Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการใช้ที่ราชพัสดุ - กรมธนารักษ์

คู่มือการใช้ที่ราชพัสดุ - กรมธนารักษ์

Description: คู่มือการใช้ที่ราชพัสดุ - กรมธนารักษ์

Search

Read the Text Version

www.treasury.go.th

คำนำ ตามเจตนารมณ์ของกฎหมายว่าด้วยที่ราชพัสดุ ได้มี จุดมุ่งหมายให้ที่ราชพัสดุมีไว้หรือสงวนไว้เพ่ือใช้ประโยชน์ใน ทางราชการ ดังนั้น กระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หนว่ ยงานของรัฐ หรอื องค์กรอื่นของรัฐจึงสามารถขอใช้ท่ีราชพัสดุเพ่ือ ประโยชน์ในทางราชการได้ตามความจาเป็นและสมควร โดยเม่ือ ครอบครองหรือใช้ประโยชน์ในที่ราชพัสดุแล้วจะต้องมีหน้าท่ีในการ ปกครองดูแล บารุงรักษา และใช้ที่ราชพัสดุให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบยี บ และมตคิ ณะรฐั มนตรีเกีย่ วกับที่ราชพสั ดุทีเ่ กย่ี วขอ้ ง ก ร ม ธ น า รั ก ษ์ จึ ง ไ ด้ จั ด ท า คู่ มื อ ก า ร ใ ช้ ท่ี ร า ช พั ส ดุ น้ี ข้ึ น เพ่ือเป็นการเผยแพร่ความรู้และสร้างความเข้าใจเก่ียวกับหลักเกณฑ์ การใช้ท่ีราชพัสดุให้กับส่วนราชการผู้ใช้ท่ีราชพัสดุ รวมทั้ง รัฐวสิ าหกิจทเ่ี ปน็ นิตบิ ุคคลท่ีมีสิทธใิ ชท้ ่รี าชพัสดุตามกฎหมายได้ทราบ เพ่ือใช้เป็นแนวทางให้กับผู้ใช้ท่ีราชพัสดุในการดาเนินการให้ถูกต้อง ตามกฎหมายท่ีราชพัสดุ โดยเฉพาะอย่างย่ิงเพ่ือให้ส่วนราชการและ รัฐวิสาหกิจตระหนักว่าที่ราชพัสดุนั้นมีจากัด ควรดูแลรักษาและ หวงแหนไว้และเป็นทรัพย์สินของส่วนรวมของประเทศ ไม่ใช่ สว่ นราชการใดส่วนราชการหน่งึ เป็นการเฉพาะ เพ่ือให้เกิดประโยชน์ สูงสดุ ต่อทางราชการตอ่ ไป กรมธนำรกั ษ์

สำรบญั ส่วนท่ี 1 คานิยามของผมู้ ีสทิ ธขิ อใช้/ผ้ใู ชท้ ่รี าชพสั ดุ หน้ำ 1 ส่วนที่ 2 หลกั เกณฑ์การขอใชท้ ่รี าชพสั ดแุ ละมาตรฐาน 3 การใช้ทร่ี าชพัสดุ 2.1 การขอใชท้ ี่ราชพสั ดุ 3 2.2 หลกั เกณฑแ์ ละข้ันตอนการขอใช้ทรี่ าชพสั ดุ 4 2.2.1 กรณกี ระทรวง ทบวง กรม องค์กร 4 ปกครองสว่ นท้องถ่ินหรือหน่วยงาน ของรัฐขอใช้ท่ีราชพสั ดุ 2.2.2 กรณอี งค์กรอน่ื ของรฐั ขอใชท้ ีร่ าชพัสดุ 6 2.2.3 กรณีการถ่ายโอนภารกจิ ด้านการศึกษา 9 ไปสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน 2.2.4 หลักฐานประกอบการขอใชท้ ่รี าชพสั ดุ 9 2.3 เกณฑ์มาตรฐานการใช้ที่ราชพสั ดุ 11 2.3.1 การขอใช้ทร่ี าชพัสดุเพ่ือก่อสร้างที่ทาการ 11 2.3.2 การขอใชท้ ี่ราชพัสดุเพ่ือก่อสรา้ ง 12 บ้านพกั ข้าราชการ 2.3.3 การขอใช้ทร่ี าชพัสดุเพ่อื กอ่ สร้างกิจการ 13 สาธารณูปโภค 2.3.4 การขอใชท้ ี่ราชพัสดุเพอื่ จัดสรา้ ง 14 สาธารณปู การ

สำรบัญ หน้ำ 2.4 เง่ือนไขการใช้ที่ราชพสั ดุสาหรบั ผู้ใช้ทีร่ าชพสั ดุ 14 สว่ นที่ 3 หนา้ ท่ีท่ีผู้ใชท้ ีร่ าชพัสดุต้องปฏิบตั ติ ามกฎหมาย 20 วา่ ด้วยที่ราชพสั ดุ 3.1 การปกครองดูแลบารุงรักษาทีร่ าชพสั ดุ 20 3.2 การขนึ้ ทะเบยี นที่ราชพัสดุ 21 3.3 การรังวดั การพิสจู น์สอบสวนการทา 24 ประโยชน์หรือตรวจสอบเนอ้ื ทีต่ ามประมวล กฎหมายที่ดนิ การสอบสวนเปรยี บเทียบหรอื การระงบั ข้อพิพาทเกี่ยวกับแนวเขต 3.4 การใชท้ รี่ าชพัสดุ 24 3.5 การใช้ทร่ี าชพัสดทุ ี่ได้มาโดยการบรจิ าค 25 ตามวัตถุประสงค์ของผู้ยกให้ 3.6 การเปลย่ี นแปลงการใชป้ ระโยชนใ์ น 26 ที่ราชพัสดุ 3.7 การตดั ฟนั ต้นไม้ การขุดดนิ การถมดนิ 27 หรอื การดาเนินการใด ๆ ท่มี ีลักษณะเปน็ การเปลีย่ นแปลงสภาพของท่ีราชพัสดุ 3.8 การจัดสวสั ดิการในท่รี าชพัสดตุ ามระเบียบ 29 สานักนายกรฐั มนตรีว่าดว้ ยการจดั สวสั ดิการ ภายในส่วนราชการ พ.ศ. 2547

สำรบัญ หน้ำ 3.8.1 ความหมายของการจัดสวัสดกิ าร 30 3.8.2 ขน้ั ตอนการดาเนนิ การ 30 3.9 การนาทร่ี าชพสั ดไุ ปให้ส่วนราชการ เอกชน 31 หรอื รฐั วิสาหกจิ ใช้ประโยชน์เพอื่ จัดประชมุ สัมมนา ฝึกอบรมและพกั อาศยั หรือจัดกจิ กรรม 3.9.1 กรณกี ารให้ส่วนราชการอ่ืนเข้าใช้ 31 ประโยชน์ 3.9.2 กรณีการใหเ้ อกชนหรือรฐั วิสาหกิจ 32 เขา้ ใช้ประโยชน์ 3.10 การรอ้ื ถอนและจาหน่ายส่งิ ปลกู สร้างทเี่ ปน็ 33 ท่รี าชพสั ดุ 3.10.1 การรื้อถอนอาคารหรือสิ่งปลูกสร้าง 33 ท่ีเปน็ ทีร่ าชพัสดุ 3.10.2 การจาหน่ายอาคารหรือ 36 สิ่งปลกู สรา้ งท่จี ะทาการรื้อถอนหรือ การจาหน่ายวัสดทุ ่ีไดจ้ ากการรอ้ื ถอน 3.10.3 การนาวัสดทุ ี่ได้มาจากทร่ี าชพัสดุ 36 ไปใช้ประโยชน์ 3.10.4 การจาหนา่ ยรายการส่ิงปลกู สรา้ ง 38 ออกจากทะเบียนทีร่ าชพสั ดุ

สำรบญั หนำ้ 38 3.11 การสง่ คืนทรี่ าชพสั ดุ 38 3.11.1 กรณที ่ีต้องส่งคนื ท่ีราชพัสดุ 40 3.11.2 วิธกี ารปฏิบตั ิ 41 43 3.12 การผอ่ นผันการสง่ คืนที่ราชพัสดุ 3.13 การป้องกันและแก้ไขปัญหาการบุกรุก

1 ส่วนที่ 1 คำนิยำมของผมู้ ีสทิ ธขิ อใช้ / ผู้ใชท้ ีร่ ำชพัสดุ ตามกฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการปกครอง ดแู ล บารงุ รกั ษา ใช้ และจัดหาประโยชน์เกี่ยวกับท่ีราชพัสดุ พ.ศ. 2545 ได้กาหนดคานยิ ามของผ้มู สี ทิ ธิขอใช้และผขู้ อใช้ท่ีราชพสั ดุ ไวด้ ังนี้ 1) “ผขู้ อใช้ที่รำชพัสดุ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรอ่ืนของ รฐั ที่ขอใชท้ ่ีราชพัสดุ 2) “ผู้ใช้ที่รำชพัสดุ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรอ่ืนของรัฐ ที่เป็นผู้ปกครอง ดูแล หรือใช้ประโยชน์ในท่ีราชพัสดุ และให้หมายความ รวมถึงรฐั วสิ าหกจิ ท่ีเป็นนติ บิ คุ คลที่มีสิทธิใช้ทร่ี าชพัสดตุ ามกฎหมาย คำนยิ ำมของผ้มู สี ิทธขิ อใช้ / ผู้ใชท้ ร่ี ำชพสั ดุ 1

สว่ นที่ 1 หมำยเหตุ “กระทรวง ทบวง กรม” “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” “หน่วยงานของรัฐ” “องค์กรอื่นของรัฐ” และ “รัฐวิสาหกิจ” ตามกฎหมายเกี่ยวกับท่ีราชพัสดุ หมายถึง  กระทรวง ทบวง กรม หมายถึง ส่วนราชการตาม พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 และท่ีแก้ไข เพิม่ เตมิ  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หมายถึง องค์การบริหาร ส่วนจงั หวดั เทศบาล องค์การบรหิ ารส่วนตาบล กรุงเทพมหานคร เมือง พทั ยา และองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ อืน่ ที่มกี ฎหมายจดั ต้ัง  หน่วยงานของรัฐ หมายถึง หน่วยงานหรือองค์กรอิสระท่ี เกิดตามรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย เชน่ สานักงานคณะกรรมการ การเลือกต้ัง สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แห่งชาติ สานกั งานการตรวจเงนิ แผน่ ดิน เป็นตน้  องค์กรอื่นของรัฐ หมายถึง องค์การหรือหน่วยงาน นอกเหนือจากส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ และมี บทบัญญัตกิ ฎหมายจัดตงั้ ข้ึนเปน็ การเฉพาะ  รัฐวิสาหกิจท่ีเป็นนิติบุคคลท่ีมีสิทธิการใช้ท่ีราชพัสดุตาม กฎหมาย หมายถึง รัฐวิสาหกิจท่ีปกครองดูแลหรือใช้ประโยชน์ในที่ราช พสั ดกุ ่อนวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2519 และได้ทาความตกลงเกี่ยวกับ การใช้ที่ราชพัสดุกับกรมธนารักษ์ตามกฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีการปกครอง ดูแล บารุงรักษา ใช้ และจัดหาประโยชน์เกี่ยวกับที่ราช พสั ดุ พ.ศ. 2545 แลว้ คำนิยำมของผมู้ สี ทิ ธขิ อใช้ / ผใู้ ชท้ ่รี ำชพสั ดุ 2

2 ส่วนท่ี 2 หลักเกณฑก์ ารขอใช้ท่รี าชพสั ดุ และมาตรฐานการใช้ทร่ี าชพสั ดุ 2.1 การขอใช้ทรี่ าชพัสดุ ในการขอใช้ที่ราชพัสดุ ผู้ขอใช้ท่ีราชพัสดุจะขอใช้ได้เฉพาะ เพอื่ ประโยชนใ์ นทางราชการเท่านัน้ โดยสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กรณีคือ ก ร ณี ที่ ร า ช พั ส ดุ ที่ ข อ ใ ช้ เ ป็ น ที่ ว่ า ง แ ล ะ ไ ม่ อ ยู่ ใ น ค ว า ม ค ร อ บ ค ร อ ง ข อ ง หน่วยงานใด และกรณีเป็นที่ราชพัสดุท่ีอยู่ในความครอบครองของ สว่ นราชการ ซึ่งกรมธนารักษไ์ ด้กาหนดแนวทางในการดาเนินการไว้ดังนี้ หลกั เกณฑก์ ารขอใชท้ ่ีราชพสั ดุ / มาตรฐานการใชท้ ่ีราชพัสดุ 3

ส่วนท่ี 2 2.2 หลกั เกณฑ์และข้นั ตอนการขอใช้ท่รี าชพสั ดุ 2.2.1 กรณีกระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือหนว่ ยงานของรฐั ขอใช้ที่ราชพสั ดุ กระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือ หน่ ว ย ง า น ขอ ง รัฐ ผู้ ขอ ใช้ ท่ี รา ช พั ส ดุ จ ะ ขอใ ช้ ท่ี ร า ช พั ส ดุ ไ ด้ เฉ พ า ะ เพ่ื อ ประโยชน์ในทางราชการเท่านั้น โดยในการขอใช้จะต้องแจ้งเหตุผลความ จาเป็นในการขอใช้ที่ราชพัสดุน้ันให้ชัดเจน และจะต้องยื่นคาขอใช้ต่อ กรมธนารักษ์ดังนี้  กรณที ีร่ าชพัสดตุ ้งั อย่ใู นกรุงเทพมหานคร ให้ยื่นคาขอใช้ท่ีราชพัสดุต่อกรมธนารักษ์ โดยแนบ เอกสารหลักฐานประกอบคาขอใช้ตามข้อ 2.2.4 และมีขั้นตอนการ ดาเนนิ การดงั น้ี 1 *** ต้องยื่นเอกสารตาม 2 ขอ้ 2.2.4 ใหค้ รบถว้ น 3 4 หลักเกณฑ์การขอใชท้ ่ีราชพัสดุ / มาตรฐานการใช้ที่ราชพัสดุ 4

สว่ นที่ 2  กรณีที่ราชพัสดุตั้งอยู่ในจังหวัดอื่น ให้ยื่นคาขอใช้ ทร่ี าชพัสดตุ อ่ สานักงานธนารักษพ์ นื้ ท่ี โดยแบ่งเป็น 2 กรณีคือ (1) การขอใช้ท่ีราชพัสดุเป็นการชั่วคราวในกรณี ท่ีมีความจาเป็นและเร่งด่วนเพื่อประโยชน์ในการป้องกันหรือบรรเทา สาธารณะภัย และการขอใช้ท่ีราชพัสดุเพ่ือก่อสร้างท่ีทาการ หรือบ้านพักหรือกิจการสาธารณูปโภคตามเกณฑ์มาตรฐานการใช้ ท่ีราชพสั ดุท่ีกรมธนารักษ์กาหนด - ให้ยื่นคาขอใช้ต่อสานักงานธนารักษ์พื้นท่ี พร้อมแนบเอกสารประกอบคาขอตามข้อ 2.2.4 โดยสานักงานธนารักษ์พ้ืนที่ จะรวบรวมเอกสารหลักฐานนาเสนอผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณาอนุญาต และมีขน้ั ตอนการดาเนินการดงั นี้ 1 *** ตอ้ งยื่นเอกสารตาม ข้อ 2.2.4 ใหค้ รบถว้ น 2 3 4 (2) กรณีการขอใช้ท่ีราชพัสดุท่ีไม่เป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานการใชท้ ่ีราชพัสดทุ ี่กรมธนารกั ษ์กาหนด - ผขู้ อใช้ท่ีราชพัสดุจะต้อง ย่ืนคาขอใช้ต่อสานักงานธนารักษ์พื้นที่ โดยแนบเอกสารหลักฐาน ประกอบคาขอตามข้อ 2.2.4 และสานักงานธนารักษ์พ้ืนที่จะรวบรวม เอกสารหลักฐานนาเสนอผู้ว่าราชการจังหวัดให้ความยินยอมแล้วส่งเร่ืองให้ กรมธนารักษ์พจิ ารณาอนุญาต โดยมีขนั้ ตอนการดาเนนิ การดงั นี้ หลักเกณฑก์ ารขอใชท้ ร่ี าชพัสดุ / มาตรฐานการใชท้ ่ีราชพสั ดุ 5

ส่วนท่ี 2 1 *** ต้องยน่ื เอกสารตาม 2 ขอ้ 2.2.4 ใหค้ รบถว้ น 3 4 5 6 ทั้งนี้ ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการพิจารณาอนุญาตหรือ การให้ความยินยอมให้ใช้ท่ีราชพัสดุ และผู้ขอใช้ที่ราชพัสดุมีหนังสือแจ้ง กรมธนารักษ์ยืนยันถึงความจาเป็นท่ีต้องใช้ท่ีราชพัสดุเพ่ือประโยชน์ใน ทางราชการ กรมธนารักษ์จะนาเสนอปัญหาท่ีไม่อาจทาความตกลงกันได้ พรอ้ มทั้งเหตุผลเสนอคณะกรรมการทร่ี าชพสั ดเุ ป็นผูว้ ินิจฉยั ชี้ขาด 2.2.2 กรณอี งคก์ รอืน่ ของรัฐขอใช้ท่ีราชพัสดุ ในการขอใช้ที่ราชพัสดุจะขอใช้ได้เฉพาะเพื่อประโยชน์ ในทางราชการเทา่ น้นั และจะต้องดาเนนิ การดังน้ี  ที่ราชพัสดุท่ีตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร ให้ย่ืนคาขอใช้ต่อ กรมธนารกั ษ์ โดยแนบเอกสารหลักฐานประกอบคาขอตามข้อ 2.2.4 หลักเกณฑก์ ารขอใชท้ ีร่ าชพัสดุ / มาตรฐานการใชท้ รี่ าชพสั ดุ 6

สว่ นท่ี 2  ทร่ี าชพสั ดุที่ต้งั อยูใ่ นจังหวัดอ่ืน ให้ยื่นคาขอใช้พร้อมแนบ เอกสารหลกั ฐานประกอบคาขอตามขอ้ 2.2.4 ตอ่ สานักงานธนารักษพ์ ้ืนท่ี โ ด ย ส า นั ก ง า น ธ น า รั ก ษ์ พ้ื น ที่ จ ะ ร ว บ ร ว ม เ อ ก ส า ร ห ลั ก ฐ า น น า เ ส น อ ผ้วู ่าราชการจังหวัดพิจารณาใหค้ วามยินยอมกอ่ นส่งเรื่องให้กรมธนารักษ์  เมื่อกรมธนารักษ์ได้รับคาขอใช้ที่ราชพัสดุ หรือเม่ือ ผู้ว่าราชการจังหวัดให้ความยินยอมและจัดส่งคาขอให้กรมธนารักษ์แล้ว กรมธนารกั ษจ์ ะนาเสนอเร่อื งดังกล่าวต่อคณะกรรมการท่ีราชพสั ดเุ พื่อพิจารณา ให้ความเห็นชอบกอ่ นที่จะอนญุ าตใหใ้ ช้ต่อไป โดยกรมธนารกั ษ์จะแจ้งผู้ขอใช้ ที่ราชพสั ดุทราบภายใน 30 วันนับแต่วนั ทค่ี ณะกรรมการทร่ี าชพสั ดมุ มี ติ หมายเหตุ ในการพจิ ารณาอนญุ าตให้องคก์ รอน่ื ของรัฐใชท้ ี่ราชพัสดุ กรมธนารักษ์จะ คานึงถึงวัตถุประสงค์ในการดาเนินงานหรือการประกอบกิจการ ฐานะทางการเงิน รายได้และความสามารถในการจัดหารายได้ของผู้ขอใช้ท่ีราชพัสดุ รวมทั้งประโยชน์ ทจี่ ะเกดิ แก่ทางราชการเปน็ สาคัญ ขน้ั ตอนการดาเนนิ การกรณที ีร่ าชพัสดตุ งั้ อย่ใู นกรงุ เทพมหานคร 1 *** ตอ้ งย่นื เอกสารตาม 2 ขอ้ 2.2.4 ใหค้ รบถว้ น 3 4 5 6 หลักเกณฑ์การขอใช้ทรี่ าชพสั ดุ / มาตรฐานการใช้ที่ราชพัสดุ 7

สว่ นที่ 2 ข้นั ตอนการดาเนนิ การกรณีทร่ี าชพัสดตุ ั้งอยู่ในจงั หวดั อื่น 1 *** ตอ้ งย่นื เอกสารตาม 2 ขอ้ 2.2.4 ใหค้ รบถว้ น 3 4 5 6 7 8 หลกั เกณฑก์ ารขอใช้ทร่ี าชพสั ดุ / มาตรฐานการใชท้ รี่ าชพสั ดุ 8

สว่ นที่ 2 2.2.3 กรณีการถ่ายโอนภารกิจด้านการศึกษาไปสังกัด องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ กรณที ี่มีกฎหมายให้โอนภารกิจด้านการศึกษาของโรงเรียน ในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานไปสังกัดองค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ จะต้องดาเนินการดังน้ี (1) สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานในฐานะ หน่วยงานท่ีมีการถ่ายโอนงาน จะต้องแจ้งข้อมูลการถ่ายโอนงานให้ กรมธนารักษ์ทราบตามแบบ ทบ.12 รวมท้ังแจ้งส่งคืนที่ราชพัสดุ ตามจานวนท่ีเคยใช้ประโยชน์ให้กับกรมธนารักษ์(รายละเอียดการส่งคืน ทรี่ าชพสั ดตุ ามข้อ 3.10.2) โดยกรณที ีร่ าชพัสดุตัง้ อย่ใู นกรงุ เทพมหานคร ให้แจ้งส่งคืนต่อกรมธนารักษ์ ส่วนท่ีราชพัสดุท่ีตั้งอยู่ในจังหวัดอ่ืนให้แจ้ง ส่งคืนตอ่ สานักงานธนารักษพ์ น้ื ที่ (2) องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินซ่ึงเป็นผู้รับโอนงาน ให้แจง้ ขอใชท้ ่ีราชพสั ดตุ อ่ กรมธนารักษ์ โดยมีรายละเอียดการดาเนินการ ตามขอ้ 2.2.1 2.2.4 หลกั ฐานประกอบการขอใชท้ ่ีราชพัสดุ หลกั ฐานประกอบการขอใช้ท่ีราชพสั ดุมีดงั นี้ (1) แบบขอใชท้ ร่ี าชพสั ดุ (แบบ ทบ.4) โดยกรอกรายละเอียดต่าง ๆ ให้ ครบถ้วนสมบูรณ์ และลงนามโดยหัวหน้าส่วนราชการระดับ กระทรวง ทบวง กรม องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ หนว่ ยงานของรัฐ หรือองค์กรอ่ืนของรัฐ หรือผู้ที่ได้รับมอบอานาจจากหัวหน้าส่วน ราชการดังกลา่ ว (2) รายละเอียดเก่ียวกบั โครงการใช้ประโยชน์ในทีร่ าชพสั ดทุ ่ขี อใช้ หลักเกณฑ์การขอใชท้ ร่ี าชพัสดุ / มาตรฐานการใช้ที่ราชพสั ดุ 9

สว่ นที่ 2 (3) เอกสารการได้รับอนุมัติงบประมาณหรือคาขอตั้งงบประมาณของ โครงการทป่ี ระสงค์จะใชท้ รี่ าชพสั ดุ (กรณอี งค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นใหใ้ ช้เอกสารหลักฐานแผนงานโครงการ ที่ผ่านการพิจารณาหรือได้รับอนุมัติจากสภาองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน นน้ั ๆ แลว้ ) (4) แผนผังแสดงการใช้ประโยชน์ท่ีราชพัสดุแปลงที่มีการขอใช้ท้ังแปลง และแสดงการใช้ประโยชน์บริเวณใกล้เคียง เพื่อใช้ประกอบการ พิจารณาแผนผังดังกล่าวให้เหมาะสมกับสภาพทาเลและสอดคล้อง กบั แผนพัฒนาของจังหวดั และผงั เมอื ง (5) แผนผังแสดงการใช้ประโยชน์ท่ีดินเฉพาะบริเวณที่ขอใช้ตาม ความ เหมาะสมและจาเป็น แสดงรายการอาคารส่ิงปลูกสร้างในท่ีดินโดยมี มาตราสว่ นถูกตอ้ งตามหลกั วิชาการและมผี ู้ทรงคณุ วฒุ ิรับรองผงั หมายเหตุ ผู้ทรงคุณวุฒิ หมายถึง สถาปนิก วิศวกร นายช่างโยธา หรือ นายช่างสารวจ (6) แผนท่ีสังเขปแสดงท่ีตั้งที่ราชพัสดุและระยะห่างจากสถานที่สาคัญ ของจังหวัด เช่น ศาลากลางจังหวัด ท่ีว่าการอาเภอ สถานีตารวจ เป็นต้น (7) สาเนาหนังสือแสดงความยินยอมจากส่วนราชการผู้ครอบครองใช้ ประโยชน์ในท่ีราชพัสดุน้ันอยู่ก่อน (เฉพาะกรณีท่ีราชพัสดุที่ขอใช้มี สว่ นราชการอนื่ ครอบครองใช้ประโยชนอ์ ยู่กอ่ นแลว้ ) ทั้งนี้ ผู้ให้ความ ยินยอมจะต้องเป็นหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรอื่นของรัฐ หรือผู้ท่ไี ดร้ ับมอบอานาจจากหัวหนา้ ส่วนราชการดงั กล่าว (8) วัตถุประสงค์ในการดาเนินงานหรือการประกอบกิจการ เอกสารท่ี แสดงฐานะทางการเงิน รายได้ และผลประกอบการตามอานาจ หน้าที่ของหน่วยงานย้อนหลัง 3 ปี (เฉพาะกรณีผู้ขอใช้ท่ีราชพัสดุ เปน็ องคก์ รอื่นของรัฐ) หลกั เกณฑ์การขอใช้ทร่ี าชพัสดุ / มาตรฐานการใชท้ ีร่ าชพสั ดุ 10

สว่ นท่ี 2 2.3 เกณฑ์มาตรฐานการใชท้ รี่ าชพัสดุ กรมธนารักษ์ได้กาหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาอนุญาตให้ กระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานของรัฐ หรือ องค์กรอ่ืนของรัฐซึ่งขอใช้ท่ีราชพัสดุน้ันตามที่จาเป็นและสมควรเพ่ือ ประโยชน์ในทางราชการใหเ้ ปน็ มาตรฐานเดียวกนั ดงั น้ี 2.3.1 การขอใช้ที่ราชพสั ดุเพือ่ ก่อสรา้ งทีท่ าการ หมายถึง สถานที่ทางาน เช่น อาคารท่ีทาการ ห้องสมุด ประชาชน ศูนย์การเรียนรู้ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์ป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั เป็นตน้ เกณฑม์ าตรฐานการใชท้ ่ีราชพัสดุ การขอใชท้ ด่ี นิ ราชพัสดุ การขอใชอ้ าคารราชพสั ดุ เน้ือทไ่ี มเ่ กนิ 1 ไร่ เนอ้ื ท่ีไม่เกนิ 10 ตารางเมตรต่อคน *** ในกรณีขอใช้เกินมาตรฐานหรือมิได้กาหนดมาตรฐานไว้ ให้ผู้ขอใช้ท่ีราชพัสดุช้ีแจงเหตุผลความจาเป็น พร้อมกับจัดทาแผนผังแสดง โครงการท่ีจะใช้ประโยชน์ส่งให้กรมธนารักษ์เพ่ือประกอบการพิจารณา เป็นราย ๆ ไป *** หลกั เกณฑก์ ารขอใช้ที่ราชพสั ดุ / มาตรฐานการใชท้ ี่ราชพัสดุ 11

ส่วนที่ 2 2.3.2 การขอใช้ทรี่ าชพสั ดุเพอื่ กอ่ สร้างบ้านพกั ข้าราชการ บ้านเด่ยี ว บา้ นแฝด อาคารชุด อาคารชุด ใช้เนื้อทไ่ี ม่เกิน ใชเ้ นอื้ ท่ีไม่เกิน พกั อาศัย พกั อาศยั 18 หนว่ ย 30 หน่วย (ตรว.) (ตรว.) ใชเ้ นอื้ ทไ่ี มเ่ กิน ใช้เน้ือทไ่ี ม่ ประเภท/ระดบั ตาแหน่ง (ตรว. เกนิ (ตรว.) 1. ประเภทบริหาร 200 - - - ระดับตน้ และระดบั สงู ประเภทวิชาการ ระดบั ทรงคณุ วฒุ ิ - 2. ประเภทอานวยการ - ระดบั ตน้ และระดบั สูง 150 - - 650 ประเภทวิชาการ ระดับชานาญการพิเศษ และระดับเช่ยี วชาญ ประเภททั่วไป ระดบั ทักษะพเิ ศษ 3. ประเภทวิชาการ ระดบั ชานาญการ 100 - - ประเภทท่ัวไป ระดบั ชานาญงานและ ระดับอาวโุ ส 4. ประเภทวิชาการ ระดบั ปฏบิ ตั กิ าร - 50 450 ประเภททว่ั ไป ระดบั ปฏบิ ัตงิ าน *** ในกรณีทขี่ อใช้ท่ดี นิ ราชพสั ดเุ พอื่ กอ่ สรา้ งบา้ นพกั ข้าราชการ ในลักษณะรูปแบบอ่ืนที่ไม่ได้กาหนดมาตรฐานไว้หรือขอใช้เกินมาตรฐาน กาหนด ให้ผู้ขอใช้ท่ีราชพัสดุรวบรวมเอกสารหลักฐานส่งให้กรมธนารักษ์ พจิ ารณาความเหมาะสมเป็นกรณีไป *** หลักเกณฑ์การขอใชท้ ่ีราชพัสดุ / มาตรฐานการใชท้ ีร่ าชพัสดุ 12

ส่วนที่ 2 2.3.3 การขอใช้ทรี่ าชพสั ดุเพื่อก่อสร้างกิจการสาธารณูปโภค ใหใ้ ช้ทร่ี าชพสั ดุตามความจาเป็นภายใตห้ ลกั เกณฑด์ งั น้ี กิจการสาธารณปู โภค ลักษณะการดาเนนิ การ 1. ถนน - การขยายความกว้างหรือความยาว การปรับปรุง ซ่อมแซมถนนท่ีมีอยู่เดิมในท่ีราชพัสดุ หรือถนนในเขต คันคลองชลประทาน - การตัดถนนใหม่ในท่ีราชพัสดุ เช่ือมระหว่างถนน สาธารณะกบั ถนนสาธารณะ - การตัดถนนใหม่ในท่ีราชพัสดุ เช่ือมระหว่างทางหรือ ถนนภายในท่ีราชพัสดุที่มีอยู่เดิม 2. ไฟฟ้า ประปา - การปักเสา พาดสายไฟฟ้า หรือปรับปรุง ซ่อมแซม โทรศัพท์ การระบายนา้ เสาหรอื สายไฟฟา้ การสือ่ สาร - การวางหรอื ปรบั ปรุง ซ่อมแซมท่อประปา ทอ่ ระบายนา้ - การวางหรือปรับปรุง ซ่อมแซมสายโทรศัพท์ หรือ สายส่งระบบการสอื่ สาร *** การให้ใช้ที่ราชพัสดุเพื่อกิจการดังกล่าวข้างต้น หากที่ดิน อยู่ในความครอบครองของส่วนราชการอ่ืน หรือเป็นพื้นที่ที่จัดให้เช่า จะต้อง ได้รับความยินยอมจากส่วนราชการผู้ครอบครองหรือผู้เช่าก่อนแล้วแต่กรณี และการดาเนินการจะตอ้ งประสานและตรวจสอบ รวมท้ังปฏิบัติตามกฎหมาย และระเบยี บขอ้ บังคบั เก่ียวกบั การกอ่ สร้างอาคารหรอื สิ่งปลูกสร้างดว้ ย หลกั เกณฑก์ ารขอใชท้ ร่ี าชพสั ดุ / มาตรฐานการใชท้ ่รี าชพัสดุ 13

สว่ นท่ี 2 2.3.4 การขอใชท้ ่ีราชพัสดุเพอ่ื จัดสรา้ งสาธารณปู การ ประเภท มาตรฐานการใช้ 1. สวนสาธารณะ เน้อื ที่ไมเ่ กนิ 10 ไร่ 2. สนามกีฬา ลานกีฬา 3 ไร่ 3. การก่อสร้างศาลาที่พักริมทาง ป้อมยาม ใหใ้ ชท้ รี่ าชพัสดจุ านวนเนือ้ ทต่ี าม ป้อมตารวจ ศูนย์บริการข้อมูลเพื่อการท่องเที่ยว ความจาเปน็ หรือการดาเนินการในลักษณะทานองเดียวกัน ในทรี่ าชพสั ดุที่อยูใ่ นเขตทางหรือเขตชลประทาน 4. การติดต้ังป้ายบอกทางหรือป้ายประชาสัมพันธ์ ใหใ้ ชท้ รี่ าชพสั ดุจานวนเนอื้ ท่ีตาม ของทางราชการในที่ราชพัสดุที่อยู่ในเขตทางหรือ ความจาเป็น เขตชลประทาน 2.4 เงื่อนไขการใชท้ ีร่ าชพสั ดสุ าหรบั ผใู้ ชท้ ่ีราชพัสดุ (1) ต้องเข้าทาประโยชน์ในท่ีราชพัสดุตามวัตถุประสงค์ท่ี ขออนญุ าตภายในกาหนด 2 ปี นบั แตว่ ันทไ่ี ด้รับอนญุ าต (2) กรณีที่จะดาเนินการปลูกสร้างอาคารในพื้นที่ที่ได้รับอนุญาต จะต้องประสานงานและตรวจสอบ รวมทั้งปฏิบัติตามกฎหมายและ ระเบียบของสว่ นราชการท่ีเกยี่ วขอ้ ง หลกั เกณฑก์ ารขอใช้ท่รี าชพสั ดุ / มาตรฐานการใชท้ รี่ าชพสั ดุ 14

ส่วนที่ 2 (3) เมื่อปลูกสรา้ งอาคารหรอื สง่ิ ปลูกสรา้ งอ่นื ใดซ่งึ เปน็ ที่ราชพสั ดุลงใน ทดี่ นิ ราชพสั ดุแปลงน้ี หรือมีการดัดแปลงหรอื ตอ่ เตมิ อาคารหรือส่ิงปลูกสร้าง ทเ่ี ปน็ ที่ราชพัสดแุ ละมมี ูลคา่ ของการดดั แปลงหรือต่อเติมไม่ตา่ กวา่ 1 ลา้ นบาท จะต้องแจ้งให้กรมธนารักษ์หรือสานักงานธนารักษ์พื้นที่ทราบแล้วแต่กรณี ตามแบบที่กรมธนารักษ์กาหนดภายใน 30 วันนับแต่วันที่ปลูกสร้างเสร็จ หรือดัดแปลงต่อเติมเสร็จ เพื่อดาเนินการข้ึนทะเบียนหรือปรับปรุงแก้ไข ทะเบยี นทร่ี าชพสั ดใุ หเ้ ป็นปจั จบุ นั สาหรับการปลูกสร้างสิ่งปลูกสร้างท่ีเป็นกรรมสิทธิ์ของ หน่วยงานผใู้ ช้ทรี่ าชพัสดซุ งึ่ ไมเ่ ป็นที่ราชพัสดุ จะต้องแจ้งให้กรมธนารักษ์หรือ สานักงานธนารักษ์พ้ืนที่แล้วแต่กรณีทราบว่ามีการปลูกสร้างและ ใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ท่ีได้รับอนุญาต โดยไม่ต้องดาเนินการ ขึน้ ทะเบียนทร่ี าชพสั ดุ (4) เม่ือมีความประสงค์จะเปลี่ยนการใช้ท่ีราชพัสดุเพื่อประโยชน์ ในทางราชการอย่างอื่นแตกต่างไปจากท่ีได้รับอนุญาตไว้เดิม จะต้อง ทาความตกลงกบั กรมธนารกั ษห์ รือผู้ว่าราชการจังหวดั ก่อนแลว้ แต่กรณี (5) ต้องดูแลและบารุงรักษาที่ราชพัสดุซ่ึงอยู่ในความครอบครอง ใช้ประโยชน์เสมอด้วยวิญญูชนจะพึงสงวนทรัพย์สินของตนเอง และ จะต้องอนุญาตให้ผู้แทนของกรมธนารักษ์เข้าตรวจสอบท่ีราชพัสดุท่ีได้รับ อนุญาตให้ใช้หรือครอบครองเป็นคร้ังคราวตามควรแก่กรณี รวมท้ัง จะตอ้ งรับผดิ ชอบกรณที ม่ี ผี ู้บุกรกุ เกิดขน้ึ (6) กรณีท่ีมิได้ดูแลบารุงรักษาท่ีราชพัสดุจนทาให้เห็นได้ว่าจะเป็น เหตใุ ห้เกดิ ความเสียหายต่อที่ราชพัสดุ กรมธนารักษ์จะแจ้งให้ผู้ใช้ที่ราชพัสดุ จัดการอย่างหนึ่งอย่างใด เพ่ือบารุงรักษาที่ราชพัสดุ แต่หากผู้ใช้ที่ราชพัสดุ ไม่จดั การโดยไมม่ ีเหตุผลอันสมควร กรมธนารักษจ์ ะดาเนนิ การแจ้งให้ผใู้ ช้ ทรี่ าชพสั ดุสง่ คืนทีร่ าชพัสดนุ ั้น หลักเกณฑ์การขอใช้ทร่ี าชพัสดุ / มาตรฐานการใชท้ ร่ี าชพสั ดุ 15

ส่วนที่ 2 (7) ต้องจัดทารายงานเกี่ยวกับการปกครอง ดูแล บารุงรักษา ใช้ และจัดหาประโยชน์เกี่ยวกับที่ราชพัสดุท่ีอยู่ในความครอบครองหรือ ใช้ประโยชน์ต่อกรมธนารักษ์ภายในเดือนสิงหาคมของทุกปีตามแบบ ท่กี รมธนารักษ์กาหนด (8) การร้ือถอนอาคารหรือส่ิงปลูกสร้างที่เป็นท่ีราชพัสดุจะต้อง ได้รับอนุญาตจากกรมธนารักษ์หรือผู้ว่าราชการจังหวัดก่อนแล้วแต่กรณี เว้นแต่อาคารหรือสิ่งปลูกสร้างท่ีก่อสร้างมาแล้วไม่น้อยกว่าย่ีสิบห้าปี อาคารหรือส่ิงปลูกสร้างที่ชารุดจนใช้ในราชการไม่ได้ อาคารหรือ ส่ิงปลูกสร้างทเ่ี กย่ี วกบั ราชการลับทางทหาร อาคารหรือส่ิงปลูกสร้างเดิม เพอื่ ปลกู สร้างอาคารหรือส่งิ ปลกู สร้างใหม่ทดแทนตามที่ได้รับงบประมาณ และเม่ือร้ือถอนเสร็จเรียบร้อยแล้วให้แจ้งกรมธนารักษ์หรือสานักงานธนารักษ์ พ้นื ทที่ ราบดว้ ย (9) กรณีรื้อถอนอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างที่เป็นที่ราชพัสดุ และ อาคารส่ิงปลูกสร้างนัน้ มีลักษณะทีย่ งั มีคณุ ค่าทางประวตั ิศาสตร์ ศิลปกรรม หรือสถาปัตยกรรมท่ีควรอนุรักษ์ไว้ หรือมีสภาพที่ยังใช้ประโยชน์ใน ทางราชการต่อไปได้ ก่อนแจ้งขออนุญาตรื้อถอนหรือก่อนทาการรื้อถอน (แล้วแต่กรณี) ให้แต่งตั้งคณะกรรมการจานวนไม่น้อยกว่าสามคน พิจารณาเหตผุ ลและความจาเป็น ตลอดจนปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมาย ท่ีเกีย่ วข้อง เพ่อื เสนอความเหน็ ประกอบการพจิ ารณาของหนว่ ยงานผใู้ ช้ดว้ ย (10) การตัดฟนั ตน้ ไม้ ขดุ ดนิ หรอื ดาเนินการที่เป็นการเปล่ียนแปลง สภาพท่ีราชพสั ดุท่ีได้รับอนุญาต ต้องดาเนินการโดยปกติของวิญญูชนจะ พึงดูแลรักษาทรัพย์สินให้อยู่ในสภาพสวยงาม หรือไม่ก่อให้เกิดอันตราย ต่อชวี ติ หรอื ทรัพยส์ ิน หรอื เพ่ือประโยชนใ์ นการใช้สอยที่ราชพัสดุให้เหมาะสม ตอ่ ภารกิจเท่านั้น หากดาเนินการนอกเหนอื จากกรณดี ังกล่าวตอ้ งขออนุญาต กรมธนารักษห์ รอื ธนารักษ์พืน้ ทแ่ี ล้วแตก่ รณี หลกั เกณฑก์ ารขอใช้ท่ีราชพสั ดุ / มาตรฐานการใชท้ รี่ าชพสั ดุ 16

ส่วนท่ี 2 (11) การจาหน่ายอาคารหรอื สงิ่ ปลกู สรา้ งท่เี ป็นทร่ี าชพัสดุท่ีจะทาการ รอ้ื ถอน หรือการจาหน่ายวัสดุท่ีร้ือถอนแล้ว หรือการจาหน่ายต้นไม้ ดิน หรือ วัสดุอ่ืน ๆ ท่ีได้มาจากที่ราชพัสดุ ให้ปฏิบัติตามระเบียบท่ีกระทรวงการคลัง กาหนด สาหรับเงินที่ได้จากการจาหน่ายให้นาส่งคลังเป็นรายได้ของ กรมธนารักษ์ และในกรณีท่ีจะนาวัสดุท่ีได้จากที่ราชพัสดุดังกล่าวไปใช้ เพื่อประโยชน์แก่ทางราชการ หรือเพ่ือประโยชน์แก่สาธารณประโยชน์ หรือสาธารณกุศล จะต้องได้รับอนุญาตจากกรมธนารักษ์หรือธนารักษ์พ้ืนที่ กอ่ นแล้วแต่กรณี (12) ห้ามนาที่ราชพสั ดทุ ไี่ ดร้ ับอนญุ าตใหใ้ ชป้ ระโยชนไ์ ปจดั หาประโยชน์ ไม่วา่ กรณใี ด ๆ ยกเวน้ กรณที ี่มกี ฎหมายบัญญัตใิ หผ้ ู้ใช้ที่ราชพัสดุมีอานาจ ในการปกครองดแู ล บารงุ รักษา ใช้ และจัดหาประโยชน์ในท่ีราชพัสดุและ นารายได้ท่ีได้รับไปใช้จ่ายได้โดยไม่ต้องนาส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน ให้ผู้ใช้ที่ราชพัสดุสามารถดาเนินการจัดหาประโยชน์ได้เฉพาะตามกรอบ วัตถุประสงค์ในการดาเนินงานของหน่วยงานท่ีได้กาหนดไว้ตามกฎหมาย เทา่ น้ัน และจะต้องรบั ภาระค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายในการดาเนินคดีแพ่ง คดอี าญา คดีปกครอง และคดีอ่ืน ๆ รวมท้ังภาระค่าภาษีต่าง ๆ เก่ียวกับ ทร่ี าชพัสดแุ ละทรัพยส์ ินในทีร่ าชพสั ดดุ ว้ ย (13) ผู้ใช้ท่ีราชพัสดุที่มีสถานะเป็นกระทรวง ทบวง กรม และมีเหตุผล ความจาเป็นในการใช้ท่ีราชพัสดุเพื่อประโยชน์แก่การจัดสวัสดิการภายใน ส่วนราชการตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดสวัสดิการ ภายในสว่ นราชการ พ.ศ. 2547 ให้ถอื ว่าเป็นการใชท้ ี่ราชพสั ดเุ พ่ือประโยชน์ ในทางราชการตามทีไ่ ด้รับอนุญาตไว้แต่เดมิ สาหรบั การนาทีร่ าชพัสดทุ ่ีไดร้ บั อนุญาตไปจัดสวัสดิการในเชิงธุรกิจ โดยการจัดให้เช่าหรือโดยวิธีการ จัดทาสัญญาต่างตอบแทนอื่นนอกเหนือจากการจัดให้เช่า จะต้อง ดาเนินการตามหลักเกณฑ์วิธีการที่กาหนดตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ พ.ศ. 2547 และจะต้อง ได้รับอนุญาตจากกรมธนารกั ษก์ อ่ น หลกั เกณฑ์การขอใช้ท่ีราชพสั ดุ / มาตรฐานการใช้ท่ีราชพสั ดุ 17

ส่วนท่ี 2 (14) เม่ือเลิกใช้ที่ราชพัสดุดังกล่าวแล้ว จะต้องส่งคืนกรมธนารักษ์ ภายใน 30 วัน นับแต่วนั ทเ่ี ลิกใชป้ ระโยชน์ (15) เม่ือกรมธนารักษ์ได้แจ้งให้ส่งคืนที่ราชพัสดุตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2545 และที่แก้ไขเพ่ิมเติมตามกฎกระทรวงฯ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2552 ออกตามความในพระราชบัญญัติที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2518 ผู้ใช้ท่ีราชพัสดุ จะต้องส่งคืนกรมธนารักษ์ภายใน 30 วันนับแต่วันท่ีได้รับแจ้ง และหาก ผใู้ ช้ทีร่ าชพัสดุมไิ ด้โต้แยง้ ภายใน 60 วนั นับแต่วันท่ีได้รับแจง้ กรมธนารักษ์ อาจพิจารณาอนุญาตให้ผู้ขอใช้ที่ราชพัสดุรายอ่ืนเข้าใช้หรือครอบครอง ท่ีราชพัสดุน้ันแทน หรือนามาดาเนินการตามนโยบายของรัฐบาลและ ภารกิจอื่นที่เหมาะสมและมีความคุ้มค่ากว่า โดยไม่จาเป็นต้องรอให้ผู้ใช้ ทีร่ าชพัสดนุ ้ันสง่ คืนทร่ี าชพัสดกุ ่อนก็ได้ (16) ในการส่งคืนที่ราชพัสดุกรณีท่ีมีผู้บุกรุกหรือผู้ละเมิดที่ราชพัสดุ ผ้ใู ชท้ ี่ราชพัสดจุ ะต้องดาเนนิ การกบั ผบู้ ุกรุกหรอื ผลู้ ะเมิดกอ่ นสง่ คนื (17) กรณที ี่ปรากฏว่ามคี วามเสยี หาย หรอื น่าจะเกิดความเสยี หายใด ๆ แก่ท่ีราชพัสดุ ซึ่งเป็นการกระทาโดยจงใจ หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง หรือมีเจตนาทุจริต หรือกระทาการโดยปราศจากอานาจหรือนอกเหนือ อานาจหน้าที่ กรมธนารักษ์จะแจ้งข้อมูลการกระทาดังกล่าว ให้หัวหน้า ส่วนราชการหรือหวั หนา้ หน่วยงานของผู้ใช้ที่ราชพัสดุเพ่ือดาเนินการทางวินัย และเก่ยี วกบั ความรบั ผิดทางแพง่ (18) ผู้ใช้ที่ราชพัสดุท่ีมีสถานะเป็นองค์กรอ่ืนของรัฐ จะต้องส่ง รายงานผลประกอบการแต่ละปี ทผ่ี า่ นการตรวจสอบของผู้ตรวจสอบบัญชี อนุญาตแล้วให้กรมธนารักษ์ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ผ่านการ ตรวจสอบ หลกั เกณฑก์ ารขอใช้ท่ีราชพสั ดุ / มาตรฐานการใช้ทีร่ าชพัสดุ 18

สว่ นท่ี 2 (19) นอกจากเงื่อนไขดังกล่าวข้างต้น จะต้องปฏิบัติตาม กฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการปกครองดูแล บารุงรักษา ใช้ และจดั หาประโยชน์เกี่ยวกับท่ีราชพัสดุ พ.ศ. 2545 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม ออกตามความในพระราชบัญญัติท่ีราชพัสดุ พ.ศ. 2518 และหรือที่จะมี ข้ึนในอนาคตทุกประการ ตลอดจนมติคณะรัฐมนตรีเก่ียวกับมาตรการแก้ไข ปัญหาการบุกรุกที่ราชพัสดุตามหนังสือสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0505/ว 109 ลงวนั ที่ 21 พฤษภาคม 2547 หมายเหตุ ในการอนุญาตให้ใช้ที่ราชพัสดุ กรมธนารักษ์อาจกาหนด เง่ือนไขอื่นตามท่ีกรมธนารักษ์เห็นสมควร นอกเหนือจากเง่ือนไขการใช้ ทัง้ 19 ขอ้ ดังกลา่ วขา้ งตน้ ก็ได้ หลกั เกณฑ์การขอใชท้ ่รี าชพัสดุ / มาตรฐานการใชท้ ่รี าชพสั ดุ 19

3 ส่วนท่ี 3 หนา้ ทท่ี ี่ผใู้ ช้ทรี่ าชพัสดตุ ้องปฏบิ ัติตามกฎหมายว่าดว้ ย ทีร่ าชพสั ดุ 3.1 การปกครองดแู ลบารงุ รักษาทรี่ าชพสั ดุ ผใู้ ช้ท่รี าชพสั ดุจะตอ้ งดแู ลและบารงุ รกั ษาทีร่ าชพัสดุเสมอด้วย “วิญญูชนพึงสงวนทรัพย์สินของตนเอง” ซ่ึงหมายความว่า กรณีถ้าเป็น ทรัพย์สินของตนเองมีการบารุงรักษาเช่นใด การบารุงดูแลรักษาที่ราชพัสดุ ก็ตอ้ งปฏิบตั ิในทานองเดียวกันนั้นด้วย เช่น การรังวัด การพิสูจน์สอบสวน การทาประโยชน์ หรือตรวจสอบเน้ือท่ีตามประมวลกฎหมายที่ดิน การป้องกันมใิ หม้ ีการบุกรกุ หากมีผู้บุกรกุ ในท่รี าชพัสดกุ ็ต้องดาเนินการให้ ผบู้ ุกรกุ ออกไปในทันที อาคารราชพัสดุชารุดจาเป็นต้องซ่อมแซม ก็ต้อง ขอต้ังงบประมาณมาดาเนินการให้อยู่ในสภาพเรียบร้อย เป็นต้น และ จะต้องอนุญาตให้ผู้แทนของกรมธนารักษ์เข้าตรวจสอบสภาพท่ีราชพัสดุ ท่ีได้รับอนุญาตให้ใช้หรือครอบครองเป็นครั้งคราวในระยะเวลาอันควร และจะต้องจัดทารายงานเกี่ยวกับการปกครองดูแล บารุงรักษา ใช้ และ จัดหาประโยชนเ์ กย่ี วกับทรี่ าชพสั ดุท่ีอยใู่ นความครอบครอง หรือใช้ประโยชน์ ต่อกรมธนารักษ์ภายในเดือนสิงหาคมของทุกปีตามแบบที่กรมธนารักษ์ กาหนด (แบบ ธร. 3801(ปรับปรุง) - แบบรายงานการปกครอง ดูแล บารุงรกั ษา ใช้ และจัดหาประโยชน์เกยี่ วกบั ทร่ี าชพสั ดุ ประจาปี พ.ศ.....) หน้าท่ีทีผ่ ู้ใชท้ ่รี าชพัสดตุ ้องปฏิบัติตามกฎหมายวา่ ดว้ ยที่ราชพัสดุ 20

ส่วนที่ 3 ในกรณีท่ีปรากฏว่าผู้ใช้ท่ีราชพัสดุมิได้ดูแลและบารุงรักษา ที่ราชพัสดุจนเป็นเหตุให้เห็นได้ว่าจะเกิดความเสียหายต่อที่ราชพัสดุนั้น กรมธนารักษ์สามารถแจ้งให้ส่วนราชการนั้น ๆ จัดการอย่างใดอย่างหน่ึง เพื่อป้องกันหรือขจัดความเสียหายน้ัน และถ้าหากผู้ใช้ท่ีราชพัสดุไม่จัดการ โดยไม่มเี หตุผลอันสมควร กรมธนารกั ษ์จะเรยี กทร่ี าชพสั ดนุ ั้นคืนก็ได้ 3.2 การข้นึ ทะเบยี นท่รี าชพัสดุ 3.2.1 เมื่อผู้ใช้ที่ราชพัสดุได้มาซ่ึงท่ีราชพัสดุหรือ ดาเนินการปลูกสร้างอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างซ่ึงเป็นท่ีราชพัสดุ จะต้อง สารวจรายการท่ีดินและอาคารสิ่งปลูกสร้างข้ึนทะเบียนที่ราชพัสดุ โดยกรอก รายละเอยี ดข้อมูลในแบบฟอร์มสง่ ใหก้ รมธนารกั ษ์หรือสานักงานธนารักษ์พ้ืนที่ แลว้ แตก่ รณีภายใน 30 วันนับแต่วันได้มาหรือปลูกสร้างแล้วเสร็จ พร้อมกับ ส่งเอกสารสิทธิเก่ียวกับท่ีราชพัสดุไปเก็บรักษาท่ีกรมธนารักษ์/สานักงาน ธนารกั ษพ์ น้ื ทด่ี ว้ ย โดยดาเนินการดังนี้  การข้ึนทะเบียนที่ดิน ให้ใช้แบบฟอร์ม ทร. 03 (แบบ สารวจรายการทด่ี นิ ข้นึ ทะเบยี นท่รี าชพสั ดุ)  การขึ้นทะเบียนอาคาร/ส่ิงปลูกสร้าง ให้ใช้แบบฟอร์ม ทร. 04 (แบบสารวจรายการอาคาร/ส่ิงปลูกสรา้ งขน้ึ ทะเบียนท่ีราชพัสดุ)  การขึ้นทะเบียนอาคาร/สิ่งปลูกสร้างท่ีปลูกอยู่บนที่ดิน ที่มิใช่ที่ราชพัสดุ ให้ใช้แบบฟอร์ม ทร. 05 (แบบสารวจรายการอาคาร/ สิ่งปลกู สรา้ งของรัฐทปี่ ลูกอยู่บนท่ีดนิ ทมี่ ิใชท่ รี่ าชพัสดุ) ซ่ึงสามารถ Download แบบฟอร์มดังกล่าวได้ทาง Internet ผ่านทาง website กรมธนารักษ์ www.treasury.go.th หรือ ติดต่อรับแบบฟอร์มได้ที่กรมธนารักษ์และสานักงานธนารักษ์พ้ืนท่ี ทว่ั ประเทศ หนา้ ทที่ ่ผี ู้ใช้ท่รี าชพัสดุตอ้ งปฏิบตั ติ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยทร่ี าชพสั ดุ 21

สว่ นท่ี 3 ท้งั นี้ หากปรากฏวา่ ยงั มสี ่ิงปลูกสร้างที่เป็นท่ีราชพัสดุ ที่ยงั มิได้ ขนึ้ ทะเบียนทร่ี าชพัสดุ ผู้ใช้ที่ราชพัสดุจะต้องสารวจรายการสิ่งปลูกสร้างน้ัน นาสง่ ขน้ึ ทะเบียนท่รี าชพัสดุดว้ ย 3.2.2 กรณีมีการดัดแปลงหรือต่อเติมอาคารหรือ ส่ิงปลูกสร้างที่เป็นท่ีราชพัสดุและมีมูลค่าของการดัดแปลงหรือต่ อเติม ไม่ต่ากว่า 1 ล้านบาท จะต้องแจ้งให้กรมธนารักษ์ทราบตามแบบ ทร. 04 หรือแบบ ทร. 05 แล้วแต่กรณี ภายใน 30 วันนับแต่วันท่ีดัดแปลงหรือ ต่อเติมแล้วเสร็จ เพื่อดาเนินการปรับปรุงแก้ไขทะเบียนท่ีราชพัสดุให้เป็น ปจั จบุ ัน 3.2.3 สาหรับการปลูกสร้างส่ิงปลูกสร้างที่เป็นกรรมสิทธ์ิ ของหน่วยงานผู้ใช้ที่ราชพัสดุซ่ึงไม่เป็นท่ีราชพัสดุ ผู้ใช้ที่ราชพัสดุไม่ต้อง นาส่งรายการสิ่งปลูกสร้างดังกล่าวขึ้นทะเบียนที่ราชพัสดุ แต่จะต้องแจ้งให้ กรมธนารกั ษห์ รือสานักงานธนารักษ์พน้ื ทแ่ี ลว้ แตก่ รณที ราบวา่ มกี ารปลูกสรา้ ง และใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงคท์ ีไ่ ด้รบั อนญุ าต เอกสารท่ีใชป้ ระกอบการนาส่งขึ้นทะเบยี น  แบบฟอร์มการนาส่งข้ึนทะเบยี นในแต่ละกรณี ไดแ้ ก่ แบบสารวจ รายการทีด่ นิ ขึ้นทะเบียนท่ีราชพสั ดุ (แบบ ทร. 03) แบบสารวจรายการ อาคาร/สิ่งปลกู สร้างข้นึ ทะเบียนท่ีราชพสั ดุ (แบบ ทร. 04) แบบสารวจรายการ อาคาร/ส่งิ ปลกู สรา้ งของรฐั ทปี่ ลกู อยู่บนท่ีดนิ ทมี่ ใิ ชท่ รี่ าชพัสดุ (แบบ ทร. 05)  เอกสารหลักฐานการได้มา หรือหนังสือสาคัญแสดงกรรมสิทธิ์ หรือเอกสารหลักฐานแสดงการได้รบั งบประมาณหรือบริจาค  แผนท่ีสงั เขปแสดงทีต่ ัง้ ทด่ี ินและหรืออาคารสง่ิ ปลกู สรา้ ง  หลักฐานการอนุญาตให้ใช้/ให้เช่าท่ีดิน (กรณีเป็นอาคาร/ สิ่งปลกู สรา้ งของรัฐทป่ี ลกู อย่บู นทด่ี นิ ทมี่ ใิ ช่ที่ราชพสั ดุ) (ถ้ามี) หนา้ ทที่ ่ผี ู้ใช้ทร่ี าชพสั ดุต้องปฏิบัตติ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยทร่ี าชพสั ดุ 22

ส่วนที่ 3 ขนั้ ตอนการข้ึนทะเบียนที่ราชพัสดุ ข้ันตอนการดาเนินการกรณีดัดแปลงหรือต่อเติมอาคาร/ส่ิงปลูกสร้างท่ีเป็น ที่ราชพัสดุ และมมี ลู คา่ การดัดแปลงหรือต่อเตมิ ไมต่ า่ กว่า 1 ลา้ นบาท หน้าท่ีทผี่ ูใ้ ชท้ ร่ี าชพสั ดตุ ้องปฏบิ ัตติ ามกฎหมายวา่ ด้วยท่รี าชพสั ดุ 23

สว่ นท่ี 3 3.3 การรังวดั การพสิ ูจน์สอบสวนการทาประโยชน์ หรือตรวจสอบ เน้ือทต่ี ามประมวลกฎหมายที่ดนิ การสอบสวนเปรยี บเทยี บ หรอื การระงับขอ้ พพิ าทเกีย่ วกับแนวเขต ในการรงั วัด การพิสูจน์สอบสวนการทาประโยชน์ หรือตรวจสอบ เนื้อที่ตามประมวลกฎหมายทีด่ นิ การสอบสวนเปรยี บเทียบหรอื การระงับ ข้อพิพาทเก่ียวกับแนวเขต ผู้ใช้ที่ราชพัสดุจะต้องดาเนินการร่วมกับ กรมธนารกั ษ์ดังนี้  ในกรุงเทพมหานคร ผู้ใช้ที่ราชพัสดุจะต้องร่วมกับกรมธนารักษ์ เป็นผู้นาทาการสารวจรังวัดให้ถ้อยคาต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ี ระวัง ช้ีแนวเขตทีด่ ินและลงนามรับรองแนวเขตท่ีดนิ  ในจังหวัดอื่น ให้หัวหน้าส่วนราชการหรือหัวหน้าหน่วยงาน ประจาจังหวัดของผู้ใช้ท่ีราชพัสดุเป็นผู้ปฏิบัติการดังกล่าวร่วมกับ สานักงานธนารกั ษ์พ้ืนที่ 3.4 การใชท้ ี่ราชพัสดุ ผู้ ใ ช้ ท่ี ร า ช พั ส ดุ จ ะ ต้ อ ง เ ข้ า ท า ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ที่ ร า ช พั ส ดุ ต า ม วัตถุประสงค์ทข่ี ออนุญาตให้ครบถว้ นภายในกาหนด 2 ปนี บั แตว่ นั ทไี่ ด้รับ อนุญาต และจะตอ้ งปฏบิ ตั ิตามเงอ่ื นไขทก่ี รมธนารกั ษก์ าหนดใหค้ รบถ้วน ท้ังนี้ ห้ามนาที่ราชพัสดุท่ีได้รับอนุญาตให้ใช้ประโยชน์ ในทางราชการไปจัดหาประโยชน์ไมว่ า่ กรณีใด ๆ ทง้ั ส้นิ หนา้ ท่ที ่ผี ้ใู ช้ที่ราชพัสดตุ ้องปฏบิ ตั ิตามกฎหมายวา่ ดว้ ยท่รี าชพสั ดุ 24

สว่ นที่ 3 3.5 การใช้ทร่ี าชพสั ดทุ ีไ่ ด้มาโดยการบริจาคตามวตั ถปุ ระสงค์ของ ผู้ยกให้ 3.5.1 ในกรณที ผี่ ้ใู ช้ท่ีราชพัสดุไดร้ บั บริจาคที่ดินจากเอกชน โดย มเี งือ่ นไขให้เข้าใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของการบริจาค ผู้ใช้ท่ีราชพัสดุ จะตอ้ งดาเนนิ การดังนี้ (1) เขา้ ใช้ประโยชน์ในท่รี าชพัสดนุ ้นั ตามวตั ถปุ ระสงค์ของผู้ยกให้ หรือ (2) เข้าใช้ประโยชน์ในที่ราชพัสดุนั้นตามวัตถุประสงค์ของผู้ยกให้ ภายในระยะเวลาทผ่ี ้ยู กใหก้ าหนดไว้ หรอื (3) เข้าใช้ประโยชน์ในที่ราชพัสดุนั้นภายใน 5 ปีนับแต่วันท่ีมีการยก ทด่ี ินน้ันใหก้ บั ทางราชการ ทั้งน้ี หากผู้ใช้ที่ราชพัสดุมิได้ดาเนินการตามที่กาหนดไว้ดังกล่าว ข้างต้น จะต้องโอนกรรมสิทธ์ิท่ีราชพัสดุน้ันคืนให้แก่ผู้ยกให้หรือทายาท ตามนยั กฎกระทรวงว่าดว้ ยหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการโอนกรรมสทิ ธ์ิที่ราชพัสดุ ที่มิใชท่ ี่ดินทเ่ี ปน็ สาธารณสมบัตขิ องแผ่นดินทใี่ ช้เพ่ือประโยชน์ของแผ่นดิน โดยเฉพาะ พ.ศ. 2550 โดยผใู้ ช้ท่รี าชพสั ดมุ ีหนา้ ที่ท่จี ะต้องแจ้งข้อมูลต่อ กรมธนารักษ์ภายใน 30 วันนับแต่วันท่ีครบกาหนดระยะเวลาดังกล่าว เพ่อื ทกี่ รมธนารักษจ์ ะได้แจง้ ใหผ้ ู้ยกใหห้ รือทายาทมายื่นเรื่องขอรับท่ีราชพัสดุ ดงั กลา่ วคืนตอ่ ไป 3.5.2 หากผู้ใช้ท่ีราชพัสดุไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้ทันภายใน กาหนดเวลาตามข้อ 3.5.1 หรือประสงค์จะเปลย่ี นแปลงการใช้ประโยชน์ ตา่ งไปจากวตั ถุประสงค์ของการยกให้ ใหด้ าเนินการดงั นี้ (1) ส่วนราชการต้องทาความตกลงกับผู้ยกให้หรือทายาท เพื่อ ขอขยายระยะเวลาหรอื เปลย่ี นแปลงวตั ถุประสงค์การใชป้ ระโยชน์ แล้วแต่ กรณี ก่อนครบกาหนดเวลาทีผ่ ้ยู กใหก้ าหนด หรือก่อนครบกาหนด 5 ปี หน้าทที่ ผี่ ใู้ ช้ท่รี าชพัสดตุ อ้ งปฏิบัตติ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยท่รี าชพัสดุ 25

ส่วนที่ 3 (2) กรณีที่ผู้ยกให้หรือทายาทไม่ยินยอมและล่วงเลยเวลาที่ กาหนดแล้ว ให้ผู้ใช้ที่ราชพัสดุแจ้งข้อมูลต่อกรมธนารักษ์ภายใน 30 วัน นับแตว่ นั ทค่ี รบกาหนดระยะเวลาดังกล่าว เพื่อท่ีกรมธนารักษ์จะได้แจ้งให้ ผยู้ กให้หรอื ทายาทมายื่นเรื่องขอรับท่รี าชพัสดดุ ังกล่าวคืนต่อไป หมายเหตุ ในการรับบริจาคที่ดินจากเอกชน คณะรัฐมนตรีได้ มมี ตเิ มอื่ วนั ที่ 3 มกราคม 2550 ให้ทุกสว่ นราชการถอื ปฏิบัติว่า ในการ รับบริจาคท่ีดินจากเอกชนเพื่อใช้ประโยชน์ในทางราชการนั้น หาก ส่วนราชการใดไม่มแี ผนงานหรือโครงการท่ีชัดเจนรองรับการใช้ประโยชน์ ในท่ีดินตามวัตถุประสงค์ของผู้ท่ีแสดงความประสงค์จะยกที่ดินให้แก่ ทางราชการ ส่วนราชการน้ัน ๆ ไมค่ วรรบั บรจิ าคที่ดนิ ดงั กลา่ วไวต้ ง้ั แต่ต้น เน่อื งจากจะเป็นปัญหาในภายหลัง หากทางราชการมิได้เข้าใช้ประโยชน์ ในที่ดินนั้นจรงิ และผยู้ กให้หรอื ทายาทได้แจง้ ความประสงค์ขอทด่ี นิ คืน 3.6 การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ในท่ีราชพัสดุ ในกรณที ผ่ี ูใ้ ชท้ รี่ าชพสั ดตุ อ้ งการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ ในทางราชการเป็นอย่างอื่นนอกจากที่ได้รับอนุญาตไว้เดิม จะต้องมี หนังสือแจ้งขอเปล่ียนแปลงการใช้ประโยชน์ต่อกรมธนารักษ์ ซึ่งลงนาม โดยหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น หน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรอื่นของรัฐ หรือผู้ที่ได้รับมอบ อานาจจากสว่ นราชการดังกล่าว พร้อมแจ้งเหตุผลความจาเป็นให้ชัดเจน และแนบเอกสารหลักฐานประกอบการขอเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ ในทรี่ าชพสั ดุดังนี้ หนา้ ท่ที ่ีผูใ้ ชท้ ร่ี าชพสั ดตุ ้องปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยทรี่ าชพัสดุ 26

ส่วนท่ี 3  รายละเอยี ดเกี่ยวกบั โครงการใช้ประโยชน์ในท่ีราชพัสดุ ที่ขอเปลีย่ นแปลง  เอกสารการได้รับอนุมัติงบประมาณหรือคาขอต้ัง งบประมาณของโครงการ  แผนผังแสดงการใช้ประโยชน์ท่ีราชพัสดุที่ได้รับอนุญาต ให้ใช้อยู่เดิม และ แผนผังแสดงการใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณ ท่ีขอเปลี่ยนแปลง โดยแสดงรายการอาคารส่ิงปลูกสร้างในท่ีดินซึ่งมี มาตราสว่ นถูกต้องตามหลักวชิ าการและมผี ทู้ รงคณุ วุฒิรับรอง ท้ังนี้ ในกรณีที่ราชพัสดุในกรุงเทพมหานคร ให้แจ้ง ขอเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ต่อกรมธนารักษ์ สาหรับที่ราชพัสดุใน จงั หวัดอ่ืน ใหแ้ จง้ ขอเปลยี่ นแปลงการใช้ประโยชนต์ อ่ สานกั งานธนารกั ษ์พ้นื ท่ี 3.7 การตัดฟันต้นไม้ การขดุ ดิน การถมดิน หรือการดาเนินการใด ๆ ที่ มลี กั ษณะเป็นการเปล่ียนแปลงสภาพของท่ีราชพัสดุ การดาเนินการใด ๆ ท่ีมีลักษณะท่ีเป็นการทาลายหรือ เปลี่ ยนแปลงสภาพท่ีราชพัสดุ จะต้ องได้รับอนุญาตจากกรมธนารักษ์ ก่อน และผใู้ ชท้ ร่ี าชพัสดจุ ะตอ้ งแสดงเหตุผลและความจาเป็นท่ีชัดเจน โดยกรณี ท่ีราชพัสดุในกรุงเทพมหานคร ให้แจ้งขออนุญาตต่อกรมธนารักษ์ สาหรับทรี่ าชพัสดุในจังหวัดอ่ืน ใหแ้ จ้งขออนุญาตตอ่ สานักงานธนารักษ์พน้ื ท่ี เว้นแต่ การดาเนินการที่มีลักษณะเป็นการกระทาเพื่อ บารุงรักษาท่ีราชพัสดุเสมือนเช่นวิญญูชนจะพึงดาเนินการในทรัพย์สินของ ตนเอง ผูใ้ ชท้ ีร่ าชพัสดสุ ามารถดาเนนิ การไดต้ ามความจาเปน็ โดยไม่ต้อง ขออนุญาตจากกรมธนารักษ์ในกรณีดงั ต่อไปนี้ หนา้ ท่ีที่ผูใ้ ช้ท่ีราชพัสดุตอ้ งปฏิบัตติ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยท่รี าชพัสดุ 27

ส่วนที่ 3 (1) การขุดดินในที่ราชพัสดุเพื่อปรับปรุงสภาพการ ใชท้ ี่ราชพัสดุ ผู้ใช้ท่ีราชพัสดุสามารถดาเนินการได้ตามความจาเป็น เช่น การขุดบ่อ ขุดสระ ปรับปรุงถนนภายใน การปรับสภาพพ้ืนดิน เป็นต้น แต่หากต้องนาดินออกจากท่ีราชพัสดุให้ดาเนินการโดยวิธีการจาหน่าย ตามขอ้ 3.10 ในคู่มอื นี้ สาหรับการนาดินที่ได้จากการขุดลอกแหล่งน้า ในท่ีราชพสั ดใุ ห้กับผู้รับจ้างเพื่อหักเปน็ ค่าจา้ งขุด ซ่ึงเป็นกรณีท่ีหน่วยงาน ผู้ใช้ที่ราชพสั ดุหรือหนว่ ยงานอนื่ ของรัฐเห็นสมควรจัดจา้ งเอกชนทาการขุดลอก แหล่งน้า หรือขุดสระ อ่างเก็ บน้าในท่ีราชพัสดุตามระเบีย บ สานกั นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุเพือ่ แกไ้ ขหรือบรรเทาความเดือดร้อน ของราษฎรทีเ่ กิดจากปัญหาภัยแล้ง การขาดแคลนน้า หรือปัญหานา้ ทว่ ม โดยจะนากรวด หนิ ดิน ทรายทีไ่ ด้จากการขุดไปเป็นค่าจ้างดาเนินการน้ัน จะต้องขออนุญาตตอ่ กรมธนารกั ษก์ อ่ น โดยในกรุงเทพมหานครให้ขออนุญาต ตอ่ อธิบดีกรมธนารักษ์ ส่วนในจังหวัดอ่ืนให้ขออนุญาตต่อผู้ว่าราชการจังหวัด ทั้งนี้ ผู้ใช้ที่ราชพัสดุจะต้องประเมินราคากรวด หิน ดิน ทราย ที่ได้จาก การขุด โดยแต่งตั้งคณะกรรมการไม่น้อยกว่า 3 คนเพ่ือทาการประเมิน และกรรมการอยา่ งน้อย 1 คน จะตอ้ งเปน็ ผชู้ านาญหรอื มคี วามรเู้ กี่ยวกบั การประเมินในกรณีดังกล่าว แล้วให้นาไปหักกับค่าจ้างดาเนินการ โดยหาก กรวด หิน ดิน ทรายท่ีขุดได้มีราคาเกินกว่าค่าจ้าง ให้เอกชน ผู้รับจ้าง ตอ้ งจ่ายเงนิ สว่ นท่ีเกินคืนให้กับทางราชการและให้หน่วยงานผู้ดาเนินการ นาเงินส่วนเกินดังกลา่ วส่งคลังเปน็ รายไดข้ องกรมธนารกั ษต์ อ่ ไป สว่ นกรณีที่ผูใ้ ช้ที่ราชพสั ดุประสงค์จะนาดินท่ีได้จาก ท่ีราชพัสดุไปใช้ประโยชน์ในท่ีดินแปลงอื่น ไม่ว่าที่ดินแปลงน้ันจะอยู่ใน ความครอบครองของหน่วยงานผู้ใช้เองหรือหน่วยงานอ่ืน จะต้องขอ อนญุ าตต่อกรมธนารกั ษ์หรอื สานักงานธนารกั ษ์พน้ื ที่ (แลว้ แตก่ รณี) กอ่ น หน้าทที่ ผ่ี ู้ใชท้ ีร่ าชพสั ดตุ ้องปฏิบตั ติ ามกฎหมายวา่ ด้วยท่รี าชพสั ดุ 28

ส่วนท่ี 3 (2) การตัดฟันต้นไม้ในท่ีราชพัสดุ ผู้ใช้ที่ราชพัสดุ สามารถตัดฟันได้ตามความจาเป็น เช่น เพอื่ ปลูกสรา้ งอาคารใหม่ ต้นไม้กดี ขวาง สายไฟฟ้าหรืออาจจะโค่นล้มเป็นอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สิน หรือการ ตัดฟันต้นไม้ขนาดเล็กเพ่ือประโยชนใ์ นการทานบุ ารุงรักษาที่ราชพสั ดุ เปน็ ต้น หากปรากฏว่าต้นไม้ท่ีจะตัดฟันน้ันเป็น ประเภทไมห้ วงห้าม กต็ อ้ งดาเนินการให้ถกู ต้องตามกฎหมายหรือระเบียบ ว่าดว้ ยปา่ ไมด้ ว้ ย สาหรับการใช้ประโยชน์หรือการจาหน่ายไม้ ทไ่ี ด้จากทร่ี าชพสั ดุใหถ้ ือปฏบิ ัตติ ามขอ้ 3.10 ในค่มู อื น้ี 3.8 การจดั สวัสดกิ ารในทร่ี าชพสั ดุตามระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจดั สวัสดิการภายในสว่ นราชการ พ.ศ. 2547 การจัดสวัสดิการในที่ราชพัสดุจะดาเนินการได้เฉพาะกับ ผู้ใช้ที่ราชพัสดุที่มีสถานะเป็นกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งมีเหตุผลความ จาเป็นในการใช้ท่ีราชพัสดุเพื่อประโยชน์แก่การจัดสวัสดิการตามระเบียบ สานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ พ.ศ. 2547 เท่านั้น โดยมีลักษณะในการดาเนินการ 2 ประเภท คือ การจัดสวัสดิการ ภายในส่วนราชการ และการจดั สวัสดกิ ารในเชงิ ธุรกจิ นอกจาก 2 ประเภท ดงั กล่าวไม่ถอื เป็นการจดั สวสั ดกิ าร จึงต้องดาเนินการจัดใหเ้ ช่าท่ีราชพัสดุ ตามระเบียบกฎหมายวา่ ด้วยที่ราชพสั ดุโดยตรง และต้องส่งคืนท่ีราชพัสดุ ใหก้ รมธนารักษด์ าเนนิ การเทา่ นน้ั เช่น การก่อสร้างโรงแรม การกอ่ สร้างอาคาร สานกั งาน การก่อสรา้ งห้างสรรพสินคา้ การก่อสรา้ งอาคารพาณชิ ย์ เป็นต้น หนา้ ทที่ ผ่ี ใู้ ช้ทร่ี าชพสั ดุต้องปฏบิ ัตติ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยท่ีราชพัสดุ 29

สว่ นที่ 3 3.8.1 ความหมายของการจดั สวสั ดกิ าร (1) การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ หมายถึง กิจกรรมหรือกิจการใดที่คณะกรรมการสวัสดิการจัดให้มีขึ้น โดยมี วตั ถปุ ระสงค์เพ่อื ช่วยเหลือและอานวยความสะดวกให้แก่ข้าราชการ หรือ เพื่อประโยชน์แก่การดารงชีพนอกเหนือจากสวัสดิการท่ีทางราชการจัด ให้แก่ข้าราชการเป็นกรณีปกติ หรือเพื่อประโยชน์แก่การสนับสนุนการ ปฏิบัติราชการ หรือท่ีคณะกรรมการเห็นสมควรให้จัดเพ่ิมขึ้นสาหรับ ส่วนราชการต่าง ๆ โดยมไิ ด้เป็นไปในเชิงธรุ กิจ (2) การจัดสวัสดิการในเชิงธุรกจิ หมายถึง การดาเนนิ กจิ กรรมหรอื กจิ การสวสั ดิการใด ๆ ท่ีจัดเป็นสวัสดิการภายในของส่วนราชการ ที่คณะกรรมการสวัสดิการภายในส่วนราชการจัดให้มีขึ้น ซ่ึงเป็นไปใน ทางการค้ากบั สมาชกิ สวัสดกิ ารและบุคคลภายนอกทวั่ ไป 3.8.2 ขั้นตอนการดาเนินการ (1) การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ คณะกรรมการสวสั ดิการ อนุญาต หวั หน้าส่วนราชการ ผูจ้ ัด สว่ นราชการ ผ้จู ัด (อนุญาต) (พิจารณาให้จัด) อนญุ าต = ใหใ้ ชท้ รี่ าชพัสดุ + (คา่ นา้ + ค่าไฟฟา้ ) อยา่ งประหยัด การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ ส่วนราชการผู้จัดไม่ต้อง ขออนุญาตต่อกรมธนารักษ์หรือผู้รับมอบอานาจ(ในส่วนภูมิภาค) โดย หัวหนา้ ส่วนราชการน้นั สามารถอนุญาตให้ใช้ท่ีราชพัสดุน้ันได้เอง รวมทั้ง การอนุญาตให้ใช้นา้ และไฟฟา้ ของราชการได้แตต่ อ้ งใช้อย่างประหยัด หน้าท่ที ่ผี ้ใู ช้ทีร่ าชพัสดุต้องปฏิบัติตามกฎหมายวา่ ด้วยท่ีราชพัสดุ 30

ส่วนท่ี 3 (2) การจดั สวสั ดกิ ารในเชงิ ธุรกิจ ขออนุญาต พจิ ารณาใหจ้ ดั อนญุ าต อนุญาต = ใหเ้ ชา่ + (คา่ เช่า + คา่ ธรรมเนียม + เง่ือนไขอ่ืน) การจัดสวัสดิการในเชิงธุรกิจ ส่วนราชการผู้จัดต้องขออนุญาต กรมธนารักษ์หรือผู้รับมอบอานาจ(ในส่วนภูมิภาค)ก่อนดาเนินการ โดย การจัดให้เช่าท่ีราชพัสดุเพื่อเป็นสวัสดิการในเชิงธุรกิจนั้นจะกระทาได้ หรอื ไม่ ให้ถือการพิจารณาของกรมธนารกั ษเ์ ปน็ ทสี่ ดุ 3.9 การนาทีร่ าชพัสดุไปให้ส่วนราชการ เอกชน หรือรัฐวสิ าหกิจ ใชป้ ระโยชนเ์ พื่อจดั ประชมุ สัมมนา ฝึกอบรมและพักอาศัย หรือ จัดกจิ กรรม 3.9.1 กรณีการให้ส่วนราชการอืน่ เข้าใช้ประโยชน์ การให้ส่วนราชการหรือหน่วยงานภาครัฐท่ีมีสิทธิใช้ ท่รี าชพสั ดุตามนัยกฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการปกครองดูแล บารุงรักษา ใช้ และจัดหาประโยชน์เกี่ยวกับท่ีราชพัสดุ พ.ศ. 2545 เข้า ใช้ประโยชน์ในสถานที่ ถือเป็นเรื่องการใช้ประโยชน์ในทางราชการ ซึ่ง ผใู้ ช้ทร่ี าชพสั ดสุ ามารถดาเนนิ การได้เองโดยไม่ตอ้ งขออนุญาตตอ่ กรมธนารกั ษ์ หน้าที่ท่ีผู้ใช้ท่รี าชพสั ดตุ ้องปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายวา่ ด้วยทร่ี าชพัสดุ 31

สว่ นท่ี 3 สาหรับค่าตอบแทนท่ีเรียกเก็บ ให้ถือเป็นค่า สาธารณูปโภคและค่าบารุงรักษาซ่อมแซมสถานที่และอุปกรณ์ โดยหาก ผู้ใช้ท่ีราชพัสดุจะนาเงินส่วนนี้ไปใช้จ่ายเพ่ือบูรณะทรัพย์สินต้องขอทา ความตกลงกับกระทรวงการคลังก่อน ทั้งน้ี กรมธนารักษ์ได้กาหนด ค่าตอบแทนกรณีการใช้ประโยชน์ที่ราชพัสดุเป็นห้องประชุม อบรม สัมมนา และห้องพกั ไวด้ ังนี้ (1) หอ้ งประชุม อบรม สัมมนา ขนาดหอ้ ง จานวนทนี่ ่ัง อตั ราคา่ ตอบแทน (บาท) เลก็ ไมเ่ กนิ 50 ท่นี ง่ั 1 วัน (ไม่เกิน 8 ชม.) คร่ึงวัน (ไมเ่ กิน 4 ชม.) กลาง 51 - 100 ที่นงั่ 3,000 1,500 4,000 2,000 ใหญ่ ตั้งแต่ 101 ท่ีนัง่ ขึ้นไป 6,000 3,000 (2) ห้องพกั อตั ราวนั ละ 300 บาทตอ่ หอ้ ง 3.9.2 กรณีการใหเ้ อกชน หรือรัฐวิสาหกจิ เข้าใชป้ ระโยชน์ กรณีดังกล่าวถือเป็นการจัดหาประโยชน์ในท่ีราชพัสดุ ซึ่งผู้ใช้ท่ีราชพัสดุท่ีเป็นผู้ครอบครองดูแลใช้ประโยชน์สามารถดาเนินการได้ โดยขออนุญาตต่อกรมธนารกั ษห์ รือผู้ว่าราชการจังหวัดแล้วแต่กรณี และ จะตอ้ งปฏิบัติดงั น้ี (1) หากที่ราชพัสดุนั้นตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร ตอ้ งยนื่ เร่อื งต่อกรมธนารักษ์เพ่ืออนุญาต หรือหากท่ีราชพัสดุน้ันตั้งอยู่ใน จงั หวดั อื่น ตอ้ งยืน่ เรือ่ งขออนญุ าตต่อผู้ว่าราชการจังหวัดเพ่ืออนุญาตโดย ความเหน็ ชอบของกรมธนารกั ษ์ หรือ (2) ขอให้กรมธนารักษ์มอบอานาจให้ผู้ใช้ที่ราชพัสดุ ทเี่ ป็นผูค้ รอบครองใชป้ ระโยชน์นน้ั เปน็ ผู้อนญุ าตแทนกไ็ ด้ หน้าที่ท่ผี ูใ้ ชท้ รี่ าชพสั ดตุ ้องปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยทรี่ าชพสั ดุ 32

สว่ นที่ 3 ส า ห รั บ ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ก า ร ด า เ นิ น ก า ร จั ด ใ ห้ เ ช่ า มีรายละเอียดดังนี้  คณะกรรมการที่ราชพัสดุได้อนุมัติให้ ดาเนนิ การจัดใหเ้ ช่าโดยไม่ตอ้ งประมูล  กระทรวงการคลังอนุมัติให้ยกเว้นการเรียกเก็บ ค่าธรรมเนียมการจัดให้เช่า การวางหลักประกันสัญญาเช่า และการ ประกันอัคคีภยั อาคาร  อัตราค่าตอบแทนให้เรียกเก็บในอัตรา เดียวกับท่ีเรียกเก็บจากส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐตามข้อ 3.8.1 และให้นาเงินท่ีได้รับจากการให้เช่าสถานท่ีดังกล่าวนาส่งเป็นรายได้ของ กรมธนารักษ์ รหัสหนว่ ยงาน 03003 รหสั รายได้ 671 และให้ใช้แบบ บันทึกยินยอมปฏิบัติตามเงื่อนไขการใช้สถานท่ีแทนการจัดทาสัญญาเช่า และเม่ือดาเนินการแล้วให้แจ้งกรมธนารกั ษ์หรอื จังหวัดทราบด้วย 3.10 การรือ้ ถอนและจาหน่ายส่งิ ปลูกสร้างทีเ่ ป็นท่ีราชพสั ดุ 3.10.1 การรอื้ ถอนอาคารหรอื สงิ่ ปลกู สรา้ งทีเ่ ป็นทีร่ าชพสั ดุ (1) ในกรณีผู้ใช้ที่ราชพัสดุประสงค์จะร้ือถอนอาคารหรือ สิ่งปลูกสร้างท่ีเป็นที่ราชพัสดุ จะต้องขออนุญาตจากกรมธนารักษ์ก่อน โดยในกรุงเทพมหานครให้ยื่นขออนุญาตต่อกรมธนารักษ์ ส่วนในจังหวัดอื่น ใหย้ น่ื ตอ่ สานกั งานธนารักษ์พ้ืนที่ และเมื่อร้ือถอนแล้วให้แจ้งให้กรมธนารักษ์ หรือสานักงานธนารักษ์พื้นท่ีทราบตามแบบ ทบ.2 (แบบแจ้งการร้ือถอน สิ่งปลูกสร้างที่เป็นที่ราชพัสดุ) เพ่ือจาหน่ายรายการสิ่งปลูกสร้างออกจาก ทะเบยี นทร่ี าชพัสดุ หนา้ ทท่ี ผี่ ูใ้ ชท้ รี่ าชพสั ดตุ ้องปฏบิ ตั ิตามกฎหมายวา่ ดว้ ยที่ราชพสั ดุ 33

ส่วนที่ 3 เอกสารประกอบการย่ืนขอรอื้ ถอนส่ิงปลกู สร้าง - แบบแจง้ ขอรอื้ ถอนสงิ่ ปลกู สร้างท่เี ป็นทรี่ าชพสั ดุ (แบบ ทบ.3) - สาเนาหนังสอื แสดงการยนิ ยอมหรือการอนมุ ัติในการ รือ้ ถอนจากหน่วยงานต้นสงั กัด (2) อาคารหรือสงิ่ ปลกู สร้างซึ่งเป็นที่ราชพสั ดทุ ่ีผู้ใชท้ ี่ราชพัสดุ ไมต่ อ้ งขออนุญาตรือ้ ถอนจากกรมธนารักษต์ าม (1) มีดังต่อไปนี้ - อาคารหรอื สง่ิ ปลูกสร้างท่กี ่อสร้างมาแล้วไมน่ อ้ ยกว่า 25 ปี - อาคารหรือส่งิ ปลกู สร้างที่ชารดุ จนใชร้ าชการไม่ได้ - อาคารหรือสิ่งปลูกสรา้ งที่เกยี่ วกับราชการลับทางทหาร - อาคารหรือสง่ิ ปลูกสร้างเดิมเพ่ือปลูกสรา้ งอาคารหรอื ส่ิงปลกู สร้างใหม่ทดแทนตามท่ไี ดร้ บั งบประมาณ โดยเมื่อร้ือถอนแล้วผู้ใช้ที่ราชพัสดุต้องแจ้งให้กรมธนารักษ์หรือสานักงาน ธนารักษ์พ้ืนที่ทราบตามแบบ ทบ.2 (แบบแจ้งการร้ือถอนสิ่งปลูกสร้าง ท่ีเป็นที่ราชพัสดุ) เพื่อจาหน่ายรายการส่ิงปลูกสร้างออกจากทะเบียน ท่รี าชพสั ดุตอ่ ไป (3) สาหรับกรณีท่ีผู้ใช้ที่ราชพัสดุได้รื้อถอนและจาหน่าย อาคาร/สิ่งปลูกสร้าง ทั้งท่ีเป็นอาคาร/สิ่งปลูกสร้างที่ต้องขออนุญาต ร้อื ถอนและไม่ต้องขออนุญาตรอ้ื ถอนต่อกรมธนารักษ์ตามนัยกฎกระทรวง ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการปกครอง ดูแล บารุงรักษา ใช้ และจัดหา ประโยชน์เกีย่ วกบั ทรี่ าชพัสดุ พ.ศ. 2545 โดยไดด้ าเนินการร้ือถอนและหรือ จาหน่ายก่อนปี พ.ศ. 2551 และยังมิได้แจ้งการร้ือถอนและหรือจาหน่าย อาคารส่ิงปลูกสร้างออกจากทะเบียนที่ราชพัสดุ ให้ผู้ใช้ท่ีราชพัสดุ ดาเนนิ การดังนี้ หนา้ ทีท่ ีผ่ ู้ใช้ทร่ี าชพัสดตุ อ้ งปฏบิ ตั ิตามกฎหมายวา่ ด้วยที่ราชพสั ดุ 34

สว่ นท่ี 3 (3.1) กรอกรายละเอียดตามแบบแจ้งการรื้อถอนและ จาหน่ายอาคาร/สงิ่ ปลกู สรา้ ง (แบบ ทร.11) (3.2) จัดส่งเอกสารที่เกี่ยวข้อง เช่น ใบนาส่งเงินเป็น รายได้แผ่นดิน รายละเอียดการนาวัสดุท่ีได้จากการรื้อถอนไปใช้ใน ราชการ รายละเอียดการนาวัสดุไปทาลายตามระเบียบสานัก นายกรฐั มนตรี(ถา้ มี) (3.3) หากไม่มีเอกสารตามข้อ (3.2) ให้รับรองข้อมูล เก่ียวกับวัสดุที่ได้จากการร้ือถอนตามแบบแจ้งการร้ือถอนและจาหน่าย อาคาร/สง่ิ ปลูกสรา้ ง (แบบ ทร.11) (4) ในกรณีท่ีอาคารหรือส่ิงปลูกสร้างที่จะรื้อถอนมีลักษณะ ที่ยังมีคุณภาพทางประวัติศาสตร์ ศิลปกรรม หรือสถาปัตยกรรมท่ีควร อนุรักษ์ไว้ หรือมีสภาพทยี่ ังใชป้ ระโยชนใ์ นทางราชการต่อไปได้ ก่อนแจ้ง ขออนุญาตร้ือถอนหรือก่อนทาการรื้อถอนแล้วแต่กรณี ผู้ใช้ที่ราชพัสดุ จะต้องแต่งตั้งคณะกรรมการจานวนไม่น้อยกว่า 3 คน เพื่อพิจารณาเหตุผล และความจาเปน็ ตลอดจนปฏบิ ัตใิ ห้ถูกตอ้ งตามกฎหมายที่เก่ียวข้อง เพื่อ เสนอความเห็นประกอบการพจิ ารณาของผ้ใู ชท้ ีร่ าชพัสดุดว้ ย หนา้ ท่ีที่ผู้ใช้ทรี่ าชพัสดตุ อ้ งปฏิบัติตามกฎหมายวา่ ดว้ ยท่ีราชพัสดุ 35

ส่วนท่ี 3 3.10.2 การจาหน่ายอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างที่จะทาการ รอ้ื ถอน หรือการจาหนา่ ยวัสดุท่ีร้อื ถอนแล้ว หรอื การจาหน่ายต้นไม้ ดิน หรือวสั ดอุ น่ื ๆ ท่ีได้มาจากทรี่ าชพัสดุ ในกรณีท่ีผู้ใช้ที่ราชพัสดุจะจาหน่ายอาคารหรือส่ิงปลูกสร้าง ที่จะทาการร้ือถอน หรือการจาหน่ายวัสดุท่ีร้ือถอนแล้ว หรือการ จาหน่ายต้นไม้ ดิน หรือวัสดุอื่น ๆ ท่ีได้มาจากที่ราชพัสดุ ผู้ใช้ที่ราชพัสดุ จะต้องดาเนินการแต่งต้ังคณะกรรมการจานวนไม่น้อยกว่า 3 คน เพื่อ ประเมินราคาอาคารหรอื สง่ิ ปลกู สรา้ ง วัสดทุ ีร่ อื้ ถอน ตน้ ไม้ ดิน หรือวัสดุอื่น ๆ ทจี่ ะจาหน่าย โดยกรรมการอย่างนอ้ ย 1 คนจะต้องเป็นผชู้ านาญการหรือ มีความรู้เก่ียวกับการประเมินราคาอาคาร หรือส่ิงปลูกสร้าง ต้นไม้ ดิน หรือวัสดุอ่ืน ๆ ที่ได้มาจากท่ีราชพัสดุ และในการจาหน่ายให้ดาเนินการ ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุโดยอนุโลม แล้วนาเงิน ที่ไดจ้ ากการขายสง่ คลงั เปน็ รายได้ของกรมธนารักษ์ 3.10.3 การนาวัสดุทไ่ี ดม้ าจากที่ราชพสั ดไุ ปใช้ประโยชน์ ผู้ใช้ที่ราชพัสดุสามารถนาวัสดุท่ีได้จากการร้ือถอนไปใช้เพ่ือ ประโยชน์แก่ทางราชการ หรือเพ่ือประโยชน์แก่สาธารณประโยชน์หรือ สาธารณกศุ ลตามความจาเป็นได้ แต่จะตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจากกรมธนารักษ์หรือ สานักงานธนารกั ษพ์ ้นื ท่ี(แลว้ แต่กรณ)ี ก่อน โดยในกรุงเทพมหานครให้ย่ืน ขออนญุ าตตอ่ กรมธนารักษ์ สว่ นในจงั หวดั อนื่ ให้ย่ืนต่อสานกั งานธนารักษ์พืน้ ท่ี โดยมีรายละเอียดดงั น้ี หนา้ ทีท่ ่ีผใู้ ช้ท่ีราชพัสดุตอ้ งปฏบิ ตั ิตามกฎหมายวา่ ด้วยท่ีราชพสั ดุ 36

ส่วนที่ 3 (1) การนาวัสดุท่ีได้มาจากท่ีราชพัสดุไปใช้เพ่ือประโยชน์ แก่ทางราชการ จะตอ้ งเป็นการนาวัสดุไปใช้ในกรณีดงั ต่อไปน้ี - การกอ่ สร้างอาคารหรอื สิ่งปลูกสร้างซึ่งจะต้องนาส่ง ข้ึนทะเบียนท่รี าชพัสดุ - การจดั ทาเป็นวัสดุอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ทีใ่ ช้เพ่อื ประโยชน์แก่ ทางราชการ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ เป็นต้น และวัสดุอุปกรณ์น้ันจะต้องลงบัญชีหรือ ทะเบียนเพอ่ื ควบคมุ พัสดตุ ามระเบียบสานักนายกรฐั มนตรีว่าด้วยการพสั ดุ ทั้งนี้ หากผู้ใช้ท่ีราชพัสดุมีความจาเป็นต้องนาวัสดุ ที่ได้มาจากที่ราชพัสดุไปใช้เพ่ือประโยชน์แก่ทางราชการอย่างอ่ืน นอกเหนือจากกรณีข้างต้น กรมธนารักษ์จะพิจารณาอนุญาตตามความ เหมาะสมโดยคานึงถึงประโยชนท์ ที่ างราชการจะไดร้ ับเป็นสาคัญ (2) การนาวัสดุท่ีได้มาจากที่ราชพัสดุไปใช้เพื่อ สาธารณประโยชน์หรือสาธารณกุศล ผู้ขอใช้ท่ีราชพัสดุจะต้องแสดง เหตุผลความจาเปน็ และประโยชนท์ ี่สาธารณชนจะพึงได้รับไปประกอบการ พิจารณาของกรมธนารกั ษด์ ้วย (3) เม่ือผู้ใช้ที่ราชพัสดุได้รับอนุญาตให้ใช้วัสดุที่ได้มาจาก ท่ีราชพัสดุแล้ว จะต้องแต่งต้ังคณะกรรมการจานวนไม่น้อยกว่า 3 คน เพื่อตรวจนับและควบคุมการใช้วัสดุที่ได้มาจากที่ราชพัสดุ และให้จัดทา บญั ชีคมุ ยอดวสั ดุทรี่ ้ือถอนวา่ มจี านวนเท่าใด นาไปใช้เทา่ ใด และคงเหลอื เท่าใด โดยหากมวี ัสดคุ งเหลอื จากการใช้ประโยชน์ให้ดาเนินการจาหน่าย ตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ตามข้อ 3.10.2 ท้ังนี้ ผู้ใช้ท่ีราชพัสดุจะต้องนา วัสดุที่ได้มาจากท่ีราชพัสดุไปใช้เฉพาะตามท่ีได้รับอนุญาตเท่านั้น และ จะต้องไม่นาวัสดุท่ีได้มาจากที่ราชพสั ดไุ ปสมทบกับเงนิ งบประมาณที่ได้รับ เป็นค่าก่อสร้างอาคารใหม่ เว้นแต่ได้รับอนุมัติจากสานักงบประมาณแล้ว หากมิไดร้ ับอนุมัติจากสานักงบประมาณจะต้องนาวัสดุที่ได้มาจากที่ราชพัสดุ มาดาเนนิ การจาหน่ายตามหลกั เกณฑ์ทกี่ าหนดไว้ หน้าทีท่ ่ผี ้ใู ช้ท่รี าชพัสดตุ ้องปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายวา่ ด้วยทร่ี าชพสั ดุ 37

สว่ นที่ 3 3.10.4 การจาหน่ายรายการส่ิงปลูกสร้างออกจากทะเบียน ท่รี าชพสั ดุ เมื่อผู้ใช้ที่ราชพัสดุได้ร้ือถอนอาคารหรือส่ิงปลูกสร้างที่เป็นที่ ราชพัสดุเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะต้องแจ้งให้กรมธนารักษ์หรือสานักงาน ธนารักษ์พ้ืนที่ทราบ เพื่อจาหน่ายรายการสิ่งปลูกสร้างออกจากทะเบียน ทร่ี าชพัสดุ โดยจะตอ้ งย่ืนเอกสารดงั น้ี  แบบแจ้งการรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างที่เป็นที่ราชพัสดุ (แบบ ทบ.2)  หลักฐานใบนาส่งเงินรายได้แผ่นดินเป็นรายได้ของ กรมธนารกั ษ์ (กรณปี ระมลู ขาย) 3.11 การส่งคืนท่ีราชพัสดุ 3.11.1 กรณีท่ีต้องส่งคนื ท่ีราชพัสดุ ผู้ใช้ที่ราชพัสดุจะต้องส่งคืนท่ีราชพัสดุให้กรมธนารักษ์ ในกรณดี ังต่อไปนี้ (1) เลกิ ใชป้ ระโยชน์ในที่ราชพัสดุ - กรณีดังกล่าวจะต้อง สง่ คนื ที่ราชพสั ดใุ ห้กรมธนารกั ษ์ภายใน 30 วัน นับแต่วันท่ีเลิกใช้ประโยชน์ ทร่ี าชพัสดุน้ัน (2) มไิ ดใ้ ชป้ ระโยชน์ท่ีราชพสั ดุตามทไ่ี ดร้ ับอนุญาต (3) ใชป้ ระโยชน์ที่ราชพัสดไุ มค่ รบถว้ นตามที่ไดร้ บั อนญุ าต หนา้ ทที่ ่ีผู้ใชท้ รี่ าชพัสดุตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยท่รี าชพัสดุ 38

ส่วนท่ี 3 (4) ใช้ประโยชน์ท่รี าชพสั ดแุ ตกตา่ งไปจากท่ไี ดร้ ับอนญุ าต (5) เข้าครอบครองใช้ประโยชน์ท่ีราชพัสดุโดยมิได้รับ อนุญาตก่อน (6) มไิ ด้ปฏบิ ัติตามเงอ่ื นไขที่กรมธนารกั ษ์กาหนด กรณีตาม (2) ถึง (6) ใหส้ ง่ คืนกรมธนารักษ์ภายใน 30 วัน นับแต่วนั ครบกาหนด 2 ปีท่ีได้รับอนุญาตให้ใช้หรือครอบครองที่ราชพัสดุ หรือนับแต่วันท่ีได้รับแจ้งจากกรมธนารักษ์ให้ส่งคืนท่ีราชพัสดุน้ัน แต่ถ้า มีความจาเป็นจะต้องใช้ท่ีราชพัสดุเพื่อประโยชน์ในทางราชการต่อไป ให้ทาความตกลงกับกรมธนารักษ์ โดยช้ีแจงเหตุผลและความจาเป็น ภายใน 30 วนั นบั แต่วันทค่ี รบกาหนดดังกล่าว (7) กรณีท่กี รมธนารักษไ์ ด้เขา้ ตรวจสอบสภาพทีร่ าชพสั ดุแล้ว พบว่าผู้ใช้ท่ีราชพัสดุมิได้ดูแลและบารุงรักษาท่ีราชพัสดุจนทาให้เห็นได้ว่า จะเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายต่อท่ีราชพัสดุ และผู้ใช้ที่ราชพัสดุไม่ได้ ดาเนนิ การจดั การตามที่กรมธนารักษแ์ จ้งโดยทไี่ มเ่ หตุผลอันสมควร และกรณี ทก่ี รมธนารักษ์พิจารณารายงานเก่ียวกับการปกครองดูแล บารุงรักษา ใช้ และจัดหาประโยชน์เก่ียวกับที่ราชพัสดุท่ีอยู่ในความครอบครองหรือ ใช้ประโยชน์แล้วเห็นว่ามีท่ีว่าง หรือมีการใช้ประโยชน์ไม่เหมาะสม หรือไม่คุ้มค่ากับสภาพทาเลหรือภารกิจ และที่ดินน้ันสามารถนามาใช้ ประโยชนต์ ามนโยบายและภารกิจอื่นท่เี หมาะสมและมีความค้มุ ค่ากว่า กรณีนี้ให้ส่งคืนกรมธนารักษ์ภายใน 30 วัน นับแต่วันท่ี ได้รับแจ้งจากกรมธนารักษ์ให้ส่งคืนที่ราชพัสดุนั้น แต่ถ้าผู้ใช้ที่ราชพัสดุ ยังมีความจาเป็นจะต้องใช้ที่ราชพัสดุเพ่ือประโยชน์ในทางราชการต่อไป จะต้องทาความตกลงกับกรมธนารักษ์พร้อมท้ังช้ีแจงเหตุผลและความจาเป็น ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งจากกรมธนารักษ์ โดยกรมธนารักษ์ จะเสนอเรื่องใหค้ ณะกรรมการทีร่ าชพัสดพุ จิ ารณา หน้าทีท่ ผ่ี ู้ใช้ที่ราชพัสดุต้องปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยที่ราชพสั ดุ 39

สว่ นที่ 3 หมายเหตุ เม่ือกรมธนารักษ์ได้แจ้งให้ผู้ใช้ที่ราชพัสดุส่งคืนท่ีราชพัสดุท่ี ต้องส่งคืนทั้ง 7 กรณีดังกล่าวข้างต้น และผู้ใช้ท่ีราชพัสดุมิได้โต้แย้ง ภายใน 60 วนั นบั แต่วันท่ไี ดร้ บั แจ้ง กรมธนารักษอ์ าจพิจารณาอนุญาตให้ ผู้ขอใช้ท่ีราชพัสดุรายอื่นเข้าใช้ประโยชน์ในทางราชการหรือครอบครอง ท่ีราชพสั ดนุ ้นั แทน หรอื นามาดาเนินการตามนโยบายของรฐั บาลและภารกจิ อน่ื ท่ีเหมาะสมและมีความคุ้มค่ากว่า โดยไม่จาต้องรอให้ผู้ใช้ท่ีราชพัสดุน้ันส่งคืน ทีร่ าชพสั ดกุ อ่ นก็ได้ 3.11.2 วธิ ีการปฏิบัติ (1) การแจ้งขอส่งคืนท่ีราชพัสดุ ให้ใช้แบบส่งคืน ที่ราชพัสดุ (แบบ ทบ.6) โดยกรอกรายละเอียดพร้อมทั้งแผนที่แสดง บริเวณที่ราชพัสดุที่ขอส่งคืนให้ครบถ้วนสมบูรณ์ โดยกรณีท่ีราชพัสดุ ต้ังอยู่ในกรุงเทพมหานครให้แจ้งส่งคืนต่อกรมธนารักษ์ ส่วนกรณีท่ีราชพัสดุ ที่ตง้ั อยูใ่ นจงั หวดั อ่ืน ให้แจง้ ส่งคืนตอ่ สานักงานธนารกั ษ์พน้ื ที่ (2) กรมธนารักษ์/สานักงานธนารักษ์พื้นที่จะพิจารณา ความเหมาะสมและแจ้งให้ผู้ใช้ท่ีราชพัสดุแต่งต้ังผู้แทนเพื่อดาเนินการส่งมอบ ที่ราชพัสดแุ ละประสานนดั หมายวันเวลาในการส่งมอบ-รับมอบ โดยการส่งคนื ท่ีราชพัสดุจะถือเป็นอันเสร็จสิ้นสมบูรณ์แล้วต่อเม่ือกรมธนารักษ์หรือ ผแู้ ทนได้รับมอบท่ีราชพัสดุน้ันไว้แล้วตามแบบส่งมอบ-รับมอบที่ราชพัสดุ (แบบ ทบ.10) (3) ก ร ณี ท่ี ร า ช พั ส ดุ ท่ี จ ะ ส่ ง คื น มี ก า ร บุ ก รุ ก ห รื อ ผู้ละเมิดที่ราชพัสดุดังกล่าว ให้ผู้ใช้ที่ราชพัสดุมีหน้าท่ีดาเนินการกับ ผู้บุกรุกหรือผู้ละเมิดก่อนส่งคืน เว้นแต่กรมธนารักษ์จะพิจารณาเห็นสมควร แกไ้ ขปญั หาเอง หรือแก้ไขปัญหาร่วมกับผู้ใช้ที่ราชพัสดุผู้ส่งคืน ส่วนราชการอ่ืน หรือผู้เกี่ยวข้อง ซึ่งกรณีดังกล่าวผู้ใช้ที่ราชพัสดุจะต้องรวบรวมเอกสาร หลักฐานเก่ียวกับการได้มา หลักฐานการเข้าครอบครองการใช้ประโยชน์ ของผ้บู กุ รกุ หรือผู้ละเมิด หรือหลกั ฐานอ่นื ๆ ใหแ้ กก่ รมธนารักษด์ ว้ ย หนา้ ท่ีทีผ่ ใู้ ชท้ ี่ราชพสั ดตุ ้องปฏิบัตติ ามกฎหมายวา่ ด้วยทร่ี าชพัสดุ 40

สว่ นที่ 3 ท้ังน้ี หากปรากฏว่ามีความเสียหาย หรือน่าจะเกิด ความเสียหายใด ๆ แก่ที่ราชพัสดุ ซ่ึงเป็นการกระทาโดยจงใจ หรือ ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง หรือมีเจตนาทุจริตหรือกระทาการ โดยปราศจากอานาจหรือนอกเหนืออานาจหน้าที่ กรมธนารักษ์จะแจ้ง ข้อมลู การกระทาดงั กลา่ วใหก้ ับหัวหนา้ สว่ นราชการหรือหัวหน้าหน่วยงาน ของผู้ใชท้ ร่ี าชพสั ดุ เพอ่ื ดาเนนิ การทางวินัยและเก่ียวกับความรับผิดทางแพ่ง ต่อไป และกรณีที่ราชพัสดุน้ันตั้งอยู่ในจังหวัดอ่ืนนอกจากกรุงเทพมหานคร กรมธนารักษ์จะแจ้งใหผ้ ู้ว่าราชการจงั หวดั เพือ่ ทราบดว้ ย 3.12 การผ่อนผนั การส่งคืนที่ราชพัสดุ ผู้ใช้ท่ีราชพัสดุสามารถขอผ่อนผันการส่งคืนท่ีราชพัสดุได้ ในกรณดี ังตอ่ ไปน้ี 3.12.1 อยู่ระหวา่ งรอการพิจารณาอนุมัตเิ งินงบประมาณ - กรณนี ี้จะตอ้ งมกี ารขอตั้งงบประมาณโดยถูกต้อง และมีเอกสารการขอต้ัง งบประมาณของสว่ นราชการน้ันดว้ ย 3.12.2 อยู่ในโครงการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแหง่ ชาติ - กรณีนี้ต้องมีเอกสารการอนุมัติโครงการตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาตโิ ดยถูกตอ้ งแลว้ 3.12.3 เป็นโครงการต่อเนื่องหรือโครงการท่ีได้รับอนุมัติ แล้ว แต่ยังมิได้ดาเนินการ - กรณีน้ีจะต้องเป็นโครงการต่อเน่ืองหรือ โครงการที่ไดร้ ับอนุมัตใิ ห้ดาเนินการโดยถูกตอ้ งแลว้ 3.12.4 อยู่ระหว่างการออกแบบก่อสร้าง - กรณีน้ี จะต้องมีเอกสารการอนมุ ัติเงนิ งบประมาณเพ่อื ดาเนินการโดยถกู ต้องแล้ว หนา้ ทีท่ ผ่ี ้ใู ช้ท่ีราชพัสดุต้องปฏบิ ตั ิตามกฎหมายวา่ ด้วยท่รี าชพัสดุ 41

สว่ นที่ 3 3.12.5 อยู่ระหว่างการประกาศแจ้งความเปิดประมูล ประกวดราคาก่อสรา้ งอาคารหรือสง่ิ ปลูกสรา้ ง - กรณีนี้ต้องมีเอกสารการ อนมุ ัตเิ งนิ งบประมาณและมกี ารประกาศแจ้งความมาแสดงโดยถูกต้อง 3.12.6 ได้รับอนุมัติเงินงบประมาณหรือโครงการแล้ว แต่ยงั เข้าใชป้ ระโยชน์ไม่ได้ เน่ืองจากผ้บู ุกรุกในทรี่ าชพัสดุไม่ยินยอมออกจาก ท่รี าชพสั ดุ - กรณนี ีก้ รมธนารกั ษ์จะจดั เจา้ หนา้ ทไี่ ปตรวจสอบว่ามีผู้บุกรุก จริงหรือไม่ มีกี่ราย ใช้ประโยชน์อะไร บริเวณใด จานวนเนื้อท่ีเท่าใด และจะดาเนินการมอบอานาจให้ผู้ใช้ที่ราชพัสดุดาเนินการตามกฎหมาย กับผู้บุกรุกทุกราย โดยจะผ่อนผันระยะเวลาการส่งคืนท่ีราชพัสดุให้ จนกวา่ จะดาเนนิ การฟ้องขบั ไลผ่ บู้ กุ รกุ ออกไปได้เสร็จสน้ิ ทั้งนี้ จะต้องชี้แจงเหตุผลและความจาเป็นต่อกรมธนารักษ์/ สานักงานธนารักษ์พื้นที่ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ครบกาหนดอนุญาต หรือนับแต่วันท่ีได้รับแจ้งจากกรมธนารักษ์ให้ส่งคืนท่ีราชพัสดุนั้น พร้อมทั้ง กรอกรายละเอยี ดลงในแบบ ทบ.7 (แบบขอผ่อนผันการส่งคืนที่ราชพัสดุ) และจัดส่งเอกสารหลักฐานให้กรมธนารักษ์พิจารณา โดยกรณีตามข้อ 3.12.1, 3.12.2 และ 3.12.3 จะได้รับการผ่อนผันเป็นเวลา 2 ปีโดย มเี ง่อื นไขวา่ หากมีส่วนราชการอื่นได้รบั งบประมาณเปน็ คา่ ก่อสร้างแลว้ และ แจ้งความประสงค์ต่อกรมธนารักษ์ว่ามีความจาเป็นต้องขอใช้ท่ีราชพัสดุที่ขอ ผอ่ นผนั การสง่ คนื และถ้าปรากฏว่าส่วนราชการขอผอ่ นผันการส่งคนื ยงั มิได้ รับอนุมัติเงินงบประมาณ จะต้องส่งคืนที่ราชพัสดุนั้นให้แก่กรมธนา รักษ์ในทันที เพื่อที่จะได้จัดให้ส่วนราชการอ่ืนท่ีได้รับเงินงบประมาณ เป็นคา่ ก่อสร้างแล้วไดใ้ ชป้ ระโยชน์ตอ่ ไป หมายเหตุ สาหรับกรณีท่ีผู้ใช้ที่ราชพัสดุแจ้งเหตุผลขอผ่อนผันการส่งคืน ที่ราชพัสดุเป็นอย่างอื่นนอกเหนือไปจากทั้ง 6 กรณีดังกล่าวข้างต้น กรมธนารักษ์จะพิจารณาเหตุผลความจาเป็นเป็นราย ๆไป หน้าทที่ ่ีผใู้ ชท้ ร่ี าชพัสดตุ อ้ งปฏิบัติตามกฎหมายวา่ ด้วยท่ีราชพสั ดุ 42

ส่วนที่ 3 3.13 การป้องกันและแกไ้ ขปัญหาการบกุ รกุ ที่ราชพัสดุ 3.13.1 ผู้ใช้ท่ีราชพัสดุจะต้องดาเนินการป้องกันและ แก้ไขปัญหาการบุกรุกในท่ีราชพัสดุตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี 18 พฤษภาคม 2547 ซ่งึ กาหนดหลกั เกณฑ์และมาตรการในการดาเนินการ ในสว่ นของผูใ้ ช้ท่รี าชพสั ดุไว้ดังน้ี (1) ผู้ใช้ท่ีราชพัสดุจะต้องหมั่นตรวจสอบดูแลที่ดิน ของตนเองอย่างสม่าเสมอ ตลอดจนดาเนินการใด ๆ ตามอานาจหน้าที่ เพื่อมใิ หเ้ กดิ ปัญหาการบกุ รกุ ทด่ี ินดังกลา่ วขนึ้ (2) ผู้ใช้ท่ีราชพัสดุท่ีมิได้ใช้ประโยชน์ในที่ราชพัสดุ และปล่อยปละละเลยให้มีการบุกรุกท่ีราชพัสดุเกิดข้ึน จะต้องรับผิดชอบในการ ดาเนินการใหผ้ ู้บกุ รุกออกจากทรี่ าชพัสดกุ อ่ นส่งคนื ท่รี าชพัสดใุ ห้กรมธนารกั ษ์ (3) ผู้ใช้ท่ีราชพัสดมุ หี น้าทใ่ี นการดาเนนิ การดังน้ี (3.1) แต่งต้ังเจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงานให้มี หน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในการปฏิบัติงานเก่ียวกับท่ีราชพัสดุภายใน หน่วยงานนั้น ๆ การจัดทาและควบคุมทะเบียนท่ีราชพัสดุให้มีความ ครบถว้ นสมบูรณแ์ ละเปน็ ปัจจบุ ัน รวมท้ังควบคมุ การใช้หรือขอเปล่ียนแปลง การใช้ใหถ้ กู ต้อง (3.2) หากมกี ารบุกรกุ ให้หน่วยงานประสานงาน กบั กรมธนารกั ษ์เพ่ือวางแผนและดาเนินการแก้ไขปัญหาการบุกรุกอย่างใกลช้ ิด (4) ให้ผู้ใช้ท่ีราชพัสดุก่อสร้างร้ัวเฉพาะท่ีดินราชพัสดุ แปลงท่มี ีความจาเป็นรบี ด่วนทีจ่ ะต้องป้องกนั การบกุ รกุ โดยกรมธนารักษ์ จะแจ้งความจาเป็นดังกล่าวให้สานักงบประมาณทราบอีกครั้งหน่ึง ในปีเดียวกับที่ส่วนราชการที่ครอบครองที่ดินแปลงที่มีปัญหาเร่งด่วน จะต้องล้อมรั้วเสนอตั้งงบประมาณ ท้ังนี้ การสร้างร้ัวดังกล่าวควรมี ลักษณะช่ัวคราวและใช้วัสดุหรือสิ่งก่อสร้างท่ีประหยัด เช่น ปลูกต้นไม้ ลอ้ มรอบ หน้าทีท่ ่ผี ู้ใช้ทีร่ าชพัสดุต้องปฏิบัตติ ามกฎหมายวา่ ด้วยท่รี าชพัสดุ 43

ส่วนที่ 3 ในกรณีท่ียังไม่ได้มีการสร้างรั้วล้อม ให้ ส่วนราชการ หนว่ ยงานของรฐั รฐั วิสาหกจิ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ครอบครองใช้ประโยชน์ในท่ีราชพัสดุจัดเจ้าหน้าที่ตรวจแนวเขตท่ีดิน อยู่เสมอ ถ้ามีปัญหาการบุกรุกเกิดข้ึนหรือมีการละเมิดสิทธิเกิดข้ึน ใหด้ าเนนิ การตามระเบยี บหรือตามกฎหมายทนั ที (5) กรณีที่หมดความจาเป็นหรือเลิกใช้ประโยชน์ ในที่ราชพัสดุ ให้ผู้ใช้ที่ราชพัสดุรีบดาเนินการตามกฎหมายท่ีราชพัสดุ โดยส่งคืนที่ราชพัสดุนั้นให้แก่กรมธนารักษ์ หากปล่อยทิ้งว่างไว้จนเกิด การบุกรุก กรมธนารักษ์จะรายงานหัวหน้าหน่วยงานผู้ใช้ที่ราชพัสดุน้ัน เพ่ือพิจารณาดาเนินการทางวินัยกับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบของหน่วยงาน ที่ปล่อยปละละเลยไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมายทร่ี าชพัสดุ (6) ให้ผู้ใช้ท่ีราชพัสดุจัดทาแผนการใช้ที่ราชพัสดุ ในแต่ละปีส่งให้กรมธนารักษ์เพ่ือประกอบการพิจารณาเก่ียวกับการใช้ ทร่ี าชพัสดวุ ่ามคี วามเหมาะสมเพยี งใด (7) ในการส่งมอบรับมอบงานในหน้าท่ีเม่ือมีการ แต่งตั้งโยกย้าย ให้มีการส่งมอบรับมอบที่ราชพัสดุในความครอบครอง ใชป้ ระโยชน์ด้วย (8) ในการพิจารณาความดีความชอบ ให้ผู้ใช้ที่ราช พัสดุนาผลการปฏิบัติงานเก่ียวกับที่ราชพัสดุของเจ้าหน้าที่ไปเป็น องค์ประกอบสว่ นหนึ่งในการพิจารณาความดคี วามชอบด้วย 3.13.2 ผู้ใช้ที่ราชพัสดุจะต้องควบคุมดูแลมิให้ราษฎร บุกรุกเข้าถือครองที่ราชพัสดุเพ่ิมข้ึนโดยเด็ดขาด และในกรณีท่ีตรวจพบว่า ราษฎรรายใดได้บุกรุกเข้าถือครองท่ีราชพัสดุภายหลังวันที่ 4 ตุลาคม 2546 เป็นต้นไป ให้รีบแจ้งให้ผู้บุกรุกรายนั้นออกจากพื้นที่ภายใน กาหนดเวลาทีเ่ ห็นสมควร หากผู้บกุ รุกไมย่ นิ ยอมปฏบิ ัติตามให้ดาเนินการ ดงั นี้ หนา้ ทีท่ ี่ผ้ใู ชท้ ี่ราชพัสดตุ อ้ งปฏิบัติตามกฎหมายวา่ ดว้ ยทร่ี าชพสั ดุ 44