ชุดที่ 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 1 คานา ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7 E) รายวิชาชีววิทยา(ว33242) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เป็นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ทเ่ี น้นผูเ้ รยี นเป็นสาคญั ผู้เรียนสามารถนาไปฝึกปฏบิ ัติหรือเรยี นรู้เพ่ิมเติมด้วยตนเอง ทงั้ ในและนอกเวลาเรียน โดยชุดกิจกรรมการเรียนรู้แต่ละชุดประกอบด้วยเอกสาร 2 ส่วน คือ คู่มือครูและชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทั้งน้ีเพ่ือให้ผู้เรียนนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไปดาเนินการกิจกรรมต่างๆ ได้สะดวกและมีประสิทธิภาพตรงตามจุดมุ่งหมายของการสร้างชุดกิจกรรม ซึ่งชุดกิจกรรม เร่อื ง ความหลากหลายทางชีวภาพ ประกอบด้วย8 ชดุ กจิ กรรม ดงั น้ี 1. ชดุ กจิ กรรมที่ 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 2. ชุดกจิ กรรมที่ 2 กาเนดิ ของสิ่งมชี วี ติ 3. ชุดกจิ กรรมท่ี 3 อาณาจักรมอเนอรา 4. ชดุ กิจกรรมท่ี 4 อาณาจักรโพรตสิ ตา 5. ชุดกิจกรรมท่ี 5 อาณาจกั รพืช 6. ชุดกจิ กรรมท่ี 6 อาณาจักรฟังไจ 7. ชดุ กิจกรรมท่ี 7 อาณาจักรสตั ว์ 8. ชุดกิจกรรมที่ 8 ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย ชุดกิจกรรมนี้เป็นชุดท่ี 1 เรื่อง การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ ซ่ึงประกอบด้วย คาชี้แจงผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ เวลาที่ใช้ วิธีใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือและอุปกรณ์การเรียนรู้แบบทดสอบก่อนเรยี น ซ่ึงเป็นแบบตัวเลอื ก 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ พรอ้ มกับบตั รความรู้และบัตรกิจกรรมรวมทั้งมีแบบทดสอบหลังเรียนและเฉลยแบบทดสอบและบัตรกิจกรรม ท้ายสุดมีแบบบันทึกคะแนนก่อนเรียนระหวา่ งเรียน และหลงั เรยี น ผูจ้ ัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าชุดการเรียนรู้น้ี จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอน สาหรับครู นักเรียนและผู้ทส่ี นใจ เพ่ือใช้ในการพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตอ่ ไป นางสาวสายธารา เดชเจรญิ พร ชุดกจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7 E) ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6
ชุดท่ี 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 2 สารบัญ หนา้ 1เรื่อง 2คานา 3สารบญั 4คาชีแ้ จง 5การใชช้ ดุ กิจกรรมการเรียนรู้ 6ผลเรียนรู้ 6จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 7สาระการเรียนรู้ 8บทบาทของนักเรยี น 11แบบทดสอบก่อนเรียน 12บัตรกิจกรรมการเรยี นรู้ท่ี 1 13บัตรกจิ กรรมการเรียนรทู้ ่ี 2 20บัตรความรทู้ ี่ 1 24บตั รกจิ กรรมการเรียนรู้ท่ี 3 30บัตรความรูท้ ี่ 2 33บัตรกจิ กรรมการเรียนรูท้ ี่ 4 36แบบทดสอบหลงั เรยี น 37บรรณานกุ รม 38ภาคผนวก 39แบบบนั ทึกคะแนนระหวา่ งเรียน 40เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรยี น 50เฉลยบตั รกิจกรรมที่ 1-4 55แบบสงั เกตพฤติกรรมนกั เรยี น และประเมนิ คณุ ลักษณะแบบประเมินผงั ความคิด ชุดกิจกรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขั้น (7 E) ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6
ชุดที่ 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 3คาช้ีแจง ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ บบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ขั้น (7 E) รายวชิ าชวี วิทยา(ว33242) เรือ่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ชุดกิจกรรมนี้ประกอบด้วยชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ 8 ดงั นี้ชดุ ที่ ช่อื ชุดกจิ กรรม จานวนชัว่ โมง 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชวี ภาพ 2 2 กาเนิดของสิ่งมีชีวติ 2 3 อาณาจักรมอเนอรา 2 4 อาณาจักรโพรตสิ ตา 2 5 อาณาจักรพืช 2 6 อาณาจักรฟังไจ 2 7 อาณาจักรสัตว์ 2 8 ความหลากหลายทางชีวภาพและการสูญเสยี ความ 2 หลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย รวม 16 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ฉบับนี้เป็นชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดท่ี 1 เรื่อง การศึกษาความหลากหลายของส่ิงมีชีวิต ซง่ึ นักเรยี นจะไดศ้ ึกษาเรียนรู้และปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ เพ่ือศึกษาเกย่ี วกับความหลากหลายของส่ิงมีชีวิต โดยใช้เวลาในการปฏิบัติกิจกรรมทั้งหมด 2 ช่ัวโมง และให้นักเรียนศึกษาชุดกิจกรรมตามลาดับข้ันตอนตอ่ ไปนี้ ชุดกิจกรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขนั้ (7 E) ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6
ชุดที่ 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 4การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ข้ันเตรียมก่อนใช้ชุดกิจกรรม 1. ทาการศึกษาคน้ ควา้ ในเร่ืองท่ีตนเองจะเรียนหรือปฏิบตั กิ จิ กรรมมาก่อนล่วงหนา้ เพือ่ ใหเ้ ขา้ ใจใน บทเรียนไดด้ แี ละรวดเรว็ ยิง่ ขึ้น 2. เตรยี มความพร้อมของตนเองสาหรบั การปฏิบัตกิ จิ กรรมรว่ มกับเพอ่ื นในห้องเรียนกับเพ่ือนใน ห้องเรยี นและเพื่อนรว่ มกลุ่ม 3. คาแนะนาในการปฏบิ ัติงานกลุม่ 3.1 เลือกประธานกลุ่มเพ่ือเป็นผู้นาในการดาเนินการจดั การเรยี นรู้ และเลขากลมุ่ เพ่ือบันทึก ข้อมลู ในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมต่างๆ 3.2 สมาชิกทุกคนต้องมีส่วนรว่ ม ช่วยเหลือซง่ึ กนั ละกนั และรับผิดชอบรว่ มกัน 3.3 ตัง้ ใจปฏบิ ตั ิกจิ กรรมอย่างเต็มความสามารถและรอบคอบ 4. ใช้กลุ่มเดมิ ตลอดการเรยี นดว้ ยชดุ กิจกรรมการเรียนร้นู ้ี ข้ันการใชช้ ุดกิจกรรม 1. ศกึ ษาภาระงานใหเ้ ข้าใจ และปฏบิ ัติตามลาดับขัน้ ตอน 2. ปฏิบัตกิ จิ กรรมดว้ ยตนเอง ไม่ลอกเพ่ือนและไม่ใหเ้ พ่ือนลอก 3. ศกึ ษากิจกรรมด้วยความต้ังใจแล้วทาการวเิ คราะหเ์ น้อื หาและสรปุ เพ่อื ให้เข้าใจได้ง่ายๆ 4. ศกึ ษาคาชีแ้ จงของกจิ กรรมโดยการระดมความคิดในกลุ่ม เพือ่ ตอบคาถามให้ตรงตามทฤษฎขี อง เร่ืองท่ีเรยี น ไมต่ อบโดยไม่มีเหตุผลหรือไมม่ ีทฤษฎีรองรับ 5. ร่วมอภปิ รายกับครูดว้ ยความต้ังใจ จดความรใู้ หม่ และซักถามทนั ทีเม่อื ไมเ่ ข้าใจ 6. มีความสามัคคี มนี ้าใจ ภาคภมู ใิ จในผลงานของกลมุ่ โดยไมเ่ อาเปรยี บด้วยการน่งั เฉยหรือก่อ ความวุน่ วายในห้องเรียน ขน้ั หลงั ใช้ชดุ กิจกรรม 1. ทาแบบทดสอบหลังเรยี น 2. รวบรวมผลงานทีไ่ ดจ้ ากการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมส่งครู เพื่อประเมนิ ผลการเรียนรู้ 3. จัดเก็บอุปกรณ์ทุกช้ินใหเ้ รยี บร้อย ชุดกิจกรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ แบบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ข้ัน (7 E) ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6
ชุดที่ 1 การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ 5ผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ 1. นกั เรียนสามารถสบื ค้นข้อมูล อภปิ ราย และอธบิ ายเกย่ี วกับความหมายและองค์ประกอบของ ความหลากหลายทางชีวภาพได้ 2. นักเรียนสามารถสืบค้นข้อมูล อภปิ ราย และอธบิ ายการศึกษาของสง่ิ มีชวี ิต การจดั หมวดหมู่ของ สง่ิ มีชวี ิต ช่อื ของสงิ่ มีชีวติ และการระบุชนดิ ได้ ดา้ นทักษะกระบวนการ นกั เรียนสามารถปฏิบตั ิกจิ กรรมตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวัฎจักร 7 ขัน้ (7E) ดังนี้ 1. ทาแบบฝึกหัดก่อนบทเรียน เพอ่ื ทดสอบความรเู้ ดิม (Elicitation Phase) 2. ร่วมกนั อภปิ รายและตัง้ คาถามจากแบบทดสอบก่อนเรียน (Engagement Phase) 3. สบื ค้นขอ้ มูลจากเอกสารประกอบการเรยี นรเู้ รอ่ื ง การศึกษาความหลากหลายของสงิ่ มีชวี ิต (Exploration Phase) 4. นาข้อมลู มาดาเนินการวิเคราะห์ แปลผล สรุปผลและนาเสนอผลท่ีไดใ้ นรูปตา่ งๆเชน่ บรรยายสรุป สร้างแผนภูมคิ วามคิดรวบยอด (Explanation and Expansion Phase) 5. ให้นักเรยี นนาผลงานท่ีได้จากการสรปุ ผลการวเิ คราะห์มานาเสนอหนา้ ช้ันเรยี นเพ่ือนาไปสูห่ าสรปุ ร่วมกันในช้ันเรียนและประเมินผลงาน (Evaluation and Extension Phase) ด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 1. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ ไดแ้ ก่ การสนทนาซกั ถาม กระตือรือรน้ ในการปฏิบตั ิกิจกรรม 2. มีความรับผิดชอบ ไดแ้ ก่ ปฏบิ ัตหิ นา้ ทีท่ ี่ได้รับมอบหมาย ทางานสาเรจ็ ตามเป้าหมาย 3. ความมีเหตผุ ล ได้แก่ การรวบรวมขอ้ มูล การอธบิ ายหรือแสดงความคดิ เห็นอย่างมเี หตผุ ลมี หลกั การหรอื ขอ้ มูลอง้ องิ 4. มรี ะเบียบวินัย ได้แก่ ตรงต่อเวลาที่นดั หมาย ปฏิบัติตามระเบียบวินยั ของกิจกรรม 5. อยู่อย่างพอเพียง ได้แก่ ใช้ทรัพย์สินตนเองอยา่ งประหยัด ทรพั ยส์ ินส่วนรวมอย่างคุ้มค่า ไมเ่ อา เปรยี บคนอื่น วางแผนการเรยี นการทางาน 6. ม่งุ ม่ันในการทางาน ได้แก่ ต้งั ใจ อดทนทางาน ไมย่ ่อท้อ 7. รักความเปน็ ไทย ได้แก่ มจี ิตสานักในความเปน็ ไทยและภมู ิปัญญาไทย 8. มีจิตสาธารณะ ได้แก่ ชว่ ยเหลือเพื่อน พ่อแม่ ครู มจี ิตอาสา ทางานเพื่อส่วนรวม ชดุ กิจกรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขน้ั (7 E) ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6
ชดุ ท่ี 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 6จดุ ประสงค์การเรยี นรู้1. สืบคน้ ขอ้ มูล อภปิ ราย และอธบิ ายเกย่ี วกับความหมายและองค์ประกอบของความหลากหลาย ทางชวี ภาพได้2. สืบค้นขอ้ มลู อภิปราย และอธิบายการศกึ ษาของสงิ่ มชี ีวิต การจดั หมวดหม่ขู องสิง่ มชี ีวติ ช่ือของ ส่งิ มีชวี ิต และการระบุชนิดได้สาระการเรียนรู้1. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. การศกึ ษาความหลากหลายของส่งิ มชี วี ติ3. ชอ่ื ของสิง่ มีชีวิต เวลาท่ีใช้ ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ท่ี 1 เร่ือง การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ ใช้เวลาในการทา การเรียนรู้ 2 ชั่วโมง ชุดกจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขน้ั (7 E) ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6
ชดุ ที่ 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 7 บทบาทของนกั เรียน 1. นกั เรียนแบง่ กลุ่ม กลมุ่ ละ 5 คน เลือกประธานกล่มุ เพ่อื เป็นผนู้ าในการดาเนินกิจกรรมและเลขานกุ ารกลุ่มเพื่อบนั ทึกข้อมูลในการปฏิบัติกจิ กรรมต่างๆและมอบหมายหนา้ ท่ีให้สมาชิกแต่ละคนในกลุม่ ให้ชัดเจน 2. ตรวจสอบความครบถ้วนของชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ บบ 7Eเรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ 3. ทาแบบทดสอบก่อนเรยี น เพ่ือทดสอบความรูเ้ ดิมของนกั เรียน 4. ศกึ ษากจิ กรรมการเรยี นรูท้ ี่ 1 แล้วให้แต่ละกลมุ่ รว่ มกันอภิปรายและตอบคาถาม 5. ศกึ ษาและปฏบิ ัติกจิ กรรมการเรียนรทู้ ่ี 2 เพอ่ื สารวจและคน้ หาคาตอบ 6. ศกึ ษากิจกรรมการเรยี นรู้ที่ 3 และ 4 จากนน้ั ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม อภิปรายและระดมความคิดในกลุ่ม สรปุ แกป้ ญั หาจากสถานการณ์ท่ีกาหนดขึ้น แล้วบนั ทึกคาตอบลงในแบบบันทึกกิจกรรม พร้อมทัง้ ขยายความรทู้ ีไ่ ดร้ บั โดยการนาเสนอหน้าชั้นเรยี น 7. แลกเปล่ยี นกันตรวจแบบบันทึกกิจกรรมการเรยี นรู้ท่ี 1-3 โดยเลขานุการกล่มุ รวบรวมแบบบันทึกคาตอบของสมาชิกไปแลกเปลีย่ นกบั กลมุ่ อน่ื โดยกาหนดให้กลุม่ ท่ี 1 ตรวจกลุม่ ที่ 5, กลุ่มท่ี 5 ตรวจกลุ่มที่ 4, กลุ่มท่ี 4 ตรวจกลุ่มที่ 3, กลุ่มที่ 3 ตรวจกลุ่มท่ี 2 และกล่มุ ที่ 2 ตรวจกล่มุ ท่ี 1 8. ประธานรับเฉลยกจิ กรรมการเรยี นรู้ จากครูผู้สอนเพื่อนามาตรวจคาตอบ 9. สมาชกิ ในกลุม่ ตรวจแบบบนั ทึกกจิ กรรมของสมาชกิ กล่มุ อน่ื (กรณีมีข้อสงสยั ใหน้ ักเรียนถามครผู ้สู อน) 10. เลขานกุ ารกลุ่ม รวบรวมแบบบนั ทกึ กิจกรรมกลมุ่ คนื กลมุ่ เดิม 11. ประธานกลุ่มนาเฉลยกิจกรรมคนื ครผู ้สู อน 12. สมาชกิ ในกลมุ่ บันทึกคะแนนลงในแบบบันทึกคะแนน รวมคะแนนของสมาชกิ ในกลมุ่หาค่าเฉลย่ี เป็นคะแนนของกลุ่มแจง้ ครผู ้สู อน ชุดกจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ขัน้ (7 E) ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6
ชุดที่ 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 8 แบบทดสอบก่อนเรยี น ชุดการเรียนรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ ความหลากหลายทางชีวภาพ ชุดท่ี 1 เรือ่ ง การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพจานวน 10 ข้อ คะแนน 10 คะแนน ใชเ้ วลา 10 นาทีคาชแ้ี จง: แบบทดสอบเปน็ แบบปรนัยเลือกตอบ ก ข ค และ ง จานวน 10 ขอ้1. สิง่ มชี วี ติ ในขอ้ ใดมีความคล้ายคลึงกันมากทสี่ ุด ก. ส่ิงมีชีวิตทีอ่ ยใู่ นอนั ดับ (Order) เดยี วกัน ข. สิง่ มีชวี ิตทีอ่ ยใู่ นสกุล(Genus) เดยี วกนั ค. สงิ่ มีชวี ติ ที่อยู่ในวงศ์ (Family) เดียวกนั ง. สง่ิ มชี วี ติ ที่อย่ใู นคลาส (Class) เดียวกัน2. ข้อใดไมจ่ ดั เป็นความหลากหลายของสิง่ มีชีวิต ก. ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ข. ความหลากหลายทางระบบนเิ วศ ค. ความหลากหลายทางพันธุกรรม ง. ความหลากหลายทางชนดิ สิง่ มีชวี ติ3. มหายุคใดทีเ่ รียกว่าเปน็ ยุคของไดโนเสารค์ ือ ก. มหายุคพาลีโอโซอิก ข. มหายุคพรีแคมเบรียน ค. มหายคุ มีโซโซอิก ง. มหายุคซโี นโซอิก4. ข้าวเจ้าท่ีเรารับประทานมีหลายสายพนั ธ์ุ เชน่ ขา้ วหอมมะลิ ข้าวเหลือประทิว ข้าวเล็บมอื นาง จัดเปน็ ความหลากหลายทางชีวภาพดา้ นใด ก. ดา้ นระบบนิเวศ ข. ด้านพันธุกรรม ค. ด้านชนดิ พันธ์ุ ง. ด้านแหล่งทอ่ี ยู่ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7 E) ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6
ชุดท่ี 1 การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ 95. ผเู้ รยี นจะต้ังชอ่ื มะนาวเป็นชือ่ วิทยาศาสตร์ ผู้เรียนจะต้องใชภ้ าษาอะไร ก. ภาษาละติน ข. ภาษาอังกฤษ ค. ภาษาบาลี ง. ภาษาไทย6. ข้อใดเรยี งลาดับการจัดหมวดหมูข่ องส่งิ มีชีวติ จากกลุ่มใหญม่ าเล็กได้ถูกต้อง ก. อาณาจักร , ไฟลัม , คลาส , วงศ์ อนั ดบั , สกลุ , สปชี สี ์ ข. อาณาจกั ร, ดวิ ชิ นั , คลาส , อันดบั วงศ์ , สกลุ , สปชี ีส์ ค. อาณาจักร , ไฟลัม , วงศ์ , คลาส อันดับ , สกลุ , สปีชีส์ ง. อาณาจกั ร , ดิวิชัน , คลาส , อันดับ วงศ์ , สปชี ีส์ , สกุล7. ไดโคโตมัสคียข์ องสัตว์มีกระดกู สันหลงั สัตวใ์ ดมลี กั ษณะดงั ตอ่ ไปนี้ “ไม่มขี น – ไม่มีครีบคู่ – ผิวหนงั ไม่มีเกล็ด ” ก. เตา่ ข. จงิ้ จก ค. จระเข้ ง. คางคก8. เซลล์โพรคาริโอตแตกตา่ งจากเซลลย์ คู ารโิ อต คอื ก. ไมพ่ บนวิ เคลียส ข. ไม่พบออรก์ าแนลล์ ค. ไม่พบไรโบโซม ง. ถูกท้ัง ก และ ข9. นกั วทิ ยาศาสตร์ท่านใดท่ไี ด้รบั การยกย่องเป็นบิดาแหง่ อนุกรมวิธาน ก. Alexander Oparin ข. Carolus Linnaeus ค. Sidney Fox ง. Stanley Miller10. ข้อใดเปน็ การนาความหลากหลายทางชีวภาพมาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ ก. ชาวบ้านใช้หลอดไฟจากพลังงานแสงอาทิตย์ ข. แม่ตากปลาเคม็ ในกระด้ง ค. หมอใชว้ า่ นหางจระเข้ สมานแผลให้กับคนไข้ ง. เกษตรกรใชป้ ุ๋ยเคมีฉีดพ่นต้นไม้ ชดุ กิจกรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขั้น (7 E) ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6
ชดุ ท่ี 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 10 กระดาษคาตอบ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรทู้ ่ี 1เรอ่ื ง การศึกษาความหลากหลายทางชวี ภาพ ก่อนเรียน หลงั เรยี นชื่อ .................................................................................... ชน้ั ................ เลขท่ี ..............ขอ้ ที่ ก ข ค ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.10. ชดุ กจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ข้ัน (7 E) ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6
ชดุ ท่ี 1 การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ 11 บัตรกจิ กรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ คาช้ีแจง กิจกรรมการเรียนรู้ฉบับน้ีเป็นกิจกรรมท่ีจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ข้ันตรวจสอบความรู้เดิม (Elicitation Phase) ข้ันเร้าความสนใจ(Engagement Phase)และข้ันอธิบาย(Explanation Phase) คาสงั่ ใหน้ ักเรียนร่วมกนั อภิปราย วิเคราะห์ภาพต่อไปนี้ (10 คะแนน) รูปความหลากหลายทางชวี ภาพของสง่ิ มีชวี ติ ท่ีมา: https://sites.google.com/site/khwamhlakhlaythangchiwphaphm6/home สบื คน้ เมื่อ 2 เมษายน 25591. จากรปู ที่กาหนดใหม้ ีส่งิ มีชีวิตก่ชี นดิ .......................................................................................... ไดแ้ ก่..........................................................................................................................................2. เหตใุ ดส่ิงมีชีวิตทพี่ บจึงมีลักษณะที่แต่งต่างกนั ............................................................................................................................. ....................... ………………..................................................................................................................................3. ผเี สอ้ื ที่เห็นในรปู นกั เรยี นเคยเหน็ ผเี ส้อื ทม่ี ลี กั ษณะอืน่ อกี หรือไม่ เหตุใดจงึ เป็นเชน่ น้นั .................................................................................................................................................... ……………….............................................................................................................................. .... ........................................................................................................................................... ......... ชดุ กิจกรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ แบบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ขนั้ (7 E) ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6
ชดุ ท่ี 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 12 บัตรกิจกรรมการเรยี นรู้ที่ 2 เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ คาชี้แจง กจิ กรรมการเรียนรู้ฉบับนเี้ ป็นกิจกรรมทจ่ี ดั การเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรูข้ ้ันสารวจและค้นหา (Exploration Phase) คาส่ัง ใหน้ ักเรียนแต่ละกลมุ่ ร่วมกนั ทากิจกรรม เร่ือง การศึกษาความหลากหลายทางชวี ภาพ ตามกจิ กรรมที่กาหนดใหต้ ่อไปนี้ กจิ กรรม ศึกษารปู ภาพและตอบคาถาม(10 คะแนน) ทีม่ า: https://sites.google.com/site/biologyofsubject สบื ค้นเมือ่ 5 เมษายน 25591. จากภาพ สิ่งมีชวี ติ ท่ีพบแบ่งเป็นกกี่ ล่มุ ได้แก่ ............................................................................................................................. .............2. จากภาพทน่ี ักเรยี นศึกษามีความหลากหลายของส่ิงมชี ีวิตหรอื ไม่ อยา่ งไร จงอธบิ าย ...................................................................................................................................... ....3. ในภาพที่เหน็ พบเห็นปลากีช่ นิด ในชีวิตจรงิ นักเรียนทราบหรือไมว่ า่ มปี ลากชี่ นิด ..........................................................................................................................................4. หากนกั เรยี นไปปา่ ดงดิบนักเรียนจะพบสง่ิ มีชีวติ ในภาพ หรือไม่ อยา่ งไร .......................................................................................................................................... ในป่าดงดบิ จะพบสง่ิ มชี วี ติ จาพวก....................................................................................5. ความหลากหลายทางชีวภาพ หมายถงึ .............................................................................. ................................................................................................................... ....................... ชดุ กจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขน้ั (7 E) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6
ชุดที่ 1 การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ 13 บตั รความรทู้ ี่ 1 เร่อื ง ความหลากหลายทางชีวภาพ คาช้แี จง กจิ กรรมการเรียนรฉู้ บบั น้ีเป็นกจิ กรรมที่จัดการเรยี นร้ตู ามกระบวนการสบื เสาะหาความรขู้ ั้นอธิบาย (Explanation Phase) และข้ันขยายความรู(้ Elaboration Phase) คาสง่ั ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุม่ ร่วมกันศกึ ษาบัตรความรูแ้ ละร่วมกนั วเิ คราะห์ อภิปรายและตอบคาถามต่อไปนลี้ งในบตั รบนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ มาจากภาษาอังกฤษคือคาว่า Biodiversity โดยรากศัพท์แล้วหมายความถึงความหลากหลายของส่ิงมีชีวิต นอกจากน้ียังพบกลุ่มคาในความหมายดังกล่าว เช่น Biologicaldiversity หรือ Diversity เปน็ ตน้ ความหลากหลายทางชวี ภาพ หมายถึง การมีชนิดพนั ธ์ุของสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิดมาอยูร่ ่วมกันณ สถานที่หนง่ึ หรอื ระบบนเิ วศใดระบบนิเวศหนึ่ง ท้งั นีเ้ ราสามารถจัดแบง่ ความหลากหลาย ทางชีวภาพได้ เปน็ 3 ลกั ษณะ คอื1. ความหลากหลายของชนดิ พนั ธุ์ ( species diversity ) ของสงิ่ มชี วี ิต2. ความหลากหลายของพนั ธุกรรม ( genetic diversity )3. ความหลากหลายของระบบนเิ วศ ( ecolosystem diversity ) ความหลากหลายท้ัง 3 ลักษณะ มีความสัมพันธ์กนั อย่างซับซ้อนในสภาพแวดลอ้ มและจาเปน็ อย่างย่ิงต่อการดารงชีวิตอยู่ของส่ิงมชี วี ติ บนโลก 1. ความหลากหลายของชนิดพันธ์ุ (ของสส่ิงมิง่ มชี ชีีววีติ ติ )บนโลกมอี ย่มู ากมาย มลี ักษณะท่ีแตกต่างกนั ไป ทัง้ นคี้ าดว่าชนิดของสง่ิ มชี ีวิตมมี ากถงึ 5-30 ล้านชนิด ทั้งพืชและสัตว์และจุลชีพแตกต่างกันออกไปท้ังรูปร่างลักษณะ การดารงชีพกระจัดกระจาย กันออกไปในแต่ละเขตภมู ิศาสตร์ของโลก อาจแบ่งไดเ้ ปน็ เช้ือไวรัส 1,000 ชนิด แบคทีเรีย 4,760 ชนดิ เชื้อรา 47,000 ชนิด สาหร่าย 26,900 ชนิด สัตว์เซลเดียว 30,800 ชนิด สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง99,000 ชนิด สัตว์มีกระดูกสันหลัง 44,000 ชนิด ทั้งน้ีระดับจานวนประชากรของสิ่งมีชีวิตจะแตกต่างกันออกไปขน้ึ อยู่กบั สภาพของสงิ่ แวดล้อม ชุดกิจกรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แบบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ขั้น (7 E) ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6
ชุดท่ี 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 14 ความหลากหลายในเรื่องชนิดหรือสปีชีส์ ของสิ่งมีชีวิต มีความหมายเป็น 2 ลักษณะ คือมีความมากชนิด(species richness) ซ่ึงหมายถึงจานวนชนิดของสิ่ง มีชีวิตต่อหน่วยเน้ือที่ และมีความสม่าเสมอของชนิด (species eveness) หมายถงึ สดั สว่ นของสิง่ มีชวี ติ ในระบบนิเวศหนึง่ ๆดงั นน้ั ความหลากหลายทาง ชนิดพันธุ์จึงสามารถวัดได้จากจานวนของส่ิงมีชีวิตและจานวนประชากรของส่ิงมีชีวิตแต่ละชนิด รวมถึงโครงสร้างของอายุและเพศของประชากรด้วย ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตน้ันจะแตกต่างกันไปตามพ้ืนท่ี กล่าวคือจานวนของส่ิงมีชีวิตในพื้นที่หรือชุมชนหน่ึง (community) จะเพิ่มขึ้นหรือลดลงจะขึ้นอยู่กับการแข่งขันส่ิงมีชีวิตที่มีหน้าที่เดียวกันในชุมชนหน่ึง ๆ จะมีการแข่งขันการทาหน้าที่อันทาให้เกิดการแยกหรือการอพยพออกจากชมุ ชนในทส่ี ดุ เช่น ในชุมชนมสี ตั ว์หลายชนดิ สัตว์บางชนดิ สามารถกินพืชเปน็ อาหารได้ เป็นต้น หรือในป่าเตง็ รงั ของไทย มตี น้ ไม้ 31 ชนิด ปา่ ดบิ แล้ง 54 ชนิด และในป่าดบิ ช้ืนมอี ยู่นบั รอ้ ยชนิด ความหลากหลายของชนิดจะแตกต่างกันไปตามพ้ืนที่ ซ่ึงเป็นหลักพื้นฐานทางด้านชีวภูมิศาสตร์(biogeography) พื้นที่ท่ีอยู่ในเขตร้อน (tropics) และในทะเลลึกจะมีความหลากหลายของชนิดสูง และความหลากหลายของชนิดจะลดลงในพ้ืนท่ีท่ีมีความผันแปรของอากาศสูง เช่น ในทะเลทรายหรือข้ัวโลก หรืออาจกล่าวได้ว่าในบริเวณเขตร้อนในแถบละติจูดต่า (low lattitude) ใกล้เส้นศูนย์สูตรจะมีความหลากหลายของชนิดสงู และจะลดลงเมื่ออย่ใู นแถบละติจูดสงู (high lattitude) ภาพแสดงความหลากหลายของชนิดพันธ์ุ(ของสิ่งมชี ีวติ )ทม่ี า: http://www.zoo.sci.ku.ac.th/html_T/courseware/424111 สืบค้นเม่อื 5 เมษายน 2559 ชดุ กจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ข้ัน (7 E) ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6
ชดุ ที่ 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 15 2. ความหลากหลายของพันธกุ รรม ความหลากหลายของพันธุกรรม หมายถึง ความหลากหลายของหน่วยพันธุกรรมหรือยีน(genes) ท่ีมีอยู่ในสิ่งมีชีวติ แตล่ ะชนิด ส่ิงมีชีวติ ชนิดเดียวกันอาจมียนี แตกตา่ งกันไปตามสายพันธุ์ เช่น ข้าวซ่ึงมีสายพันธ์ุมากมายหลายพันชนิด เป็นต้น ความแตกต่างผันแปรทางพนั ธุกรรมในแตล่ ะหน่วยชวี ิตมีสาเหตุมาจากการเปลีย่ นแปลงพันธกุ รรม (mutation) อาจเกดิ ข้ึนในระดบั ยีน หรือในระดบั โครโมโซมผสมผสานกับการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ ซึ่งเกิดขึ้นตามธรรมชาติได้น้อยมาก และเม่ือลักษณะดังกล่าวถูกถ่ายทอดไปยังรุ่นลูกจะทาให้เกิดความหลากหลายทางพันธุกรรม เช่น แมวที่มีลักษณะรูปร่างหลากหลายที่แตกต่างกัน ทั้งนี้เป็นที่ทราบในเบื้องต้นจากหน่วยการเรียนที่ผ่านมาแลว้ ว่าการถ่ายทอดยีนแต่ละรุ่นจะต้องเป็นไปอย่างมีความกดดันของวิวฒั นาการ (evolutionary forces) เชน่ การคัดเลือกโดยธรรมชาติ การอพยพ ความผกผันทางพนั ธุกรรมฯลฯ ทาให้โครงสร้าง ทางพันธุกรรมของประชากรในแต่ละรุ่นเปล่ียนแปลงผันไปได้ ซึ่งก็คือกระบวนการเปล่ียนแปลงวิวัฒนาการที่จะเล็กละน้อย (micro evolution) ก่อให้เกิดความหลากหลายทางพันธุกรรมในประชากรต่าง ๆ ของสปีซีส์ จะเห็นได้อย่างชัดเจนในปัจจุบันท่ีมีการนาเทคโนโลยีชีวภาพมาปรับปรุงพันธ์ุเพื่อให้ได้พันธุ์พืชที่มีสมบัติพิเศษ เช่น เพื่อต้านทานศัตรูพืช เพ่ือต้านทานโรค เป็นต้น จึงทาให้ได้ผลผลิตท่ีหลากหลายมากขน้ึ ซึ่งแต่ละชนิดจะมยี นี ท่ีแตกต่างกนั ไป ภาพแสดงความหลากหลายทางพันธุกรรม (ของสิ่งมีชีวิต) ทมี่ า: http://www.zoo.sci.ku.ac.th/html_T/courseware/424111 สืบค้นเมอื่ 5 เมษายน 2559 ชดุ กิจกรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ข้นั (7 E) ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 6
ชุดที่ 1 การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ 16 3. ความหลากหลายของระบบนิเวศ ระบบนเิ วศแต่ละระบบเป็นแหล่งท่ีอยู่อาศัยของสิ่งมชี ีวิตมากมาย หลายชนิด โดยมีสภาวะท่ีเหมาะสมกับส่ิงมีชีวิตแต่ละชนิด โดยท่ีระบบนิเวศจะมีความหลากหลายท่ีสามารถแยกออกได้ 3 ลักษณะ คือ 1. ความหลากหลายของถิ่นกาเนดิ ตามธรรมชาติ (habitat diversity) ตัวอย่างความหลากหลายของถ่ินกาเนิดตามธรรมชาติ เช่น ในผืนป่าทางตะวันตกของไทยที่มีลาน้าใหญ่ไหลผ่าน จะพบถิ่นกาเนิดตามธรรมชาติมากมายคือ ลาน้า หาดทราย พรุซึ่งมีน้าขัง ฝั่งน้าหน้าผา ถ้า ป่าบนท่ีดอนซ่ึงมีหลายประเภท แต่ละถ่ินกาเนิดจะมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่แตกต่างกันไป เช่น ลาน้าพบควายป่า หาดทรายมีนกยูงไทย หน้าผามีเลียงผา ถ้ามีค้างคาว เป็นต้น เม่ือแม่น้าใหญ่ถูกเปล่ียนเป็นทะเลสาบขนาดใหญ่ ภายหลังการสร้างเข่ือนความหลากหลายของถิ่นกาเนิดก็ลดน้อยลง โดยทั่วไปแล้วที่ใดที่มีถ่ินกาเนิดตามธรรมชาตหิ ลากหลายทีน่ น้ั จะมชี นิดสิ่งมชี ีวติ หลากหลายตามไปด้วย 2. ความหลากหลายของการทดแทน ( successional diversity) ในป่านั้นมีการทดแทนของสังคมพืชกล่าวคือ เม่อื ป่าถูกทาลายจะโดยวธิ ีใดก็ตาม เช่น ถูกแผ้วถางพายุพัดไม้ป่าหักโค่น เกิดไฟป่า น้าท่วม หรือแผ่นดินถล่ม เกิดเป็นท่ีโล่ง ต่อมาจะมีพืชข้ึนใหม่เรียกว่า พืชเบิกนา เช่น มหี ญ้าคา สาบเสือ กลว้ ยป่า และเถาวัลยเ์ กิดขึน้ ในที่โลง่ น้ี เมื่อกาลเวลาผ่านไปก็มตี ้นไมเ้ น้ืออ่อนโตเร็วเกิดข้ึน เช่น กระทุ่มนา้ ปอหูชา้ ง ปอตองแตบ นนทรี เลี่ยน เกิดขึ้นและหากปล่อยไวโ้ ดยไม่มกี ารรบกวนป่าดัง้ เดมิ ก็จะกลบั มาอีกครัง้ เราเรียกกระบวนการน้ีวา่ การทดแทนทางนิเวศวิทยา(ecological succession) สิง่ มีชวี ิตบางชนิดปรับตัวให้เข้ากับยุคต้นๆของการทดแทน บางชนิดก็ปรบั ตัวให้เขา้ กับยุคสุดท้ายซึ่งป่าบริสุทธ์ิ ( virginforest) 3. ความหลากหลายของภูมิประเทศ ( land scape diversity) ในทอ้ งท่บี างแหง่ มีถิน่ กาเนดิ ตามธรรมชาตมิ ากมาย เชน่ ลานา้ บงึ หาดทราย ถา้ หนา้ ผา ภูเขาลานหิน และมีสังคมพืชในหลาย ๆ ยุคของการทดแทน มีทุ่งหญ้าป่าโปร่งและป่าทึบ พื้นที่เช่นน้ีจะมีสรรพสิ่งมีชีวิตมากมายผิดกับเมืองหนาวท่ีมีต้นไม้ชนิดเดียวขึ้นอยู่บนเน้ือท่ีหลายร้อยไร่ มองไปก็เจอต้นไม้สนเพียงชนดิ เดยี ว ชุดกจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขนั้ (7 E) ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6
ชุดที่ 1 การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ 17 ภาพแสดงความหลากหลายทางระบบนเิ วศ (ของสงิ่ มชี ีวิต) ที่มา: http://www.zoo.sci.ku.ac.th/html_T/courseware/424111 สบื คน้ เมื่อ 6 เมษายน 2559 ความสาคญั ของความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพทางธรรมชาติเป็นจุดสาคัญท่ีทาให้ระบบในธรรมชาติสามารถดารงอยู่ได้ภายใต้สภาพการณ์ของสิ่งแวดล้อมท่ีเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ดังน้ันความหลากหลายทางชีวภาพจึงมีความสาคัญย่ิงต่อส่ิงแวดล้อม เศรษฐกิจและวัฒนธรรม มนุษย์เป็นผู้ที่พยายามทาลายความหลากหลายดังกล่าวให้ลดลงและได้พยายามสร้างส่ิงท่ีทดแทนด้วยความหลากหลายท่ีอยู่ในระดับต่ากว่า จึงทาให้ระบบนเิ วศใหม่ ไม่ทนทานต่อการผนั แปรของส่งิ แวดล้อม นอกจากนี้ความหลากหลายทางชีวภาพยังถูกคุกคามจากการเปล่ียนแปลงทางธรรมชาติที่รวดเร็ว เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด น้าท่วม ไฟป่า ฯลฯ ซึ่งมีผลให้ส่ิงมีชีวิตตามพ้ืนท่ีของระบบนิเวศธรรมชาติเปลี่ยนแปลงไปด้วย สิ่งมชี ีวิตใดไม่สามารถปรับตวั ได้ทันท่วงทีก็อาจสูญพันธ์ุ ซึ่งเป็นการสูญเสียท่ีไม่อาจกลับคืนมาได้ และถ้าส่ิงมีชีวิตใดปรับตัวได้ก็อาจต้องมีการปรับพฤติกรรม เพื่อท่ีจะสร้างและพัฒนาให้ระบบนิเวศท่ีอาศยั ใหม้ ีความสมบูรณ์และพร่งั พร้อม ตลอดจนสร้างเสรมิ ความมนั่ คงให้มากขึน้ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แบบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ข้ัน (7 E) ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6
ชุดท่ี 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 18 ประโยชนข์ องความหลากหลายทางชวี ภาพ 1) ดา้ นการบริโภคใช้สอย (Consumption use) ซ่ึงนับว่าความหลากหลายทางชีวภาพที่เป็นทรัพยากรทางธรรมชาติมีประโยชน์อย่างมากกับปัจจัยในการดารงชวี ติ ใหแ้ กม่ นษุ ย์ เช่น ดา้ นอาหาร เครื่องนุ่งห่ม ทอ่ี ยอู่ าศยั ยารักษาโรค เปน็ ต้น ก. ด้านการผลติ อาหาร มนุษยไ์ ดบ้ ริโภคอาหารทีม่ าจากพชื และสตั ว์ พชื ไม่นอ้ ยกวา่ 5,000 ชนดิทสี่ ามารถนามาประกอบอาหารได้ และไมน่ อ้ ยกว่า 150 ชนดิ ที่มนุษยน์ ามาเพาะปลูกเป็นอาหารของมนุษยแ์ ละสัตว์ แต่มีเพียง 20 ชนิดเท่านั้นที่ใช้เป็นอาหารหลักของประชากรโลก คือ พวกแป้ง ได้แก่ ข้าว ข้าวโพด ข้าวสาลี มันฝร่ัง ความหลากหลายทางธรรมชาติท่ีมนุษย์นามาใช้เป็นแหล่งอาหารจะเป็นแหล่งวัตถุดิบที่ถูกนามาใช้ ในการปรับปรุงคัดเลอื กพนั ธเ์ุ พอื่ ใหไ้ ด้ผลผลิตมากข้นึ เช่น ข้าว และข้าวโพด ข. ด้านการแพทย์ มีการใช้ประโยชน์จากพืชและสัตว์ในทางการแพทย์มากมายประมาณ ร้อยละ 25 ของยารกั ษาโรคผลิตขึ้นมาจาก พืชดงั้ เดมิ เช่น การนาพืชพวก ชนิ โคนา (cinchono) ผลติ ยาควินนิ ท่ีใชร้ กั ษาโรคมาลาเรีย การใช้พงั พวยฝรั่งในป่าของเกาะมาดากัสการักษาโรคเลอื ดจาง เบาหวานและความดันสูงและในปี พ.ศ.2543 ประเทศไทยกค็ ้นพบสมุนไพรไทยทีม่ ีฤทธ์ิต้านมาลาเรียอันได้แก่ น้าเตา้ ลม มะพูด ชะมวงสบู่เลือด พญาครุฑ มะเกลือป่า โปร่งฟ้า และ Goniotha lamus tenuifolius (ไม่มีชื่อเรียกในภาษาไทย)เป็นตน้ 2) ประโยชน์ดา้ นการผลิต (productive use value) ดา้ นการอุตสาหกรรม ผลผลติ ของป่าท่ีนามาใช้ประโยชน์ไมว่ ่าจะโดยตรง เช่น การป่าไม้ ของป่า หรือโดยอ้อม เช่นการสกัดสารเคมจี ากพืชในป่า 3) ประโยชน์อื่น ๆ (non - consumptive use) อนั ไดแ้ ก่คุณค่าในการบารุงรักษาระบบนิเวศให้สามารถดารงอยู่ได้ และดูแลระบบนิเวศ ให้คงทน เช่นการรักษาหน้าดินการตรึงไนโตรเจนสู่ดิน การสังเคราะห์พลังงานของพืช การควบคุมความชื้น เป็นต้น ซึ่งจดั เปน็ ประโยชนท์ ี่สาคัญ ชุดกจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7 E) ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6
ชดุ ท่ี 1 การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ 19 บตั รกจิ กรรมการเรียนรูท้ ่ี 3 เร่ือง ความหลากหลายทางชวี ภาพ คาช้แี จง กิจกรรมการเรียนรู้ฉบับนเ้ี ปน็ กจิ กรรมท่ีจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ขน้ั สารวจและค้นหา (Exploration Phase) ,ขัน้ ขยายความรู้(Exploration Phase) และข้ันนาความรู้ไปใช(้ Extend Phase) คาสัง่ ให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทากิจกรรม เร่ือง ความหลากหลายทางชวี ภาพตามกจิ กรรมที่กาหนดให้ต่อไปนี้ กจิ กรรมที่ 1 สังเกตและจาแนกประเภทของความหลากหลายทางชีวภาพ จากรูปภาพท่ีกาหนด (5 คะแนน) 1 ท่มี า: https://aunyapinkie64.wordpress.com สืบคน้ เมื่อ 10 เมษายน 2559ประเภทความหลากหลายทางชวี ภาพ ดา้ น......................................... ชดุ กิจกรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ขั้น (7 E) ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6
ชดุ ท่ี 1 การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ 202 ที่มา: http://scimath.org/article-biology/item/593- biodiversity-is-life สบื ค้นเมอ่ื 10 เมษายน 2559 ประเภทความหลากหลายทางชวี ภาพ ดา้ น.............................................................3 ทม่ี า: http://scimath.org/article-biology/item/593-biodiversity-is-life สบื ค้นเมอ่ื 10 เมษายน 2559ประเภทความหลากหลายทางชีวภาพ ด้าน................................................. ชดุ กิจกรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ข้นั (7 E) ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 6
ชุดที่ 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 214 ท่มี า: http://scimath.org/article-biology/item/593-biodiversity-is-life สืบค้นเมอ่ื 10 เมษายน 2559 ประเภทความหลากหลายทางชวี ภาพ ด้าน.............................................................5 ที่มา: http://scimath.org/article-biology/item/593-biodiversity-is-life สบื ค้นเม่ือ 10 เมษายน 2559ประเภทความหลากหลายทางชีวภาพ ดา้ น.............................................................. ชุดกจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ขัน้ (7 E) ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6
ชุดท่ี 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 22กิจกรรมท่ี 2 ให้นกั เรยี นเขยี นอธิบายประโยชนข์ องความหลากหลายทางชีวภาพ ลงในตารางมาพอสังเขป (5 คะแนน)ดา้ นการบรโิ ภคใชส้ อย ดา้ นการผลิต ดา้ นอนื่ ๆ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7 E) ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6
ชดุ ท่ี 1 การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ 23 บัตรความรทู้ ่ี 2 เรือ่ ง การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ คาชแี้ จง กจิ กรรมการเรยี นรู้ฉบบั นี้เป็นกิจกรรมท่ีจดั การเรียนรู้ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ขน้ั อธิบาย (Explanation Phase) และขัน้ ขยายความรู้(Elaboration Phase) คาสั่ง ใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั ทากิจกรรม เรื่อง การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพตามกิจกรรมท่กี าหนดให้ต่อไปนี้ อนกุ รมวธิ าน อนุกรมวิธาน (Taxonomy หรอื Systematics) เป็นการศึกษาวจิ ยั เกี่ยวกบั การจาแนกพันธ์ุ คือ การ จดั หมวดหมูข่ องสงิ่ มีชวี ิต ซึ่งจะศึกษาในด้านตา่ ง ๆ 3 ลกั ษณะ ได้แก่ 1. การจดั จาแนกส่งิ มชี วี ิตออกเปน็ หมวดหมู่ในลาดับข้ันต่าง ๆ (Classification) 2. การตรวจสอบหาชือ่ วิทยาศาสตร์ท่ีถูกต้องของสงิ่ มีชวี ิต (Identification) 3. การกาหนดชื่อทเี่ ปน็ สากลของหมวดหม่แู ละชนิดของส่ิงมชี ีวติ (Nomenclature) 1. การจดั จาแนกสิง่ มีชีวิตออกเป็นหมวดหมู่ การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต จะจัดเป็นลา ดับขั้นโดยเริ่มด้วยการจัดเป็นหมวดหมู่ ใหญ่ก่อน แล้วแต่ละหมู่ใหญ่ก็จา แนกออกไปเป็นหมู่ย่อยลงไปเรื่อย ๆ ในแต่ลา ดับขั้น (taxon) จะมีช่ือเรียกกากับ ลาดับขั้นสูงสุดหรือหมู่ใหญ่ที่สุดของส่ิงมีชีวิต คือ อาณาจักร (Kingdom) รองลมาเป็นไฟลัม (phylum) สาหรับพืชใช้ดิวิชัน (Division) ไฟลัมหรือดิวิชันหนึ่ง ๆ แบ่งเป็นหลายคลาส (Class) แต่ละคลาสแบ่งเป็น หลาย ๆ ออร์เดอร์ (Order) ในแต่ละออร์เดอร์มีหลายแฟมิลี (Family) แฟมิลีหนึ่ง ๆ แบ่งเป็นหลายจีนัส (Genus) และในแตล่ ะจีนัสก็มหี ลายสปิชีส์ (Species) ดังนัน้ ลาดบั ขัน้ ของหมวดหมู่ส่ิงมชี ีวิต (taxonomic category) จะเขยี นเรียงลาดับจากขน้ั สูงสุดลดหล่นั มาข้นั ต่าดังนี้ ชุดกจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แบบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ขนั้ (7 E) ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6
ชุดที่ 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 24การจดั หมวดหมูส่ ง่ิ มชี วี ติ Classification : ใชล้ ักษณะต่างๆ ทส่ี ่งิ มชี วี ิตหลายๆ ชนดิ มเี หมือนกันและแตกต่างกัน ช่วยในการจาแนกสามารถแบ่งเป็นกล่มุ ย่อยลงไปเรอื่ ยๆ จากเล็กไปใหญ่ อาณาจักร ไฟลมั หรือดิวิชนั ช้ัน/คลาส ออรเ์ ดอร์ วงศ/์ แฟมิลี สกลุ /จีนสั ชนิด/สปชิ สี ์2. การตรวจสอบหาชื่อวิทยาศาสตร์ของสง่ิ มชี ีวติเน่ืองจากการเรียกชื่อส่ิงมีชีวิตชนิดใดชนิดหนึ่งจะแตกต่างกันไปตามภาษาและท้องถ่ินอีกท้ังมีการเรียกช่ือกันอย่างสับสน ดังน้ันเพื่อความเข้าใจตรงกันนักวิทยาศาสตร์จึงต้องใช้ช่ือท่ีเป็นสากลในการจัดจาแนกสิ่งมีชีวิตโดยในค.ศ.1753 คาโรลัส ลินเนียส(CarolusLinnaeus) นักชีววิทยาชาวสวีเดนได้คิดวิธีการเรียกชื่อส่ิงมีชีวิตเพ่ือการจัดจาแนกส่ิงมีชีวิตตามระบบไบโนเมียล (Binomialnomenclature)ปัจจุบันเรียกว่าช่ือวิทยาศาสตร์ (Scienctificnames) โดยกาหนดภาษาท่ใี ชต้ งั้ ช่อื สิ่งมชี ีวติ เปน็ ภาษาลาตนิ หรอื ภาษาอื่นที่ คาโรลสั ลนิ เนียส บิดาแห่งวิชาอนุกรมวธิ าน ทมี่ า: https://th.wikipedia.org/wikiเปล่ียนแปลงเปน็ ภาษาลาติน นอกจากนช้ี ่ือวิทยาศาสตร์จะ สบื คน้ เมือ่ 18 เมษายน 2559ต้องประกอบดว้ ยคา 2 คา คาแรกเป็นชอื่ สกุล (Generic name)ส่วนคาหลงั เป็นชอื่ สเปซฟิ กิ เอพเิ ทต (Specific epithet) ระบุชนิดหรือลักษณะเฉพาะของส่งิ มชี วี ิต ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7 E) ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6
ชดุ ที่ 1 การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ 25 3. การกาหนดชื่อท่ีเป็นสากลของหมวดหมแู่ ละชนดิ ของ สิ่งมีชวี ิต 1. ช่ือทวนิ ามจะเปน็ ภาษาละตนิ ประกอบด้วยคาศพั ท์ 2 คา คือ สกลุ (genus) และ สปีชีส์ (species) 2. ชื่อทวินามมกั จะถกู พมิ พ์ดว้ ยตัวเอน เชน่ Homo sapiens หากเป็นการเขียนด้วยลายมอื ควรขีดเส้นใต้ลงไปแทน 3. คาศัพท์คาแรก (ช่ือสกุล) ต้องขึ้นต้นด้วยอักษรตัวใหญ่เสมอ นอกจากนั้นใช้อักษรตัวเล็กทั้งหมดเช่น Canis lupus หรือ Anthus hodgsoni แต่สาหรับสิ่งมีชีวิตท่ีต้ังชื่อทวินามไว้ก่อนหน้าศตวรรษที่ 20 และขึน้ ตน้ ดว้ ยอกั ษรตวั ใหญ่อยู่แล้ว ไมต่ อ้ งเขยี นเป็นตวั เล็กอกี เช่น Carolus Linnaeus 4. ในสปีชีส์ย่อย ชื่อจะประกอบด้วยสามส่วนและสามารถเขียนได้สองแบบ โดยพืชและสัตว์จะเขียนต่างกัน เช่น เสือโคร่งเบงกอล คือ Panthera tigris tigris และ เสือโคร่งไซบีเรีย คือ Panthera tigrisaltaica ตน้ เอลเดอรด์ ายโุ รปคือSambucusnigrasubsp.nigraและเอลเดอร์ดาอเมรกิ าคือ Sambucus nigrasubsp. canadensis 5. ในตาราเรียน มักมีชื่อสกุลย่อ หรือชื่อสกุลเต็มของนักวิทยาศาสตร์ผู้จัดทาชื่อนั้นต่อท้าย โดยชื่อสกุลยอ่ ใช้กับพชื ส่วนช่ือสกุลเต็มใชก้ ับสัตว์ ในบางกรณีถ้าชื่อสปชี ีส์เคยถกู กาหนดให้ชอ่ื สกุลที่ต่างออกไปจากช่อื ในปัจจุบัน จะคร่อมช่ือสกุลนักวิทยาศาสตร์กับปีท่ีจัดทาไว้ เช่น Amaranthus retroflexus L., Passerdomesticus (Linnaeus, 1758) ทใี่ สว่ งเล็บเพราะในอดตี ชื่อหลงั อยู่ในสกลุ Fringilla 6. หากใช้กับชื่อสามัญ เรามักใส่ช่ือทวินามไว้ในวงเล็บต่อท้ายชื่อสามัญ เช่น\"นกกระจอกบ้าน(Passerdomesticus) กาลงั มีจานวนลดลงอย่างน่าตกใจ\" 7. การเขียนชื่อทวินามเป็นครั้งแรกในรายงานหรือสิ่งพิมพ์ เราเขียนเป็นช่ือเต็มก่อน หลังจากน้ันเราสามารถย่อชอื่ สกลุ ใหส้ น้ั ลงเปน็ อกั ษรตัวแรกของชือ่ สกลุ และตาม ดว้ ยจุด เช่น Canis lupusย่อเป็น C. lupus ด้วยเหตุที่เราสามารถย่อชื่อในลักษณะนี้ได้ ทาให้ชื่อย่อเป็นที่รู้จักและกล่าวถึงมากกว่าชื่อเตม็ เช่นT. Rex คอื Tyrannosaurus rex หรือ E. coli คือ Escherichia coli เป็นตน้ 8. บางกรณี เราเขียน \"sp.\" (สาหรับสัตว)์ หรือ \"spec.\" (สาหรับพืช) ไว้ทา้ ยชอ่ื สกุล ในกรณีท่ีไม่ตอ้ งการเจาะจงช่ือสปีชีส์ และเขียน \"spp.\" ในกรณีที่ต้องการกล่าวถึงหลายสปีชีส์ ตัวอย่างเช่น \"Canis sp.\", หมายถึงสปชี สี ห์ นึง่ ในสกุล Canis 9. ส่ิงมีชีวิตชนิดหนง่ึ อาจมีช่อื วิทยาศาสตร์มากกว่าหน่งึ ชอื่ ใหใ้ ชช้ อ่ื ต้ังข้ึนกอ่ นเป็นชือ่ หลัก สว่ นช่อื อ่นื เป็นชือ่ พ้อง 10. ชื่อวทิ ยาศาสตร์มกั จะบอกลักษณะบางอยา่ งกับส่ิงมชี วี ติ ชนดิ นัน้ ชุดกจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ขัน้ (7 E) ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6
ชุดท่ี 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 26 การระบชุ นิด นักวิทยาศาสตร์มีหลายแนวทางในการจัดจาแนกหมวดหมู่ส่ิงมีชีวิต ไดโคโตมัสคีย์ (dichotomouskey) เป็นเครื่องมืออย่างหน่ึงท่ีใช้จาแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มย่อยได้ โดยพิจารณาโครงสร้างทีละลักษณะที่แตกต่างกันเป็นคู่ๆ ดังตวั อยา่ งไดโคโตมัสคีย์ของสตั ว์มีกระดูกสนั หลงั 1 ก. มขี น .............................................................................. ................................... ดูข้อ 2 1 ข. ไมม่ ขี น.............................................................................................................. ดขู ้อ 3 2 ก. ขนเปน็ เส้น...................................................................... ................................ สตั วเ์ ลี้ยงลูกดว้ ยนม 2 ข. ขนเป็นแผงแบบขนนก..................................................................................... สัตว์ปีก 3 ก. มคี รีบคู่และชอ่ งเหงอื ก.................................................................................... ดูข้อ 4 3 ข. ไมม่ คี รีบคแู่ ละช่องเหงือก................................................................................ ดูขอ้ 5 4 ก. มแี ผน่ กระดูกปดิ ช่องเหงือก มชี อ่ งเหงอื ก 1 ช่อง.............................................ปลากระดูกแข็ง 4 ข. ไมม่ แี ผน่ กระดกู ปิดช่องเหงือก มชี ่องเหงือก 5-7 ช่อง.....................................ปลากระดูกอ่อน 5 ก. ผวิ หนงั มเี กลด็ ..................................................................................................สตั วเ์ ล้ือยคลาน 5 ข. ผวิ หนงั ไม่มเี กลด็ .............................................................................................สตั ว์สะเทินนา้ สะเทนิ บก จากตัวอยา่ งไดโคโตมสั คียน์ จ้ี ะเห็นวา่ สิ่งมชี ีวิตกล่มุ ใหญ่ท่ีเป็นกลุ่มเดียวกนั จะจาแนกเปน็ กลมุ่ ย่อยๆ ไดอ้ ีกโครงสร้างบางชนดิ ของสัตว์อาจมีลกั ษณะท่ีคลา้ ยคลึงกัน เมื่อพจิ ารณาดเู พียงแตภ่ ายนอก เชน่ ครีบของปลากับครบี ของวาฬ แต่ถ้าพจิ ารณารายละเอียดโครงสร้างภายในจะพบว่า กระดูกครีบของวาฬคลา้ ยคลงึ กับกระดูกแขนของมนษุ ย์มากกวา่ กระดูกของครบี ปลาแบบแผนของการเจริญเติบโต : เป็นอีกเกณฑ์หนึ่งท่ีใช้ในการจัดจาแนกหมวดหมู่ของส่ิงมีชีวิต โดยเฉพาะพวกสัตว์มกี ระดูกสันหลงั เชน่ ปลา กบ นก คน เอ็มบรโิ อในระยะแรกๆ มีลกั ษณะคล้ายคลงึ กัน ช่องเหงือกของสัตวม์ กี ระดูกสนั หลังบางชนิดในระยะทเ่ี ปน็ เอ็มบรโิ อที่มา: http://www.rmutphysics.com/charud/scibook สืบค้นเมอื่ 18 เมษายน 2559 ชุดกิจกรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7 E) ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 6
ชดุ ที่ 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 27 การศึกษาซากดึกดาบรรพ์ของส่ิงมีชีวิต : การจาแนกแบบนี้จะทาให้ทราบบรรพบุรุษของส่ิงมีชีวิตในปัจจุบันได้ ตัวอย่าง เช่น นกและสัตว์เล้ือยคลานเป็น สัตว์สองพวกท่ีมีลักษณะค่อนข้างจะแตกต่างกันมาก แต่จากการศึกษาค้นคว้าเก่ียวกับซากดึกดาบรรพ์ ปรากฏว่า พบซากสัตว์เล้ือยคลานที่บินได้ชนิดหน่ึง คือ เทอราโนดอน (Pteranodon) และพบซากของอาร์คีออปเทอริกส์ (Archaeopteryx) ซ่ึงเป็นนกโบราณชนิดหนึ่ง มีขากรรไกรยาว มีฟัน ปีกมีน้ิว ตรงปลายน้ิวของปีกยังมีเล็บท่ีนกปัจจุบันไม่มี ลักษณะเหล่าน้ีถือกันว่าเป็นลักษณะของสัตว์เล้ือยคลาน อาจเป็นไปได้ว่า สัตว์พวกนี้อาจมีวิวัฒนาการมาจากบรรพบุรุษที่เป็นสัตว์เลื้อยคลาน และเปน็ อีกเหตผุ ลหน่งึ ท่จี ดั เอานกและสตั ว์เลื้อยคลานไวเ้ ป็นพวกใกลเ้ คียงกัน อารค์ ีออฟเทอรกิ ส์ ท่ีมา: http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/nature%20myth/index88.htm สบื คน้ เมอื่ 17 เมษายน 2559 ในปัจจุบันวิทยาการต่างๆได้ก้าวหน้าไปมากนักวิทยาศาสตร์สามารถจะศึกษาความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิตและจาแนกหมวดหมู่ได้โดยพิจารณาออร์แกเนลล์และสารเคมีภายในเซลล์ เช่น คลอโรพลาสต์กรดนิวคลีอกิ โปรตีนสิ่งมีชีวติ ทีม่ ีความใกล้ชดิ กนั ทางด้านพันธุกรรมมากเท่าใดก็ยอ่ มจะมีออร์แกเนลล์ของเซลลแ์ ละสารเคมีท่ีคล้ายกันมากเท่าน้ันนอกจากน้ีการจัดหมวดหมู่ยังได้พิจารณาถึงพฤติกรรมความสัมพันธ์ของส่งิ แวดล้อมและการแพร่กระจายทางภมู ิศาสตร์ด้วย ชดุ กจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขนั้ (7 E) ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6
ชดุ ท่ี 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 28 บตั รกจิ กรรมการเรียนรู้ท่ี 4 เรื่อง การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพคาชีแ้ จง กจิ กรรมการเรียนร้ฉู บับนเี้ ปน็ กจิ กรรมทจี่ ัดการเรยี นรู้ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรขู้ นั้ สารวจและคน้ หา(Exploration Phase) และขน้ั ขยายความรู้(Exploration Phase) และขนั้ประเมินผล(Evaluate Phase)คาส่ัง ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มร่วมกนั ทากจิ กรรม เร่ือง การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพตามกิจกรรมท่ีกาหนดให้ต่อไปน้ีกจิ กรรมที่ 1 พิจารณาข้อความเกย่ี วกับความหลากหลายทางชวี ภาพ แลว้ เติมข้อความลงในชอ่ งว่างให้ถูกตอ้ ง1. อนกุ รมวธิ าน (Taxonomy) เปน็ การศกึ ษาในด้านต่างๆ 3 ดา้ น ไดแ้ ก่...................................................2. นักชวี วทิ ยาใช.้ .....................................................................................เปน็ เกณฑ์ในการจาแนกส่งิ มีชีวิต3. จงเรียงลาดับขน้ั ในการจดั หมวดหมขู่ องสิง่ มชี ีวติ จากใหญ่ไปเล็ก.............................................................4. ไดโคโตมัสคยี ์ (dichotomous key) เปน็ เคร่ืองมืออย่างหนึ่งท่ีใช้จาแนกส่ิงมชี ีวิตออกเป็นกลุ่มย่อยได้โดยพิจารณาจาก....................................................................................................................................5. บดิ าแห่งวิชาอนุกรมวธิ าน คอื ................................................................................................................6. ชื่อวิทยาศาสตร์ประกอบดว้ ย 2 ชื่อ ซึ่งเรยี กระบบการตั้งช่ือแบบน้วี ่า...................................................7. ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ของสงิ่ มชี ีวิต ช่อื แรกจะระบ.ุ .........................................................................................สว่ นช่อื หลังจะระบ.ุ ..................................................................................................................... ...........8. การเขยี นชอื่ วทิ ยาศาสตรห์ ากไมเ่ ขียนหรือพิมพ์ดว้ ยตัวเอนจะเขยี นอย่างไร...........................................9. จงเขียนชื่อวิทยาศาสตรข์ องส่งิ มชี วี ติ ตอ่ ไปน้ีให้ถกู ต้องส่งิ มีชีวิต การเขยี นช่อื การเขียนชือ่ วทิ ยาศาสตรท์ ่ีไม่ถูกต้อง วทิ ยาศาสตรท์ ่ถี ูกตอ้ งมะมว่ ง MANGIFRA INDIACAกหุ ลาบ rosa rubraตน้ สัก Tectona gradisปลิงใส Dactylogyrud suratthaniensis10. การศกึ ษาซากดึกดาบรรพ์ของส่ิงมชี ีวิต ทาใหเ้ ราทราบถงึ ส่ิงใดของส่ิงมชี ีวติ............................................................................................................................. ................................... ชดุ กิจกรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7 E) ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6
ชดุ ที่ 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 29กจิ กรรมที่ 2 การตัง้ ชอื่ วิทยาศาสตร์ของไทยใหน้ กั เรยี นสืบค้นข้อมลู การตั้งช่ือสัตว์หรือพชื ทม่ี ีการต้งั ช่อื เปน็ คน สถานท่ๆี ทต่ี ัง้ โดยคนไทย วเิ คราะห์หลกั การตงั้ ช่ือนน้ั มาจานวน 5 ชนดิ ใหน้ ักเรยี นแลกเปล่ียนเรียนรู้กนั ระหว่างกลุ่มและนาเสนอหนา้ชนั้ เรยี น (10 คะแนน)ตวั อย่าง เช่น ชอ่ื สามญั .......................ค้างคาวกิตต.ิ .......................................... ชื่อวิทยาศาสตร์ ....... Craseonycteris thonglongyai .................... ตง้ั ชอ่ื ตาม .......นามสกลุ ..คณุ กิตติ ทองลงยา นักสตั ววิทยาของ สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีแหง่ ประเทศไทย..ผ้คู น้ พบ................................1. ช่อื สามัญ ................................................................................................................... ............. ชื่อวิทยาศาสตร์ ...................................................................................................................... ตัง้ ชื่อตาม ...............................................................................................................................2. ชื่อสามัญ.................................................................................................................... ............ ชอ่ื วิทยาศาสตร์...................................................................................................................... ตง้ั ชือ่ ตาม...............................................................................................................................3. ชอื่ สามัญ....................... ......................................................................................................... ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์...................................................................................................................... ต้ังชื่อตาม............................................................................................................................... ชุดกจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ขั้น (7 E) ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6
ชุดที่ 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 304. ชื่อสามญั ............................ .................................................................................................... ช่อื วทิ ยาศาสตร.์ ..................................................................................................................... ตั้งชอ่ื ตาม...............................................................................................................................5. ชือ่ สามัญ.................................................................................................................... ............ ชื่อวทิ ยาศาสตร์...................................................................................................................... ตงั้ ชอื่ ตาม............................................................................................................................... ชุดกิจกรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ข้ัน (7 E) ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6
ชุดที่ 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 31 แบบทดสอบหลังเรียน ชุดการเรียนรูท้ ่ี 1 เร่ือง การศึกษาความหลากหลายทางชวี ภาพชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ความหลากหลายทางชีวภาพ ชุดท่ี 1 เร่อื ง การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพจานวน 10 ข้อ คะแนน 10 คะแนน ใชเ้ วลา 10 นาทีคาชีแ้ จง: แบบทดสอบเปน็ แบบปรนัยเลอื กตอบ ก ข ค และ ง จานวน 10 ข้อ1. มหายุคใดที่เรยี กว่าเปน็ ยคุ ของไดโนเสารค์ ือ ก. มหายุคพาลีโอโซอิก ข. มหายุคพรีแคมเบรยี น ค. มหายุคมโี ซโซอิก ง. มหายุคซโี นโซอกิ2. สงิ่ มีชวี ติ ในขอ้ ใดมคี วามคล้ายคลึงกันมากท่ีสดุ ก. ส่ิงมชี วี ติ ที่อยูใ่ นอนั ดบั (Order) เดียวกัน ข. สิ่งมีชวี ติ ที่อยใู่ นสกุล(Genus) เดยี วกัน ค. สงิ่ มีชวี ติ ทอ่ี ย่ใู นวงศ์ (Family) เดียวกนั ง. สิ่งมชี ีวิตที่อยู่ในคลาส (Class) เดยี วกัน3. ข้อใดเรยี งลาดับการจัดหมวดหมขู่ องสิ่งมชี วี ิต จากกลุ่มใหญ่มาเลก็ ได้ถูกต้อง ก. อาณาจักร , ไฟลัม , คลาส , วงศ์ อนั ดับ , สกุล , สปชี ีส์ ข. อาณาจักร, ดวิ ิชนั , คลาส , อันดบั วงศ์ , สกุล , สปีชีส์ ค. อาณาจักร , ไฟลัม , วงศ์ , คลาส อันดบั , สกลุ , สปชี ีส์ ง. อาณาจักร , ดิวชิ ัน , คลาส , อนั ดับ วงศ์ , สปชี สี ์ , สกลุ4. ข้อใดไมจ่ ัดเป็นความหลากหลายของส่งิ มีชวี ติ ก. ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ข. ความหลากหลายทางระบบนิเวศ ค. ความหลากหลายทางพนั ธุกรรม ง. ความหลากหลายทางชนิดสิง่ มีชีวิต ชุดกิจกรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ขน้ั (7 E) ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6
ชุดที่ 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 325. ข้าวเจ้าทเ่ี รารบั ประทานมีหลายสายพันธ์ุ เช่น ข้าวหอมมะลิ ข้าวเหลือประทวิ ข้าวเล็บมือนาง จดั เปน็ ความหลากหลายทางชวี ภาพด้านใด ก. ด้านระบบนเิ วศ ข. ดา้ นพนั ธกุ รรม ค. ดา้ นชนิดพันธุ์ ง. ด้านแหล่งทอี่ ยู่6. ผู้เรยี นจะตง้ั ช่อื มะนาวเปน็ ชอื่ วิทยาศาสตร์ ผเู้ รยี นจะต้องใชภ้ าษาอะไร ก. ภาษาละติน ข. ภาษาองั กฤษ ค. ภาษาบาลี ง. ภาษาไทย7. ไดโคโตมสั คียข์ องสตั วม์ กี ระดกู สันหลงั สัตวใ์ ดมลี ักษณะดงั ต่อไปน้ี “ไม่มีขน – ไม่มีครบี คู่ – ผวิ หนงั ไม่มีเกลด็ ” ก. เต่า ข. จง้ิ จก ค. จระเข้ ง. คางคก8. เซลลโ์ พรคาริโอตแตกตา่ งจากเซลล์ยูคารโิ อต คอื ก. ไม่พบนวิ เคลียส ข. ไม่พบออร์กาแนลล์ ค. ไม่พบไรโบโซม ง. ถูกทั้ง ก และ ข9. ข้อใดเป็นการนาความหลากหลายทางชีวภาพมาใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ ก. ชาวบา้ นใช้หลอดไฟจากพลังงานแสงอาทติ ย์ ข. แม่ตากปลาเค็มในกระด้ง ค. หมอใช้วา่ นหางจระเข้ สมานแผลให้กบั คนไข้ ง. เกษตรกรใชป้ ุย๋ เคมีฉีดพ่นต้นไม้10. นกั วทิ ยาศาสตร์ท่านใดที่ได้รับการยกย่องเป็นบดิ าแหง่ อนกุ รมวิธาน ก. Alexander Oparin ข. Carolus Linnaeus ค. Sidney Fox ง. Stanley Miller ชุดกจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ แบบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ขนั้ (7 E) ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 6
ชดุ ท่ี 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 33 กระดาษคาตอบ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรทู้ ่ี 1เรอ่ื ง การศึกษาความหลากหลายทางชวี ภาพ ก่อนเรียน หลงั เรยี นชื่อ .................................................................................... ชน้ั ................ เลขท่ี ..............ขอ้ ที่ ก ข ค ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.10. ชดุ กจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ข้ัน (7 E) ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6
ชดุ ที่ 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 34บรรณานุกรม กระทรวงศกึ ษาธิการ (2551). หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานพทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร:ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. โครงการดาราวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตรม์ ูลนธิ ิ สอวน.(2552). ชวี วิทยา สตั ววิทยา3. กรงุ เทพมหานคร:มลู นธิ ิ สอวน. จิรสั ย์ เจนพาณชิ ย์(2558).ชีววทิ ยาสาหรับนกั เรียนมัธยมปลาย.กรุงเทพมหานคร: หจก.สามลดา. เชาวน์ ชโิ นรักษ์ และพรรณี ชิโนรักษ(์ 2552).ชวี วิทยา1.กรงุ เทพมหานคร: โสภณการพิมพ์. ซีรส์ ตาร(์ 2552).ชีววทิ ยา เล่ม 1.(แปลจาก Biology 1 Concepts and Applications โดย ทมี คณาจารย์ ภาควิชาชวี วิทยามหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ , ผู้แปล). กรุงเทพมหานคร : เจเอสที พับลิชชิ่ง จากัด. นงลกั ษณ์ สวุ รรณพนิ ิจ และ ปรีชา สุวรรณพินจิ (2552). จลุ ชีววิทยาท่ัวไป.กรงุ เทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. ประสงค์ หลาสะอาด และจิตเกษม หลาสะอาด(มปป.).คมู่ ือสาระการเรียนรู้พืน้ ฐานและเพมิ่ เติม กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา ม.6 เล่ม5.กรงุ เทพมหานคร:พัฒนาศกึ ษา ปรีชา สวุ รรณพินิจ และนงลกั ษณ์ สุวรรณพนิ จิ (2549).ชีววิทยา2. กรงุ เทพมหานคร : จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . วันดี วฒั นชัยยง่ิ เจริญ(2552). การจดั จาแนกส่งิ มชี ีวิต.ภาควิชาชวี วทิ ยา คณะวิทยาศาสตร์ : มหาวิทยาลัยนเรศวร. สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี(2554). หนงั สอื เรยี นรายวิชาชีววิทยา เพ่ิมเติมเล่ม 5. กรงุ เทพมหานคร : สกสค. สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย(ี 2555). คู่มือครูรายวชิ าชีววิทยาเพิ่มเติม เลม่ 5. กรงุ เทพมหานคร : สกสค. ชดุ กจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7 E) ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 6
ชดุ ท่ี 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 35ภาคผนวก ชุดกิจกรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7 E) ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6
ชุดท่ี 1 การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ 36 แบบบนั ทึกคะแนนระหวา่ งเรยี น เรือ่ ง การศกึ ษาความหลากหลายทางชวี ภาพชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ความหลากหลายทางชีวภาพ วิชา ชวี วทิ ยา ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ เรอ่ื ง การศึกษาความหลากหลายทางชวี ภาพช่อื .................................................................................... ช้ัน ................ เลขท่ี .............. กิจกรรม คะแนนเต็ม คะแนนทีไ่ ด้บตั รกิจกรรมท่ี 1 10บัตรกิจกรรมท่ี 2 10บัตรกจิ กรรมท่ี 3 10บัตรกจิ กรรมท่ี 4 20 ชุดกิจกรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ขน้ั (7 E) ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6
ชดุ ท่ี 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 37 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรทู้ ี่ 1 เรอื่ ง การศึกษาความหลากหลายทางชวี ภาพ เฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน 1. ข 2. ก 3. ค 4. ข 5. ก 6. ข 7. ง 8. ก 9. ข 10. ค เฉลย แบบทดสอบหลงั เรยี น 1. ค 2. ข 3. ข 4. ก 5. ข 6. ก 7. ง 8. ก 9. ค 10. ข ชุดกิจกรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ข้ัน (7 E) ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6
ชุดท่ี 1 การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ 38 เฉลยบตั รกิจกรรมการเรียนรู้ท่ี 1 เรือ่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ คาช้แี จง กจิ กรรมการเรยี นรู้ฉบับน้เี ป็นกจิ กรรมท่ีจัดการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรขู้ ั้นตรวจสอบความรู้เดิม(Elicitation Phase) ข้ันเร้าความสนใจ(Engagement Phase)และข้ันอธิบาย (Explanation Phase) คาส่ัง ให้นกั เรียนรว่ มกันอภิปราย วิเคราะห์ภาพต่อไปนี้ รูปความหลากหลายทางชวี ภาพของสง่ิ มีชีวติ ทม่ี า: https://sites.google.com/site/khwamhlakhlaythangchiwphaphm6/home สบื คน้ เม่ือ 2 เมษายน 2559 1. จากรูปทกี่ าหนดให้มีส่งิ มีชวี ิตกี่ชนดิ .......................8 ชนิด............................. ได้แก.่ ....................งู , เสือ , นก , ลงิ , กบ , ดอกไม้ , หมขี าว , ผเี ส้ือ....................... 2. เหตุใดส่งิ มชี วี ิตท่ีพบจึงมีลักษณะท่ีแต่งตา่ งกัน ...............เพราะเป็นสิง่ มชี ีวติ ตา่ งชนดิ กัน......................... 3. ผเี ส้ือท่เี ห็นในรูป นักเรยี นเคยเห็นผเี สอื้ ทมี่ ลี ักษณะอน่ื อกี หรือไม่ เหตุใดจงึ เปน็ เชน่ น้นั ..................เคยเหน็ เพราะผีเส้อื มีหลากหลายสายพันธ์ุ...................................................... ............................................................................................................................. .............. ..................................................................................................................... ..................... ชดุ กิจกรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ข้ัน (7 E) ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6
ชดุ ท่ี 1 การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ 39 เฉลยบตั รกจิ กรรมการเรียนรู้ที่ 2 เร่อื ง ความหลากหลายทางชีวภาพ คาชแ้ี จง กิจกรรมการเรยี นรู้ฉบบั น้ีเป็นกิจกรรมท่ีจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ข้ันสารวจและค้นหา (Exploration Phase) คาสงั่ ใหน้ ักเรียนแต่ละกลมุ่ ร่วมกนั ทากจิ กรรม เรื่อง การศึกษาความหลากหลายทางชวี ภาพตามกจิ กรรมทีก่ าหนดให้ต่อไปน้ีกจิ กรรม ศกึ ษารูปภาพและตอบคาถาม ทีม่ า: https://sites.google.com/site/biologyofsubject สืบค้นเม่ือ 5 เมษายน 2559 1. จากภาพ สง่ิ มีชีวิตที่พบแบง่ เปน็ กี่กล่มุ ได้แก่ ...........2 กลุ่ม ได้แก่ พืช และสตั ว์.................................................................................. 2. จากภาพท่ีนักเรยี นศึกษามีความหลากหลายของส่ิงมีชีวติ หรือไม่ อยา่ งไร จงอธิบาย ...........มี พบส่ิงมชี ีวิตหลากหลายชนดิ แมเ้ พียงพื้นทขี่ นาดเลก็ ......................................... 3. ในภาพท่ีเหน็ พบเหน็ ปลากี่ชนิด ในชีวติ จริงนักเรียนทราบหรือไม่วา่ มีปลากช่ี นดิ .......................พบปลา 1 ชนิด ปลามีสายพันธ์ุ.................................................................. 4. หากนกั เรียนไปป่าดงดบิ นักเรียนจะพบสง่ิ มชี ีวติ ในภาพ หรือไม่ อยา่ งไร ..............ไมพ่ บ จะมีสิง่ มชี ีวิตเปลย่ี นไปตามสภาพแหล่งทอ่ี ยู่........................................ ในป่าดงดิบจะพบส่ิงมีชีวติ จาพวก.............เสือ งู ลิง ช้าง ฯลฯ................................... 5. นักเรยี นคิดว่าความหลากหลายทางชีวภาพ หมายถึง .........ครพู จิ ารณาคาตอบตามความเหมาะสมและดุลพินิจของครู......... ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขนั้ (7 E) ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6
ชดุ ที่ 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 40 เฉลยบัตรกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ่ี 3 เรื่อง ความหลากหลายทางชวี ภาพ คาช้ีแจง กจิ กรรมการเรยี นรู้ฉบับน้เี ปน็ กจิ กรรมท่จี ัดการเรียนรู้ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรูข้ ัน้ สารวจและค้นหา (Exploration Phase) ,ข้ันขยายความรู้(Exploration Phase) และขั้นนาความรู้ไปใช(้ Extend Phase) คาส่ัง ให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มร่วมกนั ทากิจกรรม เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพตามกิจกรรมที่กาหนดให้ต่อไปนี้ กิจกรรมท่ี 1 สงั เกตและจาแนกประเภทของความหลากหลายทางชีวภาพ จากรูปภาพท่ีกาหนด 1 ทม่ี า: https://aunyapinkie64.wordpress.com สบื ค้นเมือ่ 10 เมษายน 2559ประเภทความหลากหลายทางชีวภาพ ด้าน................พันธุกรรม......................... ชดุ กิจกรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7 E) ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6
ชดุ ที่ 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 412 ทม่ี า: http://scimath.org/article-biology/item/593- biodiversity-is-life สืบคน้ เมื่อ 10 เมษายน 2559 ประเภทความหลากหลายทางชีวภาพ ด้าน...................ระบบนิเวศ..........................................3 ทมี่ า: http://scimath.org/article-biology/item/593-biodiversity-is-life สืบค้นเมื่อ 10 เมษายน 2559ประเภทความหลากหลายทางชวี ภาพ ดา้ น...........................พนั ธกุ รรม...................... ชดุ กิจกรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ แบบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ขนั้ (7 E) ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6
ชุดท่ี 1 การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ 424 ที่มา: http://scimath.org/article-biology/item/593-biodiversity-is-life สืบค้นเมื่อ 10 เมษายน 2559 ประเภทความหลากหลายทางชีวภาพ ดา้ น...................................ชนิดพันธ์ุ..........................5 ที่มา: http://scimath.org/article-biology/item/593-biodiversity-is-life สืบค้นเมอื่ 10 เมษายน 2559ประเภทความหลากหลายทางชวี ภาพ ดา้ น..................................ระบบนเิ วศ............................ ชดุ กิจกรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แบบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7 E) ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6
ชดุ ที่ 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 43กิจกรรมท่ี 2 ใหน้ กั เรียนเขียนอธิบายประโยชน์ของความหลากหลายทางชวี ภาพ ลงในตารางมาพอสังเขป (5 คะแนน)ดา้ นการบริโภคใช้สอย ด้านการผลติ ด้านอ่นื ๆปั จ จั ย ใ น ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต ใ ห้ แ ก่ ด้านการอุตสาหกรรม คุณค่าในการบารุงรักษาระบบม นุ ษ ย์ เ ช่ น ด้ า น อ า ห า ร ผ ล ผ ลิ ต ข อ ง ป่ า ท่ี น า ม า ใ ช้ นิเวศให้สามารถดารงอยู่ได้ และเคร่ืองนุ่งห่ม ท่ีอยู่อาศัย ยารักษา ประโยชน์ไม่ว่าจะโดยตรง เช่น ดูแลระบบนิเวศ ให้คงทน เช่นโรค ด้านการผลิตอาหาร มนุษย์ การป่าไม้ ของป่า หรือโดย ก า ร รั ก ษ า ห น้ า ดิ น ก า ร ต รึ งได้บริโภคอาหารท่ีมาจากพืชและ อ้อม เช่นการสกัดสารเคมีจาก ไนโตรเจนสู่ดิน การสังเคราะห์สัตว์ พืชไม่น้อยกว่า 5,000 ชนิด พชื ในป่า พลังงานของพืช การควบคุมท่ีสามารถนามาประกอบอาหาร ความชื้น เป็นต้น ซ่ึงจัดเป็นได้ และไม่น้อยกว่า 150 ชนิดที่ ประโยชน์ทส่ี าคญัมนุษย์นามาเพาะปลูกเป็นอาหารของมนุษย์และสัตว์ นอกจากน้ีเรายังใช้พืชและสัตว์ในการผลิตยารกั ษาโรคอีกด้วย ชุดกจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขัน้ (7 E) ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6
ชดุ ท่ี 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 44 เฉลยบัตรกจิ กรรมการเรียนรู้ท่ี 4 เรือ่ ง การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ คาชี้แจง กจิ กรรมการเรียนร้ฉู บับนเ้ี ป็นกจิ กรรมทจี่ ดั การเรยี นรู้ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรขู้ ัน้ สารวจและคน้ หา(Exploration Phase) และขัน้ ขยายความรู้(Exploration Phase) และขัน้ประเมินผล(Evaluate Phase) คาสงั่ ให้นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั ทากจิ กรรม เร่ือง การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพตามกจิ กรรมทกี่ าหนดใหต้ ่อไปนี้ กิจกรรมที่ 1 พจิ ารณาข้อความเกีย่ วกบั ความหลากหลายทางชีวภาพ แล้วเตมิ ขอ้ ความลงใน ช่องวา่ งให้ถูกตอ้ ง 1. อนกุ รมวิธาน (Taxonomy) เปน็ การศกึ ษาในด้านต่างๆ 3 ด้าน ไดแ้ ก่......การจัดจาแนกสง่ิ มชี วี ติ ออกเปน็ หมวดหมู่,การตรวจสอบหาช่ือวิทยาศาสตรท์ ถี่ ูกต้องของส่งิ มชี วี ิต,การกาหนดช่ือที่เปน็ สากล ของหมวดหมแู่ ละชนิดของสง่ิ มชี วี ติ ............................... 2. นักชวี วิทยาใช้......ความสมั พันธท์ ีใ่ กล้ชิดกนั และความคลา้ ยคลึงกันของสิ่งมชี วี ติ .........เป็นเกณฑ์ในการ จาแนกสิ่งมชี วี ิต 3. จงเรยี งลาดบั ข้ันในการจดั หมวดหม่ขู องส่ิงมชี วี ติ จากใหญ่ไปเล็ก.............อาณาจกั ร (Kingdom) รองลมาเปน็ ไฟลัม (phylum) สาหรบั พชื ใชด้ วิ ิชนั (Division) ไฟลัมหรือดวิ ชิ ันหนึ่ง ๆ แบ่งเป็นหลาย คลาส (Class) แตล่ ะคลาสแบ่งเปน็ หลาย ๆ ออรเ์ ดอร์ (Order) ในแตล่ ะออรเ์ ดอร์มหี ลายแฟมลิ ี (Family) แฟมลิ หี นง่ึ ๆ แบง่ เปน็ หลายจีนัส (Genus) และในแตล่ ะจีนสั กม็ ีหลายสปชิ สี ์ (Species)....................... 4. ไดโคโตมสั คีย์ (dichotomous key) เป็นเครื่องมืออย่างหน่ึงทใ่ี ช้จาแนกส่งิ มชี ีวิตออกเปน็ กล่มุ ย่อยได้ โดยพิจารณาจาก...........................โครงสรา้ งสิ่งมีชีวิตท่ีมคี วามแตกต่างกันเปน็ คๆู่ ............... 5. บิดาแห่งวชิ าอนุกรมวิธาน คือ.............คาโรลสั ลินเนยี ส.............................. 6. ชอ่ื วิทยาศาสตร์ประกอบดว้ ย 2 ช่อื ซงึ่ เรยี กระบบการต้ังชอ่ื แบบนว้ี า่ .........ระบบทวนิ าม............. 7. ชื่อวิทยาศาสตรข์ องสง่ิ มีชีวติ ช่อื แรกจะระบุ............สกลุ หรอื จีนสั ........................ ส่วนชือ่ หลังจะระบุ.................ชนิดหรอื สปีชสี ์........................................ 8. การเขยี นชือ่ วิทยาศาสตรห์ ากไมเ่ ขยี นหรือพิมพ์ดว้ ยตวั เอนจะเขยี นอยา่ งไร........................................... ........ขดี เสน้ ใตช้ ่อื สกลุ หรือจนี ัส และช่อื ทีร่ ะบุชนิดหรือสปชี ีส์ โดยเส้นนน้ั ไม่ตดิ กัน........................... ชุดกจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขัน้ (7 E) ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6
ชดุ ท่ี 1 การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ 459. จงเขียนชื่อวิทยาศาสตรข์ องสิง่ มีชีวิตตอ่ ไปนี้ใหถ้ ูกต้องส่งิ มีชีวิต การเขยี นชื่อ การเขยี นชือ่ วทิ ยาศาสตร์ทไี่ ม่ถูกต้อง วทิ ยาศาสตรท์ ่ีถูกตอ้ งมะมว่ งกหุ ลาบ MANGIFRA INDIACA Mangifera indiaca ตน้ สกั rosa rubra Rosa rubraปลงิ ใส Tectona gradis Tectona gradis Dactylogyrud suratthaniensis Dactylogyrud suratthaniensis10. การศึกษาซากดกึ ดาบรรพ์ของส่ิงมีชวี ิต ทาให้เราทราบถงึ ส่ิงใดของสง่ิ มีชีวติ .....บรรพบรุ ษุ ของสิง่ มชี ีวิต ในปัจจุบนั ได.้ ................................... ชดุ กจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7 E) ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6
ชดุ ที่ 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 46กจิ กรรมที่ 2 การตง้ั ชอื่ วิทยาศาสตรข์ องไทยให้นกั เรียนสืบค้นข้อมูลการตั้งชอ่ื สตั ว์หรอื พืช ทมี่ ีการตั้งช่อื เป็นคน สถานที่ๆทีต่ งั้ โดยคนไทย วเิ คราะห์หลักการตั้งชอื่ นั้น มาจานวน 5 ชนิด ให้นกั เรยี นแลกเปล่ียนเรียนรูก้ ันระหว่างกลุ่มและนาเสนอหน้าช้ันเรียนตัวอย่าง เชน่ ช่ือสามญั .......................ค้างคาวกิตติ........................................... ช่ือวทิ ยาศาสตร์ ....... Craseonycteris thonglongyai .................... ตัง้ ชอ่ื ตาม .......นามสกลุ ..คุณกิตติ ทองลงยา นกั สตั ววทิ ยาของ สถาบนั วิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแหง่ ประเทศไทย..ผคู้ น้ พบ................................1. ช่ือสามัญ ............................................................................................................................. ... ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ .............ค...ร..พู ...จิ ..า..ร..ณ...า..ค...า.ต...อ..บ...ข..อ...ง..น..ัก...เ.ร..ีย..น...ต..า..ม...ค..ว..า..ม...ถ..ูก..ต...้อ..ง...ข...อ..ง..ก..า..ร............... ตง้ั ชื่อตาม ....................................................เ.ข..ีย...น..ช...่ือ..ว..ิท...ย..า..ศ..า..ส...ต..ร..์..........................................2. ชื่อสามัญ................................................................................................................................ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร.์ ........... .......................................................................................................... ตง้ั ชือ่ ตาม...............................................................................................................................3. ชื่อสามัญ....................... ......................................................................................................... ชอ่ื วิทยาศาสตร.์ ..................................................................................................................... ตั้งชอื่ ตาม............................................................................................................................... ชุดกิจกรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7 E) ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6
ชุดที่ 1 การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ 474. ชื่อสามญั ............................ .................................................................................................... ช่อื วทิ ยาศาสตร.์ ..................................................................................................................... ตั้งชอ่ื ตาม...............................................................................................................................5. ชือ่ สามัญ.................................................................................................................... ............ ชื่อวทิ ยาศาสตร.์ ..................................................................................................................... ตงั้ ชอื่ ตาม............................................................................................................................... ชุดกจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ข้ัน (7 E) ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 6
ชดุ ท่ี 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 48แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล ช่อื ชน้ั ..........................................คาชแ้ี จง : ให้ ผ้สู อน สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ลงในชอ่ ง ทตี่ รงกับระดบั คะแนนลาดับที่ รายการประเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 321 การแสดงความคดิ เห็น2 การยอมรับฟงั ความคดิ เหน็ ของผู้อน่ื3 การทางานตามหน้าท่ีท่ีได้รบั มอบหมาย4 ความมนี า้ ใจ5 การตรงต่อเวลา รวม ลงชือ่ .................................................... ผูป้ ระเมิน ................ /................ /................เกณฑ์การใหค้ ะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่าเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ 3 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ ให้ 2 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมนอ้ ยครง้ั ให้ 1 คะแนน 18 - 20 ดีมาก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ากว่า 10 ปรับปรุง ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ข้ัน (7 E) ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6
ชุดท่ี 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 49 แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ชอ่ื กลุ่ม …………………………………………………………… ชั้น…………………………………………คาชีแ้ จง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี ลงในชอ่ ง ทีต่ รงกบั ระดบั คะแนนลาดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 43211 การแบ่งหน้าท่ีกันอย่างเหมาะสม2 ความรว่ มมอื กันทางาน3 การแสดงความคิดเหน็4 การรับฟังความคิดเหน็5 ความมนี า้ ใจชว่ ยเหลือกนั รวม ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมนิ ................ /................ /................ เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพเกณฑก์ ารให้คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่าเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน 18 - 20 ดีมาก ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครง้ั ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมน้อยคร้งั ให้ 1 คะแนน 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ากวา่ 10 ปรบั ปรุง ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ แบบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ข้ัน (7 E) ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6
Search