Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 2 ประวัติศาสตร์ชาติไทยสมัยสุโขทัย

บทที่ 2 ประวัติศาสตร์ชาติไทยสมัยสุโขทัย

Description: บทที่ 2 ประวัติศาสตร์ชาติไทยสมัยสุโขทัย

Search

Read the Text Version

หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์และโบราณคดแี สดงร่องรอยการต้งั เมืองของ ชนชาตไิ ทยอยู่หลายแห่งด้วยกนั

ข้อความในศิลาจารึก วดั ศรีชุม* ทาให้ทราบว่าในพุทธศตวรรษท่ี ๑๘ เมืองต่างๆ ใน บริเวณท่รี าบลุ่มแม่น้ายมและน่านได้รวมกนั เป็ นแคว้นใหญ่มีศูนย์อานาจการปกครองอยู่ ท่ี “นครสุโขทยั ศรีสัชนาลยั ”

ผูป้ กครองมีนามว่าพ่อขุนศรีนาวนาถุมปกครองอยู่ ดินแดนของพ่อขุนศรีนาว นาถุม ครอบคลุมถึงเมืองฉอด (ใกลล้ าน้าแม่สอดเมืองชายแดนไทยในจงั หวดั ตาก) ลาพนู น่าน พิษณุโลก ดงั ปรากฏในศิลาจารึกวดั ศรีชุมวา่ … “...เมอื งใต้ออกพ่อขนุ นาถุม ปองตะวนั ออกเถงิ เบือ้ งหัวนอนเถงิ ขนุ ลุนตา ขุนดา ขุน ด่านเบือ้ งในหรดี เถิงฉอด เวียงเหล็ก...เบื้องตะวันตก เถิงละพูนเบื้องพายัพเถิงเชียง แสน พยาว ลาว เบือ้ งตนี นอนเถงิ เมอื ง...ขุนด่าน...”



ปจั จัย ความเส่อื มของอาณาจักรเขมรที่เคย ภายนอก เจริญรงุ่ เรืองและแผข่ ยายอานาจ เข้ามาครอบคลมุ ถึงดนิ แดนในทร่ี าบลุ่มแมน่ าเจา้ พระยา ปจั จัย ประกอบดว้ ยสภาพภมู ศิ าสตร์ ที่ตังของกรงุ ภายใน สุโขทัย ศรีสชั นาลยั ชากงั ราว (กาแพงเพชร) และเมอื งสาคญั อ่นื ๆ

ทม่ี า : ดร.ธิดา สาระยา. ประวัตศิ าสตร์สโุ ขทยั : พลังคน อานาจผี บารมพี ระ. กรุงเทพฯ : สานักพิมพเ์ มืองโบราณ, ๒๕๔๔, หนา้ ๓๓.

การปกครองของอาณาจกั รสุโขทยั ในระยะแรกเป็ นแบบพ่อปกครอง ลกู ลกั ษณะการปกครอง เรียกวา่ การปกครองระบอบปิ ตุราชาธิปไตย โดย เชื่อถือว่าผูน้ าเป็ นเสมือนพ่อของประชาชนจะปกป้ องดูแลประชาชน เสมือนเป็ นลูกของพระองค์ พระนามของกษตั ริยส์ ุโขทยั ๓ พระองคแ์ รก มีคานาหนา้ พระนามว่า “พ่อขุน” ซ่ึงหมายถึงผเู้ ป็ นใหญ่กว่าขุนท้งั หลาย ข้อความในศิลาจารึ กพ่อขุนรามคาแหงยงั ระบุว่า พ่อขุนน้ันจะดูแล ประชาชนอยา่ งใกลช้ ิด หากมีทุกขร์ ้อนก็สามารถร้องทุกขก์ บั พอ่ ขนุ ได้ ดงั ความในจารึกวา่ …

“...ในปากประตูมีกะดิ่งอนั ณ แขวนไว้ห้ัน ไพร่ฟ้ าหน้าปกกลางบ้านกลางเมือง มีถ้อยมีความเจ็บท้องข้องใจ มักจักกล่าวเถิงเจ้า เถิงขุนบ่ไร้ ไปลนั กะดง่ิ อนั ท่านแขวน ไว้พ่อขุนรามคาแหง เจ้าเมืองได้ยิน เรียกเมือถาม สวนความแก่มันด้วยซ่ือ ไพร่ใน เมืองสุโขไทจง่ึ ชม...” ในสมยั ต่อมาพระนามของกษตั ริยส์ ุโขทยั เปล่ียนเป็น“พระยา” และ “พระมหาธรรมราชา” จึงเขา้ ใจวา่ ลกั ษณะการปกครองของอาณาจกั รสุโขทยั ในระยะหลงั จะมีลกั ษณะการปกครองท่ี มีแนวคิดวา่ กษตั ริยเ์ ป็นสมมติเทพ ตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์

“๑๒๑๔ ศก ปี มะโรง พ่อขุนรามคาแหงเจ้าเมืองศรีสัชชนนาไลสุโขไทนี้ ปลูกไม้ตาลนี้ ได้สิบส่ีเข้า จ่ึงให้ช่างฟันขดานหินต้งั หว่างกลางไม้ตาลนี้ วนั เดือนดับ เดอื นโอกแปดวัน วนั เดอื นเตม็ เดือนบ้างแปดวัน ฝูงป่ ูครูเถรมหาเถรขึน้ นั่งเหนือขดานหิน สูดธรรมแก่ อุบาสก ฝูงท่วยจาศีล ผใี้ ช่วันสูดธรรม พ่อขุนรามคาแหงเจ้าเมืองศรีสัชชนนาไลสุโขไท ขนึ้ นั่งเหนือขดานหิน ให้ฝูงท่วยลูกเจ้าลูกขนุ ฝูงท่วยถอื บ้านถอื เมืองคลั ”

การปกครองในอาณาจักรสุโขทัย กษัตริย์จะเป็ นผูน้ าทางการ ปกครองโดยมีขุนนางที่ปรากฏเรียกในจารึกว่า “ลูกเจ้าลูกขุน” เป็ น ผูช้ ่วยราชการแผ่นดิน ส่วนประชาชนเป็ นผูอ้ ยู่ใตก้ ารปกครองปรากฏ เรียกในจารึกวา่ “ไพร่ฟ้ า”

พระยาลิไทยก่อนขึนเสวยราชย์เป็นกษัตริย์สุโขทัยพระ นามว่าพระมหาธรรมราชาท่ี ๑ ได้ทรงครองเมืองศรีสัชนา ลัยมาก่อน เมืองหน้าด่านสาคัญของสุโขทัยคือเมืองชากัง ราว (เมืองกาแพงเพชร) ซ่ึงเคยทาศึกหลายครังกับกองทัพ อยธุ ยาในสมัยพระมหาธรรมราชาท่ี ๒



อาณาจกั รลา้ นนา เป็ นอาณาจกั รไทยเพื่อนบา้ นกบั อาณาจกั รสุโขทยั ท้งั สองอาณาจกั ร มีความสมั พนั ธ์กนั ทางการเมืองและทางวฒั นธรรม สมยั พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช ความสัมพนั ธ์ระหว่างสุโขทยั กบั มอญ เป็นไปดว้ ยดีโดย เฉพาะอยา่ งยงิ่



สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแห่งอาณาจกั รอยธุ ยาซ่ึงมีเช้ือสายราชวงศ์ พระร่วงแห่งสุโขทยั (พระมารดาเป็ นพระธิดาของพระมหาธรรมราชาที่ ๒) ไดเ้ สด็จไปครองสุโขทยั ท่ีเมืองพิษณุโลก สุโขทยั จึงรวมเข้าเป็ นส่วน หน่ึงกบั อาณาจกั รอยธุ ยาต้งั แต่น้นั มา



ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสุโขทยั กบั ลงั กาเป็นเรื่องของพระพทุ ธศาสนาเป็น หลกั เพราะลงั กา เป็ นศูนยก์ ลางการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท โดยสุโขทยั ไดส้ ่งทูตไปพร้อมกบั ทูตของนครศรีธรรมราชเพื่อขอพระพุทธ สิหิงค์ที่ลังกามาประดิษฐานไว้ที่สุโขทัย (ปัจจุบัน พระพุทธสิหิงค์ ประดิษฐานอยทู่ ่ีพิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร)

ความสัมพนั ธ์ระหว่างสุโขทยั กบั จีนปรากฏหลกั ฐานในสมยั ราชวงศ์ หยวน ความสัมพนั ธ์ กับจีนมีลักษณะเป็ นท้ังเรื่องการเมืองและการคา้ ความสัมพนั ธ์กบั จีนทาให้คนไทยมีโอกาส ได้เรียนรู้วิทยาการในการทา เครื่องสังคโลก จนเป็ นสินคา้ ส่งออกท่ีสาคญั และยงั ไดร้ ับความรู้ดา้ นการ เดินเรือทะเลจากชาวจีนอีกดว้ ย