาหกรรมขนส่ง 6 อุตสาหกรรมอ่นื ๆ 50 รวม 316 สาขาอตุ สาหกรรมที่มีการลงทุนมากทสี่ ุด 5 อนั ดบั แรก ได้แก่ อตุ สาหกรรมการเกษตร รองลงมาคอื อตุ สาหกรรมไมแ้ ละผลติ ภณั ฑจ์ ากไม้ อตุ สาหกรรมเฟอรน์ เิ จอรแ์ ละเครอื่ งเรอื น อตุ สาหกรรมอโลหะ และอตุ สาหกรรม อาหาร ตามล�ำดับ
บรรยายสรุปจังหวัดแพร่ ปี 2565 41 สาขาอตุ สาหกรรมทสี่ ำ� คญั ในจงั หวัดแพร่ ไดแ้ ก่ อตุ สาหกรรมไมแ้ ละผลติ ภณั ฑจ์ ากไม้ รองลงมาคอื อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอรแ์ ละเครอ่ื งเรอื น และอุตสาหกรรมการเกษตร สาขาอตุ สาหกรรมในครวั เรอื นที่สำ� คญั ในจังหวัดแพร่ ได้แก่ อตุ สาหกรรมไม้และผลิตภัณฑจ์ ากไม้ ทรัพยากรแร่ธาตุ จงั หวดั แพร่ มที รพั ยากรแรธ่ าตทุ สี่ ำ� คญั คอื หนิ อตุ สาหกรรม แรพ่ ลวง แรแ่ บไรต์ และ แรฟ่ ลอู อไรต์ มเี หมอื งแร่ ท่ีได้รับประทานบตั รคือ หนิ อุตสาหกรรม แร่พลวง แร่แบไรต์ แร่ฟลอู อไรต์ และ แรว่ ุลแฟรม ที่มา : ส�ำนักงานอตุ สาหกรรมจังหวดั แพร่, ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 27 ตุลาคม 2564 แรงงาน (ข้อมูลจากรายงานผลการส�ำรวจภาวะการทำ� งานของประชากร ไตรมาส 2/2564 (เดอื น เม.ย. - มิ.ย. 64) จดั เกบ็ ข้อมลู ประชากรท่มี อี ายุ 15 ปขี น้ึ ไป) 1) ประชากรและกำ� ลังแรงงาน จงั หวดั แพร่ มปี ระชากรผมู้ ีอายุ 15 ปีข้ึนไป จำ� นวน 362,819 คน แยกเป็น ผอู้ ยใู่ นก�ำลังแรงงาน จ�ำนวน 236,581 คน และผู้ไม่อยู่ในก�ำลงั แรงงาน จ�ำนวน 126,238 คน ผู้อย่ใู นกำ� ลงั แรงงาน จำ� นวน 236,581 คน แยกเปน็ กำ� ลงั แรงงานปัจจุบนั จ�ำนวน 225,342 คน และก�ำลงั แรงงานทร่ี อฤดูกาล จ�ำนวน 11,239 คน ผอู้ ยใู่ นก�ำลังแรงงานปัจจบุ นั จ�ำนวน 225,342 คน แยกเป็น ผมู้ งี านท�ำ จ�ำนวน 222,336 คน และผูไ้ ม่มี งานท�ำ จำ� นวน 3,006 คน ผไู้ มอ่ ยใู่ นกำ� ลงั แรงงาน จำ� นวน 126,238 คน แยกเปน็ ทำ� งานบา้ น จำ� นวน 36,884 คน เรยี นหนงั สอื จำ� นวน 25,847 คน และอืน่ ๆ จ�ำนวน 63,507 คน 2) การมีงานทำ� การมงี านทำ� ของประชากรในจงั หวดั แพรพ่ บวา่ มจี ำ� นวน 222,336 คน แยกเปน็ ชาย จำ� นวน 119,563 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 53.8 ของจ�ำนวนผมู้ งี านทำ� ทง้ั หมด และหญิง จำ� นวน 102,774 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 46.2 ของจำ� นวน ผูม้ งี านทำ� ทง้ั หมด อาชพี ทีผ่ ้มู งี านท�ำประกอบอาชพี มากท่ีสดุ คดิ เปน็ ร้อยละของจ�ำนวนผมู้ ีงานทำ� ทง้ั หมด (5 อันดับแรก) 1. ผปู้ ฏิบัตงิ านทมี่ ฝี ีมอื ทางดา้ นการเกษตรและการประมง จำ� นวน 81,045 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 36.4 2. พนักงานบรกิ ารและพนักงานในรา้ นคา้ และตลาด จ�ำนวน 41,252 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 18.6 3. ผู้ปฏิบัตงิ านด้านความสามารถทางฝมี อื และธุรกจิ การค้าทีเ่ กี่ยวขอ้ ง จำ� นวน 38,726 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 17.4 4. อาชีพข้ันพ้ืนฐานต่างๆ ในดา้ นการขายและการใหบ้ รกิ าร จำ� นวน 18,862 คน คิดเปน็ ร้อยละ 8.5 5. ผปู้ ฏบิ ตั กิ ารโรงงานและเครอื่ งจกั ร และผปู้ ฏบิ ตั งิ านดา้ นการประกอบ จำ� นวน 16,271 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 7.3
42 บรรยายสรุปจังหวัดแพร่ ปี 2565 ระดับการศึกษาของผ้มู งี านท�ำ - ไมม่ กี ารศึกษา จ�ำนวน 3,664 คน คดิ เป็นร้อยละ 1.6 ของจ�ำนวนผู้มงี านท�ำทง้ั หมด - การศึกษาต�่ำกว่าระดับประถมศึกษา จ�ำนวน 56,760 คน คิดเป็นร้อยละ 25.5 ของจ�ำนวนผู้มีงานท�ำ ทั้งหมด - การศกึ ษาระดับประถมศกึ ษา จ�ำนวน 48,474 คน คดิ เป็นร้อยละ 21.8 ของจำ� นวนผู้มงี านทำ� ท้งั หมด - การศกึ ษาระดบั มธั ยมศึกษา จำ� นวน 67,929 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 30.6 ของจ�ำนวนผู้มงี านท�ำทัง้ หมด - การศึกษาระดับมหาวทิ ยาลัย จำ� นวน 45,508 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 20.5 ของจ�ำนวนผู้มงี านทำ� ทง้ั หมด - ไม่มผี ้มู งี านทำ� ท่ีไม่ทราบระดบั การศึกษา 3) การว่างงาน มผี วู้ า่ งงาน จำ� นวน 3,006 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.3 ของผทู้ อี่ ยกู่ ำ� ลงั แรงงานปจั จบุ นั เปน็ ชาย จำ� นวน 1,752 คน คดิ เป็นร้อยละ 58.3 หญงิ จ�ำนวน 1,253 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 41.7 ของจ�ำนวนผวู้ า่ งงานท้ังหมด 4) แรงงานนอกระบบ ข้อมลู ปี 2563 มจี ำ� นวนผู้มีงานทำ� นอกระบบ จำ� นวน 155,997 คน ท�ำงานในภาคการเกษตรและประมง จำ� นวน 86,023 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 55.1 นอกภาคการเกษตร จำ� นวน 69,974 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 44.9 - อตุ สาหกรรมทม่ี จี ำ� นวนแรงงานนอกระบบสงู สดุ คดิ เปน็ รอ้ ยละของแรงงานนอกระบบทง้ั หมด (5 อนั ดบั แรก) 1. กิจกรรมบริการอ่ืนๆ จำ� นวน 3,277 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2.1 2. บรหิ ารราชการและป้องกันประเทศ จ�ำนวน 2,230 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.4 3. ศิลปะ บนั เทิง และนนั ทนาการ จ�ำนวน 895 คน คิดเป็นร้อยละ 0.6 4. กิจกรรมการบรหิ าร จำ� นวน 555 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 0.4 5. กจิ กรรมทางวชิ าชีพ จำ� นวน 450 คน คิดเปน็ ร้อยละ 0.3 - แรงงานนอกระบบส่วนใหญม่ ีการศกึ ษา คดิ เปน็ ร้อยละของแรงงานนอกระบบทง้ั หมด (3 อนั ดบั แรก) 1. ต่ำ� กว่าประถมศึกษา จ�ำนวน 65,441 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 37.0 2. ประถมศกึ ษา จ�ำนวน 34,507 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 22.1 3. มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จำ� นวน 25,006 คน คดิ เป็นร้อยละ 16.0 - แรงงานนอกระบบช่วงอายุ คิดเปน็ รอ้ ยละของแรงงานนอกระบบทง้ั หมด (3 อันดับแรก) 1. ชว่ งอายุ 60 ปขี ึน้ ไป จำ� นวน 41,831 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 26.8 2. ช่วงอายุ 50 - 54 ป ี จำ� นวน 23,148 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 14.8 3. ชว่ งอายุ 55 - 59 ป ี จ�ำนวน 21,673 คน คิดเป็นร้อยละ 13.9 ทม่ี า : สำ� นักงานสถิติจังหวดั แพร่, ข้อมูล ณ วันที่ 26 ตุลาคม 2564
บรรยายสรุปจังหวัดแพร่ ปี 2565 43 5) แรงงานต่างดา้ ว แรงงานต่างดา้ วทไี่ ดร้ ับอนุญาตทำ� งานในจังหวดั แพร่ จำ� นวน 1,354 คน เปน็ ชาย จ�ำนวน 638 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 47.12 เป็นหญงิ จำ� นวน 716 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 52.88 จ�ำแนกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. คนต่างดา้ วชั่วคราว จ�ำนวน 74 คน 2. ชนกลุม่ น้อยในประเทศไทย จ�ำนวน 56 คน 3. คนตา่ งดา้ ว 3 สญั ชาติ (กมั พูชา ลาว และเมียนมา) จ�ำนวน 1,224 คน - สญั ชาตกิ มั พชู า จ�ำนวน 48 คน - สญั ชาติลาว จำ� นวน 188 คน - สัญชาตเิ มยี นมา จำ� นวน 988 คน 6) แรงงานไทยในต่างประเทศ (ข้อมูลระหวา่ งวันท่ี 1 มกราคม - 25 กันยายน 2564) ในปี 2564 มแี รงงานในจงั หวดั แพรเ่ ดนิ ทางไปทำ� งานตา่ งประเทศ จำ� นวน 140 คน เปน็ ชาย จำ� นวน 113 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 80.71 หญงิ จำ� นวน27 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 19.29 โดยประเทศทมี่ แี รงงานไปทำ� งานมากทสี่ ดุ คอื ลาว จำ� นวน 37 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 26.42 ประเทศทแี่ รงงานในจังหวัดแพร่เดนิ ทางไปทำ� งาน เรียงลำ� ดับจากมากไปหา น้อย มีดังน้ี ตารางแสดงข้อมูลแรงงานจังหวัดแพรเ่ ดนิ ทางไปทำ� งานตา่ งประเทศ ปี 2564 ท่ี ประเทศ จำ� นวน คิดเปน็ ท่ี ประเทศ จ�ำนวน คิดเปน็ (คน) ร้อยละ (คน) ร้อยละ 2 1.42 1 ลาว 37 26.42 13 สหรัฐอาหรับเอมเิ รตส์ 2 1.42 1 0.71 2 อสิ ราเอล 29 20.71 14 ฮ่องกง 1 0.71 1 0.71 3 ไต้หวัน 25 17.85 15 กัมพูชา 1 0.71 1 0.71 4 สาธารณรฐั เกาหลี 13 9.28 16 แคนาดา 1 0.71 1 0.71 5 เดนมารก์ 6 4.28 17 มอลต้า 1 0.71 1 0.71 6 สหรัฐอเมรกิ า 3 2.14 18 มาเลเซยี 1 0.71 7 คาซัคสถาน 3 2.14 19 เยอรมนี 8 รัสเซีย 2 1.42 20 เวยี ดนาม 9 ญีป่ ุ่น 2 1.42 21 สเปน 10 โปรตุเกส 2 1.42 22 สวเี ดน 11 สงิ คโปร์ 2 1.42 23 องั กฤษ 12 แอฟรกิ าใต้ 2 1.42 24 อนิ เดยี ทม่ี า : สำ� นกั งานจัดหางานจังหวัดแพร่, ข้อมลู ณ วนั ที่ 25 ตุลาคม 2564
44 บรรยายสรปุ จงั หวดั แพร่ ปี 2565 การประกนั สังคม ปี 2564 จงั หวดั แพร่ มสี ถานประกอบการทขี่ นึ้ ทะเบยี นกองทนุ ประกนั สงั คม จำ� นวน 1,763 แหง่ มผี ปู้ ระกนั ตน จำ� นวน 68,489 คน แยกเป็น - ผปู้ ระกนั ตนตามมาตรา 33 จำ� นวน 18,148 คน รายรบั กองทนุ ประกนั สงั คม ม.33, 39 จำ� นวน 2,808.769.93 บาท รายจ่าย ม.33, 39 จำ� นวน 88,861 บาท - ผ้ปู ระกนั ตนตามมาตรา 39 จำ� นวน 7,645 คน - ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 จ�ำนวน 42,696 คน รายรับกองทุนประกันสังคม จ�ำนวน 15,363.091 บาท รายจ่าย 9,409,029.10 บาท มีสถานประกอบการท่ีมีนายจ้างขึ้นทะเบียนกองทุนเงินทดแทน จ�ำนวน 1,804 แห่ง รายรับกองทุนเงิน ทดแทน จ�ำนวน 6,228499.26 บาท รายจา่ ย 4,238,170.95 บาท มผี ู้ขึน้ ทะเบยี นประกนั สังคมกรณีว่างงาน จำ� นวน 1,334 คน มผี ใู้ ชบ้ ริการในสถานพยาบาลของรัฐ จ�ำนวน 21,313 ราย ด้านกองทุนเงินทดแทน มีผู้มาใช้บริการจากการประสบอันตรายจากการท�ำงาน จ�ำนวน 101 คน ซ่ึงม ี ผปู้ ระกนั ตนทใี่ ช้บริการสูงสุดวดั จากสาเหตุท่ีประสบอนั ตราย แยกเปน็ กรณดี ังนี้ (เรียงลำ� ดับจากมากไปหาน้อย) 1) วตั ถุหรือสง่ิ ของตัด/บาด/ทมิ่ แทง จ�ำนวน 36 คน คิดเปน็ ร้อยละ 36.64 2) วัตถหุ รือสิง่ ของกระแทก/หลน่ ทบั จ�ำนวน 13 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 12.87 3) วตั ถหุ รือส่ิงของกระแทก/ชน จำ� นวน 13 คน คิดเปน็ ร้อยละ 12.87 4) วตั ถุหรือสงิ่ ของหรอื สารเคมกี ระเด็นเข้าตา จำ� นวน 9 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 8.91 5) ตกจากทสี่ ูง จำ� นวน 8 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 7.92 มสี ถานพยาบาลทเี่ ขา้ รว่ มโครงการกบั สำ� นกั งานประกนั สงั คมจงั หวดั แพร่ จำ� นวน 1 แหง่ คอื โรงพยาบาลแพร่ ที่มา : ส�ำนักงานประกนั สงั คมจงั หวดั แพร่, ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 26 ตุลาคม 2564 การท่องเท่ยี ว สถิตนิ กั ท่องเท่ียวในจงั หวัดแพร่ ปี 2564 มีจำ� นวน 226,131 คน แยกเป็น ชาวไทย จ�ำนวน 225,683 คน คิดเป็นร้อยละ 99.80 ชาวต่างชาติ จ�ำนวน 448 คน คิดเป็นร้อยละ 0.20 โดยมีผู้มาท่องเท่ียวลดลงจากปี 2563 จำ� นวน 82,161 คน คิดเปน็ ร้อยละ -26.65 ปี 2564 มรี ายได้จากการท่องเที่ยว 435.36 ล้านบาทต่อปี แยกเป็น รายได้จากคนไทย 434.57 ล้านบาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 99.82 รายได้จากชาวตา่ งชาติ 0.79 ลา้ นบาท คดิ เป็นร้อยละ 0.18 โดยมรี ายได้ลดลงจากปี 2563 จ�ำนวน -149.64 ลา้ นบาท คิดเปน็ รอ้ ยละ -25.56 นกั ท่องเทย่ี วชาวต่างชาติทม่ี าเท่ยี วจงั หวัดแพรม่ ากท่สี ดุ คือ ฝรง่ั เศส รองลงมาคือ สหรฐั อเมรกิ า และจนี สถานท่ีที่นักท่องเที่ยวนิยมไปมากท่ีสุด คือ วัดพระธาตุช่อแฮพระอารามหลวง รองลงมาคือ วัดพระธาตุ ดอยเลง็ และคุม้ เจา้ หลวง
บรรยายสรปุ จงั หวดั แพร่ ปี 2565 45 วัดพระธาตุดอยเล็ง อ.เมอื งแพร่ ตารางแสดงขอ้ มูลจำ� นวนนกั ทอ่ งเที่ยวและรายได้จากการทอ่ งเท่ยี วในจังหวัดแพร่ ปี 2563 - 2564 ปี ผู้เยยี่ มเยอื น รายได้ จำ� นวน (คน) เพมิ่ ข้ึน/ลดลง จำ� นวน (ล้านบาท) เพม่ิ ข้ึน/ลดลง 2563 308,292 - 585 - 2564 226,131 -82,161 คน 435.36 -149.64 (ร้อยละ 29.65) (รอ้ ยละ 25.58) รวม 534,423 - 1,020.36 - ท่ีมา : สำ� นักงานการท่องเทีย่ วและกีฬาจงั หวัดแพร่, ข้อมลู ณ วันท่ี 27 ตลุ าคม 2564 การถอื ครองท่ีดิน จงั หวดั แพรม่ กี ารออกเอกสารสทิ ธท์ิ ดี่ นิ (โฉนด/น.ส. 3 ก./น.ส. 3/ใบจอง/ส.ค.1/นสล.) ตงั้ แตเ่ รมิ่ ออกเอกสาร สทิ ธคิ์ รงั้ แรกจนถงึ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2564 มจี ำ� นวน 375,999 แปลง เนอื้ ทร่ี วม 660,007 ไร่ 2 งาน 73.83 ตารางวา ดังตารางต่อไปน้ี
ประเภทเอกสารสิทธิ์ อำ� เภอ โฉนด น.ส. 3 ก. น.ส. 3 ใบจอง นส อ.เมอื งแพร่ จำ� นวน ไร่ งาน ตร.วา จ�ำนวน ไร่ งาน ตร.วา จำ� นวน ไร่ งาน ตร.วา จ�ำนวน ไร่ งาน ตร.วา จ�ำนวน ไร่ อ.สงู เมน่ (แปลง) (แปลง) (แปลง) (แปลง) (แปลง) อ.เด่นชยั 102,422 121,863 1 3.60 1,915 19.30 123 434 8,277 อ.สอง 66,414 70,801 0 42.10 3,747 4,361 3 67.60 1,939 6,824 2 40.30 446 1 76.00 263 2,922 อ.ลอง 15,322 21,708 2 45.70 1,929 6,220 0 18.60 48.60 - - -- 105 4,741 อ.หนองม่วงไข่ 33,119 62,331 0 44.70 5,182 3,171 1 78.70 3,647 8,458 1 22.40 - - -- 200 4,209 อ.รอ้ งกวาง 35,191 59,644 3 12.40 3,909 14,235 0 67.30 85.30 207 1,895 3 44.00 371 6,985 อ.วังชน้ิ 15,386 28,640 2 92.30 570 9,282 3 3.40 1,563 5,917 3 97.00 248 2,094 1 74.00 948 33,107 66,989 3 87.30 3,517 1,752 3 68.0 50.40 77 488 2 43.00 72 5,338 รวม 30,654 61,438 2 36.10 6,239 13,547 3 26.80 1,178 6,067 0 13.40 1,374 6,514 2 52.40 359 2,194 331,615 493,418 0 64.20 27,008 19,062 3 72.60 76.70 520 2,992 2 60.00 212 35,618 71,635 0 0.03 1,721 4,619 1 2,549 14,432 1 73.40 2,016 นส 306 1,529 0 ไร่ 1,427 6,686 0 11 1,030 4,800 3 7 10 12,811 44,903 1 3 0 ปี 2564 มีการออกเอกสารสิทธิทด่ี ิน จำ� นวน 296 แปลง เนอื้ ที่รวมทงั้ สิ้น 809 ไร่ 0 งาน 96.5 ตารางวา ดงั ตารางต่อไปน้ี 0 268 โฉนด น.ส. 3 ก. น.ส. 3 ใบจอง 79 381 อำ� เภอ จ�ำนวน ไร่ งาน ตร.วา จำ� นวน ไร่ งาน ตร.วา จำ� นวน ไร่ งาน ตร.วา จำ� นวน ไร่ งาน ตร.วา จ�ำนวน (แปลง) (แปลง) (แปลง) (แปลง) (แปลง) อ.เมืองแพร่ อ.สูงเม่น 56 121 0 96.80 - - -- - - -- - - - - 18 อ.เดน่ ชยั 46 อ.สอง 19 80 3 9.40 - - -- - - -- - - - - 15 อ.ลอง 101 อ.หนองม่วงไข่ 14 42 1 43.30 - - -- - - -- - - - - 11 อ.รอ้ งกวาง 4 อ.วังช้ิน 5 130 2 49.50 - - -- - - -- - - -- 1 3 รวม 248 25 0 75.60 - - -- - - -- - - -- 0 7 3 30.10 - - -- - - -- - - -- 0 15 3 28.70 - - -- - - -- - - -- 1 4 0 77 - - -- - - -- - - -- 2 428 1 10.40 - - -- - - -- - - -- 48 ทมี่ า : สำ� นกั งานทีด่ นิ จังหวดั แพร,่ ขอ้ มูล ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2564
บรรยายสรปุ จงั หวัดแพร่ ปี 2565 47 หมบู่ า้ นยากจน ผลการสำ� รวจขอ้ มลู กชช.2 ค ปี 2564 ซง่ึ ไดท้ ำ� การสำ� รวจขอ้ มลู หมบู่ า้ นในจงั หวดั แพร่ จำ� นวน 633 หมบู่ า้ น ผลการสำ� รวจมีหมูบ่ า้ นก�ำลังพัฒนา จ�ำนวน 55 หม่บู ้าน และหมู่บา้ นพฒั นาแล้ว จำ� นวน 578 หมบู่ ้าน ไมม่ หี ม่บู า้ น ยากจน รายละเอียดตามตาราง สล. ตารางแสดงข้อมลู จำ� นวนหมบู่ ้านตามระดับการพัฒนา ปี 2564 จำ� แนกรายอำ� เภอ งาน ตร.วา จ�ำนวน เร่งรัดพัฒนา เรง่ รดั พัฒนา เรง่ รดั พฒั นา อนั ดบั 1 อันดับ 2 อนั ดบั 3 7 3 56.40 พื้นท่ี หมบู่ ้าน 2 2 41.60 ทัง้ หมด จำ� นวน ร้อยละ จ�ำนวน ร้อยละ จำ� นวน ร้อยละ 1 2 46.80 9 1 16.20 อำ� เภอเมอื งแพร่ 138 - - 1 0.72 137 99.28 5 2 25.90 อำ� เภอสูงเม่น 105 - - - - 105 100 2 17.80 8 1 83.9 อ�ำเภอเดน่ ชยั 41 - - - - 41 100 4 2 70.90 8 2 59.5 อำ� เภอสอง 80 - - 4 5 76 95 สล. อ�ำเภอลอง 90 - - 17 18.88 73 81.12 งาน ตร.วา อำ� เภอหนองมว่ งไข่ 27 - - 6 22.22 21 77.78 2 56.00 อ�ำเภอรอ้ งกวาง 77 - - 20 25.97 57 74.03 3 48.70 3 98.80 อำ� เภอวังชน้ิ 75 - - 7 9.33 68 90.67 1 67.90 00 รวม 633 - - 55 - 578 - 00 1 23.10 หมายเหตุ : หม่บู า้ นเรง่ รัดพฒั นา อันดบั 1 หมายถึง หมู่บา้ นล้าหลงั (ยากจน) 2 91.60 หมู่บา้ นเรง่ รัดพฒั นา อันดบั 2 หมายถงึ หมู่บา้ นกำ� ลังพัฒนา (ปานกลาง) 3 86.10 หมู่บา้ นเรง่ รดั พัฒนา อนั ดับ 3 หมายถึง หมบู่ า้ นพฒั นาแล้ว (กา้ วหน้า) (เกบ็ ขอ้ มูลในเขตชนบท (อบต. และ อบต. ทย่ี กฐานะเป็นเทศบาล)) ผลการส�ำรวจหมบู่ ้าน 633 หมู่บา้ น พบหมู่บา้ นที่ประสบปญั หาดา้ นต่างๆ แยกตามสาเหตขุ องปัญหา 3 อนั ดับแรก ดงั ต่อไปนี้ 1. การกีฬา จำ� นวน 379 หมบู่ ้าน คิดเป็นรอ้ ยละ 59.87 2. การได้รับการศกึ ษา จ�ำนวน 258 หมบู่ ้าน คดิ เป็นรอ้ ยละ 40.76 3. การเข้าถงึ แหลง่ ทุน จำ� นวน 226 หมู่บ้าน คดิ เป็นร้อยละ 35.70 ผลการสำ� รวจข้อมลู จปฐ. ปี 2564 ซง่ึ ท�ำการส�ำรวจครวั เรอื นในจังหวัดแพร่ จำ� นวน 11,738 ครวั เรอื น ปรากฏวา่ ครวั เรือนมรี ายได้ตำ�่ กว่าเกณฑ์ (ตำ�่ กวา่ 38,000 บาท/คน/ปี) จำ� นวน 480 ครัวเรอื น คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.41
48 บรรยายสรปุ จังหวดั แพร่ ปี 2565 ตารางแสดงข้อมูลจำ� นวนครัวเรือนทมี่ รี ายได้ต่ำ� กว่าเกณฑ์ 38,000 บาท พ.ศ. 2564 ภาพรวมของจงั หวดั อำ� เภอ จำ� นวนต�ำบล จ�ำนวนหม่บู ้าน จ�ำนวนครวั เรือน ไมผ่ ่านเกณฑ์ ทส่ี ำ� รวจ ทสี่ �ำรวจ ทส่ี �ำรวจ (ครัวเรือน) (ต�ำบล) (หมู่บ้าน) (ครัวเรอื น) อ�ำเภอเมอื งแพร่ 20 184 30,824 159 อ�ำเภอสงู เม่น 12 110 21,368 14 อ�ำเภอเด่นชัย 5 52 9,410 14 อ�ำเภอสอง 8 85 13,552 76 อ�ำเภอลอง 9 90 14,377 89 อ�ำเภอหนองม่วงไข่ 6 35 5,237 28 อำ� เภอร้องกวาง 11 93 10,939 42 อำ� เภอวังชนิ้ 7 77 11,678 58 รวม 78 726 117,385 480 ทีม่ า : สำ� นกั งานพัฒนาชมุ ชนจังหวัดแพร,่ ข้อมูล ณ วนั ที่ 27 ตุลาคม 2564 ด้านการเมือง การเลือกตงั้ ส.ส. และ ส.ว. การเลอื กตงั้ สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร การเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร เมอ่ื วนั ที่ 24 มนี าคม 2562 จงั หวดั แพร่ แบง่ เขตการเลอื กตง้ั เปน็ 2 เขต มหี นว่ ยเลอื กตง้ั จำ� นวน 749 หนว่ ย มผี มู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตงั้ จำ� นวน 372,901 คน แบง่ เปน็ เขตเลอื กตง้ั ที่ 1 จำ� นวน 195,924 คน เขตเลอื กตง้ั ที่ 2 จำ� นวน 176,977 คน โดยมผี ลู้ งสมคั รสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร จำ� นวน 53 คน จาก 27 พรรคการเมอื ง การมาใช้สิทธ์ิเลือกต้งั ตารางแสดงขอ้ มลู การเลอื กตัง้ ส.ส. แบบแบ่งเขตเลอื กต้งั มีผมู้ าใช้สิทธเิ์ ลือกต้งั แยกตามเขตเลอื กตง้ั ดังน้ี การใช้สทิ ธ์ลิ งคะแนนเลอื กตั้ง เขตเลอื กตั้ง ผมู้ าใช้สทิ ธิ์ บัตรเสยี บตั รไม่เลือกผู้สมคั รผูใ้ ด 1 จำ� นวน รอ้ ยละ จ�ำนวน รอ้ ยละ จำ� นวน ร้อยละ 2 รวม 157,590 80.43 8,003 5.08 5,964 3.78 137,039 77.43 9,139 6.67 10,094 7.37 294,629 79.01 17,142 5.82 16,058 5.45
บรรยายสรุปจังหวดั แพร่ ปี 2565 49 ผลการเลือกตัง้ ผลการเลือกต้งั ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง แยกตามเขตเลือกต้งั เขตเลอื กตง้ั ที่ 1 ผสู้ มคั รรบั เลอื กตงั้ ทไ่ี ดร้ บั คะแนนสงู สดุ เรยี งลำ� ดบั ตามคะแนนทไี่ ดร้ บั 3 ลำ� ดบั แรก มดี งั นี้ หมายเลข ชื่อผสู้ มคั ร พรรค ผลคะแนน 7 นายเอกการ ซ่อื ทรงธรรม อนาคตใหม่ 72,016 9 นางธนนิ จติ รา ศภุ ศริ ิ ประชาธิปัตย์ 38,035 1 ด.ต.บุหลัน ราษฎร์ค�ำพรรณ์ พลังประชารัฐ 15,399 เขตเลอื กตงั้ ท่ี 2 ผสู้ มคั รรบั เลอื กตงั้ ทไ่ี ดร้ บั คะแนนสงู สดุ เรยี งลำ� ดบั ตามคะแนนทไี่ ดร้ บั 3 ลำ� ดับแรก มดี งั น้ี หมายเลข ชื่อผู้สมัคร พรรค ผลคะแนน 7 นายกฤตดิ นยั สันแกว้ อนาคตใหม่ 55,695 1 นายวิตติ แสงสุพรรณ พลงั ประชารัฐ 28,223 9 นายคณาธิป มดุ เจริญ ประชาธปิ ตั ย์ 14,312 ท่ีมา : สำ� นกั งานคณะกรรมการการเลอื กตั้งประจำ� จงั หวัดแพร,่ ขอ้ มลู ณ วันที่ 1 พฤศจกิ ายน 2564 ด้านทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม แหลง่ น้�ำธรรมชาติ แม่น้�ำยม เป็นแหล่งน้�ำที่ส�ำคัญของจังหวัด มีต้นน้�ำก�ำเนิดจากดอยขุนยวม 2 ในทิวเขาผีปันน้�ำ เขตอ�ำเภอปง จงั หวดั พะเยา โดยไหลลงทางทศิ ตะวันตกเฉียงใต้ ผา่ นซอกเขาท่ีปกคลมุ ด้วยปา่ และมคี วามลาดเทมาก มที รี่ าบแคบๆ รมิ ลำ� นำ�้ เปน็ บางตอน เมอื่ เขา้ ทอ้ งทจ่ี งั หวดั แพรแ่ ละผา่ นลำ� นำ�้ งาวแลว้ ลงทางทศิ ใต้ เรม่ิ ออกทรี่ าบผนื ใหญ่ ของจงั หวัดแพร่ จากอ�ำเภอสองผ่านอำ� เภอหนองมว่ งไข่ อำ� เภอเมอื ง อำ� เภอสงู เมน่ ไปจนถงึ อ�ำเภอเด่นชัย จากนนั้ ไหลลงสู่ทิศตะวันตกเข้าซอกเขา ไหลผ่านอ�ำเภอลอง อ�ำเภอวังช้ิน ก่อนเข้าท้องท่ีสุโขทัยลงทางทิศใต้ถึงอ�ำเภอ ศรีสัชนาลัย และมีความลาดเทน้อยลงเม่ือผ่านท่ีต้ังจังหวัดสุโขทัยแล้วลงทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ท้องที่จังหวัด พษิ ณโุ ลกถงึ ทอ้ งทจ่ี งั หวดั พจิ ติ ร แลว้ ไหลลงทางทศิ ใตเ้ ปน็ ครง้ั สดุ ทา้ ย และมแี นวขนานคเู่ คยี งกบั แมน่ ำ�้ นา่ น จนไหลลง แมน่ ้ำ� สายนน้ั ท่ีบา้ นเกยชยั ในเขตอ�ำเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์ ยาวประมาณ 735 กม. โดยไหลผา่ นจังหวัดแพร่ ตามแนวยาวของจงั หวัด ระยะทาง 280 กม. ซ่ึงเป็นความยาว 1 ใน 3 ของความยาวทัง้ หมดของล�ำน้�ำ ลมุ่ น�ำ้ ยม เป็นลุม่ น้ำ� หลักในภาคเหนือของประเทศไทย เป็นลุม่ น�้ำสาขาท่ีส�ำคัญของล่มุ น้�ำเจา้ พระยา มพี ืน้ ท่ีรับนำ�้ ฝน 23,618 ตารางกิโลเมตร ครอบคลมุ พืน้ ท่ี 11 จงั หวัด ประกอบดว้ ย พะเยา นา่ น ลำ� ปาง แพร่ ตาก ก�ำแพงเพชร สุโขทยั อตุ รดิตถ์ พิษณุโลก พจิ ติ ร และนครสวรรค์ ประกอบดว้ ย 11 ลมุ่ น�ำ้ ยอ่ ย คือ แม่นำ�้ ยมตอนบน แม่นำ�้ ควร น้�ำปี้ แม่น�้ำงาว แม่น้�ำยมตอนกลาง น�ำ้ แม่ค�ำมี น้ำ� แมต่ า้ ห้วยแม่สิน น�้ำแม่มอก น้ำ� แม่รำ� พัน และแมน่ �้ำยม
50 บรรยายสรปุ จังหวดั แพร่ ปี 2565 ตอนล่าง ลุ่มน้ำ� ยมมปี ริมาณฝนเฉล่ยี ปลี ะ 1,143 มม. มปี ริมาณน้�ำทา่ เฉลี่ยปลี ะ 4,143 ลา้ น ลบม. เปน็ ปรมิ าณน�้ำทา่ ในฤดแู ลง้ 696 ลา้ น ลบม. คดิ เปน็ รอ้ ยละ 17 ของปรมิ าณนำ�้ ทา่ ทงั้ หมด จากการรายงานการศกึ ษาของกรมชลประทาน เมอื่ ปี พ.ศ. 2541 พบวา่ ความจนุ ำ�้ ของลำ� นำ�้ ยมตงั้ แตต่ น้ นำ�้ ถงึ อำ� เภอเมอื งสโุ ขทยั จะมคี า่ อยรู่ ะหวา่ ง 1,500 ถงึ 3,000 ม.3/วินาที ในส่วนของจังหวัดแพร่ ความจุของล�ำน�้ำที่สถานีห้วยสัก (Y20) อ.สอง 3,538 ลบม./วินาที ระดับตลิ่ง 12.506 ม. ท่สี ถานีน�้ำโค้ง (Y12) อ.เมือง มีความจุ 1,027 ลบม./วนิ าที ระดับตลิง่ 8.260 ม. และท่สี ถานวี งั ชน้ิ (Y37) มคี วามจุ 1,692 ลบม./วินาที ระดบั ตลิ่ง 12.990 ม. เน่ืองจากสภาพคอขวดของล�ำน้�ำท�ำให้การระบายนำ�้ ในฤดูฝน ท�ำได้ไม่ดีเท่าที่ควรและมักเป็นปัญหาเรื่องอุทกภัยบ่อยคร้ัง อีกท้ังมีลักษณะคดเคี้ยวไปมา ท�ำให้ในฤดูฝนเมื่อมีน้�ำ ไหลบา่ อยา่ งแรง มกั เกดิ อทุ กภยั ในพนื้ ทร่ี าบลมุ่ สองรมิ ฝง่ั แมน่ ำ�้ ยม อยา่ งไรกต็ าม แมน่ ำ้� ยมเปน็ แมน่ ำ�้ สายเดยี วในจำ� นวน แมน่ ำ�้ สายหลกั ของลุม่ แมน่ �้ำเจ้าพระยา (ปงิ วัง ยม น่าน) ทีไ่ มม่ เี ขอื่ นเกบ็ กักน�ำ้ ในชว่ งฤดแู ลง้ ประกอบกับการทล่ี �ำน�้ำ สาขามปี รมิ าณน�้ำนอ้ ย จึงมกั เกิดปญั หาการขาดแคลนน้ำ� ในพนื้ ที่ลมุ่ นำ้� เป็นประจำ� ทกุ ปี ปริมาณน�้ำท่าในพื้นท่ีลุ่มน้�ำยมจังหวัดแพร่ แม่น้�ำยมเฉพาะที่ไหลผ่านจังหวัดแพร่ ซึ่งมีความยาว 280 กม. มลี ำ� น�ำ้ สาขาทส่ี �ำคญั ไหลลงส่แู มน่ ้�ำยม จำ� นวน 16 สาย ครอบคลมุ พ้นื ท่ี 3,309.67 ตร.กม. มีปริมาณนำ้� ทา่ 778.75 ลา้ น ลบ.ม. (รอ้ ยละ 18.79 ของปรมิ าณนำ้� ทา่ ในพนื้ ทลี่ มุ่ นำ�้ ยมทง้ั หมด) นอกจากนนั้ แมน่ ำ้� ยมในเขตจงั หวดั แพร่ ยงั มลี ำ� นำ�้ ยอ่ ยๆ ซง่ึ เปน็ สาขาเลก็ ๆ ทไ่ี หลลงสแู่ มน่ ำ้� ยมโดยตรง กระจายอยใู่ นพนื้ ทต่ี า่ งๆ คดิ เปน็ พน้ื ที่ 3,228.93 ตร.กม. มปี รมิ าณนำ�้ ทา่ 759.75 ลา้ น ลบ.ม. (รอ้ ยละ 18.34 ของปรมิ าณนำ้� ทา่ ทงั้ หมดในลมุ่ นำ�้ ยม) รวมในจงั หวดั แพร่ 1,538.50 ลา้ น ลบ.ม. นอกจากนย้ี งั มปี รมิ าณนำ�้ ทา่ นอกเขตทไ่ี หลเขา้ จงั หวดั แพรท่ แ่ี กง่ เสอื เตน้ 797.05 ลา้ น ลบ.ม. และปรมิ าณ นำ้� ทา่ ทนี่ ำ�้ งาว 354.93 ลา้ น ลบ.ม. รวมปรมิ าณนำ้� ทา่ ทไ่ี หลผา่ นจงั หวดั แพร่ 2,690.48 ลา้ น ลบม. ลำ� นำ�้ สาขา จำ� นวน แก่งเสอื เต้น อ.สอง
Search