Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore merged (pdf.io)

merged (pdf.io)

Published by atthaporn chuengprom, 2022-03-21 10:09:10

Description: merged (pdf.io)

Search

Read the Text Version

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน หลักสตู รการทาไซจิ๋ว ปีงบประมาณ 2565 กศน.ตาบลพลับพลา ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอโชคชยั สานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวัดนครราชสีมา

คำนำ ก เอกสารสรุปผลโครงการเล่มน้ี จัดทาข้ึนเพื่อสรุปผลการดาเนินงานปัญหา อุปสรรค ขอ้ เสนอแนะ จากการจัดกิจกรรมในโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทาไซจิ๋ว ของ กศน.ตาบล พลับพลา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอโชคชัย เพ่ือเป็นข้อมูลสาหรับใช้ในการ พัฒนาการดาเนนิ งานในครงั้ ต่อไป คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารเล่มน้ี จะเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริม และพัฒนา งานการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง อื่น ๆ ต่อไป กศน.ตาบลพลับพลา ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอโชคชัย ธันวาคม 2564

ข สำรบญั หนำ้ คำนำ ก สำรบญั ข บทท่ี 1 บทนำ 1  หลักการและเหตุผล 1  วัตถุประสงค์ 1  เปา้ หมาย 1  ผู้รับผิดชอบโครงการ 2  เครือข่ายท่เี กย่ี วข้อง 2  ผลลพั ธ์ (Outcome) 2  ดัชนีชว้ี ัดผลของโครงการ 2  การตดิ ตามและประเมนิ ผล 2 บทที่ 2 เอกสำรกำรศึกษำและงำนวจิ ยั ท่เี กย่ี วข้อง  ประวัติความเปน็ มาและประโยชนข์ องไม้ไผ่ 5  ประเภทของไม้ไผ่ 6  วสั ดอุ ปุ กรณ์ 7  วธิ ีการทาไซจิ๋ว 8 บทท่ี 3 วธิ ีกำรดำเนนิ งำน 10 บทท่ี 4 ผลกำรวิเครำะหข์ อ้ มูล 13 บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รำยผล และขอ้ มูลเสนอแนะ 20 บรรณนกุ รม 23 ภำคผนวก  ภาพกจิ กรรม  รายชอื่ ผู้เขา้ ร่วมโครงการ  ตารางวิเคราะห์ขอ้ มลู โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรการทาไซจิ๋ว โดยใช้โปรแกรม spss  แบบประเมินโครงการ  โครงการโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทาไซจ๋ิว คณะผ้จู ดั ทำ

~1~ บทที่ 1 บทนา หลกั การและเหตุผล ตามท่ีกระทรวงศกึ ษาธิการได้มกี ารกาหนดนโยบาย “Quick Win” 7 วาระเรง่ ด่วน ได้แก่ ความ ปลอดภยั ของผ้เู รียน หลักสูตรฐานสมรรถนะ บกิ๊ ดาตา้ (Big Data) การขับเคลือ่ นศนู ย์ความเป็นเลศิ อาชีวศึกษา การพฒั นาทักษะทางอาชีพ การศึกษาตลอดชีวติ และการจัดการศึกษาสาหรบั ผทู้ ม่ี ีความต้องการเป็นพเิ ศษ สานักงาน กศน.จึงไดม้ ีการนานโยบายทเ่ี ก่ียวข้อง 2 วาระ สาคญั คือ การพัฒนาทักษะทางอาชพี และ การศกึ ษาตลอดชีวติ มาดาเนินการขบั เคล่ือน โดยการจัดทาโครงการจดั ทาหลักสตู รเพื่อการพฒั นาอาชพี Re - Skill และ Up - Skill จานวนหลักสูตร 5 กลุ่มอาชีพ คือ หลักสตู รกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณชิ ยกรรมและบริการ ความคดิ สรา้ งสรรค์และอาชีพเฉพาะทาง เพอ่ื พัฒนาประชาชนใหม้ คี วามรู้ ความ เขา้ ใจในการพัฒนาและต่อยอดประกอบอาชีพของตนเองรวมถงึ การส่งเสรมิ การรวมกลุ่มเพื่อผลติ และพัฒนา ผลิตภัณฑใ์ นชุมชน อนั จะส่งผลใหเ้ กดิ การสร้างงาน สร้างอาชพี สรา้ งรายไดใ้ ห้กับประชาชนหรอื กลมุ่ เปา้ หมาย ทอี่ ยู่ในชมุ ชน ต่อไป เพื่อสนองนโยบายของสานักงาน กศน. ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย อาเภอ โชคชัย จงั หวดั นครราชสมี า โดย กศน.ตาบลพลบั พลา ตระหนกั ถึงความสาคญั ดังกลา่ ว และได้ ดาเนนิ การสารวจกลุ่มเปา้ หมายในเขตพน้ื ที่ตาบลพลบั พลา และมคี วามประสงคฝ์ ึกทกั ษะในการพฒั นาอาชีพ การทาไซจว๋ิ จงึ ไดจ้ ัดโครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน หลกั สูตรอาชพี การทาไซจิ๋ว จานวน 10 ชัว่ โมง เพอ่ื ให้ ประชาชน ได้รับความรู้ ทักษะ ในการทาไซจวิ๋ และสามารถนาไปประกอบอาชีพ สรา้ งรายได้ ลดรายจ่าย สร้างงาน สรา้ งอาชีพให้กับตนเองและครอบครวั แก้ไขปญั หาและพัฒนาคุณภาพชวี ติ เสริมสรา้ งความเข้มแข็ง ใหก้ บั ตนเอง ชมุ ชน สงั คม วตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ใหป้ ระชาชนในตาบลพลบั พลา มีความรู้ ความสามารถไปประกอบอาชีพ สร้างรายได้ สร้างงาน มี รายได้ ลดรายจ่าย ให้ตนเองและครอบครวั เป้าหมาย เชงิ ปรมิ าณ -ประชาชนในตาบลพลับพลา อาเภอโชคชัย จังหวดั นครราชสมี า จานวน 6 คน เชิงคุณภาพ - ประชาชนที่เขา้ รว่ มโครงการ ฯ ร้อยละ 90 มีความรู้ ทกั ษะในการทาไซจว๋ิ สรา้ งรายได้ ลดรายจา่ ย ให้ตนเองและครอบครวั

~2~ ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ ครู กศน.ตาบล - นางสาวพรรณี ปรือทอง ครู กศน.ตาบล - นายบุญญาโชติ ป้องประดา ครู อาสาสมคั ร กศน. - นางจงรกั ษ์ เช่อื ปัญญา ผลลพั ธ์ (Outcome) ประชาชนในตาบลพลับพลา มคี วามรู้ และทักษะการทาไซจว๋ิ ในการประกอบอาชพี และมรี ายได้ ลดรายจา่ ย ดัชนชี ว้ี ัดผลสาเรจ็ ของโครงการ ตวั ชว้ี ัดผลผลติ (Output) ประชาชนในตาบลพลับพลา ที่เข้าร่วมโครงการฯ จานวน 6 คน มคี วามรู้ ทกั ษะในการ ทาไซจ๋วิ และสามารถประกอบอาชพี สร้างรายได้ ลดรายจา่ ย ใหต้ นเองและครอบครัว แกไ้ ขปัญหาและ พัฒนาคุณภาพชวี ิต เสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งใหก้ ับชมุ ชน สงั คม ตวั ชวี้ ดั ผลลพั ธ์ (Outcome) ประชาชนในตาบลพลบั พลา ทเ่ี ข้าร่วมโครงการฯ ร้อยละ 90 นาความรู้ ทกั ษะทท่ี ักษะใน การทาไซจว๋ิ และสามารถประกอบอาชีพ สรา้ งรายได้ ลดรายจ่าย ใหต้ นเองและครอบครัว แกไ้ ขปญั หาและ พฒั นาคุณภาพชวี ิต เสริมสรา้ งความเข้มแข็งใหก้ บั ชุมชน สงั คม การตดิ ตามและประเมินผลโครงการ 1- สังเกตการมีส่วนรว่ ม 2- แบบประเมินความพึงพอใจ

~3~ บทท่ี 2 เอกสารการศกึ ษาและงานวิจยั ที่เกี่ยวขอ้ ง ในการจัดทารายงานคร้งั น้ีได้ทาการศึกษาค้นควา้ เน้ือหาจากเอกสารการศึกษาและงานวิจัยท่ีเก่ยี วข้อง ดังต่อไปน้ี 1. การจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 2. การศกึ ษาตอ่ เนื่อง 3. ประวัตคิ วามเปน็ มาและประโยชนข์ องไมไ้ ผ่ 1. การจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ในพระราชบญั ญัตสิ ่งเสรมิ และสนบั สนนุ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั พ.ศ. 2551 มาตรา 4 ได้ให้คาจากดั ความของการศกึ ษานอกระบบไว้ว่า “การศึกษานอกระบบ” หมายความ ว่า กิจกรรมการศึกษาทีม่ ีกลุม่ เปา้ หมายผรู้ ับบริการและวตั ถปุ ระสงค์ของการเรยี นรทู้ ่ีชัดเจน มรี ูปแบบ วิธีการจดั และระยะเวลาเรยี น หรือฝึกอบรมทย่ี ืดหยุน่ และหลากหลาย ตามสภาพความตอ้ งการและศกั ยภาพ ในการเรยี นรู้ของกลุ่มเปา้ หมายน้ัน และวิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรทู้ มี่ ีมาตรฐาน เพือ่ รบั คุณวุฒิทาง การศกึ ษา หรอื เพ่อื จัดระดบั ผลการเรยี นรู้ นอกจากนี้ ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 15 ยังไดใ้ หค้ วามหมายของคาวา่ การศึกษานอกระบบ ไว้ดังนี้ “การศึกษานอกระบบ” หมายถึง การศึกษาซ่ึงจัดขึน้ นอกระบบปกติ ทีจ่ ัดให้ประชาชนทุก เพศทุกวยั ไม่มีการจากัดพน้ื ฐานการศึกษา อาชพี ประสบการณห์ รือความสนใจ โดยมีจุดมุ่งหมายทีจ่ ะให้ ผู้เรยี นไดร้ บั ความรู้ในด้านพื้นฐานแก่การดารงชีวติ ความรูท้ างดา้ นทักษะ การประกอบอาชีพและความร้ดู า้ น อืน่ ๆ เพ่ือเป็นพ้ืนฐานในการดารงชวี ติ การจดั การศึกษามีความยดื หยนุ่ ในการกาหนดจุดมุง่ หมาย รปู แบบ วธิ กี ารจัดการศึกษาระยะเวลาของการศึกษา การวัดผลและประเมินผล ซึง่ เงื่อนไข การสาเร็จการศึกษา โดยเนื้อหาและหลกั สตู รจะต้องมคี วามสอดคลอ้ งและเหมาะสมกบั สภาพปัญหาและความตอ้ งการของผเู้ รียน แต่ละคน อาจกลา่ วไดว้ ่า การศกึ ษานอกระบบ หมายถงึ กระบวนการทางการศึกษาทจ่ี ัดขน้ึ เพ่ือเพ่ิมหรือ พัฒนาศักยภาพให้แก่ประชาชน ทั้งในดา้ นความรู้ ความชานาญ หรอื งานอดิเรกตา่ ง ๆ ผูท้ ่สี าเรจ็ การศกึ ษา อาจไดร้ บั หรือไม่ไดร้ ับเกียรตบิ ัตรกไ็ ด้ ซึ่งเกียรตบิ ัตรน้ีไม่เก่ียวข้องกบั การปรับเทียบเงินเดอื น หรอื ศึกษาต่อ ยกเวน้ การศึกษาสายสามัญของสานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ทีม่ ีการ มอบวฒุ บิ ัตรทส่ี ามารถปรับเทียบเงินเดอื นหรือศึกษาต่อระดับสงู ข้ึนได้ การศึกษานอกระบบโรงเรียน เป็น แนวทางหนงึ่ ในการจัดการศึกษา ซ่ึงเปดิ โอกาสให้กบั ผูท้ ่ีไม่ได้ เข้ารบั การศึกษาในระบบโรงเรียนตามปกติ ได้ มโี อกาสศึกษาหาความรู้ พฒั นาตนเอง ใหส้ ามารถดารงตนอยูใ่ นสังคมอย่างมีความสุข เป็นการจดั การศึกษา

~4~ ในลกั ษณะอ่อนตัวให้ผูเ้ รียนมีความสะดวกเลือกเรยี นไดห้ ลายวิธี จึงก่อให้เกิดประโยชน์ตอ่ ผู้เรียนและสงั คมเปน็ อยา่ งยิ่ง การศกึ ษานอกโรงเรียนมคี วามหมายครอบคลุมถึงมวลประสบการณ์การเรียนรู้ทุกชนดิ ทีบ่ ุคคลไดร้ บั จากการเรียนรู้ ไม่ว่าจะเป็นการเรยี นร้ตู ามธรรมชาตกิ ารเรียนรู้จากสงั คม และการเรียนร้ทู ่ไี ด้รับจาก โปรแกรมการศกึ ษาทจี่ ัดขึน้ นอกเหนือไปจากการศกึ ษาในโรงเรยี นตามปกติ เปน็ กจิ กรรมทีจ่ ดั ขึน้ เพ่อื เปดิ โอกาสให้บุคคลทม่ี ิได้อยู่ในระบบโรงเรยี นปกติ ไดม้ ีโอกาสแสวงหาความรู้ ทักษะ ทศั นคติ เพ่ือม่งุ แก้ปัญหา ในชีวติ ประจาวนั ฝกึ ฝนอาชีพ หรือพฒั นาความรเู้ ฉพาะ เร่ืองตามที่สนใจ และเป็นการศึกษาที่มุ่งจดั ให้ กลมุ่ เป้าหมายได้พัฒนาชวี ิตและสังคม โดยมหี ลกั การจัดการศกึ ษาเพ่ือให้เกิดการเรยี นรู้อยา่ งต่อเนื่องตลอด ชีวิต จึงเป็นการเปดิ โอกาสให้ผดู้ อ้ ยโอกาสพลาดหรอื ขาดโอกาสทางการศึกษาในระบบโรงเรยี น ได้มีโอกาส ศึกษาหาความรู้ ฝึกทักษะ ปลกู ฝงั เจตคติท่ีจาเปน็ ในการดารงชีวติ และการประกอบสมั มาอาชีพ อีกท้ัง สามารถปรบั ตวั ใหท้ นั กบั ความเปลี่ยนแปลงของวิทยาการต่าง ๆ ทีเ่ จริญกา้ วหน้าไปอย่างรวดเร็ว ได้อยา่ งมี ความสุขตามอตั ภาพและการจัดกจิ กรรมการศึกษาท่ีจัดขนึ้ นอกระบบโรงเรียน โดยมีกลุม่ เป้าหมายผู้รับบรกิ าร และวตั ถุประสงค์ในการเรียนรู้ชดั เจน กิจกรรมการศึกษาดังกล่าว มีทั้งที่จัดกิจกรรมโดยเอกเทศ และเป็น สว่ นหนงึ่ ของกิจกรรมอน่ื หน่วยงานที่จัดการศึกษานอกโรงเรยี นนน้ั เปน็ ท้ังหน่วยงานท่ีมหี นา้ ทที่ างการศึกษา นอกโรงเรียนโดยตรง และ หน่วยงานอนื่ ท้งั ภาครัฐและเอกชน ตลอดจนชมุ ชนท่ีอาศัย การศกึ ษาเปน็ เครอ่ื งมือนาไปสวู่ ตั ถปุ ระสงค์ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และสงั คม ในทางทฤษฎีจงึ ไดน้ ับเอาการศึกษา นอกโรงเรยี นเปน็ ระบบหนง่ึ ของการศกึ ษาตลอดชวี ติ ท่มี สี ่วนเชอ่ื มโยงอย่างแนบแน่นและต่อเนื่องกบั การศกึ ษาในระบบโรงเรียนและการศึกษาตามอัธยาศัย ทาใหก้ ารศึกษานอกโรงเรยี นเป็นความหวังของวง การศึกษา และเปน็ กลไกทีส่ าคญั ของรัฐในการพัฒนาคุณภาพของคนสว่ นใหญ่ในประเทศได้ 2. การศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง 1.จัดการศกึ ษาอาชพี เพอื่ การมีงานทาอย่างยง่ั ยนื โดยให้ความสาคญั กับการจดั การศึกษาอาชพี เพื่อ การมงี านทาประเภทชา่ งพ้นื ฐาน / ช่างชนบท และอาชพี ท่ีสอดคลอ้ งกบั ศักยภาพของผเู้ รียนและศักยภาพของ แตล่ ะพื้นท่ี 2.จดั การศกึ ษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชวี ิตใหก้ บั ทุกกลมุ่ เป้าหมาย โดยจัดกจิ กรรมการศึกษา ในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพฒั นาทักษะชวี ติ การจดั ตงั้ ชมรม / ชมุ ชน การส่งเสรมิ ความสามารถพเิ ศษตา่ ง ๆ ร่าง ยุทธศาสตรแ์ ละจุดเน้นการดาเนนิ งานสานักงานสานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ทม่ี ุง่ เนน้ ให้ทกุ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความสามารถในการบรหิ ารจัดการชวี ติ ของตนเองใหอ้ ยู่ในสังคมได้อยา่ งมคี วามสขุ มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม รวมทง้ั สามารถใช้เวลาว่างให้เปน็ ประโยชน์ตอ่ ตนเอง ครอบครัวและชมุ ชน

~5~ 3. ประวัติความเป็นมาและประโยชนข์ องไม้ไผ่ ไผ่ เปน็ ไม้พุ่มหลายชนิดและหลายสกุลใน วงศ์หญา้ เปน็ ไม้ไมผ่ ลดั ใบใน ขึ้นเป็นกอ ลาตน้ เปน็ ปลอ้ งๆ เช่น ไผจ่ นี ไผ่ป่า ไผ่สสี ุก ไผ่ไร่ ไผ่ดา ผลผลิตจากไผท่ ่สี าคญั คือ หน่อไม้ ซ่ึงเป็นอาหารสาคญั ของคนไทย นิยมทานกนั มากในเกือบทกุ ภาคของ ประเทศไทย โดยเฉพาะภาคเหนือและอสี าน นอกจากนี้ไม้ไผ่ยังมีคณุ สมบัตพิ ิเศษทั้งดา้ นความแข็งแรงและ ยดื หย่นุ ที่เหนอื กวา่ วัสดุสังเคราะหห์ ลายชนดิ ดงั นน้ั จึงยังไดร้ ับความนิยมในการทาเครอื่ งมอื เครอื่ งใชห้ ลาย ประเภท ใชช้ ะลอน้าทเ่ี ขา้ ป่าชายเลน น่ังรา้ นกอ่ สร้างและบนั ได เป็นต้น ประโยชนข์ องไผ่ 1. ช่วยปกคลุมหนา้ ดนิ รักษาหนา้ ดินให้อุดมสมบรู ณ์ 2. ช่วยทางด้านอาหารและยารกั ษาโรค 3. ชว่ ยยบั ย้ังการพงั ทลายองหน้าดนิ 4. ชว่ ยรกั ษาระบบนิเวศวิทยา 5. ชว่ ยลดปญั หาโลกร้อน 6. ช่วยบรรเทาแรงลมทเี่ กดิ จากพายตุ ่างๆ 7. นามาทาเปน็ ท่ีพักอาศัยและเฟอร์นเิ จอรต์ ่างๆ 8. นามาทาเปน็ เครื่องมือทางการเกษตร 9.ใช้ทางดา้ นงานประกอบการตกแตง่ ประเพณี พิธกี รรมและความเช่อื

~6~ ประวตั ิความเป็นมาของไซ สมยั กอ่ นมนุษย์ร้จู กั การทาไซเพ่ือให้ประโยชน์ มกี ารเป็นอยแู่ บบลดตน้ ทนุ บรรดานกั ประดิษฐท์ าไซ เกดิ ความคิดสรา้ งสรรคใ์ นการประดษิ ฐ์ไซ มีการลองผดิ ลองถกู นับครั้งไม่ถ้วนโดยใช้ไซในการดกั ปลาเพ่อื ความ สะดวกแก่มนษุ ย์และคนในปัจจุบัน ตวั อย่างสง่ิ ของที่ผูเ้ ขยี นนามาเสนอให้ผู้อ่านได้อา่ นกนั ในวันน้ี ทาให้ทกุ คน ได้รูท้ ม่ี าของการทาไซเป็นไปอยา่ งไรใครเปน็ คนประดษิ ฐค์ ดิ ค้นไซข้ึนมาน้นั เอง ในอดีต วถิ ีชวี ติ ของชาวบา้ น เมื่อเสร็จจากฤดูเกบ็ เก่ียวข้าวนาปีแล้ว ชาวบ้านมักมเี วลาว่าง จากการทานา จึงใชเ้ วลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์โดยการประกอบอาชีพตา่ งๆ เพ่ือเสรมิ รายไดข้ องพวกเขา เช่น ทาไร่ทาสวนและการหาปลา โดยออกหาปลาตาม ห้วย หนอง คลอง บึง มีการใชเ้ ครอื่ งมือดกั ปลา ไซ เปน็ เครอื่ งจกั สานใช้สาหรบั ดักจับปลาทีเ่ กิดจากภมู ิปัญญาของคนไทย โดยใชไ้ ซซง่ึ มีงา ตดิ ไวท้ ้ัง สองตอนปลาสามารถวา่ ยน้าเข้าไปได้แต่ออกไม่ได้ ไซลกู หน่ึงจะมงี า ๒ งา คอื งาขึ้นดักปลาท่วี ่ายทวนนา้ จะหันปากไปหาก้นไซ และงาลงใช้ดกั ปลาท่ลี งมาตามน้า จะหนั ปากไปทางปากไซ งาทั้งสอง จะอย่เู ยอื้ งกัน ใส่ถัดจากไมโ้ ขนงขา้ งละประมาณ ๒๐ ซม. ขนาดของงาไซจะข้นึ อยู่กับขนาดใหญ่- เลก็ ของไซ ทปี่ ากไซ จะใช้กะลามะพรา้ วปิดไว้ แล้วขัดไขว่ด้วยไมไ้ ผ่เล็กๆ ๒ อัน เวลาทเี่ ทปลาออกมาจากไซ ก็จะเปดิ ปากออก และปดิ ไวอ้ ย่างเดิมนาไซไปวางดักไวต้ ามหว้ ยหนอง หรือคลอง ที่มกี ารไหลของนา้ ตลอดเวลา โดยวางในแนวเหนอื น้าเพราะปลาจะว่ายทวนน้า หาไม้มาปักให้ไซตดิ อยกู่ บั ที่ เพราะแรงของนา้ ท่ี ไหลอยตู่ ลอดเวลาน้ันอาจจะสามารถทาใหไ้ ซลอยนา้ ไปได้เม่ือดกั เสร็จแล้วก็ต้องคอยไปดูว่ามปี ลาเข้ามาติดใน ไซหรือไม่ ถ้ามีปลาอยู่ในไซกเ็ อาปลาออกแลว้ สามารถดักต่อไปอีกได้ ดว้ ยความอุดมสมบูรณเ์ พียบพรอ้ มไป ดว้ ยทรัพยากรธรรมชาติ ประเภทของไซ แบ่งออก 7 ชนดิ 1. ไซปากแตร ทาเป็นรปู กรวย ปากไซบานออกเปน็ รูปแตร มกั ใช้กะลามะพรา้ วเป็นฝาปิดเปิด เทป ลาออกด้านนี้ ส่วนกลางไซคอดมงี าแซงสาหรบั เปน็ ชอ่ งทางเขา้ ของปลา ไซปากแตรจะใช้หวายผกู รอ้ ยซไ่ี ม้ไผ่ เป็นชอ่ งถ่ี ๆ แม้แตก่ ุ้ง และปลาตัวขนาดเล็กเลด็ ลอดออกไม่ได้ ไซปากแตรมคี วามยาวตงั้ แต่ 1 – 2 เมตร เวลา ดกั ไม่ใส่เหย่อื ล่อไวภ้ ายในแต่วางดกั ไวต้ ามคันนาหรือใชเ้ ฝอื กก้ันเหมาะสาหรบั ดักตามชอ่ งนา้ ไหล 2. ไซท่อ สานดว้ ยผวิ ไม้ไผ่เป็นลายขดี ทึบ รปู ลกั ษณะคลา้ ยท่อดักปลา แต่ขนาดสั้นกวา่ มาก มคี วาม ยาวประมาณเกือบ 1 เมตร ใส่งาไว้ด้วย ดกั สัตว์น้าทกุ ประเภทในบรเิ วณน้าไหล 3. ไซลอย สานด้วยผิวไม้ไผ่เป็นลายขดั ตาส่ีเหล่ียมต่าง ๆ มีรปู ทรงกลมกน้ ดา้ นบนจะคอดเหมือนคอ ขวด มีฝาปิดเปิดเอาปลาออก เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางกว้างประมาณ 50 เซนตเิ มตร ปากกว้าง มีความยาวประมาณ 1 เมตร ใช้ดกั ปลาในนา้ น่งิ โดยวางไซลอยไว้ชว่ งน้าตน้ื ๆ แหวกกอข้าวหรอื กอหญ้าวางแชน่ ้าไว้ ปลากทก่ี นิ ตาม น้าต้ืน ๆ หรือไปวางไข่จะเขา้ ทางช่องงา ปลาทเ่ี ขา้ ไซลอยมักเปน็ ปลากระด่ี ปลาสลดิ และปลาหมอ เปน็ ต้น 4. ไซสองหน้า สานเหมือนกบั ไซลอยมีขนาดเท่า ๆ กัน ใชด้ ักปลาในนา้ น่ิงและน้าต้นื เชน่ เดยี วกัน แตแ่ ตกต่างตรงทม่ี งี าอยู่ 2 ดา้ น จึงเรียกว่า ไซสองหน้า

~7~ 5. ไซโปง้ เปน็ รูปทรงกระบอกดา้ นปากไซและกน้ ป่องออกเล็กน้อย สานเป็นลายขัดยาวประมาณ 1 เมตร ใช้ดกั สัตว์น้าทุกชนดิ และดกั ในบริเวณน้าไหล 6.ไซปลากระดี่ สานเปน็ ลายขัดตาส่เี หลยี่ ม มขี นาดเลก็ ใสง่ าท่ปี าก ยาวประมาณ 40 – 50 เซนตเิ มตร ใช้ดักปลากระดี่ ปลาหมอ ฯลฯ ในบรเิ วณน้าไหลรนิ ๆ 7.ไซกบ สานเป็นลายขัดตาสเี่ หล่ียมเลก็ รปู ทรงกระบอกขนาดเล็กกวา่ ไซปลากระดี่ ยาวประมาณ 30 – 40 เซนตเิ มตร ดักน้าไหลริน ๆ หรอื น้านิง่ ก็ได้ ใชด้ กั กบ อาจใชเ้ หยอื่ เช่น ลกู ปลา หรือลูกปใู ส่ล่อไว้ กบจะ เข้าไปกินเหยื่อล่อทางช่องงา และไมส่ ามารถออกมา การเลือกอุปกรณ์การทาไซ การเลอื กอุปกรณ์ในการทาไซ โดยใช้ไม้ไผท่ สี่ วยแข็งแรงในการทาไซ เนน้ อปุ กรณ์ทใ่ี ชง้ า่ ยและทนทาน เหมาะต่อการประดิษฐส์ งิ่ ของน้ันๆ ว่าจะประดิษฐส์ ่ิงอะไร และสิ่งประดิษฐน์ ้นั จะสามารถใช้งานอะไรได้บา้ ง และเหมาะสมกับงานเหลา่ น้ันไหม อยา่ งเช่น ไซ เป็นเคร่ืองจกั รสานใชส้ าหรบั ดักจับปลา ไซลูกหนึ่งจะมี 2 งา ไซขนาดของงาจะขึ้นอยู่กับขนาดองงา ท่ีปากไซจะใช้กะลามะพรา้ วปิดไว้ กะลามะพร้าวควรเลอื กกะลาที่ มีเนือ้ แนน่ หนา ไมผ่ งุ า่ ย เหมาะสาหรับแก่อปุ กรณ์ของไซ วสั ดแุ ละอุปกรณ์ทใี่ ช้ 1. ไม้ไผ่เหลาเป็นซบี่ างๆ 2. งากุ้ง 2 อัน 3. เชอื กไนลอน 4. ปากไซ 2 อัน 5. ดักกงุ้ 6. กรรไกร 7. มีด

~8~ ข้นั ตอนวิธีการทาไซ 1.นาไมไ้ ผ่มาตัดเปน็ ป้องๆแล้วผ่าเป็นพอ เหมาะและนาไมไ้ ผ่มาเหลาเป็นซี่ๆเหลาทีละมากๆและนาเชอื กท่ี เตรยี มไว้มาสาน ความยาวประมาณ 50ซ.ม. สานทงิ้ ไวก้ อ่ น แล้วมานาวงไซมาขดเป็นวงกลม วงไซนี้ทาจากไม้ ไผเ่ หมอื นกัน เมื่อทาเสรจ็ ก็นามาแช่นา้ ให้มนั คงที่ 2.นาไมไ้ ผย่ าว 15 ซ.ม. มาเหลาให้เลก็ ๆ แลว้ นามาสานดว้ ยใยมะพร้าวที่นามาจากกาบมะพร้าวมาสานกนั ให้ เหมือนเชอื กแลว้ นา ไม้ ไผ่มาสานกบั ใยมะพรา้ วสองชน้ั ห่าง กันประมาณ 5 เซนตเิ มตร 3.นาไซทส่ี านไว้มดั ควบกนั แลว้ เอาวงไซใส่ไว้ 5 จุดมัดใหแ้ น่นแล้วเอาไฟมาลนที่เชือก 4.ทาฝาขน้ั ไซสองชัน้ ให้มชี ่องตรงกลางแล้วนางาไซท่ีสานไวม้ ามดั ทฝ่ี าข้ันเป็นรูปสามเหลี่ยมเฉยี งไปขา้ งใน ทั้ง สองชั้นของฝาข้ัน

~9~ 5.ทาปากไซจากนนั้ กต็ รวจสอบว่าสมบูรณห์ รอื ยงั และแนน่ หนาพอสมควรเป็นอนั เสรจ็ รปู ขน้ั ตอนการทาไซ

~ 10 ~ บทท่ี 3 วธิ ีการดาเนินงาน การดาเนนิ งานโครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน หลักสตู รอาชีพการทาไซจวิ๋ คณะทางานได้ดาเนนิ งาน ดังน้ี 1. สารวจกลุ่มเปา้ หมาย ประชาชนในพ้นื ท่ีตาบลพลับพลา ในเดือน พฤศจิกายน 2564 ณ พน้ื ทตี่ าบลพลับพลา อาเภอโชคชยั จังหวดั นครราชสมี า 2. ประชุม/ช้ีแจงวางแผนการดาเนินงาน ร่วมกบั ครอู าสาสมัคร กศน. และ ครู กศน.ตาบล เพอ่ื กาหนดรูปแบบและแผนการดาเนนิ งาน ในเดอื นพฤศจิกายน 2564 ณ กศน.อาเภอโชคชยั 3. จดั เตรยี มส่ือ, สถานท่ี และประสานวิทยากร โดยใช้ บ้านปรางค์ หมทู่ ี่ 11 ตาบล พลบั พลา อาเภอโชคชัย จงั หวดั นครราชสมี า เป็นสถานท่ีดาเนนิ งาน 4. ดาเนนิ การจัดโครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน หลกั สูตรอาชพี การทาไซจิ๋ว ในวนั ท่ี 23 - 24 ธันวาคม 2564 ณ บา้ นปรางค์ หมูท่ ี่ 11 ตาบลพลับพลา อาเภอโชคชัย จังหวดั นครราชสีมา โดยมี นางรสริน กริดกระโทก เปน็ วทิ ยากร ใหค้ วามรู้ เรอื่ ง การทาไซจว๋ิ ดังน้ี อปุ กรณ์ท่ใี ชก้ ารทาไซจวิ๋ 1. ไม้ไผ่ 2. เชือกไนลอน ขั้นตอนการเตรียมไซจิว๋ ข้ันตอนที่ 1 เตรียมไม้ไผส่ าหรบั ทาไซจ๋วิ

~ 11 ~ ขนั้ ตอนท่ี 2 ขนึ้ โครงร่างแบบไซจ๋วิ ขั้นตอนที่ 3 การถกั ไซจิว๋ ขน้ั ตอนที่ 4 การทาปากไซจ๋ิว

~ 12 ~ ขน้ั ตอนท่ี 5 การทางาไซจิ๋ว ขั้นตอนที่ 6 การทางาไซจวิ๋

~ 13 ~ บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู การวเิ คราะห์ข้อมลู ครัง้ น้ี มีวัตถปุ ระสงค์เพอ่ื ประเมนิ ผลกิจกรรมโครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน หลักสูตรการทาไซจว๋ิ จากผ้ตู อบแบบประเมนิ จานวน 6 คน เครอ่ื งมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู คือ แบบประเมินโครงการ ได้นาเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูลในแบบตารางความถ่ี คา่ เฉลี่ย และคา่ เบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard deviation) ซึ่งใช้โปรแกรม SPSS เพอื่ วเิ คราะหค์ า่ สถติ ิทงั้ หมด ดังมีรายละเอยี ด ต่อไปน้ี ตอนที่ 1 ข้อมูลสว่ นตัวของผ้ตู อบแบบประเมนิ โครงการ โดยการแจกแจงความถแี่ ละค่ารอ้ ยละของตวั แปร ตอนที่ 2 ผลการประเมินกิจกรรมโครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชพี การทาไซจวิ๋ โดยการ แจกแจงค่าเฉลีย่ คา่ เบย่ี งเบนมาตรฐาน ตอนที่ 3 ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะอนื่ ๆ ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ส่วนตวั ของผู้ตอบแบบประเมนิ โครงการ โดยการแจกแจงความถีแ่ ละค่าร้อยละของตัว แปร ขอ้ มูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบประเมนิ โครงการ ทเี่ ขา้ ร่วมกิจกรรมตามโครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน หลักสตู รการทาไซจ๋ิว โดยการแจกแจงความถ่ีและค่าร้อยละของตัวแปร ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 จานวน และคา่ ร้อยละ ของผตู้ อบแบบประเมินโครงการ จาแนกตามเพศ อายุ ระดับ การศึกษา และอาชีพ (N=6) ขอ้ มูลสว่ นตัว จานวน ร้อยละ 100.00* 1. เพศ หญิง 6 - ชาย - 100.00 00.00 รวม 6 50.00 50.00 2. อายุ 15 – 29 ปี 0 100.00 30 – 49 ปี 3 มากกว่า 50 ปีขน้ึ ไป 3 รวม 6

~ 14 ~ ขอ้ มูลสว่ นตัว จานวน รอ้ ยละ 3 50.00 3. ระดบั การศึกษา ประถมศกึ ษา 2 33.30 1 16.70 มัธยมศกึ ษาตอนต้น 6 100.00 2 33.00 มธั ยมศึกษาตอนปลาย 1 16.70 2 33.00 รวม - - - 4. อาชพี เกษตรกรรม 4 - 6 66.66 ค้าขาย 100.00 รับจา้ ง พนกั งานของรัฐ รัฐวิสาหกจิ ธรุ กิจส่วนตัว อ่นื ๆ รวม หมายเหตุ : * หมายถงึ ขอ้ มูลสว่ นใหญ่ จากตาราง ท่ี 1 พบวา่ ผตู้ อบแบบประเมินโครงการ จานวน 6 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน 6 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100 ส่วนใหญ่มีอายุ 30 – 49 ปี จานวน 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 50.00 รองลงมา คือ อายมุ ากกวา่ 50 ปีข้ึนไป จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 ส่วนใหญ่มีระดบั ประถมศึกษา จานวน 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 50.00 รองลงมา คือ การศึกษามธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จานวน 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 50.00 ตามลาดบั ตอนท่ี 2 วิเคราะห์ผลการประเมินกจิ กรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสตู รการทาไซจิ๋ว โดยการ แจกแจงค่าเฉล่ยี ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน การจาแนกระดบั ผลการประเมินโครงการ แบบมาตรฐานประมาณค่า (Rating Scale) มี 5 ระดับ ดังน้ี 5 คะแนน คือ ระดบั ผลการประเมนิ มากท่ีสุด 4 คะแนน คือ ระดบั ผลการประเมินมาก 3 คะแนน คือ ระดับผลการประเมินปานกลาง 2 คะแนน คือ ระดับผลการประเมินน้อย 1 คะแนน คอื ระดับผลการประเมนิ น้อยทสี่ ุด N คือ จานวนผตู้ อบแบบประเมนิ

~ 15 ~ ̅ คอื ระดบั ค่าเฉลย่ี ผลการประเมิน S.D. (Standard deviation) คอื ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าเฉล่ียระดบั ผลการประเมินของผตู้ อบแบบประเมินโครงการ คา่ เฉล่ยี 4.50 – 5.00 คะแนน หมายถงึ มีผลการประเมนิ อยใู่ นระดบั มากท่สี ดุ ค่าเฉลย่ี 3.50 – 4.49 คะแนน หมายถึง มีผลการประเมนิ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 2.50 – 3.49 คะแนน หมายถงึ มีผลการประเมินอย่ใู นระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.50 – 2.49 คะแนน หมายถงึ มีผลการประเมนิ อยใู่ นระดบั น้อย คา่ เฉล่ีย 1.00 – 1.49 คะแนน หมายถึง มีผลการประเมนิ อยใู่ นระดับน้อยทส่ี ดุ ตารางท่ี 2.1 คา่ เฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั ผลการประเมนิ กิจกรรมโครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชน หลกั สตู รการทาไซจิ๋ว ของผูต้ อบแบบประเมนิ โครงการ ในภาพรวมและรายดา้ น รายการ N=6 ระดบั ผลการประเมนิ ̅ S.D. 1. ดา้ นเนอ้ื หา 4.47 0.52 มากทส่ี ดุ 2. ด้านกระบวนการการจดั กิจกรรมอบรม 4.60 0.51 มากท่สี ดุ 3. ด้านวทิ ยากร 4.59 0.50 มากทสี่ ุด 4.ดา้ นการอานวยความสะดวก 4.53 0.53 มากทส่ี ุด 4.55 0.51 มากท่ีสุด รวม จากตารางที่ 2.1 พบวา่ โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน หลกั สตู รการทาไซจวิ๋ มีผลการประเมนิ โครงการ อยใู่ นระดบั มาก (̅=4.55) เมื่อพจิ ารณาเป็นรายด้านพบวา่ ดา้ นกระบวนการการจัดกิจกรรม มี ผลการประเมนิ อยู่ในระดับมาก (̅=4.60) รองลงมาคอื ดา้ นวทิ ยากร มผี ลการประเมนิ อยู่ในระดับมาก (̅=4.59) ดา้ นอานวยความสะดวก มีผลการประเมนิ อยใู่ นระดับมาก (̅=4.53) ด้านเน้ือหา มผี ลการ ประเมนิ อยใู่ นระดบั มาก (̅=4.47) ตามลาดบั

~ 16 ~ ตารางท่ี 2.2 ค่าเฉลี่ย ค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน และระดับผลการประเมินกิจกรรมโครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน หลกั สูตรการทาไซจว๋ิ ของผตู้ อบแบบประเมนิ โครงการ ด้านเน้อื หา รายการ N = 6 ระดับผลการประเมิน ̅ S.D. ดา้ นเน้อื หา 1. เนอ้ื หาตรงความต้องการ 4.50 0.54 มากทส่ี ุด 2. เนื้อหาเพยี งพอตอ่ ความต้องการ 4.33 0.51 มากท่ีสุด 3. เนอื้ หาปจั จุบนั ทนั สมัย 4.50 0.54 มากทีส่ ดุ 4. เน้อื หามปี ระโยชนต์ อ่ การนาไปใชใ้ นการพัฒนา 4.66 0.51 มากทีส่ ดุ คณุ ภาพชวี ิต 4.60 0.52 มากท่ีสดุ รวม จากตารางที่ 2.2 พบว่าโครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน หลักสูตรการทาไซจว๋ิ ในด้านเนื้อหา มีผลการ ประเมนิ อยูใ่ นระดบั มาก (̅=4.60) เมอื่ พจิ ารณาเป็นรายข้อพบวา่ เนอ้ื หามีประโยชนต์ ่อการนาไปใชใ้ นการ พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ มผี ลการประเมิน อย่ใู นระดับมากท่ีสุด (̅=4.66) รองลงมาคือ เน้ือหาตรงความ ต้องการ มผี ลการประเมิน อยใู่ นระดับมาก (̅=4.50) เนื้อหาปัจจุบันทนั สมยั อยใู่ นระดับปานกลาง (̅=4.50 ) เนอ้ื หาเพยี งพอต่อความต้องการ อยู่ในระดบั มาก (̅=4.50) และการจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ ให้ผู้ รว่ มกิจกรรมสามารถ ตามลาดับ

~ 17 ~ ตารางที่ 2.3 ค่าเฉลยี่ คา่ เบีย่ งเบนมาตรฐาน และระดับผลการประเมินกิจกรรมโครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชุมชน หลกั สูตรการทาไซจว๋ิ ของผู้ตอบแบบประเมินโครงการ ดา้ นกระบวนการการจดั กิจกรรม อบรม รายการ N = 6 ระดับผลการประเมนิ ̅ S.D. ดา้ นกระบวนการจดั กจิ กรรมการอบรม 5. การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม 4.66 0.54 มากที่สดุ 6. การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ 4.50 0.54 มากที่สดุ 7. การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา 4.50 0.54 มากที่สุด 8. การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับกลมุ่ เปา้ หมาย 4.83 0.40 มากทีส่ ดุ 9. วิธกี ารวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 4.60 0.51 มากที่สุด 4.60 0.51 มากทส่ี ุด รวม จากตารางท่ี 2.3 พบวา่ โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน หลักสูตรการทาไซจิ๋ว ในด้านกระบวนการจดั กจิ กรรมอบรม มผี ลการประเมนิ อยู่ในระดับมาก (̅=4.60) เม่ือพิจารณาเปน็ รายขอ้ พบว่า การจดั กิจกรรม เหมาะสมกบั กลุ่มเปา้ หมาย มผี ลประเมิน อยใู่ นระดบั มาก (̅=4.83) รองลงมาคือ วิธกี ารวัดผล/ ประเมินผลเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=4.60) การเตรียมความพรอ้ ม กอ่ นอบรม มีผลการประเมิน อยู่ในระดบั มาก (̅=4.60 ) การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค์ มี ผลการประเมนิ อยู่ในระดบั มาก (̅=4.50) การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา มผี ลการประเมิน อยใู่ น ระดบั มาก (̅=4.50 ตามลาดับ

~ 18 ~ ตารางที่ 2.4 ค่าเฉล่ยี คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั ผลการประเมินกิจกรรมโครงการศนู ย์ฝึก อาชพี ชุมชน หลกั สตู รการทาไซจ๋ิว ของผู้ตอบแบบประเมินโครงการ ด้านวิทยากร รายการ N = 6 ระดบั ผลการประเมนิ ̅ S.D. ดา้ นวิทยากร 10. วิทยากรมีความรู้ ความสามารถในเรื่องที่ถ่ายทอด 4.66 0.51 มากที่สดุ 11. วิทยากรมเี ทคนิคการถา่ ยทอดใช้สอื่ ทเ่ี หมาะสม 4.66 0.51 มากที่สดุ 12. วทิ ยากรเปดิ โอกาสให้มีส่วนร่วมและชักถาม 4.66 0.51 มากทส่ี ดุ รวม 4.66 0.51 มากทส่ี ดุ จากตารางท่ี 2.4 พบว่าโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลกั สตู รการทาไซจว๋ิ ในดา้ นวิทยากร มีผลการประเมิน อยูใ่ นระดับมาก (̅=4.66) เมือ่ พจิ ารณาเป็นรายข้อพบวา่ วิทยากรมีความรู้ ความสามารถ ในเรื่องท่ีถา่ ยทอด มผี ลการประเมนิ อยู่ในระดบั มาก (̅=4.66) รองลงมาคือ วิทยากรมีเทคนิคการ ถา่ ยทอดใช้สือ่ ทเี่ หมาะสม มีผลการประเมนิ อยู่ในระดับมาก (̅=4.66) วิทยากรเปิดโอกาสใหม้ ีส่วนร่วมและ ชกั ถาม อยใู่ นระดบั มาก (̅=4.66) ตามลาดบั

~ 19 ~ ตารางที่ 2.5 ค่าเฉล่ยี ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับผลการประเมนิ กจิ กรรมโครงการศนู ยฝ์ ึก อาชพี ชุมชน หลักสูตรการทาไซจ๋วิ ของผตู้ อบแบบประเมนิ โครงการ ดา้ นอานวยความสะดวก รายการ N = 6 ระดับผลการประเมนิ ̅ S.D. ดา้ นอานวยความสะดวก 13. สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก 4.66 0.51 มากทีส่ ดุ 14. การสอ่ื สาร การสร้างบรรยายกาศ เพื่อให้เกิดการ 4.50 0.54 มากทีส่ ุด เรียนรู้ 15. การบริการ การช่วยเหลอื และการแก้ปัญหา 4.50 0.54 มากท่สี ดุ 4.53 0.53 มากท่ีสุด รวม จากตารางที่ 2.5 พบว่าโครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน หลกั สตู รการทาไซจว๋ิ ในดา้ นอานวยความ สะดวก มผี ลการประเมิน อยูใ่ นระดับมาก (̅=4.53) เม่อื พิจารณาเป็นรายข้อพบวา่ สถานท่ี วัสดุ อปุ กรณ์ และส่งิ อานวยความสะดวก มผี ลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=4.66) รองลงมาคอื การส่ือสาร การ สรา้ งบรรยายกาศ เพื่อให้เกิดการเรยี นรู้ มีผลการประเมิน อยใู่ นระดับมาก (̅=4.50) การบริการ การ ชว่ ยเหลอื และการแกป้ ญั หา มผี ลการประเมิน อย่ใู นระดบั มาก (̅=4.50) ตามลาดบั ตอนท่ี 3 ความคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ ควรสนับสนุน โครงการอยา่ งตอ่ เน่ือง เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ผูร้ ว่ มโครงการ ฯ สง่ เสริมอาชพี ให้มี ความยงั่ ยืน

~ 20 ~ บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ สรปุ ผล ผลการวิเคราะห์ สามารถสรุปได้ดงั น้ี ตอนที่ 1 วิเคราะหข์ ้อมลู ส่วนตวั ของผ้ตู อบแบบประเมนิ โครงการ ตอนที่ 2 วิเคราะห์ผลการประเมนิ กิจกรรมโครงการศูนยฝ์ กึ ชุมชน หลักสตู รการทาไซจิว๋ ตอนท่ี 3 วิเคราะหค์ วามคิดเห็นและข้อเสนอแนะอ่นื ๆ ตอนท่ี 1 วิเคราะหข์ ้อมูลส่วนตวั ของผตู้ อบแบบประเมินในภาพรวม ผู้ตอบแบบประเมนิ โครงการ จานวน 6 คน สว่ นใหญ่เป็นเพศหญงิ จานวน 6 คน คดิ เป็นร้อยละ 100.00 สว่ นใหญม่ อี ายุ อายุ 30 – 49 ปี จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 รองลงมา คือ อายุ 50 ปขี ึ้น ไป จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 อายุ 50 ปี ขึ้นไป สว่ นใหญ่มรี ะดบั การศึกษามธั ยมศึกษาตอนต้น จานวน 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 50.00 รองลงมา คือ ระดับประถมศกึ ษา จานวน 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 50.00 ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ อ่นื ๆ ไม่ประกอบอาชีพ จานวน 4 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 66.66 รองลงมา คือ รบั จา้ ง จานวน 2 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 33.33 ตามลาดับ ตอนท่ี 2 วเิ คราะห์ผลการประเมินกจิ กรรมโครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน หลกั สตู รการทาไซจ๋วิ 2.1 การวิเคราะห์ผลการประเมนิ โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน หลักสตู รการทาไซจว๋ิ มผี ลการ ประเมินโครงการ อยใู่ นระดับมาก (̅=4.55) เม่ือพิจารณาเปน็ รายดา้ นพบว่า ดา้ นกระบวนการการจัด กจิ กรรม มผี ลการประเมนิ อยู่ในระดับมาก (̅=4.60) รองลงมาคือ ด้านวิทยากร มผี ลการประเมนิ อยู่ใน ระดับมาก (̅=4.59) ดา้ นอานวยความสะดวก มีผลการประเมิน อยใู่ นระดับมาก (̅=4.53) ดา้ นเน้อื หา มี ผลการประเมนิ อยู่ในระดับมาก (̅=4.47) ตามลาดบั 2.2 การวเิ คราะหผ์ ลการประเมินโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลกั สูตรการทาไซจวิ๋ ในด้านเน้อื หา มีผลการประเมิน อยใู่ นระดบั มาก (̅=4.60) เมอ่ื พิจารณาเปน็ รายขอ้ พบวา่ เนอื้ หามปี ระโยชน์ตอ่ การ นาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชวี ติ มีผลการประเมิน อยู่ในระดบั มากที่สดุ (̅=4.66) รองลงมาคอื เนื้อหา ตรงความต้องการ มผี ลการประเมิน อยใู่ นระดับมาก (̅=4.50) เนื้อหาปจั จุบันทนั สมัย อยูใ่ นระดบั ปาน กลาง (̅=4.50 ) เนือ้ หาเพยี งพอต่อความตอ้ งการ อยใู่ นระดบั มาก (̅=4.50) และการจัดกิจกรรม สง่ เสริมให้ผรู้ ว่ มกิจกรรมสามารถ ตามลาดบั

~ 21 ~ 2.3 การวิเคราะหผ์ ลการประเมินกิจกรรมโครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชน หลักสตู รการทาไซจ๋ิว ใน ดา้ นกระบวนการจัดกจิ กรรมอบรม มีผลการประเมิน อยู่ในระดบั มาก (̅=4.60) เมอื่ พจิ ารณาเป็นรายข้อ พบวา่ การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมาย มีผลประเมิน อยู่ในระดบั มาก (̅=4.83) รองลงมาคือ วธิ กี ารวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค์ มีผลการประเมนิ อยู่ในระดับมาก (̅=4.60) การเตรยี ม ความพร้อมก่อนอบรม มผี ลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=4.60 ) การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับ วัตถุประสงค์ มผี ลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=4.50) การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา มีผลการ ประเมนิ อยูใ่ นระดับมาก (̅=4.50 ตามลาดับ 2.4 การวเิ คราะห์ผลการประเมนิ กจิ กรรมโครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน หลกั สูตรการทาไซจว๋ิ ในดา้ น วทิ ยากร มผี ลการประเมนิ อยใู่ นระดบั มาก (̅=4.66) เมอ่ื พิจารณาเป็นรายข้อพบวา่ วิทยากรมีความรู้ ความสามารถในเร่ืองทถ่ี า่ ยทอด มผี ลการประเมิน อย่ใู นระดบั มาก (̅=4.66) รองลงมาคือ วทิ ยากรมี เทคนคิ การถา่ ยทอดใช้สื่อที่เหมาะสม มผี ลการประเมนิ อย่ใู นระดบั มาก (̅=4.66) วทิ ยากรเปดิ โอกาสให้มี ส่วนรว่ มและชักถาม อยู่ในระดบั มาก (̅=4.66) ตามลาดบั 2.5 การวเิ คราะหผ์ ลการประเมินกจิ กรรมโครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน หลกั สตู รการทาไซจว๋ิ ในดา้ น อานวยความสะดวก มีผลการประเมิน อย่ใู นระดบั มาก (̅=4.53) เมอื่ พจิ ารณาเปน็ รายขอ้ พบว่า สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ และสง่ิ อานวยความสะดวก มีผลการประเมิน อยูใ่ นระดบั มาก (̅=4.66) รองลงมาคือ การ ส่อื สาร การสร้างบรรยายกาศ เพือ่ ให้เกิดการเรยี นรู้ มีผลการประเมิน อยู่ในระดบั มาก (̅=4.50) การ บรกิ าร การช่วยเหลอื และการแก้ปญั หา มีผลการประเมนิ อยู่ในระดับมาก (̅=4.50) ตามลาดับ อภปิ รายผล จากการสรุปผลการดาเนนิ โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน หลักสตู รการทาไซจิ๋ว พบว่า เนอ้ื หาของ หลักสตู รตรงกับความต้องการของผู้รว่ มกิจกรรม อยู่ในระดับมากท่ี (̅=4.60) เน่ืองจาก คณะทางานไดว้ าง แผนการดาเนินงานจัดเวทีประชาคม เพอ่ื ให้ กศน. ตาบลพลบั พลา ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัยอาเภอโชคชัย ทราบถงึ ความต้องการของประชาชนตาบลพลบั พลา และเพื่อประสานวิทยากร ท่ี มคี วามรู้ และทักษะในการประกอบอาชีพการทาไซจิว๋ ด้วยการฝึกปฏบิ ตั จิ รงิ นาไปสกู่ ารสรา้ งรายได้ให้ ตนเองและครอบครัว ดงั น้ัน การจดั การศึกษาอาชีพในปจั จุบันจะต้องมงุ่ พัฒนาประชากรของประเทศให้มคี วามรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ ตลอดจนสามารถแก้ปญั หาการว่างงานและส่งเสรมิ ความ เข้มแข็งใหแ้ กเ่ ศรษฐกจิ ชมุ ชน ส่งผลให้โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลกั สูตรการทาไซจว๋ิ ประสบผลสาเร็จ ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด

~ 22 ~ ข้อเสนอแนะ จากการดาเนนิ การจัดโครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน หลกั สตู รการทาไซจ๋วิ และประเมนิ ผลกจิ กรรม ครั้งนี้ ทาให้คณะทางาน ได้ทราบความตอ้ งการของผเู้ ข้ารว่ มโครงการ ท่ตี ้องการให้คณะทางานจัดกจิ กรรม ลักษณะนอี้ ีก แต่คณะทางาน มีความต้องการเรื่องงบประมาณ ที่จะนามาจดั โครงการให้มีประสิทธิภาพและ ประสทิ ธผิ ลในการจดั โครงการครั้งต่อไป

~ 23 ~ บรรณานุกรม สานกั งาน กศน. (2555). หลักสูตรการจดั การศกึ ษาอาชีพเพือ่ การมีงานทา. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก www.krunokrabop.com/articles/41935829/กลุ่มอาชีพเฉพาะทาง.html สานกั งาน กศน. (2559). ยุทธศาสตรแ์ ละจุดเนน้ การดาเนนิ งาน สานกั งาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://ubon.nfe.go.th/Joomla/index.php?option=com_ content&view=article&id=1444:-2559&catid=39:plan&Itemid=56). (วันท่ีคน้ ข้อมลู วนั ท่ี 30 มกราคม 2565)

ภาคผนวก

โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน หลกั สตู รอาชพี การทาไซจ๋ิว ระหว่างวนั ท่ี 23-24 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ขา้ พเจา้ นางสาวพรรณี ปรอื ทอง ครู กศน.ตาบลพลับพลา จัดโครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน หลักสตู รอาชพี การทาไซจิ๋ว จานวน 10 ชั่วโมง โดยมี นางรสรนิ กรดิ กระโทก วทิ ยากรให้ความรู้ พร้อมสาธิตและการฝึกปฏิบัติจริง ณ บ้านปรางค์ หมู่ท่ี 11 ตาบลพลับพลา อาเภอโชคชยั จงั หวัดนครราชสมี า

รายชอื่ ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน หลักสตู รการทาไซจ๋วิ วันท่ี 23 – 24 ธนั วาคม 2564 ณ บ้านปรางค์ หมู่ที่ 11 ตาบลพลับพลา อาเภอโชคชยั จงั หวัดนครราชสีมา ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอโชคชัย ที่ ชื่อ – สกลุ หมายเหตุ 1 นางยวง กรยุ กระโทก 2 นางปลอด หงายกระโทก 3 นางหนิด ขาวกระโทก 4 นางสาวสม้ เขตกระโทก 5 นางหรุย กลัง้ กระโทก 6 นางเฉลียว คา่ กระโทก

ตารางวิเคราะหข์ อ้ มูลโครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน หลกั สูตรการทาไซจิว๋ โดยใชโ้ ปรแกรม SPSS Valid หญิง Frequency เพศ Cumulative 6 Percent Percent Valid Percent 100.0 100.0 100.0 อายุ Valid Cumulative Frequency Percent Percent Percent Valid 30-49 ปี 2 33.3 33.3 33.3 50 ปีข้นึ ไป 4 66.7 66.7 100.0 Total 6 100.0 100.0 การศกึ ษา Valid Cumulative Frequency Percent Percent Percent Va ประถมศกึ ษา 3 50.0 50.0 50.0 lid มธั ยมศึกษา 2 33.3 33.3 33.3 มัธยมศึกษาตอนปลาย 1 16.7 16.7 16.7 Total 6 100.0 100.0 100.0 อาชพี Frequency Percent Valid Cumulative Percent Valid เกษตรกร 2 33.3 Percent 33.3 คา้ ขาย 1 16.7 16.7 33.3 33.3 16.7 รับจา้ ง 2 33.3 16.7 33.3 100.0 16.7 อื่น ๆ 1 16.7 100.0 Total 6 100.0

ขอ้ 1 เน้อื หาตรงตามความต้องการ Valid Cumulative Frequency Percent Percent Percent Valid มาก 4 25.0 66.7 66.7 มากทส่ี ุด 2 12.5 33.3 33.3 Total 6 37.5 100.0 100.0 ขอ้ 2 เน้ือหาเพียงพอตอ่ ความต้องการ Valid Cumulative Percent Frequency Percent Percent 100.0 Valid มาก 6 37.5 100.0 Missing Total System 10 62.5 16 100.0 ขอ้ 3 เน้อื หาปจั จบุ ันทนั สมัย Valid Cumulative Percent Frequency Percent Percent 100.0 Valid มาก 6 37.5 100.0 Missing System Total 10 62.5 16 100.0

ขอ้ 4 เน้อื หามีประโยชนต์ ่อการนาไปใชใ้ นการพฒั นาคณุ ภาพชีวิต Valid Cumulative Frequency Percent Percent Percent Valid มาก 6 37.5 100.0 100.0 Missing System 10 62.5 Total 16 100.0 ขอ้ 5 การเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นฝึกทักษะ Valid Cumulative Percent Frequency Percent Percent 83.3 100.0 Valid มาก 5 31.3 83.3 Missing มากท่ีสดุ 1 6.3 16.7 Total Total 6 37.5 100.0 System 10 62.5 16 100.0 ข้อ 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ Valid Cumulative Frequency Percent Percent Percent Valid มาก 6 37.5 100.0 100.0 Missing Total System 62.5 6 100.0

ข้อ 7 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา Valid Cumulative Percent Frequency Percent Percent 33.3 100.0 Valid นอ้ ย 2 12.5 33.3 Missing มาก 4 25.0 66.7 Total Total 6 37.5 100.0 System 10 62.5 16 100.0 ขอ้ 8 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมาย Valid Cumulative Frequency Percent Percent Percent Valid มาก 6 37.5 100.0 100.0 Missing Total System 10 62.5 16 100.0 ขอ้ 9 วธิ ีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ Valid Cumulative Frequency Percent Percent Percent Valid มาก 6 37.5 100.0 100.0 Missing Total System 10 62.5 16 100.0

ข้อ 10 วทิ ยากรมคี วามรู้ความสามารถในเรื่องทีถ่ า่ ยทอด Valid Cumulative Frequency Percent Percent Percent Valid มาก 6 37.5 100.0 100.0 Missing Total System 10 62.5 16 100.0 ขอ้ 11 วทิ ยากรมีเทคนคิ การถา่ ยทอดใชส้ ่ือเหมาะสม Valid Cumulative Frequency Percent Percent Percent Valid มาก 6 37.5 100.0 100.0 Missing Total System 10 62.5 16 100.0 ขอ้ 12 วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนรว่ มและซกั ถาม Valid Cumulative Frequency Percent Percent Percent Valid มากทส่ี ุด 6 37.5 100.0 100.0 Missing Total System 10 62.5 16 100.0

ขอ้ 13 สถานท่ี วัสดุ อปุ กรณ์และสิง่ อานวยความสะดวก Valid Cumulative Frequency Percent Percent Percent Valid มากที่สดุ 6 37.5 100.0 100.0 Missing Total System 10 62.5 16 100.0 ขอ้ 14 การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพ่ือให้เกิดการเรยี นรู้ Valid Cumulative Frequency Percent Percent Percent Valid มาก 2 12.5 33.3 33.3 มากทสี่ ดุ 4 25.0 66.7 100.0 Total 6 37.5 100.0 Missing System 10 62.5 Total 16 100.0 ขอ้ 15 การบริการ การชว่ ยเหลือและการแก้ปัญหา Valid Cumulative Frequency Percent Percent Percent Valid มาก 6 37.5 100.0 100.0 Missing Total System 10 62.5 16 100.0

Descriptive Statistics N Minimum Maximum Mean Std. Deviation ขอ้ 1 เน้ือหาตรงตามความตอ้ งการ 6 4.00 5.00 4.3333 .51640 ขอ้ 2 เน้ือหาเพียงพอตอ่ ความตอ้ งการ ขอ้ 3 เน้ือหาปัจจุบนั ทนั สมยั 6 4.00 4.00 4.0000 .00000 ขอ้ 4 เน้ือหามีประโยชนต์ อ่ การนาไปใชใ้ นการ พฒั นาคุณภาพชีวิต 6 4.00 4.00 4.0000 .00000 ขอ้ 5 การเตรียมความพร้อมก่อนฝึกทกั ษะ ขอ้ 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั 6 4.00 4.00 4.0000 .00000 วตั ถุประสงค์ ขอ้ 7 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา 6 4.00 5.00 4.1667 .40825 ขอ้ 8 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั กลุ่มเป้ าหมาย 6 4.00 4.00 4.0000 .00000 ขอ้ 9 วิธีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ 6 2.00 4.00 3.3333 .03280 ขอ้ 10 วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเร่ืองท่ี 6 4.00 4.00 4.0000 .00000 ถา่ ยทอด 6 4.00 4.00 4.0000 .00000 ขอ้ 11 วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใชส้ ่ือ เหมาะสม 6 4.00 4.00 4.0000 .00000 ขอ้ 12 วิทยากรเปิ ดโอกาสให้มีส่วนร่วมและ ซกั ถาม 6 4.00 4.00 4.0000 .00000 ขอ้ 13 สถานท่ี วสั ดุ อปุ กรณ์และส่ิงอานวย ความสะดวก 6 5.00 5.00 5.0000 .00000 ขอ้ 14 การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพ่ือให้ เกิดการเรียนรู้ 6 5.00 5.00 5.0000 .00000 ขอ้ 15 การบริการ การชว่ ยเหลอื และการ แกป้ ัญหา 6 4.00 5.00 4.6667 .51640 Valid N (listwise) 6 4.00 4.00 4.0000 .00000 6

บนั ทกึ ข้อความ สว่ นราชการ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอโชคชยั ที่ ศธ ๐๒๑๐.๓๖๑๐ / วันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ เร่ือง ขออนุมตั ิโครงการศูนยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน หลักสูตรอาชีพการทาไซจวิ๋ หลกั สูตร ๑๐ ชั่วโมง เรียน ผู้อานวยการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอโชคชยั ดว้ ยขา้ พเจา้ นางสาวพรรณี ปรือทอง ครู กศน.ตาบล ขอเสนอโครงการหลกั สตู รอาชีพ การทาไซจวิ๋ ซงึ่ จะดาเนนิ การ ในวนั ท่ี ๒๓ – ๒๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ ณ บา้ นปรางค์ หมู่ท่ี ๑๑ ตาบลพลับพลา อาเภอโชคชยั จงั หวัดนครราชสมี า โดยใช้เงินงบประมาณรายจา่ ย ประจาปี ๒๕๖๔ แผนงาน:ยุทธศาสตร์ เพื่อ สนับสนนุ ดา้ นการพฒั นาและเสริมศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการขบั เคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ย่ังยืน กจิ กรรม สง่ เสรมิ ศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน งบรายจา่ ยอื่น เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดาเนินโครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน (งวดท่ี ๑) กิจกรรมการศึกษาแบบพัฒนาอาชพี ระยะสั้น กลุม่ สนใจ (หลักสตู รไมเ่ กิน ๓๐ ชว่ั โมง) รหสั งบประมาณ ๒๐๐๐๒๓๕๐๕๒๗๐๐๐๒๓ จานวนเงนิ ๓,๐๐๐ บาท (สองพนั บาทถ้วน) ผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการฯ จานวน ๖ คน รายละเอยี ดดังแนบ จึงเรียนมาเพ่ือโปรดพจิ ารณาอนมุ ัติ (นางสาวพรรณี ปรือทอง) ครู กศน.ตาบล ความเหน็ ของเจ้าหน้าท่ีงานการศึกษาตอ่ เนื่อง ( ) เห็นควรพจิ ารณาอนุมตั ิ (นางจงรกั ษ์ เชอ่ื ปญั ญา) ครู อาสาสมัคร กศน. ความเห็นของผอู้ านวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอโชคชยั อนุมตั ิ (นางจรี ะภา วฒั นกสิการ) ผอู้ านวยการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอโชคชยั

1. ชื่อโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทาไซจิ๋ว 2. สอดคล้องกับ (รา่ ง)ยุทธศาสตร์ และจดุ เน้นการดาเนนิ งาน สานกั งาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2565 2. ดา้ นการสรา้ งสมรรถนะและทกั ษะคณุ ภาพ ขอ้ ท่ี 2.2 พัฒนาหลกั สตู รอาชีพระยะส้นั ทเี่ นน้ New skill Up skill และ Re skill เท่สี อดคล้อง กบั บริบท พน้ื ที่ ความต้องการของกลุม่ เป้าหมาย ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชพี ใหมท่ ร่ี องรับ Disruptive Technology ข้อที่ 2.3 ยกระดบั ผลติ ภณั ฑ์ สินค้า บริการจากโครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน ทีเ่ นน้ “สง่ เสรมิ ความรู้ สร้างอาชพี เพม่ิ รายได้ และมคี ุณภาพชีวติ ที่ดี” ใหม้ คี ุณภาพมาตรฐาน เปน็ ที่ยอมรบั ของตลาด ต่อยอดภูมิ ปญั ญาท้องถนิ่ เพื่อสร้างมูลค่าเพิม่ พฒั นาสู่วสิ าหกจิ ชมุ ชน ตลอดจนเพ่มิ ช่องทางประชาสมั พนั ธแ์ ละช่องทางการ จาํ หนา่ ย 3. หลกั การและเหตผุ ล ตามทก่ี ระทรวงศึกษาธิการได้มกี ารกาํ หนดนโยบาย “Quick Win” 7 วาระเร่งด่วน ไดแ้ ก่ ความ ปลอดภัยของผเู้ รยี น หลกั สูตรฐานสมรรถนะ บ๊กิ ดาต้า (Big Data) การขับเคลอ่ื นศนู ย์ความเปน็ เลศิ อาชวี ศึกษา การ พัฒนาทักษะทางอาชพี การศึกษาตลอดชวี ติ และการจดั การศึกษาสาํ หรับผู้ท่ีมีความต้องการเป็นพเิ ศษ สาํ นักงาน กศน.จึงได้มกี ารนํานโยบายที่เกยี่ วขอ้ ง 2 วาระ สาํ คัญ คือ การพัฒนาทักษะทางอาชีพ และการศึกษาตลอดชวี ติ มา ดําเนินการขบั เคลือ่ น โดยการจดั ทําโครงการจดั ทําหลกั สูตรเพื่อการพัฒนาอาชีพ Re - Skill และ Up - Skill จํานวน หลักสูตร 5 กลุ่มอาชีพ คอื หลักสตู รกลุม่ อาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรมและบริการ ความคดิ สรา้ งสรรค์และอาชีพเฉพาะทาง เพอื่ พัฒนาประชาชนให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการพัฒนาและต่อยอดประกอบอาชีพ ของตนเองรวมถึงการสง่ เสรมิ การรวมกล่มุ เพื่อผลิตและพฒั นาผลติ ภณั ฑใ์ นชมุ ชน อนั จะสง่ ผลใหเ้ กดิ การสร้างงาน สร้างอาชพี สรา้ งรายไดใ้ หก้ บั ประชาชนหรอื กลุ่มเปา้ หมายที่อยูใ่ นชมุ ชน ตอ่ ไป เพอื่ สนองนโยบายของสาํ นักงาน กศน. ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอ โชคชัย จังหวดั นครราชสีมา โดย กศน.ตําบลพลบั พลา ตระหนักถงึ ความสําคญั ดงั กลา่ ว และไดด้ ําเนินการสาํ รวจ กลมุ่ เป้าหมายในเชตพืน้ ที่ตาํ บลพลับพลา และมีความประสงค์ฝึกทักษะในการพัฒนาอาชีพการทาํ ไซจ๋ิว จึงไดจ้ ัด โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชมุ ชน หลกั สูตรอาชพี การทําไซจว๋ิ จํานวน 10 ช่ัวโมง เพื่อใหป้ ระชาชน ไดร้ ับความรู้ ทักษะ ใน การทําไซจิว๋ และสามารถนาํ ไปประกอบอาชพี สรา้ งรายได้ ลดรายจ่าย สรา้ งงาน สร้างอาชีพให้กับตนเองและ ครอบครัว แก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพชวี ิต เสรมิ สร้างความเขม้ แข็งให้กับตนเอง ชุมชน สงั คม 4.วัตถุประสงค์ เพ่ือใหป้ ระชาชนในตาํ บลพลบั พลา มีความรู้ ความสามารถไปประกอบอาชีพ สร้างรายได้ สร้างงาน มรี ายได้ ลดรายจ่าย ให้ตนเองและครอบครวั

5. เปา้ หมาย 5.1 เชิงปรมิ าณ ประชาชนในตาํ บลพลับพลา อาํ เภอโชคชยั จังหวดั นครราชสมี า จาํ นวน 6 คน 5.2 เชิงคณุ ภาพ ประชาชนทีเ่ ข้ารว่ มโครงการ ฯ รอ้ ยละ 90 มคี วามรู้ ทักษะในการทําไซจว๋ิ สรา้ งรายได้ ลดรายจ่าย ให้ ตนเองและครอบครัว 6. วธิ ดี าเนินการ ท่ี กจิ กรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลุม่ เปา้ หมาย เปา้ หมาย สถานท่ดี าเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ ประชาชนท่วั ไป จาํ นวน บา้ นปรางค์ หมู่ 11 1 สํารวจกลุ่มเปา้ หมาย เพอื่ สาํ รวจ ตาํ บลพลบั พลา 6 คน ตาํ บลพลับพลา พ.ย. โดยใช้เงนิ 64 แผนงาน กลมุ่ เปา้ หมาย งบประมาณ : 2 ประชุม/ วาแผน เพอ่ื กาํ หนด - ครอู าสาสมคั รฯ จํานวน บา้ นปรางค์ หมู่ 11 ยทุ ธศาสตรเ์ พ่ือ การดําเนินงาน รปู แบบและ - ครู กศน.ตาํ บล 3 คน ตําบลพลับพลา พ.ย. สนับสนนุ ดา้ น แผนการ 64 การพฒั นาและ 3 ขออนุมัตโิ ครงการ/ ดาํ เนินงาน - ครูอาสาสมัครฯ จํานวน กศน.อาํ เภอโชคชัย เสรมิ สรา้ ง วางแผนการ - ครู กศน.ตาํ บล 3 คน ศักยภาพ ดาํ เนินงาน เพ่ือขอรับการ 13 ธ.ค. ทรัพยากรมนษุ ย์ สนับสนนุ - ครอู าสาสมคั รฯ จาํ นวน บ้านปรางค์ หมู่ 11 64 โครงการ 4 จัดเตรยี มสอื่ /วสั ดุ งบประมาณ - ครู กศน.ตาํ บล 3 คน ตาํ บลพลบั พลา ขับเคลื่อนการ ประสานงานภาคี ดาํ เนนิ งาน พัฒนาการศกึ ษา เครือขา่ ย เพื่อจัดเตรยี มสอื่ / ประชาชนใน จาํ นวน บ้านปรางค์ หมู่ 11 14 ธ.ค. ที่ยัง่ ยนื กิจกรรม ประสาน ต.พลบั พลา 6 คน ตําบลพลบั พลา 64 สง่ เสริม กศน.งบ 5 ดาํ เนนิ งานฝกึ อบรม กล่มุ เปา้ หมาย อ.โชคชยั รายจา่ ยอ่ืน เพอ่ื สาธติ และปฏบิ ตั ิจริง 23 – 24 เป็นค่าใชจ้ ่าย ดงั นี้ กจิ กรรมการ เพอื่ สง่ เสริมให้ ธ.ค. 64 โครงการศนู ย์ฝกึ เรยี นรู้ ประชาชนใน อาชีพ(งวดที่ 1) ฝึกทกั ษะการ ตําบลพลบั พลา กจิ กรรม 1. การแนะนาํ มีความรู้ การศกึ ษาแบบ อุปกรณ์ ความสามารถ พฒั นาอาชพี 2. การปฏบิ ัตทิ าํ ไซจ๋วิ ในการสรา้ งอาชพี ระยะสั้น กลมุ่ 3. การจําหนา่ ยสินคา้ และมรี ายได้ สนใจ(หลักสตู ร ทางออนไลน์ ลดรายจ่าย ไม่เกิน 30 ใหต้ นเองและ ช่ัวโมง) ครอบครวั

ท่ี กจิ กรรมหลัก วตั ถุประสงค์ กลุ่มเปา้ หมา เปา้ หมาย สถานทด่ี าเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ ย 6 การนเิ ทศตดิ เพอ่ื ประเมนิ บ้านปรางค์ หมู่ 11 23 – 24 รหัสงบประมาณ ตามผล คุณภาพการ -ครอู าสาสมคั รฯ จํานวน ตําบลพลับพลา ธ.ค. 64 ดําเนนิ งาน -ครู กศน.ตาํ บล 3 คน 200023505270 7 วัดและประเมนิ ผล เพอ่ื ประเมินผล บ้านปรางค์ หมู่ 11 23 – 24 0023 จาํ นวน การจดั กิจกรรม การการจดั ประชาชนใน จํานวน ตําบลพลบั พลา ธ.ค. 64 เงิน 3,000 บาท กิจกรรม ต.พลับพลา 6 คน (สามพันบาท 8 สรปุ และรายงานผล เพอ่ื รายงานให้ อ.โชคชัย กศน.อาํ เภอโชคชยั 31 ถว้ น) การดาํ เนินงาน หนว่ ยงานและ -ครูอาสาสมัครฯ จํานวน ธ.ค. 64 ผู้เก่ยี วขอ้ งทราบ -ครู กศน.ตําบล 3 คน 7. รายละเอียดการใช้จ่ายวงเงนิ งบประมาณทง้ั โครงการ งบประมาณรายจ่าย ประจาํ ปี 2565 แผนงาน:ยุทธศาสตร์เพือ่ สนับสนุนดา้ นการพัฒนาและเสริมศกั ยภาพ ทรพั ยากรมนุษย์ โครงการขับเคล่ือนการพฒั นาการศึกษาที่ยง่ั ยืน กิจกรรมสง่ เสรมิ ศูนย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน งบรายจ่ายอ่นื เพ่ือเปน็ ค่าใช้จา่ ยในการดาํ เนินงานโครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน (งวดที่ 1 ) กจิ กรรมศึกษาแบบพฒั นาอาชีพระยะส้นั กลมุ่ สนใจ (หลักสูตรไม่เกิน 30 ช่วั โมง) รหัสงบประมาณ 2000235052700023 จาํ นวนเงนิ 3,000 บาท (สามพัน บาทถว้ น) เพ่ือเปน็ คา่ ใชจ้ า่ ย ดังนี้ 7.1 ค่าตอบแทนวทิ ยากร ( จํานวน 10 ชม. x 200 บาท) เปน็ เงิน 2,000 บาท 7.2 วสั ดฝุ กึ วัสดใุ นทอ้ งถนิ่ - เชอื กไนลอน (จาํ นวน 50 มัด x 20 บาท) เปน็ เงนิ 1,000 บาท รวมเป็นเงนิ ทั้งส้นิ 3,000 บาท (สามพนั บาทถ้วน) หมายเหตุ ทุกรายการถัวเฉล่ียตามทจ่ี า่ ยจรงิ

8.แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสท่ี 4 (ต.ค. – ธ.ค.64) (ม.ค.- มี.ค.65) (เม.ย.- ม.ิ ย.65) (ก.ค.– ก.ย.65) กจิ กรรม - - - - 1.ประชมุ คณะทาํ งาน - - - 2.ขออนมุ ตั โิ ครงการแต่งตงั้ คณะทาํ งาน - 3.ประสานงาน ประชาสัมพนั ธ์ และ - - - - ประสานภาคเี ครอื ขา่ ย 4.ดําเนนิ งานโครงการ 3,000 - - - 4.1 การแนะนาํ อปุ กรณ์ 4.2 การปฏบิ ัติทําไซจิ๋ว 4.3 การจําหน่ายสนิ ค้าทาง ออนไลน์ 5.วดั และประเมนิ โครงการฯ -- - - 6.สรปุ รายงานผล และตดิ ตามผลการ - - - - ดําเนนิ งานโครงการฯ 9.ผู้รับผิดชอบโครงการ ครู กศน.ตําบล - นางสาวพรรณี ปรือทอง ครู กศน.ตําบล - นายบญุ ญาโชติ ป้องประดา ครู อาสาสมัคร กศน. - นางจงรักษ์ เชื่อปัญญา ครู อาสาสมัคร กศน. - นายสมชาย มุ่งภกู่ ลาง 10.เครือข่ายท่เี กีย่ วข้อง - ผนู้ ําชมุ ชนตาํ บลพลบั พลา 11.โครงการทเ่ี กย่ี วขอ้ ง โครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน หลกั สตู รการทําไซโมบาย 12. ผลลพั ธ์(Outcome) ประชาชนในตําบลพลับพลา มีความรู้ และทักษะการทาํ ไซจ๋วิ ในการประกอบอาชพี และมีรายได้ ลดรายจา่ ย ใหก้ บั ตนเองและครอบครวั แกไ้ ขปญั หาและพัฒนาคณุ ภาพชีวติ เสรมิ สร้างความเขม้ แขง็ ให้กับชมุ ชน สงั คม

13.ดัชนีชี้วัดผลสาเรจ็ ของโครงการ 13.1 ตัวชี้วดั ผลผลิต (Outputs) ประชาชนในตําบลพลับพลา ท่ีเข้าร่วมโครงการฯ จํานวน 6 คน มคี วามรู้ ทักษะในการทําไซ จวิ๋ และสามารถประกอบอาชพี สร้างรายได้ ลดรายจ่าย ใหต้ นเองและครอบครวั แก้ไขปญั หาและพัฒนาคุณภาพ ชวี ิต เสรมิ สรา้ งความเขม้ แข็งให้กบั ชมุ ชน สังคม 13.2 ตวั ช้ีวัดผลลัพธ์ (Outcomes) ประชาชนในตําบลพลับพลา ท่เี ข้ารว่ มโครงการฯ ร้อยละ 90 นําความรู้ ทักษะทท่ี ักษะในการทําไซ จว๋ิ และสามารถประกอบอาชพี สร้างรายได้ ลดรายจา่ ย ให้ตนเองและครอบครัว แก้ไขปญั หาและพฒั นาคุณภาพ ชวี ติ เสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งใหก้ ับชมุ ชน สังคม 14. การตดิ ตามและประเมินผลโครงการ ผ้เู สนอโครงการ - สังเกตการมีสว่ นรว่ ม (นางสาวพรรณี ปรือทอง) - แบบประเมินความพึงพอใจ ลงช่อื ครู กศน.ตาํ บล ลงชอ่ื ผ้เู ห็นชอบโครงการ (นางจงรักษ์ เชือ่ ปัญญา) ครู อาสาสมัคร กศน. ลงชอ่ื ผู้อนุมัตโิ ครงการ (นางจรี ะภา วฒั นกสกิ าร) ผู้อํานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอโชคชั

แบบ กศ.ตน.10 แบบประเมินความพึงพอใจ โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชุมชน หลกั สูตรอาชพี การทาํ ไซจิ๋ว ระหวา่ งวันที่ 23-24 เดอื น ธนั วาคม 2564 สถานทจ่ี ัด ณ บา้ นปรางค์ หม่ทู ี่ 11 ตําบลพลบั พลา อาํ เภอโชคชยั จงั หวัดนครราชสมี า ข้อมูลพนื้ ฐานของผู้ประเมินความพึงพอใจ ( ) ชาย ( ) หญงิ ( ) 40-59 ปี ( ) 60 ปขี ึ้นไป เพศ ( ) ตาํ่ กว่า 15 ปี ( ) 15–39 ปี ( ) ระดับ ม.ปลาย ( ) ปริญญาตรี อายุ ( ) ระดบั ประถม ( ) ระดบั ม.ต้น ( ) คา้ ขาย อื่น........................ วุฒกิ ารศกึ ษา ( ) เกษตรกร ( ) รับจ้างทั่วไป อาชีพ คาชีแ้ จง 1. แบบประเมินความพึงพอใจ มี 4 ตอน 2. โปรดแสดงเคร่ืองหมาย √ ในชอ่ งว่างระดบั ความพงึ พอใจตามความคดิ เห็นของทา่ น ระดบั ความพงึ พอใจ หมายเหตุ ขอ้ รายการประเมินความพึงพอใจ มากทีส่ ุด มาก ปาน น้อย นอ้ ย กลาง ทีส่ ดุ ตอนท่ี 1 ความพึงพอใจดา้ นเนอ้ื หา 1 เนอ้ื หาตรงตามความต้องการ 2 เนื้อหาเพยี งพอต่อความต้องการ 3 เนอ้ื หาปัจจุบันทันสมยั 4 เน้อื หามีประโยชนต์ อ่ การนาํ ไปใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจัดกจิ กรรมการฝกึ ทักษะ 5 การเตรียมความพรอ้ มก่อนฝึกทักษะ 6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 7 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา 8 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย 9 วิธกี ารวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ ตอนที่ 3 ความพึงพอใจตอ่ วิทยากร 10 วทิ ยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องทีถ่ า่ ยทอด 11 วทิ ยากรมีเทคนิคการถา่ ยทอดใชส้ ื่อเหมาะสม 12 วิทยากรเปิดโอกาสใหม้ ีสว่ นร่วมและซักถาม ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก 13 สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสง่ิ อํานวยความสะดวก 14 การสือ่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพอ่ื ให้เกดิ การเรียนรู้ 15 การบริการ การช่วยเหลือและการแกป้ ญั หา ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะอน่ื ๆ ………………………………………………………………………………………………………..…………….…………………………....................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………................................................................................................................................................

กาหนดการ โครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทาไซจ๋ิว จานวน ๑๐ ช่ัวโมง (เรยี นวนั ละ ๕ ชั่วโมง) ระหวา่ งวันท่ี ๒๓ – ๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๔ เวลาเรียน ๐๙.๐๐น. - ๑๕.๐๐ น. วัน เดอื น ปี เวลา กจิ กรรม หมายเหตุ ๐๘.๐๐ – ๐๘.๓๐ น. ลงทะเบียน วิทยากร นางรสริน กริดกระโทก ๒๓ ๐๙.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. วิทยากรใหค้ วามรู้ เร่ือง การทาไซจ๋ิว ธนั วาคม ๑. แนะนาวัสดอุ ปุ กรณ์การทาไซจ๋วิ ๒๕๖๔ ๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. ๒. ให้ผเู้ รียนมคี วามรูค้ วามเข้าใจ และเจต (เรยี นวนั ละ ๕ ชม.) ๑๓.๐๐ – ๑๕.๐๐ น. คติที่ดใี นการประกอบอาชีพการทาไซจ๋วิ ๓. ใหผ้ ู้เรยี นสามารถวิเคราะห์ความเป็นไป ไดแ้ ละตัดสนิ ใจเลือกประกอบอาชพี การทา ไซจ๋ิว ๔. ให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ความเปน็ ไป ไดแ้ ละตัดสินใจเลอื กประกอบอาชพี การทา ไซจว๋ิ พักกลางวัน วทิ ยากร จัดกิจกรรมการเรยี นรู้เรื่อง ๑. ความรเู้ บ้ืองตน้ เก่ียวกับการทาไซจิว๋ ๑.๑ การเตรยี มพนื้ ที่ ๑.๒ การเตรยี มวสั ดุอุปกรณ์เครื่องมอื ๒. วสั ดทุ ใี่ ชใ้ นการทาไซจิ๋ว ๒.๑ เชือกไนลอน ๒.๒ ไม้ไผ่ ๒.๓ ร้ินสีเงนิ ๒.๔ รน้ิ สีทอง ๒.๕ มดี ตอก ๒.๖ เขม็ โคเช ๓. การฝกึ ปฏิบัติการทาไซจวิ๋ ๔. สรปุ องค์ความรู้เพ่ือการพัฒนา

กาหนดการ โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน หลกั สูตรอาชีพการทาไซจ๋ิว จานวน ๑๐ ช่วั โมง (เรียนวันละ ๕ ชัว่ โมง) ระหว่างวันท่ี ๒๓ – ๒๔ ธนั วาคม ๒๕๖๔ เวลาเรยี น ๐๙.๐๐น. - ๑๕.๐๐ น. วัน เดือน ปี เวลา กจิ กรรม หมายเหตุ ๐๘.๐๐ – ๐๘.๓๐ น. ลงทะเบยี น วิทยากร นางรสรนิ กรดิ กระโทก ๐๙.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. วทิ ยากรใหค้ วามรู้ เรื่อง การทาไซจิ๋ว ๑. ชอ่ งทางการประกอบอาชีพ ๒๔ ๒. การเขยี นโครงการอาชีพ ธันวาคม ๓. การประเมินความเหมาะสมและ ๒๕๖๔ ๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. สอดคลอ้ งของโครงการอาชีพ (เรียนวนั ละ ๕ ชม.) ๔. ฝกึ ปฏิบัตกิ ารทาไซจ๋วิ พกั กลางวนั ๑๓.๐๐ – ๑๕.๐๐ น. วทิ ยากร จดั กิจกรรมการเรยี นรเู้ รื่อง ๑. การขายออนไลน์ ๒. สรุปองค์ความรู้เพ่ือการพัฒนา หมายเหตุ กาหนดการน้ีอาจเปล่ยี นแปลงตามความเหมาะสมของกจิ กรรม

คณะผู้จัดทำ ท่ีปรึกษำ นางจรี ะภา วฒั นกสิการ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอโชคชัย นางสวุ มิ ล หาญกล้า บรรณารักษช์ านาญการพเิ ศษ นายสมชาย มุง่ ภ่กู ลาง ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น นางจงรกั ษ์ เชือ่ ปัญญา ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น วเิ ครำะห์ขอ้ มลู เรยี บเรยี งและทำต้นฉบับ ครู กศน.ตาบล นางสาวพรรณี ปรอื ทอง ครู กศน.ตาบล บรรณำธกิ ำร นางสาวพรรณี ปรอื ทอง

กศน.ตำบลพลบั พลำ ศูนย์กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั อำเภอโชคชัย สำนักงำนสง่ เสริมกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศยั จงั หวดั นครรำชสมี ำ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook