Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Active learning

Active learning

Published by Suphornthip, 2021-07-14 08:48:20

Description: Active learning

Search

Read the Text Version

ACTIVE LEARNING Concepts and how to apply in a classroom.

ความหมาย Active Learning เป็ นกระบวนการจดั การเรียนรตู้ ามแนวคิดการสรา้ งสรรค์ ทางปัญญา (Constructivism) ที่เนน้ กระบวนการเรียนรมู้ ากกวา่ เน้ ือหาวชิ า เพือ่ ชว่ ยใหผ้ ูเ้ รียนสามารถเช่ือมโยงความรู้ หรือสรา้ งความรูใ้ หเ้ กิดข้ นึ ในตนเอง ดว้ ย การลงมือปฏิบตั ิจริงผ่านส่ือหรือกิจกรรมการเรียนรู้ ที่มีครูผูส้ อนเป็ นผูแ้ นะนา กระตุน้ หรืออานวยความสะดวก ใหผ้ ูเ้ รียนเกิดการเรียนรขู้ ้ นึ โดยกระบวนการคิด ข้นั สงู

กลา่ วคือ ผูเ้ รียนมีการวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ และการประเมินค่าจากส่ิงที่ไดร้ บั จาก กิจกรรมการเรียนรู้ ทาใหก้ ารเรียนรเู้ ป็ นไปอยา่ งมีความหมายและนาไปใชใ้ นสถานการณ์ อื่นๆไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ (สถาพร พฤฑฒิกุล, 2558 อา้ งถึงใน นรินทร์ เจริญพนั ธ,์ 2559)







ลักษณะของการจดั การเรียนการสอนแบบ ACTIVE LEARNING 1. เป็ นการเรียนการสอนท่ีพฒั นาศกั ยภาพทางสมอง ไดแ้ ก่ การคดิ การแกป้ ัญหา และการนาความรูไ้ ป ประยุกตใ์ ช้ 2. เป็ นการเรียนการสอนท่ีเปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ รียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรูส้ งู สุด 3. ผเู้ รียนสรา้ งองคค์ วามรูแ้ ละจดั กระบวนการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง 4. ผเู้ รียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนท้งั ในดา้ นการสรา้ งองคค์ วามรู้ การสรา้ งปฏสิ มั พันธร์ ่วมกนั ร่วมมอื กนั มากกวา่ การแขง่ ขนั 5. ผเู้ รียนเรียนรูค้ วามรบั ผิดชอบร่วมกนั การมีวนิ ัยในการทางาน และการแบ่งหนา้ ที่ความรบั ผิดชอบ

ลักษณะของการจัดการเรียนการสอนแบบ ACTIVE LEARNING 6. เป็ นกระบวนการสรา้ งสถานการณใ์ หผ้ เู้ รียนอ่าน พดู ฟัง คิดอยา่ งลุ่มลึก ผเู้ รียนจะเป็ นผูจ้ ดั ระบบการเรียนรู้ ดว้ ยตนเอง 7. เป็ นกจิ กรรมการเรียนการสอนที่เน้นทกั ษะการคิดขน้ั สงู 8. เป็ นกจิ กรรมที่เปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ รียนบูรณาการขอ้ มลู ขา่ วสาร หรือสารสนเทศ และหลกั การความคิดรวบยอด 9. ผสู้ อนจะเป็ นผอู้ านวยความสะดวกในการจดั การเรียนรู้ เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนเป็ นผปู้ ฏบิ ตั ิดว้ ยตนเอง 10. ความรูเ้ กิดจากประสบการณ์ การสรา้ งองคค์ วามรู้ และการสรุปทบทวนของผเู้ รียน

บทบาทของครูผูส้ อน 1. สรา้ งบรรยากาศของการมีส่วนร่วม และการเจรจาโตต้ อบท่ีส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนมีปฏสิ มั พันธท์ ่ีดี กบั ผสู้ อนและเพอ่ื นในช้นั เรียน 2. จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนใหเ้ ป็ นพลวตั ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนมสี ่วนร่วมในทุกกิจกรรมรวมท้งั กระตุน้ ใหผ้ เู้ รียนประสบความสาเร็จในการเรียนรู้ 3. จดั สภาพการเรียนรูแ้ บบร่วมมือ ส่งเสริมใหเ้ กดิ การร่วมมอื ในกลุ่มผเู้ รียน 4. จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนใหท้ า้ ทาย และใหโ้ อกาสผเู้ รียนไดร้ บั วิธีการสอนท่ีหลากหลาย 5. วางแผนเก่ียวกบั เวลาในจดั การเรียนการสอนอยา่ งชดั เจน ท้งั ในส่วนของเน้ ือหา และกิจกรรม 6. ครผู สู้ อนตอ้ งใจกวา้ ง ยอมรบั ในความสามารถในการแสดงออก และความคิดเของท่ีผเู้ รียน

เทคนิคการจดั การเรียนรูแ้ บบ ACTIVE LEARNING 1. การเรียนรูแ้ บบแลกเปล่ียนความคิด (Think-Pair-Share) คือการจดั กิจกรรมการ เรียนรทู้ ่ีใหผ้ ูเ้ รียนคิดเกี่ยวกบั ประเด็นท่ีกาหนดแต่ละคน ประมาณ 2-3 นาที (Think) จากน้ันให้ แลกเปลี่ยนความคิดกบั เพื่อนอีกคน 3-5 นาที (Pair) และนาเสนอความคิดเห็นต่อผูเ้ รียน ท้งั หมด (Share) 2. การเรียนรูแ้ บบรว่ มมือ (Collaborative learning group) คือการจดั กิจกรรม การเรียนรทู้ ่ีใหผ้ ูเ้ รียนไดท้ างานร่วมกบั ผูอ้ ่ืน โดยจดั เป็ นกลุ่มๆ ละ 3-6 คน 3. การเรียนรูแ้ บบทบทวนโดยผเู้ รียน (Student-led review sessions) คือการจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ ี่เปิ ดโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนไดท้ บทวนความรแู้ ละพิจารณาขอ้ สงสยั ต่าง ๆ ในการ ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรียนรู้ โดยครูจะคอยช่วยเหลือกรณีท่ีมีปัญหา

เทคนิคการจดั การเรียนรูแ้ บบ ACTIVE LEARNING 4. การเรียนรแู้ บบใชเ้ กม (Games) คือการจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ ี่ผูส้ อนนาเกมเขา้ บรู ณา การในการเรียนการสอน ซึ่งใชไ้ ดท้ ้งั ในขน้ั การนาเขา้ สบู่ ทเรียน การสอน การมอบหมายงาน และ หรือขน้ั การประเมนิ ผล 5. การเรียนรแู้ บบวเิ คราะหว์ ีดีโอ (Analysis or reactions to videos) คือการจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ ่ีใหผ้ ูเ้ รียนไดด้ วู ดี ีโอ 5-20 นาที แลว้ ใหผ้ ูเ้ รียนแสดงความคิดเห็น หรือสะทอ้ น ความคิดเก่ียวกบั ส่ิงที่ไดด้ ู อาจโดยวิธีการพดู โตต้ อบกนั การเขยี น หรือ การร่วมกนั สรุปเป็ นราย กลุ่ม 6. การเรียนรแู้ บบโตว้ าที (Student debates) คือการจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ ่ีจดั ให้ ผูเ้ รียนไดน้ าเสนอขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากประสบการณแ์ ละการเรียนรู้ เพื่อยนื ยนั แนวคิดของตนเองหรือ กลุม่

เทคนิคการจดั การเรียนรูแ้ บบ ACTIVE LEARNING 7. การเรียนรแู้ บบผูเ้ รียนสรา้ งแบบทดสอบ (Student generated exam questions) คือการจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ ี่ใหผ้ ูเ้ รียนสรา้ งแบบทดสอบจากส่ิงท่ีไดเ้ รียนรูม้ าแลว้ 8. การเรียนรแู้ บบกระบวนการวิจยั (Mini-research proposals or project) คือ การจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ ่ีอิงกระบวนการวิจยั โดยใหผ้ ูเ้ รียนกาหนดหวั ขอ้ ที่ตอ้ งการเรียนรู้ วาง แผนการเรียน เรียนรตู้ ามแผน สรุปความรหู้ รือสรา้ งผลงาน และสะทอ้ นความคิดในสิ่งที่ไดเ้ รียนรู้ หรืออาจเรียกวา่ การสอนแบบโครงงาน(project-based learning) หรือ การสอนแบบใช้ ปัญหาเป็ นฐาน(problem-based learning) 9. การเรียนรแู้ บบกรณีศึกษา (Analyze case studies) คือการจดั กิจกรรมการ เรียนรทู้ ่ีใหผ้ ูเ้ รียนไดอ้ ่านกรณีตวั อยา่ งท่ีตอ้ งการศึกษา จากน้ันใหผ้ ูเ้ รียนวเิ คราะหแ์ ละแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นหรือแนวทางแกป้ ัญหาภายในกลุ่ม แลว้ นาเสนอความคิดเห็นต่อผูเ้ รียนท้ังหมด

เทคนิคการจดั การเรียนรูแ้ บบ ACTIVE LEARNING 10. การเรียนรแู้ บบการเขยี นบนั ทึก (Keeping journals or logs) คือการจดั กิจกรรมการ เรียนรทู้ ี่ผูเ้ รียนจดบนั ทึกเร่ืองราวต่างๆ ที่ไดพ้ บเห็น หรือเหตุการณท์ ี่เกิดข้ นึ ในแต่ละวนั รวมท้งั เสนอความคิดเพิ่มเติมเกี่ยวกบั บนั ทึกที่เขียน 11. การเรียนรแู้ บบการเขยี นจดหมายขา่ ว (Write and produce a newsletter) คือ การจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ ่ีใหผ้ ูเ้ รียนร่วมกนั ผลิตจดหมายข่าว อนั ประกอบดว้ ย บทความ ขอ้ มลู สารสนเทศ ขา่ วสาร และเหตุการณท์ ี่เกิดข้ นึ แลว้ แจกจา่ ยไปยงั บุคคลอ่ืนๆ 12. การเรียนรแู้ บบแผนผงั ความคิด (Concept mapping) คือการจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ ่ี ใหผ้ ูเ้ รียนออกแบบแผนผงั ความคิด เพื่อนาเสนอความคิดรวบยอด และความเชื่อมโยงกนั ของกรอบ ความคิด โดยการใชเ้ สน้ เป็ นตวั เชื่อมโยง อาจจดั ทาเป็ นรายบุคคลหรืองานกลุ่ม แลว้ นาเสนอ ผลงานต่อผูเ้ รียนอื่นๆ จากน้ันเปิ ดโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนคนอื่นไดซ้ กั ถามและแสดงความคิดเห็นเพ่ิมเติม

เพ่ิมเติม 1. แบบระดมสมอง (Brainstorming) 2. แบบเนน้ ปัญหา/โครงงาน/กรณีศึกษา (Problem/Project-based Learning/Case Study) 3. แบบแสดงบทบาทสมมุติ (Role Playing) 5. แบบสะทอ้ นความคิด (Student’s Reflection) Padlet App. 6. แบบต้งั คาถาม (Questioning-based Learning) 7. แบบใชเ้ กม (Games-based Learning) / GAMIFICATION Kahoot, Baamboozle, quizizz

แหล่งอา้ งอิง นรินทร์ เจริญพนั ธ์ .(2559). การจดั การเรียนการสอนแบบ Active Learning. เอกสารประกอบการฝึกอบรม “คุณภาพผเู้ รียน.......เกดิ จากกระบวนการเรียนรู”้ โดย ดร.สถาพร พฤฑฒกิ ุล (3 ธนั วาคม 2558) คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลยั บรู พา วิทยาเขตสระแกว้ สืบคน้ จาก https://km.buu.ac.th/article/frontend/article_detail/141 สืบคน้ เมอ่ื 14 กรกฎาคม 2564 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2562). แนวทางการนิเทศเพ่ือพฒั นาและส่งเสริม การจดั การเรียนรูเ้ ชิงรุก (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู.้ สืบคน้ จาก http://www.esdc.go.th/ สืบคน้ เมอ่ื 14 กรกฎาคม 2564

ศึกษาเพ่ิมเติม https://www.eef.or.th/article-tiger-d- model/?fbclid=IwAR2U1zuoI87PWqbnjFtFZi3HE8oDLjHn9QAPYTvABBZfa9JCtW6a0NusRDc

ASSIGNMENT 1 (10 คะแนน) 1. ใหน้ ิสิตแบ่งกลุ่มเพอื่ ช่วยกนั คน้ ควา้ และทารายงาน นาเสนอ เทคนิคการจดั การ เรียนรแู้ บบ Active Learning กล่มุ ละ 1 เทคนิค จากตวั อยา่ งดา้ นบน โดย เลอื กเทคนิคที่ไมซ่ ้ากนั (ใชช้ วั่ โมงเรียนในวนั องั คารที่ 20 ก.ค. 64 ถือเป็ นชวั่ โมง การทางานของแต่ละกลมุ่ 2. เริ่มนาเสนอวนั พฤหสั บดีที่ 22 ก.ค. 64 3. สงิ่ ท่ีนิสิตสง่ ไดแ้ ก่ 1.ไฟลร์ ายงานการคน้ ควา้ PDF. และ 2. ไฟล์ POWER POINTท่ีนาเสนอ โดยสามารถอพั โหลดไวบ้ นระบบ Ms Teams โฟลเดอร์ ASSIGNMENT 1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook