Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือนำชมพิพิธภัณฑ์

คู่มือนำชมพิพิธภัณฑ์

Published by Lawan Torsakul, 2021-06-08 15:01:06

Description: รวมเล่ม 3 อาคาร-1

Search

Read the Text Version

คูมือนําชม พพิ ิธภณั ฑไ มก ลายเปน หิน ชางดกึ ดําบรรพแ ละไดโนเสาร จดั ทาํ โดยนางลาวลั ย ตอสกุล มคั คเุ ทศก สถาบันวจิ ัยไมกลายเปนหนิ ฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

คํานาํ การจัดทําคูมือคูมือนําชมพิพิธภัณฑไทกลายเปนหิน ชางดึกดําบรรพและไดโนเสาร เลมน้ี จัดทําขึ้นเพื่อนําเสนอข้ันตอนการตอนรับและนําชมนิทรรศการตามจุดทองเที่ยวของพิพิธภัณฑไม กลายเปนหิน ชางดึกดําบรรพและไดโนเสาร โดยผูจัดทําไดรวบรวมขอมูลของซากดึกดําบรรพที่จัด แสดง พรอมภาพประกอบ มาใสลงในคูมือ เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติงานของมัคคุเทศกและผูที่ สนใจ ขอขอบพระคุณ ดร.วิภานุ รักใหม ท่ีกรุณาตรวจสอบความถูกตองของขอมูลนิทรรศการใน สวนของอาคารไมกลายเปนหิน ผศ.ดร.จรูญ ดวงกระยอม ตรวจสอบความถูกตองของขอมูล นิทรรศการในสวนของอาคารชางดึกดําบรรพ ดร.ดวงสุดา โชคเฉลิมวงศ ตรวจสอบความถูกตอง ของขอ มลู นิทรรศการในสวนของอาคารไดโนเสาร ผูจัดทําหวังเปนอยางย่ิงวา คูมือน้ีจะเปนประโยชนตอมัคคุเทศกและผูท่ีสนใจ หาก ผดิ พลาดประการใด ตอ งขออภยั มา ณ ท่ีนดี้ ว ย ลาวลั ย ตอสกุล

สารบัญ หนา คาํ จดั ความ 1 รปู แบบการใหบริการดานการทองเทย่ี ว 3 จุดที่ 1 หองเกียรติคุณไมกลายเปนหนิ 4 จดุ ท่ี 2 ภาพพิพธิ ภณั ฑไมกลายเปน หิน 8 แหง ของโลก 4 จุดที่ 3 ไมก ลายเปนหินของตางประเทศ 5 จดุ ที่ 4 ลาํ ตน ไมจ าํ ลอง 5 จุดท่ี 5 นทิ รรศการสถาบนั พระมหากษัตริยกับการอนุรักษไมก ลายเปนหิน 6 จดุ ที่ 6 นิทรรศการไมสนกลายเปน หิน 7 จุดที่ 7 หองแอนิเมช่นั กาํ เนิดโลก 8 จุดท่ี 8 หอ งแอนิเมชน่ั กาํ เนิดไมก ลายเปน หนิ 8 จุดที่ 9 ไมกลายเปน หนิ เนอ้ื อัญมณี 9 จดุ ท่ี 10 การเปรียบเทยี บไมกลายเปนหิน (พชื โบราณ) กบั ไมปจจุบนั 9 จุดท่ี 11 ไมกลายเปนหนิ ในยุคตางๆ 10 จุดที่ 12 สขี องไมกลายเปนหิน 10 จุดที่ 13 วงปใ นไมกลายเปนหิน 11 จดุ ที่ 14 ตวั อยา งเคร่ืองประดับที่ทําจากไมกลายเปน หนิ อัญมณีของแตล ะประเทศ 11 จดุ ที่ 15 ประโยชนแ ละงานประติมากรรมไมก ลายเปนหิน 11 จดุ ที่ 16 อุโมงคยอ นยุคชางดึกดาํ บรรพ 12 จุดที่ 17 หองวดี ิโอชางดึกดาํ บรรพโ คราช 13 จดุ ท่ี 18 ฟอสซิลชางดกึ ดําบรรพจากตางประเทศ 13 จุดที่ 19 ฟอสซลิ ชางในเขตหนาว 14 จุดท่ี 20 โครงกระดูกพลายยีราฟ 14 จุดที่ 21 วิวัฒนาการของชา งดึกดาํ บรรพ 15 จดุ ที่ 22 ฟอสซิลชางดึกดําบรรพโ คราช 15 จุดที่ 23 เอปโคราช 18 จดุ ท่ี 24 แรดไรนอ 19 จดุ ที่ 25 เมอริโคโปเตมสั ทา ชา งเอนชสิ 19 จุดที่ 26 ฟอสซลิ สัตวเ ล้ยี งลูกดว ยนม 20 จุดที่ 27 งาชางกลายเปน หิน 21 จดุ ท่ี 28 โครงกระดูกชางสีง่ ากอมโฟธเี รียม 21 จดุ ท่ี 29 นทิ รรศการแมมมธู สั โตรกอนธิริอิ 21

สารบญั (ตอ) หนา จดุ ท่ี 30 นทิ รรศการไดโนเสาร 22 จดุ ที่ 31 นิทรรศการโลกของไดโนเสาร 23 จุดท่ี 32 นทิ รรศการจุดจบของไดโนเสารแ ละทายาทไดโนเสาร 24 จดุ ท่ี 33 นทิ รรศการสยามแรปเตอร สุวัจนต ิ 25 จุดที่ 34 นทิ รรศการหนุ จาํ ลองไดโนเสาร 25 จดุ ที่ 35 นิทรรศการไดโนเสารสไปโนซอรัส 26 จุดท่ี 36 นิทรรศการไดโนเสารสิรนิ ธรนา โคราชเอนซสิ 26 จุดที่ 37 นิทรรศการไดโนเสารร าชสีมาซอรสั สุรนารีเอ 27 จุดท่ี 38 นทิ รรศการโคราโตซูคัส จนิ ตสกุลไล 27 จุดท่ี 39 นิทรรศการคิซลิ คูมีมสิ โคราชเอนซิส 27 จดุ ท่ี 40 นทิ รรศการโครงกระดูกไดโนเสาร 28 จุดท่ี 41 นทิ รรศการฟอสซลิ ทีพ่ บจากหมวดหินโคกกรวด จงั หวดั นครราชสมี า 28 จุดท่ี 42 นทิ รรศการเทอรโ รซอร 30 จุดที่ 43 นทิ รรศการไขไดโนเสาร 30 จุดที่ 44 กะโหลกสไปโนซอรัส 31 จดุ ท่ี 45 กะโหลกคารคาโรดอนโตซอร 31 จุดท่ี 46 อัลโลซอร 32 จุดที่ 47 ชิตตะโกซอรัส 32 จุดที่ 48 กะโหลกไทแรนโนซอรสั 33 จุดที่ 49 โครงกระดกู จําลองสยามโมซอรสั สธุ ธี รนี 33 จดุ ท่ี 50 ไดโนเสารท่ีโดดเดนของประเทศไทย 34 จุดที่ 51 โคราชอิกธิส จบิ บสั 35 จดุ ที่ 52 สริ นิ ธรนา โคราชเอนซสิ 35 จุดที่ 53 แหลง ขดุ คน ไดโนเสารไ ทย-ญป่ี นุ 36 จุดท่ี 54 ไดโนเสารซ อโรพอด 36

1 คมู ือนําชมพพิ ธิ ภัณฑไกลายเปน หนิ ชางดกึ ดําบรรพแ ละไดโนเสาร คําจดั ความ นกั ทองเท่ียว หมายถึง ผูทเ่ี ดินทางมาทองเทยี่ วพิพิธภัณฑไ มกลายเปนหิน ชางดึกดําบรรพ และไดโนเสาร อันประกอบดวยนักทองเท่ียวที่มาเปนหมูคณะ ที่มีการจองรอบเขาชม ลวงหนา ไดแก คณะทัวรหรือคณะทัศนศึกษาจากโรงเรียนตางๆ และที่มาทองเท่ียวแบบสวนตัวที่ ไมไดจองรอบ มาเปนครอบครัวหรอื กลมุ เพอ่ื น มคั คุเทศก หมายถึง ผูที่ใหคําแนะนําในการทองเท่ียวดานซากดึกดําบรรพซึ่งจัดแสดงอยูใน อาคารพพิ ิธภัณฑไ มก ลายเปน หิน ชางดกึ ดําบรรพและไดโนเสาร พพิ ธิ ภัณฑของสถาบนั วจิ ัยไมก ลายเปน หนิ ฯ สถาบันวิจัยไมกลายเปนหินฯ มีการจัดแสดงนิทรรศการและจดั เปน แหลง เรียนรูตามอธั ยาศัย ในรูปแบบพิพิธภัณฑรวม 3 พิพิธภัณฑ ซ่ึงจะเนนซากดึกดําบรรพท่ีเดนของจังหวัด นครราชสีมา 3 ประเภท คือ 1. พิพิธภัณฑไมกลายเปนหิน เปนแหลงรวบรวมไมกลายเปนหินจากจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดอ่ืนๆ ซ่ึงมีความเดนแตกตางจากจังหวัดอื่นๆ 3 ประการ คือ 1) ไมกลายเปนหินจํานวน มากและขนาดใหญมีเน้ือแบบอญั มณี 2) ไมกลายเปนหินตระกูลปาลม (Palm Petrified Wood) 3) ไมกลายเปนหนิ หลากหลายอายุ 2. พิพิธภัณฑชางดึกดําบรรพ เปนพิพิธภัณฑที่ทําการรวบรวม อนุรักษฟอสซิลชางจาก แหลงจังหวัดนครราชสีมาซึ่งคนพบชิ้นสวนซากดึกดําบรรพนับพันชิ้นหรือมากท่ีสุดในประเทศ ไทย และจดั เปนแหลง สาํ คัญของเอเชยี พบชา งดึกดาํ บรรพถงึ 10 สกลุ จาก 55 สกุลทพ่ี บทว่ั โลก 3. พิพิธภัณฑไดโนเสาร จัดแสดงนิทรรศการโครงกระดูก หุนจําลองไดโนเสารเคลื่อนไหว ได และจดั แสดงนทิ รรศการไดโนเสารพนั ธุใหมของโลกหลายชนดิ รวมทัง้ สตั วร ว มยคุ อน่ื ๆ เชน ปลา จระเข เตา ขั้นตอนการใหบริการตอ นรับและนาํ ชมแกนักทองเที่ยว มรี ายละเอียดดังน้ี เม่ือนักทองเที่ยวไดเดินทางมาถึงพิพิธภัณฑ ใหนํารถเขาจอดในลานจอดรถที่อยูทางดาน อาคารตอ นรบั นักทองเท่ียว และฝงทางดา นหนา อาคารชางดกึ ดาํ บรรพ นักทองเที่ยวทุกคนตองผานการคัดกรองโควิด-19 โดยการวัดอุณหภูมิ สวมใสหนากาก อนามัยหรือหนากากผา ลางมือดวยแอลกอฮอลเจล ลงทะเบียนดวยการสแกน QR CODE แอปพลิเคช่ันไทยชนะ หรือลงทะเบียนในเอกสารที่ทางสถาบันไดจัดเตรียมไว จุดคัดกรองจะมี จาํ นวน 2 จุด ไดแก จดุ ศูนยบริการนักทองเที่ยว และจุดหนาอาคารพพิ ิธภัณฑไมกลายเปนหิน เม่ือ ผานการคดั กรอง เจาหนา ทจ่ี ะตดิ สตกิ๊ เกอรส ปี ระจําวันใหกับนกั ทอ งเท่ียว

2 สาํ หรับนกั ทองเท่ยี วท่ีผา นการคัดกรองแลว มคั คุเทศกใหคําแนะนําเบือ้ งตนกอนท่ีจะซื้อบัตร เขาชม โดยจะมีจุดขายบัตรอยูในอาคารไมกลายเปนหิน โดยพนักงานจําหนายบัตรจะแจงราคาให นักทอ งเทยี่ วไดร บั ทราบ ดงั นี้ ประเภท คา เขา ชม บตั รเด็ก 20 บาท บตั รนักศกึ ษา 30 บาท บัตรผใู หญ 50 บาท บัตรชาวตางชาติ 120 บาท บตั รเดก็ ตางชาติ 50 บาท พระภกิ ษุ สามเณร ยกเวนคาเขา ชมหรือบริจาคตามศรทั ธา ผูสูงอายุ ผูทุพพลภาพ ตารางรอบการเขา ชมพิพิธภณั ฑ รอบที่ เวลา รอบที่ เวลา รอบที่ เวลา รอบที่ เวลา 1 09.00 น. 9 11.00 น. 17 13.00 น. 25 15.00 น. 2 09.15 น. 10 11.15 น. 18 13.15 น. 26 15.15 น. 3 09.30 น. 11 11.30 น. 19 13.30 น. 27 15.30 น. 4 09.45 น. 12 11.45 น. 20 13.45 น. 28 15.45 น. 5 10.00 น 13 12.00 น. 21 14.00 น. 6 10.15 น. 14 12.15 น. 22 14.15 น. 7 10.30 น. 15 12.30 น. 23 14.30 น. 8 10.45 น. 16 12.45 น. 24 14.45 น. หมายเหตุ : รอบท่ี 4,8,12,16,20,24,28 หยุดพักบรกิ าร เพ่ือทําความสะอาดพิพิธภณั ฑ ตามมาตรการปองกนั โควดิ -19

3 รูปแบบการใหบรกิ ารดานการทองเที่ยว มี 2 รปู แบบ คือ รูปแบบท่ี 1 แบบทมี่ ีการจองรอบไวล วงหนา นักทองเที่ยวมาเปนหมูคณะ เชน คณะจากโรงเรียนที่พานักเรียนมาทัศนศึกษานอก หองเรียน คณะจากบริษัทนําเท่ียว ชมรมตางๆ จะมีการติดตอประสานจองรอบทางโทรศัพทไว ลวงหนา ซ่ึงรูปแบบน้ีจะทําใหเจาหนาที่มัคคุเทศกสามารถวางแผนการปฏิบัติงานไดอยาง เหมาะสม จะเขาชมพิพธิ ภณั ฑตามรอบทจี่ องไว รปู แบบท่ี 2 แบบไมไ ดจองรอบ สวนใหญแ ลวจะเปน นกั ทองเทย่ี วที่มาทองเทีย่ วแบบครอบครวั กลมุ เพื่อน มาคนเดยี ว มา ทอ งเทีย่ วแบบไมตองการคนนําเท่ียว อยากมาถา ยภาพ สามารถเขาชมตามรอบของทาง พิพิธภัณฑ บางรอบอาจตองเขาพรอมกับนกั ทองเทย่ี วท่ีมาเปน หมูคณะ โดยมคั คุเทศกจ ะทําการจดั ที่ นั่งใหในหองทมี่ ีการนัง่ ชมวดิ โี อ สาํ หรบั คูม อื ฉบบั น้ขี อนําเสนอการใหบ รกิ ารแบบท่ีมกี ารจองรอบไวล วงหนา การเปด ใหบรกิ ารเย่ยี มชมพิพธิ ภณั ฑในแตล ะวัน มคั คเุ ทศกต อ งทาํ หนาทต่ี รวจเชค็ ระบบ วีดีโอ พรอมกับเปดทดลองใชงานกอนใหบริการ และตรวจดูความเรียบรอยของนิทรรศการท่ีจัด แสดงใหพรอมใชงาน รวมท้ังการจัดเตรียมอุปกรณท่ีจะใชนําเสนอ เชน ลําโพงคาดเอวพรอ มไมคให พรอ มตอนรับตลอดเวลา นอกจากนนั้ มัคคุเทศยงั ตอ งเตรียมตวั ใหพรอมดวย การแตงกายดวยชุดยูนิ ฟอรมของฝาย การแตงหนา ทาํ ผม ใหเ หมาะสม รองเทาใหใสคูท ีส่ บาย ไมบ บี หรือรัดเทาจนเกนิ ไป เพราะตอ งเดนิ นาํ ชมพิพิธภณั ฑ เม่ือคณะนักทองเท่ียวไดติดตอซอื้ บัตรเรียบรอยแลว มัคคุเทศกสอบถามประสานกับหัวหนา คณะนักทองเท่ียวเพ่ือขอจัดกลุมนักทองเที่ยวใหเปนกลุมละประมาณ 30 คน / รอบ เขาชมตามรอบ ที่จองไว มัคคุเทศกใหนักทองเที่ยว (กรณีเปนเด็กนักเรียน) นั่งเปนแถวตอนลึก แถวละ 10 คน บริเวณดานหนาปายชื่อสถาบัน และใหคําแนะนําเบื้องตน โดยช้ีแจงรายละเอียดในการเขา ชม ดงั นี้ สถาบันวิจัยไมกลายเปนหินและทรัพยากรธรณี เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา มีพ้ืนที่ 82 ไร เปนที่สาธารณะประโยชนท่ีไดรับมอบจากคณะกรรมการตําบลสุรนารี โดยสถาบันเปนหนวยงานตามโครงสรางของมหาวิทยาลัย มีฐานะเทียบเทากับหนวยงานระดับ คณะ มีพันธกิจหลักคือ รวบรวม ศึกษาวิจัย อนุรักษซากดึกดําบรรพ และเผยแพรผลงานการ วิจัย นําผลการวิจัย องคความรูออกมาจัดแสดงนิทรรศการ ในอาคารพิพิธภัณฑ 3 อาคาร ไดแก อาคารพิพิธภัณฑไมกลายเปนหิน พิพิธภัณฑชางดึกดําบรรพ และพิพิธภัณฑ ไดโนเสาร

4 ขอปฏิบตั ิในการเขาชมพิพิธภณั ฑ 1. ไมส ง เสียงดงั 2. ไมว ่งิ ภายในอาคาร 3. ไมน าํ อาหารและเครือ่ งด่ืมเขา มารับประทานในพิพิธภัณฑ 4. งดจับสัมผสั ซากดึกดาํ บรรพและนทิ รรศการตางๆ การนําชมของมัคคุเทศกจะนํานักทองเที่ยวเขาชมตามจุดนิทรรศการท่ีไดจัดแสดงไวตามจุด ตา งๆ ดังน้ี จดุ ท่ี 1 หองเกยี รตคิ ุณไมก ลายเปน หนิ การสอ่ื ความหมายของมคั คเุ ทศก ควรอยูใ นขอบเขตเน้ือหานิทรรศการ ดงั น้ี หอ งเกยี รตคิ ณุ ไมกลายเปนหิน จัดขึ้นเพอ่ื เปนเกียรตแิ ละขอบคุณแดผูบริจาคไมกลายเปน หิน ใหกบั พพิ ธิ ภัณฑ มีผูบ ริจาค 2 ทานคือ คณุ อรุณ ตงั้ พานิช และคณุ เจมส เบนจามนิ สติชกา ประวัติของคุณอรุณ ตั้งพานิช เปน เจาของโรงสีขาวพันธุเกษตร และเปนอดีต นายกเทศมนตรีเมืองนครราชสีมา ในชวงกอนป พ.ศ.2551 ทานมีความชื่นชอบไมกลายเปนหิน ได รวบรวมสะสมเอาไวเปนจํานวนมาก ตอมาทานได เล็งเห็นความสําคัญของการอนุรักษไมกลายเปน หิน อีกทั้งป พ.ศ.2551 ไดมีการประกาศ พรบ. คุมครองซากดึกดําบรรพ ท่ีมีใจความสําคัญวา หามครอบครองหรือซื้อขายซากดึกดําบรรพ ทาน จึงไดบริจาคไมวงศปาลมกลายเปนหิน อายุ ภาพท่ี 1 นิทรรศการไมปาลม กลายเปน หิน ประมาณ 8 แสนป ที่รวบรวมมาจากแหลงตําบล สรุ นารี อาํ เภอเมืองนครราชสมี า ใหกับพพิ ธิ ภัณฑ ปาลมกลายเปนหิน หมายความวา ไมวงศปาลมที่กลายสภาพเปนหิน อาทิเชน ตน ตาล ตนหมาก ตนมะพรา ว ตน ลาน ตน จาก ตน สาคู ปาลมเปนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ลักษณะเดน คือ จะมีทอลําเลียงน้ํา ลําเลียงอาหารอยูดวยกัน และกระจายอยูทั่วหนาตัดลําตน สามารถสังเกตเห็นไดอยางชัดเจน ความแตกตางจากพืชใบเลี้ยง คู คือ ไมมีวงป จุดที่ 2 ภาพพิพิธภัณฑไ มก ลายเปนหิน 8 แหงของโลก การสือ่ ความหมายของมคั คเุ ทศก ควรอยใู นขอบเขตเนื้อหานิทรรศการ ดังน้ี ภาพพิพิธภัณฑไมกลายเปนหิน 8 แหงของโลก มีอยูที่ประเทศไทย 1 แหง ประเทศกรีช 1 แหง ประเทศสหรฐั อเมริกา 3 แหง ประเทศจีน 2 แหง และประเทศเมียนมาร 1 แหง

5 ภาพวาดสามมิติ เปนภาพ Yellowstone ภาพที่ 2 นิทรรศการพิพิธภณั ฑไ มก ลายเปนหนิ Petrified Forest Park จากสหรัฐอเมริกาลักษณะ 8 แหงของโลก ไมกลายเปนหินยืนตนแบบตนไมปจจุบัน สาเหตุ เกิดจากการระเบิดของภูเขาไฟ เถาถานตะกอน ภูเขาไฟก็ตกทบั ถมปกคลุมตนไมไว สารเคมีจากเถา ถานก็แทรกซึมลงไปในเน้ือไม และเกิดซํ้ากัน หลายๆ ครั้ง ทําใหเน้ือไมไดกลายเปนหินใน ที่สุด จุดนี้มัคคุเทศกใหเวลานักทองเที่ยวใหได ถา ยภาพ โดยใหค ําแนะนําในการถายภาพ เชน น่งั บนขอนไมหรือจะทําทาเดินเขาไปในปา เหมือน การเดินทะลุกําแพงเขา ไปในปาไมกลายเปน หนิ จุดที่ 3 ไมก ลายเปน หนิ ของตางประเทศ การสื่อความหมายของมัคคเุ ทศก ควรอยูใ นขอบเขตเนื้อหานิทรรศการ ดงั นี้ นทิ รรศการไมกลายเปน หนิ ของตา งประเทศ ไดรบั การบรจิ าคจากคุณเจมส เบนจามนิ สตชิ กา หรอื คณุ ตาจมิ ประวตั ขิ องทานคอื เปนอดีตทหารเรอื และวิศวกรเครอ่ื งกลในสมยั สงคราม โลกครั้งท่ี 2 เปนผูท ่ีรักและสนใจในวิทยาศาสตร โดยเฉพาะทางดานหินแร พฤกษศาสตรบ รรพกาล และไมกลายเปนหิน คุณตาจิมออกสํารวจและเก็บ ตัวอยางไมกลายเปนหินตามแหลงตางๆ และได รวบรวมหนังสือท่ีเก่ียวกับไมกลายเปนหิน ในป พ.ศ.2553 คุณตาจิม อายุ 94 ป เปนผูขับรถนํา ทีมนักวิจัย ดร.นารีรตั น บุญไชย ตามรอยเสน ทาง สํารวจเมอ่ื สมัย 30 – 50 ปกอน ในหุบเขาเอเดน อยูทางตะวันตกเฉียงใตของรัฐไวโอมิง คุณตาจิมได มอบไมกลายเปนหินใหกับพิพิธภัณฑหลากหลาย แบบ เชน ฟอสซลิ รอ งรอยใบ แผน ตดั ของ ไม กลายเปนหิน ไมกลายเปนหินท่ีมีเพรียงทะเลเขาไป ภาพที่ 3 นิทรรศการไมก ลายเปน หินของตาง ชอนไช ไมกลายเปนหินท่ีเห็นผลึกของแรไดอยาง ประเทศ ชดั เจน ไมกลายเปนหนิ ทม่ี ีลักษณะคลายกิง่ ไม ฟอสซลิ ของรองรอยใบแปะกว ย เปนตน จดุ ท่ี 4 ลาํ ตนไมจาํ ลอง การส่อื ความหมายของมัคคุเทศก ควรอยูในขอบเขตเน้ือหานิทรรศการ ดงั นี้ การจําลองลําตนไมเพื่อใหนักทองเท่ียวไดเห็นสวนประกอบตางๆ ของตนไมท่ีอยูในกลุมพืช ใบเล้ียงคู เชน ดานตดั ขวางของลําตนจะเห็นเสนวงกลมซอ นกนั หลายๆ วง เรยี กวา วงป ความสาํ คญั

6 ของวงปเปนการบอกอายุของตนไม วงปหรือวงการ เจริญเติบโตในระยะเวลา 1 ป โดยท่ัวไปจะมีวงการ เจริญเติบโต 1 วงเทากับอายุ 1 ป นอกจากนั้น วง ปสามารถบอกถึงภูมิอากาศหรือสภาพแวดลอม โบราณไดวามีความแหงแลงหรือชุมช้ืนอยางไร คือ ถา เสน วงปกวาง แสดงวา ปน ้นั มีฝนตกดี ทาํ ใหเซล เนอื้ ไมเ จรญิ เติบโตดี แตถาเสนวงปแ คบ แสดงวา ป นน้ั มคี วามแหง แลง สวนท่ีเปนจุดกลมเล็กๆ คือทอลําเลียงน้ํา ของพืช ซึ่งไดขยายใหมีขนาดใหญข้ึน เพ่ือใหเห็น ภาพที่ 4 นิทรรศการลาํ ตน ไมจําลอง อยางชัดเจน โดยพืชจะมีรากทําหนาที่ดูดน้ําเพ่ือ นาํ มาเลี้ยงลาํ ตน ก่ิง ใบ ผานทอ ลาํ เลยี งน้าํ น้ี ดานในมีการจัดแสดงทอนไมท ีเ่ ปนการจําลองใหเ ห็นสวนประกอบของลาํ ตนพืชใบเล้ียงคู • เปลือกนอก (Outer bark) ประกอบดวยเซลลท่ตี ายแลว คอยปกปองเนือ้ ไมขา งใน • เปลือกใน (Inner bark) ยังมีชีวิต ทําหนาท่ีสําคัญ คือ ลําเลียงอาหารจากใบลง มาสูสวนตา งๆ ของลําตน • แคมเบยี ม (Cambium) กลมุ เซลลในลาํ ตน พืชท่ีมกี ารแบง เซลลอ ยูตลอดเวลา • กระพ้ี (Sapwood) สวนท่ีหุมแกน มีสีออนกวาสวนอ่ืน เปนทางผา นของนาํ้ และ เกลอื แร จากรากไปสลู ําตน และใบ • แกน (Heartwood) เปนเน้ือไมสวนท่ีเกิดกอนตอมาหยุดการเจริญเติบโต แลว หนาท่ีชว ยคํ้าจนุ ใหต น ไมยืนอยไู ด มัคคุเทศกนํานักทองเท่ียวเดินทะลุเขาไปในลําตนไมจําลอง ซึ่งจะมีการจําลองเปนโมเลกุล ของน้ํา (H2O: ไฮโดรเจน (H) 2 อะตอม + ออกซเิ จน (O) 1อะตอม) ทีไ่ หลไปตามทอลําเลียงนํ้า หรือ นักทอ งเท่ยี วสามารถออกเสนทางลดั ได โดยการสไลดออกไปจากลําตนไม จุดที่ 5 นิทรรศการสถาบนั พระมหากษตั รยิ ก ับการอนุรักษไ มกลายเปนหิน การส่ือความหมายของมคั คุเทศก ควรอยูในขอบเขตเนอ้ื หานิทรรศการ ดงั นี้ ภาพอนุสรณส ถานไมกลายเปน หนิ ร.6 เม่ือวันท่ี 4 ธันวาคม พ.ศ. 2464 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ไดเสด็จมา ประทับและเสวยพระกระยาหารกลางวันที่สํานักงานกองอํานวยการ บริเวณบานทาชาง ตําบล ทา ชาง ซ่ึงปจจบุ ันอยูในอําเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา จากน้ันทานไดเสด็จตรวจงาน วางรางรถไฟ ซึ่งกําลังกอสรางสะพานรถไฟขามลาํ นํา้ มูล กอนเสดจ็ กลบั พระยารําไพพงศบริพตั ร ซ่ึง เปนนายชางควบคุมการกอสรางไดนอมเกลาฯ ถวายไมกลายเปนหินที่ชาวบานนําขึ้นมาจากทองรอง แมนํ้ามูลในหนา แลง พระองคทรงแนะนําใหรักษาไวในทองถิ่น พระยาราํ ไพพงศบริพัตรจึงไดใหชาง

7 สรางเปนอนุสรณสถานไมกลายเปนหินไวบริเวณเชิงสะพานรถไฟขามแมนํ้ามูล ซ่ึงยังคงอยูจนถึง ปจจุบัน ตัง้ แตน ้ันมา ประเทศไทยก็เรม่ิ มกี ารอนรุ ักษไ มก ลายเปน หนิ มานานเกือบ 90 ปม าแลว ภาพพระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รชั กาลท่ี 9 พระองคทานไมเคยเสด็จมาที่พิพิธภัณฑน้ี แตสถาบันน้ีไดจัดตั้งขึ้นเพื่อเปนการเฉลิม พระเกียรติแดพระองคทาน เน่ืองในวโรกาสพระชนมายุ 72 พรรษา เม่ือป 2542 ทานทรงใหพระ ราชดํารัสท่ีเก่ียวกับความสําคัญของ “โบราณวัตถุ” เน่ืองในโอกาสเสด็จพระราชดําเนินเปด พิพิธภัณฑสถานแหงชาตินครศรีธรรมราช ทรงมี พระราชดาํ รสั ตอนหนึ่งวา “…โบราณวัตถุในเขตจังหวัดตางๆ ท่ีนํามา รวบรวมไวแตละช้ิน มีความสําคัญและมีคุณคา มาก ในเหตุท่ีเปนวัตถุพยานท่ีจะใชพิจารณาศึกษา เรื่องราวของอดีตไดอยางไมร ูจบ จึงเปนกิจเบ้ืองตน ท่ีทุกคนทุกฝาย...จะตองบํารุงรักษาไวใหมั่นคง จะ ปลอยใหทําลายสูญไปไมได เพราะไมมีทางจะหา วัตถชุ ้ินใหมม าทดแทนกนั ...” ภาพท่ี 5 นทิ รรศการสถาบนั พระมหากษัตรยิ ก ับ การอนุรักษไมก ลายเปนหนิ ภาพของสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี พระองคทานทรงสนพระทัยในนิทรรศการและติดตามโครงการอนุรักษไมกลายเปนหินของ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ตั้งแต พ.ศ. 2540 ที่งานวันดนตรีไทย ท่ีจัดข้ึนท่ี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี พระองคไดตรัสกับคณะท่ีเขาถวายงานวา อยากใหทุกคน ทุกองคกรชวยกัน อนุรักษไมก ลายเปน หิน ใหจ ดั เปนศนู ยวิจยั หรอื พพิ ธิ ภัณฑ หลงั จากนัน้ ก็ไดม กี ารจดั ต้งั เปน ศนู ยวิจัย ไมกลายเปนหนิ ในเวลาตอ มา วนั ท่ี 29 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ซึง่ เปนวนั เปด พพิ ิธภัณฑ โดยพระกรณุ าของสมเดจ็ พระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไดเสด็จมาเปนประธานเปดพิพิธภัณฑ และพระราชทานช่ือ อาคารไมกลายเปน หนิ วา อาคาร “สิรินธร” จุดที่ 6 นิทรรศการไมส นกลายเปนหนิ ภาพที่ 6 นิทรรศการไมส นกลายเปนหิน การสื่อความหมายของมัคคุเทศกค วรอยูใน ขอบเขตเน้ือหานิทรรศการ ดังนี้ ไมกลายเปนหิน ชนิดสนอะรอคาเรีย โบราณ อยูใ นยุคจแู รสซิก อายุประมาณ 150 ลาน ปกอน พบในหมวดหินภูกระดึง มีขนาดเสนผาน ศูนยกลาง 1.75 เมตร นับเปนไมสนกลายเปนหินท่ี มีอา ยุเก าแ ล ะมี ขน าดใ หญ ท่ีสุด ใน ประ เท ศ

8 ไทย แหลงที่พบจากตําบลคลองมวง อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา บริจาคโดยนางลํา จวน นราเลิศและครอบครัว เมอื่ ป พ.ศ. 2551 ปจจบุ ันสนอะรอคาเรยี ไดสญู พนั ธไุ ปจากประเทศไทยแลว เราจึงไมพบสนอะรอคาเรีย พบได เฉพาะ สนสองใบ สนสามใบ แตในตางประเทศ อยางเชนสหรัฐอเมริกายังมีสนชนิดนี้อยูในยุค ปจจบุ นั จุดท่ี 7 หองแอนเิ มช่ันกําเนิดโลก การสอ่ื ความหมายของมัคคเุ ทศกค วรอยูในขอบเขตเนอ้ื หานิทรรศการ ดงั น้ี การจัดแสดงหองนี้เปนการนําเสนอเร่ือง ข อ ง กํ า เ นิ ด จั ก ร ว า ล แ ล ะ วิ วั ฒ น า ก า ร ข อ ง ส่ิงมีชีวิต ผา นระบบวดี ิโอแอนิเมช่ัน รองรับผูชมได 30 ท่ีนั่ง ในเนื้อหาของแอนิเมช่ัน ไดกลาวถึง กําเนิดจักรวาลและวิวัฒนาการของส่ิงมีชีวิตบน โลก เม่ือมีการเปล่ียนแปลงของโลก พ้ืนท่ีน่ังก็จะ สั่นไหวได ซึ่งจะสัมพันธกับเนื้อหาบนจอภาพหรือ เม่ืออกุ กาบาตพุงชนโลก ภูเขาไฟระเบิด จะมีไอรอ น เปาออกมา นักทองเท่ียวก็จะรูสึกรอน รวมถึงมี สัตวดึกดําบรรพตางๆ ในแตละยุค ภาพแอนิเมช่ันก็ ภาพท่ี 7 นิทรรศการหอ งแอนิเมช่นั กาํ เนดิ โลก จะดูเสมือนจริง ใชเ วลารบั ชม 12 นาที จดุ ที่ 8 หอ งแอนิเมชน่ั กาํ เนิดไมกลายเปนหิน การส่ือความหมายของมัคคเุ ทศกค วรอยูใน ขอบเขตเนอ้ื หานิทรรศการ ดังน้ี จุดน้ีเปนวีดิโอเรื่องกําเนิดไมกลายเปนหิน โดยจําลองการเกิดที่บานโกรกเดือนหา ซึ่งเปนท่ีตั้ง ของพิพิธภัณฑในปจจุบัน เปนการนําเสนอเร่ือง กระบวนการเกิดไมกลายเปนหิน ภูมิประเทศที่ พบ และความสําคัญของไมกลายเปนหิน ใชเวลา รับชม 4 นาที ภาพที่ 8 นิทรรศการหองกาํ เนิดไมก ลายเปน หิน

9 จุดที่ 9 ไมก ลายเปนหนิ เนอ้ื อัญมณี การสอ่ื ความหมายของมัคคุเทศกควรอยูในขอบเขตเนื้อหานิทรรศการ ดงั นี้ ไมกลายเปนหินเน้ืออัญมณี เปนไมมะคาโมงกลายเปนหิน แหลงท่ีพบคือบานมาบ เอ้ือง ตําบลสุรนารี อําเภอเมืองนครราชสีมา สถานที่พบน้ันอยูไมไกลจากพิพิธภัณฑ เพราะอยูใน เขตตําบลเดียวกัน อายุประมาณ 8 แสนป ไม กลายเปนหินทอนน้ีไดรับการตัด ขัด เคลือบ เงา เพื่อใหเห็นสีสันท่ีสวยงามของเนื้อไม ความ สวยงามคลายกับอัญมณีของไมกลายเปนหินน้ี ถือ เปนจุดเดนหรือเปนไฮไลตของไมกลายเปนหินจาก จังหวดั นครราชสีมา ซง่ึ พบไดยากในไมกลายเปนหิน จากจังหวดั อื่นๆ แหลง ไมกลายเปน หินของประเทศไทย ในประเทศไทยมีการพบไมก ลายเปนหิน มากท่สี ดุ ในภาคอสี านและภาคเหนอื กระจายตัว ภาพที่ 9 นทิ รรศการไมกลายเปน หนิ เน้ืออัญมณี อยูเ กือบทุกจงั หวดั โดยเฉพาะในพน้ื ทีข่ องอําเภอ และแหลง ไมก ลายเปน หนิ ของประเทศไทย เมืองนครราชสีมา สว นท่ีจังหวดั ตากนน้ั มกี ารคน พบไมกลายเปน หินทีย่ าวทสี่ ดุ ในประเทศไทย ซ่งึ มี ความยาว 72.22 เมตร สวนในระดับโลกน้ัน จากแผนทจี่ ะเห็นไดว า สามารถพบไมกลายเปนหนิ ไดใ น ทุกทวีปของโลก แมแตใ นทวีปซ่ึงปจจุบนั แหงแลงมาก เชน อัฟริกา จุดที่ 10 การเปรียบเทียบไมกลายเปนหิน (พชื โบราณ) กบั ไมป จจุบัน การสือ่ ความหมายของมัคคเุ ทศกค วรอยูในขอบเขตเนอ้ื หานิทรรศการ ดังนี้ นักวิจัยไดทําการเปรียบเทียบไมกลายเปนหินกับไมปจจุบัน โดยวิธีการศึกษาแผนหินบาง (thin section) การตัดไมกลายเปนหินท้ัง 3 ดาน ไดแก ดานตามแนวขวาง ดานตัดตามแนวสัมผัส และดานตัดตามแนวรัศมี จากน้ันนําแผนไสดท่ีได ทําการศึกษาผานกลองจุลทรรศนชนิดแสงสอง ผาน (Light Microscope) ข้ันตอนตอไปทําการ เปรียบเทียบกับสไลดไมปจจุบัน เพื่อทําการจําแนก ชนิดของไมกลายเปนหินโดยดูจาก เซลลเนื้อไม ทอ ลาํ เลยี งนํา้ เปนตน ไมกลายเปน หินทีพ่ บในพ้นื ทขี่ องพิพิธภัณฑ เมอ่ื เปรยี บเทียบกบั ไมปจจบุ ันแลว สามารถจาํ แนก ภาพท่ี 10 นิทรรศการการเปรยี บเทียบ ได เชน มะคา มะกอกเกลื้อน มะมวง มะเกลือ ไมก ลายเปนหนิ (พชื โบราณ) กบั ไมปจ จุบนั เลือด กระบก และสะเดา

10 จดุ ท่ี 11 ไมก ลายเปน หินในยุคตางๆ การสื่อความหมายของมัคคเุ ทศกควรอยูในขอบเขตเนื้อหานิทรรศการ ดงั นี้ ไมก ลายเปนหินยุคไดโนเสาร นักวิจยั จําแนกใหอยใู นกลุมวงศสนฉัตร อายุทางธรณีอยใู นยคุ จแู รสซิกตอนปลาย (ประมาณ 150 ลานปกอน) เปนไมสนกลายเปน หนิ ทมี่ ีอายุเกาแกทส่ี ุดของโคราช ผบู ริจาค คือ นายสมพร เคยี ง สันเทยี ะ และครอบครัว แหลง ทพี่ บ ตาํ บล คลองมวง อําเภอ ปากชอง จงั หวดั นครราชสีมา มอบให ไวเมอื่ พ.ศ. 2551 ไมสนโบราณยคุ เพอรเมยี น ภาพท่ี 11 นิทรรศการไมก ลายเปน หนิ ในยุคตา งๆ คุณนเรศ สัตยารักษ จากกรมทรัพยากร ธรณี เปนผูคนพบทอนไมกลายเปนหินท่ีเกิดจาก การแทนที่ของซิลิกา การจําแนกคาดวาเปน สนวอลเชียนโบราณ ตั้งช่ือวา Dadoxylon Walchiopremnoides อยูในยุคเพอรเมียนตอน ปลาย (ประมาณ 260 ลานปกอน) แหลงที่ พบ คือ อําเภอ ชนแดน จังหวัด เพชรบูรณ ได มอบใหพ ิพิธภณั ฑเมื่อ ป พ.ศ. 2546 ฟอสซิลพชื ยคุ คารบ อนิเฟอรัส ไมก ลายเปนหนิ ยุคคารบอนิเฟอรัสเปนยคุ ท่พี ชื เจรญิ เติบโตไดดมี าก เปนฟอสซลิ พืชทีเ่ กา แก ท่ีสุดในประเทศไทยคน พบสว นของลําตน กิ่ง กา น และใบของเฟรน โบราณ แหลงท่พี บ คอื อําเภอ นาดว ง จังหวดั เลย มีอายปุ ระมาณ 330 ลานปก อ น ถือวา เกา แกท ่ีสดุ Lepidodendron เปน พืชโบราณ มกั พบบริเวณบึงนํ้า มลี ักษณะคลายกบั ตนไมป จ จุบัน คือ ตนสนสามรอยยอด และ ตนตีนตุกแก ซง่ึ จะพบในปาดิบแลง หรอื ดิบชนื้ ท่ีเขาใหญ แตต น เลปโ ด เดนดรอนมีความสงู ถึงเกือบ 30 เมตร แหลง ท่ีพบฟอสซิล คือ เหมืองถา นหนิ สยามแกรไฟด อาํ เภอ นาดวง จงั หวดั เลย ผบู ริจาค คอื รองศาสตราจารย ดร.เบญจวรรณ รัตนเสถยี ร จากมหาวิทยาลยั เชยี งใหม มอบใหเมื่อ พ.ศ. 2551 จุดท่ี 12 สขี องไมก ลายเปน หิน ภาพท่ี 12 นทิ รรศการสีของไมก ลายเปนหนิ การส่อื ความหมายของมัคคุเทศกควรอยูใน ขอบเขตเน้ือหานิทรรศการ ดังน้ี สีสันของไมกลายเปนหิน เกิดจากแรธาตุ ตา งๆ ที่เปน องคประกอบ ซง่ึ มอี ยหู ลายชนิด โดยทั่วไปองคประกอบหลัก คือ แร ควอรตซ ซ่ึง ไมมีสี สีขาวหรือสีเทา ถามีแรบางชนิดเจือปนอยู ดว ย ก็จะทําใหเ กดิ สแี ตกตา งกนั ได แมจะเปน

11 ไมกลายเปนหินทอนเดียวกัน สวนใหญแลวไมกลายเปนหินของโคราชมักจะมีสีแดง น้ําตาล เหลือง สม ซึง่ มาจากแรเ หลก็ สดี ํามาจากแรแ มงกานสี และสขี าวมาจากแรซ ลิ กิ า จุดที่ 13 วงปในไมกลายเปนหนิ การสื่อความหมายของมัคคุเทศกควรอยูใน ขอบเขตเนอ้ื หานิทรรศการ ดงั น้ี การตัดแนวขวางของไมกลายเปนหินทําให เห็นวงป หรือวงการเจริญเติบโตของพืช มีการ จําแนกเบ้ืองตน พบวงป ถึง 80 วง แปลความหมาย ไดว า ตนไมนีก้ อนทจ่ี ะลมตายมอี ายุ 80 ป ว งปส ามา รถบ อกถึง ภูมิอ ากา ศหรื อ สภาพแวดลอมโบราณได วามีความแหงแลงหรือชุม ชื้นอยางไร คือ ถาเสนวงปกวาง แสดงวา ปนั้นมี ภาพท่ี 13 นทิ รรศการวงปใ นไมกลายเปน หิน ฝนตกดี ทาํ ใหเซลเน้อื ไมเ จรญิ เตบิ โตดี แตถา เสน วงปแคบ แสดงวา ปนั้นมคี วามแหงแลง จุดที่ 14 ตัวอยา งเคร่อื งประดบั ทท่ี าํ จากไมกลายเปน หนิ อัญมณีของแตละประเทศ การส่ือความหมายของมัคคุเทศกควรอยูใน ภาพท่ี 14 นิทรรศการตวั อยางเครื่องประดับทท่ี ํา ขอบเขตเนือ้ หานิทรรศการ ดังน้ี จากไมก ลายเปนหินอัญมณขี องแตล ะประเทศ การจดั แสดงเครือ่ งประดบั ทที่ ําจาก ไมกลายเปนหินอัญมณีของแตละประเทศ ไดแก ประเทศพมา อนิ โดนเี ซยี และประเทศไทย ตัวอยางของที่ระลึกที่ทําจากไมกลายเปน หนิ ผานการนํามาเจียระไนเปน หวั แหวน สรอ ยคอ กาํ ไล จี้ ตมุ หู และแกะสลักเปน รปู ชาง เตา จระเข เครื่องบดยา ภาชนะตา งๆ เชน ชอน จาน ชาม และ ยงั นํามาแกะสลักเปนรูป ปลา สงิ โต จุดที่ 15 ประโยชนแ ละงานประตมิ ากรรมไมก ลายเปนหิน การสอื่ ความหมายของมัคคเุ ทศกค วรอยูในขอบเขตเนอ้ื หานิทรรศการ ดงั นี้ ประโยชนข องไมก ลายเปน หนิ แบงออกเปน หลายดาน อยางเชน ดานประวัตศิ าสตร สมัยรัชกาลท่ี 6 เคยเสด็จมาที่ อําเภอเฉลิมพระเกยี รติ มชี าวบา นนําไม กลายเปนหินมาถวายใหกับพระองคทาน ซึ่งทานไดรับสั่งใหเจาหนาท่ีกรมรถไฟหลวงออกแบบ อนุสรณส ถานแลว นําเอาไมก ลายเปน หินนัน้ ไปประดบั ไวบนยอด ตราบมาจนถึงปจจบุ ัน แสดงใหเ ห็น ถึงการอนุรักษไ มกลายเปน หิน

12 ดานบรรพชีวินวิทยา การศึกษาไมกลายเปนหินทําใหเรารูเรื่องสภาพแวดลอมในอดีต ได เชน ท่ี จังหวัดตากพบไมกลายเปนหินตนทองบึ้ง ไมชนิดน้ีพบในปาดงดิบชื้น พบในแถบเกาะ บอรเนยี ว ตนสงู มากเปน 100 เมตร ในไทยพบที่จังหวัดสตลู และท่ีปาฮาลาบาลา แสดงวาพืน้ ที่แถว จ.ตากในอดีตนั้นเปนปาดงดิบชื้น แตปจจุบันเปนปาเต็งรัง มีไมแคระๆ ข้ึน การศึกษาไมกลายเปน หนิ แสดงใหเ ห็นวา สภาพภมู ิอากาศเปลยี่ นไป ดา นทอ งเทยี่ ว เปน ท่พี กั ผอนหยอ นใจและ เรยี นรูควบคูไปดว ย ภาพหลุมฝงศพ ในที่นี้หมายถึงผูท่ีอยูใน หลุมฝงศพ เคยมีชีวิตอยูรวมยุคกับชารล ดาร วิน เปนนักภูมิศาสตร นักธรรมชาติวิทยาที่ยอมรับ กนั ในวงวิชาการ ตอนทเ่ี สยี ชีวิตก็ไดมีคนรูจักนําเอา ไมกลายเปนหินจากเกาะบอสแลนด ประเทศ อังกฤษ เปนไมสนโบราณ ซึ่งทานไดไปสํารวจ พบ มาฝง ไวท ส่ี สุ านของทา นดว ย ภาพที่ 15 นิทรรศการประโยชนแ ละงาน ประตมิ ากรรมไมก ลายเปนหนิ นอกจากน้นั การจดั นิทรรศการโดยนําเอา ไม หนิ เหลก็ ที่กลึงเปนรปู ทรงกลมมาตกแตงบนไมกลายเปนหนิ สอดแทรกบทเรยี นวิทยาศาสตรเขา ไปไดด ว ย เรื่องการนําความรอนของ เหล็ก หิน ไม คําตอบคือเหล็กนาํ ความรอนไดด ีท่ีสุด จดุ ท่ี 16 อโุ มงคย อนยคุ ชา งดึกดาํ บรรพ การสอ่ื ความหมายของมัคคุเทศกควรอยูใ นขอบเขตเน้ือหานทิ รรศการ ดังน้ี การจัดแสดงทางดานขวามือของนักทองเท่ียวเปนการจําลองภูมิประเทศของภาคอีสาน ท่ีมี การกระจายไมกลายเปนหินตามลุมแมน้ํามูล – ชี สวนทางดานซายมือของนักทองเที่ยว เปนไม กลายเปนหินจากแหลงตา งๆ ในจังหวัดนครราชสีมา โดยไดร ับการบริจาคจากคณุ อรุณ ตั้งพานิช ภายในเสนทางของอุโมงคจัดแสดงภาพวาด และประติมากรรม ดังนี้ ภาพวาดเขียนสจี ําลองจาก เขาจันทนงาม วัดเลิศสวัสด์ิ อําเภอสีค้ิว จังหวัด นครราชสีมา ส่ือถึงการดํารงชีวิตความเปนอยูของ มนุษยในสมัยโบราณ มีอายุประมาณ 4,000 ปกอน ภาพถัดมาประติมากรรมรูปปนนูนต่ําแสดงมนุษย โบราณถือขวานมือท่ีทาํ จากไมกลายเปน หนิ ซึ่งมกี าร คน พบหลักฐานน้ีที่อําเภอสูงเนิน นักวิชาการเรียกวา ภาพที่ 16 นทิ รรศการอโุ มงคยอ นยุค “วฒั นธรรมสูงเนนิ ” ชางดึกดาํ บรรพ

13 จุดตอมาทางดานขวามือเปนภาพไฮยีนา ซ่ึงมีการคนพบหัวกะโหลกไฮยีนาท่ี ตําบลโคกสูง อําเภอเมืองนครราชสมี า ทําใหมขี อ สันนิษฐานวา ดินแดนแหงนั้นมีลักษณะภมู ปิ ระเทศคลายกับทอ ง ทงุ หญาสะวนั นาในแอฟริกา รูปปนนูนต่ําของมาโบราณและเสือเข้ียวดาบ ฟอสซิลท่ีพบอยูรวมยุคกับชางดึกดําบรรพ โคราช จุดท่ี 17 หองวดี ิโอชางดึกดําบรรพโคราช การสอื่ ความหมายของมัคคเุ ทศกควรอยใู นขอบเขตเนื้อหานทิ รรศการ ดังนี้ การจัดแสดงนิทรรศการจําลองบรรยากาศ ในยุคที่พบชางดึกดําบรรพโคราช เมื่อประมาณ 16 ลานปกอน โดยการคนพบฟอสซิลชางดึกดําบรรพ 10 สกุลจาก 55 สกุลที่พบท่ัวโลก และนอกจาก การพบฟอสซิลชางยังมีการคนพบฟอสซิลสัตวเล้ียง ลกู ดว ยนมชนดิ อน่ื ดว ย เชน มา เตา ลงิ เอป เสือ ยีราฟคอส้ัน แรดไรนอ หมูโบราณ กวาง จระเข สัตววงศวัว เน้ือเร่ืองในวีดิโอนําเสนอลักษณะ สภาพแวดลอมสมัยโบราณ แหลงที่พบฟอสซิลชาง และแนะนําชางดึกดําบรรพชนิดตางๆ รวมทั้งสัตว ภาพท่ี 17 นิทรรศการหองวดี ิโอชา งดกึ ดําบรรพ รว มยุครวมถงึ การสญู พันธขุ องชางดกึ ดาํ บรรพ โคราช จุดที่ 18 ฟอสซลิ ชา งดกึ ดาํ บรรพจ ากตางประเทศ ภาพที่ 18 นทิ รรศการฟอสซลิ ชา งดึกดาํ บรรพ การสื่อความหมายของมัคคเุ ทศกควรอยูใน จากตา งประเทศ ขอบเขตเนือ้ หานทิ รรศการ ดงั นี้ การจัดแสดงฟอสซิลชางดึกดําบรรพจาก ตางประเทศ พบแถบเขตชายแดนทางภาคเหนือ แถบแมนํ้าอิระวะดีของพมา ฟอสซิลที่จัดแสดง สวนใหญเปนฟนกรามบนและฟนกรามลางของ ชางอนันคัส ชางสเตโกดอน ชางสเตโกโลโฟดอน อายุประมาณ 17 – 11 ลา นปกอ น การสังเกตลกั ษณะของฟน กรามบนหนาฟน จะลักษณะโคงนูน และฟนกรามลางหนาฟนจะมี ลักษณะโคง เวา

14 จุดท่ี 19 ฟอสซลิ ชางในเขตหนาว การสือ่ ความหมายของมัคคเุ ทศกควรอยใู นขอบเขตเนื้อหานิทรรศการ ดงั น้ี การจดั แสดงฟอสซิลชางในเขตหนาวมี 2 สกุล คอื ชา งมาสโตดอนอเมริกาและชางแมมมอธ มาสโตดอนอเมริกา ชือ่ มาจากภาษากรกี คําวา มาสโตส แปลวา เตานมของผหู ญิง คําวา ดอน แปลวา ฟน คําวา อเมรกิ า คือ แหลงที่พบ ลักษณะของมาสโตดอนอเมรกิ า มี 2 งา ฟน กรามมี 2 ปุม ปลายแหลม รองฟนลึก มีลักษณะ คลา ยเตา นมผหู ญงิ กินอาหารจําพวกสาหราย พืชนํ้า ตางๆ ซึ่งเคยมีการคนพบสาหรายอยูในทองชางดวย ลําตัวมขี นยาวปกคลุมรางกาย ชวยใหรา งกายมีความ อบอนุ แมมมอธ ฟนมลี กั ษณะเปนแผนติดกนั คลาย ชา งปจจบุ นั มี 2 งา ลกั ษณะงาโคงงอ ขนหนา กนิ อาหารพวกพืช เปนชา งสกลุ สุดทายที่สญู พันธไุ ป เมอ่ื 1,700 - 1,500 ลา นปกอน การสญู พนั ธุของชา ง ภาพท่ี 19 นิทรรศการฟอสซลิ ชางในเขตหนาว แมมมอธ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศทาํ ใหไมส ามารถหาอาหารได และยังตองแขง ขนั หาอาหารกับสัตวก ินพชื ชนดิ อื่นๆ ดวย ชางแมมมอธเปน ชางท่ีมีขนาดตวั ใหญท ่ีสุดในโลก จุดท่ี 20 โครงกระดูกพลายยีราฟ การสอ่ื ความหมายของมคั คเุ ทศกควรอยูในขอบเขตเน้ือหานิทรรศการ ดงั น้ี โครงกระดูกชางเอเชีย ช่ือวา “พลายยีราฟ” เปนชางเพศผู ขุดคนจากแหลง หมูบานตา กลาง ตําบลกะโพ อําเภอทาตูม จังหวัดสุรินทร โครงกระดูกพลายยีราฟตั้งแตศรีษะจรดหางเปน กระดูกของจริงยกเวนงา ซี่งมีการตอเติมขึ้นและทําจากเรซ่ิน ความพิเศษของพลายยีราฟคือ ความ สูง 3 เมตร ซึ่งชางเอเชียท่ัวไปมีความสูงประมาณ 2.7 เมตร ลกั ษณะทัว่ ไปชางเอเชีย ขาหนา จะมีเล็บ เทา 5 เล็บ ขาหลังจะมเี ล็บเทา 4 เล็บ สาเหตขุ อง การลมตาย คือ ชางมีอาการทองรวงและติดเช้ือจึง ลมปวยและเสียชีวิตในเวลาตอมา พลายยีราฟถูก ฝง รางไวประมาณ 8 ป ตอ มาคณะของสถาบันวิจัย ไมกลายเปนหินฯ ไดประสานขอโครงกระดูกของ ชางจากชาวบานท่ีเล้ียงชาง เพื่อนํามาจัดแสดงให นักทองเท่ียวไดเ หน็ สวนประกอบตางๆ ของชา ง จึง ไดรับมอบโครงกระดูกของพลายยีราฟจัดแสดงใน ภาพที่ 20 นิทรรศการโครงกระดกู พลายยีราฟ พิพิธภณั ฑช างดึกดําบรรพ

15 จุดที่ 21 ววิ ฒั นาการของชางดึกดําบรรพ การสอื่ ความหมายของมคั คุเทศกควรอยูใ นขอบเขตเน้ือหานทิ รรศการ ดงั นี้ การจดั แสดงนิทรรศการววิ ฒั นาการของชางดกึ ดําบรรพ ชา งเปนสัตวเลย้ี งลกู ดว ยนมท่ีมีงวง มีชีวิตอยูในยุคกอนประวัติศาสตร ในระบบอนุกรมวิธานสัตวจําแนกอยูในอันดับโปรบอสซิเดีย หรือ อาจเรียกวา สัตวงวง งวงเปนสวนที่รวมริมฝปากบน เพดาน ปากและรูจมูกเขาดว ยกัน รา งกายมขี นาดใหญ ฟนตัดหรือฟนหนาคูท่ีสองพัฒนาเปนงา งาของชางดึกดําบรรพบางสกุลไดวิวัฒนาการ จนกระทง่ั สารเคลือบหายไป ไมมฟี นเข้ยี ว ฟนกรามเปนปุมฟนรูปกรวย เรียงเปน แถว คลายกับสันหลายๆ สัน หรือเปนสันแบน ประกบกนั หลายแผน คลา ยฟน ชา งปจ จุบนั กะโหลกชางดึกดําบรรพในยุคแรก มี ลักษณะยาวตอมาไดวิวัฒนาการเปนกะโหลกที่สั้น ภาพท่ี 21 นทิ รรศการวิวฒั นาการของ และสูงใหญกวาเดิม คอหดสั้นเรื่อยๆ สัดสวนของ ชางดึกดําบรรพ กะโหลกใหญกวา สมองมาก ทัง้ น้เี พ่ือเปนที่ยดึ เหนย่ี วของงวงและรับน้ําหนกั ของฟนกบั งา เม่ือไดโนเสารสญู พันธุเ มือ่ 65 ลา นปกอน สัตวเลย้ี งลกู ดว ยนมปรากฏขนึ้ เร่มิ ววิ ฒั นาการ ตัวเอง อยางเชน มีริธีเรียม อายุประมาณ 65 ลานป พบที่โมร็อกโค ไมมีงวง ไมมีงา ลักษณะ คลายหมู หนาตาคลายสมเสรจ็ ตอมาก็เรมิ่ มีวิวัฒนาการมาเรื่อยๆ ตัวสูงใหญข้ึน เริ่มมีงวง มีงา มี ท้งั สองงาและส่ีงา ท่ัวโลกมีชางดึกดาํ บรรพทง้ั หมด 55 สกลุ จาก180 กวาสายพนั ธุ สวนท่ีจังหวัดนครราชสีมา มี 10 สกุล ปจ จุบันไดสูญพันธุไปแลว ท่ียังมีชวี ิตอยูค ือชางเอเชยี และชา งแอฟริกา จุดที่ 22 ฟอสซิลชา งดึกดําบรรพโคราช อ.จรูญใหข อ มูล การส่ือความหมายของมคั คเุ ทศกควรอยูในขอบเขตเน้ือหานทิ รรศการ ดังน้ี การจัดแสดงฟนชางดึกดาํ บรรพโคราช 10 สกุล จาก 55 สกุล ท่ีพบทัว่ โลก จากแหลงบอดูด ทราย ตําบลทาชาง อําเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา อายุประมาณ 16 ลา นปกอน ถึง 10,000 ปก อ น การคนพบท่รี ะดับความลึกของบอ ทรายประมาณ 5-20 เมตร

16 ชา งงาจอบโปรไดโนธเี รยี ม (Prodeinotherium) มีเฉพาะงาคูลา ง และโคง งอลงมา ขนาดตวั เลก็ กวาไดโนธเี รียม สูงประมาณ 2.5-2.8 เมตร พบในชว ง 21-16.8 ลานปก อน ในอําเภอเฉลมิ พระเกียรติ มีอายรุ าว 16.8 ลานปก อน ชางส่ีงากอมโฟธีเรียม (Gomphotherium) ภาพที่ 22 ชางงาจอบโปรไดโนธเี รยี ม มงี า 4 งา โดยงาคูบนงอกโคงงอลงมาครอม ภาพท่ี 23 ชางสงี่ ากอมโฟธเี รียม งาคูลาง สูงประมาณ 2.5 เมตร พบในชวง 25- 6 ลานปกอน ในอําเภอเฉลิมพระเกียรติมีอายุ ราว 16.11 ลานปก อ น ชางงาเสียมโปรตานันคัส (Protanancus) ภาพที่ 24 ชา งงาเสียมโปรตานนั คสั มี 4 งา งาคูบนอยูชิดติดกัน และแบนคลาย ภาพท่ี 25 ชางสเตโกโลโฟดอน เสียม สูงประมาณ 2.5 เมตร พบในชวง 18.5 - 12.8 ลานปกอน ในอําเภอเฉลิมพระเกียรติ มีอายุราว 16 - 12.8 ลานปกอน ชางสเตโกโลโฟดอน (Stegolophodon) ใน รุนด้ังเดิมมี 4 งาน งาคูลางมีขนาดเล็กมาก สวนรุนใหมไมมีงาคูลาง สูงประมาณ 2.5-3 เมตร พบในชวง 18-6.5 ลานปกอน ในอําเภอ เฉลิมพระเกียรติ มีอายรุ าว 13-6.5 ลา นปกอ น

17 ชางงาจอบใหญไดโนธเี รียม (Deinotherium) มีเฉพาะงาคูลา งและโคงงอลงมา ขนาดตวั ใหญ กวาโปรไดโนธีเรียม สูงประมาณ 3.6-4 เมตร พบในชว ง 11.2-1.8 ลานปก อน ในอําเภอเฉลิม พระเกยี รติ มีอายรุ าว 12.2-1.8 ลานปก อน ชางไซโนมาสโตดอน (Sinomastodon) มี ภาพท่ี 26 ชา งงาจอบใหญไดโนธีเรียม งาเฉพาะคบู น แตพนั มลี ักษณะคลายชา ง 4 งา ภาพที่ 27 ชา งไซโนมาสโตดอน กอมโฟธีเรยี ม สูงประมาณ 2-2.5 เมตร พบ ในชว ง 6.5-2.5 ลา นปก อ น ในอําเภอเฉลิมพระ ภาพท่ี 28 ชา งสเตโกดอน เกยี รติ มีอายุราว 2.5 ลานปกอน ภาพท่ี 29 ชางส่งี าเตตระโลโฟดอน ชางสเตโกดอน (Stegodon) มี 2 งานเฉพาะ คูบน มีกมีงาขนานและใกลกันมาก จนตอง พาดงวงออกนอกรองงา แตปลายงาแยกออก ดานขางชัดเจน สูงประมาณ 2.8-3.8 เมตร พบ ในชวง 7.3 ลานปกอน – 1.2 หมื่นปกอน ใน อาํ เภอเฉลิมพระเกียรติ มีอายุราว 6 ลานปก อน – 1.2 หม่ืนปก อ น ชางสง่ี าเตตระโลโฟดอน (Tetralophodon) มี 4 งา ขากรรไกรลา งสัน้ กวากอมโฟธีเรยี ม สงู ประมาณ 2.6 เมตร พบในชว ง 12.4 – 7.8 ลา น ปก อน ในอําเภอเฉลมิ พระเกียรติ มีอายรุ าว 12.4-7.8 ลานปก อ น

18 ไซโกโลโฟดอน (Zygolophodon) ในรนุ ดัง้ เดิมมี 4 งา งาคลู า งเล็กมาก สว นรนุ ใหมไ มม ี งาคลู า ง ฟนมลี ักษณะเปน สันคลายแอกเทยี วววั สูงประมาณ 2-2.5 เมตร พบในชว ง 18-5 ลา นป กอ น ในอาํ เภอเฉลิมพระเกยี รติ มอี ายรุ าว 13- 6.5 ลานปก อ น ภาพที่ 30 ชา งไซโกโลโฟดอน ชางเอลิฟาส (Elephas) มีลักษณะเหมือนชาง เอเชียหรือชางไทยปจ จุบนั สูงประมาณ 2.5 - 3 เมตร พบในชวง 3.4 ลา นปก อ น – ปจ จบุ นั ใน อําเภอเฉลมิ พระเกยี รติ มอี ายุราว 2 ลานปก อ น – ปจจบุ นั ภาพที่ 31 ชา งเอลิฟาส จุดที่ 23 เอปโคราช อ.จรญู ใหขอ มูล การสอื่ ความหมายของมัคคเุ ทศกควรอยูในขอบเขตเนื้อหานิทรรศการ ดังน้ี โคราชพิเธคัส พิริยะอิ (Khoratpithecus piriyai) ลักษณะท่ัวไปเปนลิงใหญไมมีหาง มีสาย พันธุใกลเ คียงกบั ลิงอุรังอุตังในปจจุบนั ฟนกรามลา งหนามาก ลักษณะฟนกรามโคงเปนรูปตัวยู ไมมี กลามเน้ือที่ใชในการเปด-ปดปากใตกรามสวนหนา ช้ินสวนที่พบเปนฟนกรามและขากรรไกรลาง ซึ่งถือ วาสมบูรณที่สุดถึง 90% ปจจุบันมีการ Copy และ นําไปจดั แสดงในท่ตี างๆ ท่ัวโลก สําหรับอุรังอุตังปจจุบันน้ัน มีการคนพบ เฉพาะที่ประเทศอินโดนีเซียและเกาะบอรเนียว เทานั้น อายุประมาณ 9-7 ลานปกอน หรือสมัยไม โอซีนตอนปลาย แหลงที่พบบอทราย ตําบลทา ชาง อาํ เภอเฉลิมพระเกยี รติ จงั หวัดนครราชสมี า ภาพท่ี 32 นิทรรศการเอปโคราช

19 ที่มาของชอ่ื ตั้งชือ่ สกุล เพื่อเปนอนสุ รณแกแหลงท่ีพบ คือ จังหวดั นครราชสีมา ช่ือชนิด เพ่อื เปนเกียรติแก นายพิริยะ วชั จิตพันธ ผูบ ริจาค จดุ ที่ 24 แรดไรนอ อ.จรูญใหขอ มูล การสือ่ ความหมายของมัคคเุ ทศกควรอยูในขอบเขตเนื้อหานิทรรศการ ดังนี้ ลกั ษณะทั่วไปเปนแรดดึกดําบรรพขนาดปานกลางที่ไมมีนอ จัดอยใู นวงศยอย อาเซราธรี ิอิเน (Aceratheriinae) กะโหลกดานบนแบนเรียบ สันบน กระดูกทายทอยเล็กนอย ชองจมูกเปน เวา ลึก ตรงตาํ แหนงของฟน กรามนอ ยซี่ที่ 4 กบั ฟนกรามซที่ ่ี 1 ช้ินสวนท่ีพบเปนกะโหลกพรอมขากรรไกร ทั้งสองขาง อายุสมัยไมโอซีนตอนปลาย อายุ ประมาณ 7.4-5.9 ลานปกอน แหลงท่ีพบบอทราย ต.ทาชาง อ.เฉลมิ พระเกยี รติ จ.นครราชสีมา ท่ีมาของชื่อ ต้ังชื่อ เพ่ือเปนเกียรติแก รอง ศาสตราจารย ดร.พอพันธ วชั จิตพนั ธ ผบู รจิ าค ผูวิจัย ศ.ดร. เต้ิง เถา (Deng Tao) และคณะ ในป ค.ศ. 2013 ภาพที่ 33 นิทรรศการแรดไรนอ จดุ ที่ 25 เมอริโคโปเตมสั ทาชางเอนชิส (Merycopotamus thachangensis) อ.จรูญใหข อ มลู การส่อื ความหมายของมัคคุเทศกควรอยูใ นขอบเขตเน้ือหานทิ รรศการ ดังน้ี เมอริโคโปเตมัส ทาชางเอนชิส จัดอยูในวงศแอนทราโคแธริอิเด (Anthracotheriidae) ลกั ษณะเดน คอื มีกะโหลกแบน รูจมกู อยรู ะดบั เดยี วกับตา คลา ยกบั ฮปิ โปโปเตมัส แตจมกู เรียวกวา อาศัยอยูในน้ําและบนบก เปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนม สูงประมาณ 80 เซนติเมตร ลักษณะกายภาพ ทัว่ ไปจะคลายกับฮิปโปโปเตมัสและหมู แตไมไดอยู ในสายวิวัฒนาการเดียวกับสัตวท้ังสองที่กลาวนี้ เพียงแตเคยมีบรรพบุรุษรว มกนั มากอ น เมอริโคโปเตมัสเปนสัตวที่สูญพันธุไปแลว มีถ่ินอาศัยอยูในเขตปาเปด ทุงหญาท่ีมีแหลงนํ้า พบช้ินสวนท่ีสมบูรณมากชิ้นหนึ่งของโลก โดยพบ กะโหลกพรอมชุดฟนท่ีคอนขางสมบูรณ อายุ ประมาณ 8-6 ลานปกอน หรือสมัยไมโอซีนตอน ปลาย ภาพท่ี 34 นทิ รรศการเมอรโิ คโปเตมัส ทาชางเอนชสิ

20 แหลงที่พบบอทราย ตําบลทาชาง อําเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา ในปพ.ศ. 2544 ศึกษาวิจัยโดย ดร.รตั นาภรณ หันตา และคณะ จุดที่ 26 ฟอสซิลสัตวเ ลีย้ งลูกดว ยนม การสอื่ ความหมายของมคั คุเทศกควรอยใู นขอบเขตเนื้อหานิทรรศการ ดงั นี้ การคนพบฟอสซิลสัตวเ ลีย้ งลกู ดวยนมท่พี บรว มยุคกบั ชางดึกดําบรรพม ีหลายชนิด อาทิเชน ยีราฟคอส้ัน ในยุคดึกดําบรรพแหลง อาหารอุดมสมบูรณ กมกินอาหารไดงาย แตเม่ือ อาหารลดนอยลง ตองยืดคอหาอาหารที่อยูสูง ยรี าฟจงึ มีวิวฒั นาการคอยาวข้ึนเพือ่ ความอยรู อด สตั ววงศวัว ควาย สตั วกลุมนี้มเี ขาบดิ เปน เกลยี ว มี 4 กระเพาะ เขากวาง เขาไมบิดเปนเกลยี ว มกี ารแตก ก่ิงเปล่ียนใหมทุกป ใน 1 ป มีเขางอก 1 เขา ป ตอมาเขาเดิมหลุดออกไปและงอกออกมาใหม แต เขาเพมิ่ เปน 2 กงิ่ ภาพท่ี 35 นทิ รรศการฟอสซลิ สตั วเ ลย้ี งลูก ดว ยนม เสือเข้ียวดาบ ลักษณะของฟนมีรอยหยัก ตรงขอบฟน นักวิจยั สันนษิ ฐานวา มลี กั ษณะคลายเขีย้ วของเสือเขีย้ วดาบ มา ฮิปปาเรียน เปนมาที่มีความคลองแคลว วองไว มีกระดูกนิ้ว 3 น้ิว ในขณะทีป่ จจุบันมี เพียงน้วิ เดียว และสว นกระดูกตาตมุ มีลักษณะคลายรอก ซึ่งไมเหมอื นสัตวอ ืน่ ๆ แรดโบราณ แรดทุงเปนแรดที่ไมมีนอ มีเข้ียวยาว สวนแรดปาดงดิบมีนอ มีเข้ียวส้ัน ปจจุบนั แรดไทยมีนอ นอคือขนแขง็ ท่ีเกิดขึ้นรวมตัวกนั และใชเปน อาวธุ ไดดวย เตา บกยกั ษ มเี สนผานศนู ยกลาง 2.2 เมตร ปจ จุบันยังพบอยทู ่หี มูเกาะกาลาปากอส ประเทศเอกวั ดอร ตะโขงโบราณ พบสวนศรษี ะ ที่มลี กั ษณะ เรยี ว แหลม และพบในสวนของปากบน

21 จดุ ท่ี 27 งาชางกลายเปนหิน การส่ือความหมายของมคั คเุ ทศกควรอยใู นขอบเขตเน้ือหานิทรรศการ ดังนี้ การจัดแสดงงาชางกลายเปนหิน งาชางคู ที่วางนอนและวางต้ังอยูน้ีมีความยาวประมาณ 3 เมตร พบแถบชายแดนไทย - พมา การจําแนก เบื้องตน คาดวาจะเปนงาชางสเตโกดอน ใน ประเทศกรีซพบงาชางสเตโกดอน ท่ียาวประมาณ 5 เมตร สวนงานทอนเลก็ ยาวประมาณ 1 เมตรกวา คน พบท่บี อดูดทราย อาํ เภอเฉลมิ พระเกียรติ โครงสรา งของงาบริเวณโคนงาจะมลี ักษณะกลวง และแคบตนั ในสว นของปลายงา ลวดลายของการ ภาพท่ี 36 นิทรรศการงาชา งกลายเปน หิน แตก ทีเ่ รียกวา แตกลายงา จดุ ท่ี 28 โครงกระดกู ชา งสง่ี ากอมโฟธเี รยี ม การสอ่ื ความหมายของมัคคุเทศกควรอยใู นขอบเขตเน้ือหานทิ รรศการ ดังนี้ ก า ร จั ด แ ส ด ง เ พ่ื อ ใ ห เ ห็ น ลั ก ษ ณ ะ โ ค ร ง กระดูกของกอมโฟธีเรียม และเปรียบเทียบกับ ชิ้นสวนของชางดึกดําบรรพ อาทิเชน กระดูกขา หนา ซ่ีโครง กระดูกสันหลัง กระดูกขาหลัง หาง เปนตน ภาพท่ี 37 นิทรรศการโครงกระดกู ชา งสี่งา กอมโฟธเี รียม จดุ ท่ี 29 นิทรรศการแมมมธู สั โตรกอนธริ ิอิ (Mammuthus trogontherii) อ.จรญู ใหข อมูล การสอ่ื ความหมายของมัคคเุ ทศกควรอยูในขอบเขตเน้ือหานิทรรศการ ดงั นี้ แมมมอธแหงทุงหญาสเตปป แมมมูธัส โตรกอนธิริอิ จัดอยูในวงศเอลิฟานติเด (Elephantidae) หรอื วงศเดยี วกับชางปจจุบัน กอ นหนา นี้มกี ารจัดจาํ แนกชนิดเปน แมมมธู ัส ซงุ การิ แตจ ากการศึกษาใหมจากหลกั ฐานทพี่ บมากขึ้น ทาํ ใหช ่ือซุงการิเดมิ ถกู จาํ แนกออกเปน 2 ชนิดชนิด คือ แมมมูธัส โตรกอนธีริอิ และแมมมอธขนยาว อยาง แมมมูธัส ไพรมิจีเนียส (Mammuthus primigenius) ชา งแมมมอธสเตปปเ ปนชา งแมมมอธที่มขี นส้นั อาศัยอยูในพื้นทที่ ุงหญาสเตปป หรือ

22 พ้ืนท่ีก่ึงแหงแลง บริเวณละติจูดกลาง หรือชวง 35-50 องศาเหนือ โดยหนารอนจะมอี ุณหภมู สิ ูงถึง 40-45 องศาเซลเซยี ส ในขณะท่หี นา หนาว ติดลบ กวา 40-55 องศาเซลเซยี ส ชางแมมมอธสเตปปตัวนี้ มีความสูง ประมาณ 4.8 เมตร ลําตัวยาวประมาณ 9 เมตร มีการกระจายตัวอยางกวางขวางทางตอนเหนือ ของประเทศจีน ในชวงประมาณ 1.5 – 1.2 ลา นป กอน จนถึงชวงปลายของสมัยไพลสโตซีน หรือ ภาพท่ี 38 นทิ รรศการแมมมธสั โตรกอนธริ ิอิ ประมาณ 3.3 หม่ืนปกอน ก็ไดอพยพข้ึนเหนือไปยัง ไซบีเรีย ในชวงประมาณ 8 แสนปกอน และ วิวฒั นาการไปเปน แมมมอธขนยาว แหลง ท่พี บมณฑลเฮยหลงเจยี ง ตอนเหนือของประเทศจีน จุดที่ 30 นิทรรศการไดโนเสาร การสอื่ ความหมายของมัคคเุ ทศกควรอยใู นขอบเขตเน้ือหานิทรรศการ ดงั น้ี ไดโนเสาร หรือ Dinosaur มีรากศัพทมาจากภาษากรีก 2 คํา คือ Deinos แปลวา นา สะพรึงกลัว กับ Saurus หมายถงึ สตั วเลอ้ื ยคลาน ดงั น้ัน ไดโนเสาร จึงหมายถงึ สตั วเลอื้ ยคลาน ทีน่ าสะพรงึ กลวั การจําแนกไดโนเสาร บงออกเปน 2 กลุม ตามความแตกตางของกระดกู สะโพก คอื กลุมซอริสเชียน Saurischians พวกซอริสเชียนเปนกลุมไดโนเสารที่มี กระดูกสะโพกแบบสัตวเล้ือยคลาน แบงออกเปน 2 กลมุ ไดแก เทอโรพอด คือ กลุมไดโนเสารกิน เนอื้ เดิน 2 ขา ซอโรพอด คือ กลุมไดโนเสารกิน พชื เดนิ 4 ขา มขี นาดใหญ ภาพท่ี 39 นทิ รรศการไดโนเสาร ออรน ธิ ิสเชียน Ornithischians พวกออรนิธิสเซียนเปนกลุมไดโนเสารที่มีกระดูกแบบนก เปนไดโนเสารพวกกินพืชท้ังหมด โดยแบงออกอกี เปน 5 กลมุ กลุม ไดโนเสารท่ีมีสะโพกแบบนก กลมุ สเตโกซอร ไดโนเสารม คี รีบเดนิ ส่ีเทา กลุมออรนโิ ธพอด ไดโนเสารปากเปด เดนิ ส่เี ทา กลมุ เซอราทอปเซยี น ไดโนเสารม เี ขา เดินส่ีเทา

23 กลุมแองกโิ ลซอร ไดโนเสารห ุมเกาะ เดนิ สี่เทา กลมุ พาคีเซปฟาโลซอร ไดโนเสารห ัวแข็ง เดินสองเทา จุดที่ 31 นทิ รรศการโลกของไดโนเสาร การสื่อความหมายของมัคคเุ ทศกควรอยูในขอบเขตเน้ือหานิทรรศการ ดงั นี้ โลกของไดโนเสาร ไดโนเสารแ บง ออกเปน 3 ยุค ไดแก ยคุ ไทรแอสซิก 250-205 ลานปกอ น โลกมอี ากาศรอ นอบอาว แผนดินสวนใหญเ ปนทะเลทราย และเช่ือมตอกันเปนมหาทวีปใหญ เรียกวา “แพนเจีย”ลอมรอบดวยมหาสมุทรเดียว เรียกวาแพนทารัสซา ตอมาพันเจียเริ่มแยกออก เกิดทะเลเทธสิ ข้ึนระหวา งสวนเหนือและสวนใต ไดโนเสารพวกแรก กําเกิดข้ึนบนโลกเม่ือประมาณ ๒๓๐ ลานปกอน ไลเล่ียกับพวกจระเข เตา กงิ้ กา เทอรโรซอร( สัตวเลื้อยคลานบนิ ) และสตั วเ ลี้ยงลูกดวยนมรนุ แรกๆ สวนพืชไดแ ก พวกเฟรน ปรง แปะกวย สนหางมา สน ยคุ จูแรสซิก 205-142 ลานปกอน พันเจียแยกตัวออกจากกันหลายสวน เกิด เปนทวีปตางๆความชื้นจากทะเล ทําใหเกิดฝนใน ทะเลทรายกลางแผนทวีป ในทะเลเต็มไปดวย สัตวเล้ือยคลานทะเล เชน อิกธิโอซอร และแพลสซิ โอซอร เม่ือทวีปแยกออกจากกัน เวนแตแผนดิน ของทวีปอเมริกาใตและทวีปแอฟริกา ท่ียังเช่ือมกัน อยู กลุมไดโนเสารในแตละทวีป ก็มีวิวัฒนาการ ภาพที่ 40 นทิ รรศการโลกของไดโนเสาร ตางกันไป โดยอาศัยอยูบนแผนดินรวมกับนกพวกแรก และสัตวเลี้ยงลูกดวยนม รวมท้ังจระเขและ เทอรโรซอร(สตั วเลอื้ ยคลานบิน) ยคุ ครีเทเชียส 142-65 ลา นปก อ น โลกเร่ิมมีสภาพคลายยุคปจจุบัน พืชดอกเร่ิมเขามาแทนท่ีพรรณพืชดั้งเดิม ปลาปจจุบันเริ่ม ขยายพันธุมากข้ึน เชนเดียวกับพวกกบ งู และสัตวเล้ียงลูกดวยนม ที่ดูคลายกับยุคปจจุบัน สวนไดโน เสารืกระจายพนั ธแุ ละมหี ลากหลายชนิดย่งิ กวา ยคุ อืน่ ๆ

24 จดุ ท่ี 32 นิทรรศการจดุ จบของไดโนเสารแ ละทายาทไดโนเสาร การสือ่ ความหมายของมัคคเุ ทศกควรอยูใ นขอบเขตเนื้อหานิทรรศการ ดงั น้ี ชวงปลายของมหายุคมีโซโซอิก คือ ยุคครีเทเชียส เปนชวงที่ไดโนเสารยังคงครอบครองโลก อกี ทั้งทีวิวัฒนาการหลากหลายชนิดกวายุคกอนๆ แตแลวในชวงปลายสุดของยุคหรือราว 65 ลานปที่ แลว พวกมันก็ไดส ญู พนั ธุไ ปส้ิน ปจ จบุ ันยังไมม ีคําตอบชัดเจนในเรื่องการสูญพันธขุ องไดโนเสาร แตม ีทฤษฎที ี่เปน ท่ีเชื่อถอื กัน มามากอยู 2 ทฤษฎี คือ ทฤษฎีท่ี 1 อุกกาบาตพุงชนโลก ในตอน สิ้นสุดยุค มีอุกกาบาตขนาดเสนผานศูนยกลาง ประมาณ 10 กิโลเมตร พุงชนโลกบริเวณอาว เม็กซิโก ทําใหเกิดการระเบิดเปนหลุมกวางถึง 180 กิโลเมตร แรงระเบิดทําใหเกิดเมฆหนาปกคลุมปด กนั้ แสงอาทิตยไปทั่วโลก ความมืดมิดและหนาวเย็น เขามาปกคลุมหลายเดือน พืชและสัตวสวนใหญสูญ พนั ธุ และไดโนเสารส ูญพันธุท ้งั หมด ภาพท่ี 41 นทิ รรศการจุดจบของไดโนเสารแ ละ ทฤษฎีที่ 2 ภูเขาไฟระเบิดคร้ังใหญ ใน ทายาทไดโนเสาร ตอนใกลส้ินสุดยุคเกิดการระเบิดภูเขาไฟคร้ังใหญ และตอเนื่องหลายพันปในบริเวณท่ีราบสูงเดคขาน ประเทศอินเดีย มีลาวาสะสมหนาหลายกิโลเมตร ฝนุ และเถาถานภูเขาไฟรวมท้ังกาซคารบอนไดออกไซดจ ํานวนมหาศาลท่ีพนออกมา ทําใหอากาศรอน จดั เกิดฝนกรด ดิน นํ้าและอากาศเปน พิษ พชื และสตั วลม ตายครัง้ ใหญไดโนเสารส ูญพันธุท ง้ั หมด ทายาทไดโนเสาร นกั โบราณชีววิทยาปจจุบันสวนใหญเชื่อวา “นก” มีวิวัฒนาการมาจากไดโนเสารพ วกกนิ เน้ือ ขนาดเล็ก ท่ีเชื่อเชนน้ี เพราะความคลายคลึงกันของโครงกระดูกนกและไดโนเสาร นอกจากนั้นขา และเทาของนกขนาดใหญ มีเกลด็ และนิ้วเทา ลักษณะเชน เดยี วกับฟอสซลิ ของรอยเทาไดโนเสาร หลกั ฐานลาสุดทีส่ นับสนุนความเชื่อเชนนค้ี อื เมอื่ พ.ศ.2541 นกั โบราณชวี วิทยาไดค น พบซาก ดึกดําบรรพของไดโนเสารไกงวง “คอดพิ เทอรริกซ” หรือท่ีเรียกวาไดโนเบิรดท่ีดเู หมอื นเปนท้ังนกและ ไดโนเสารคือมีขนปกคลุมลําตัว และมีขนท่ีหางเปนรูปพัดมีปกแตขนาดเล็กเกินกวาจะบินได มีหัว มี สะโพก และขาเหมอื นไดโนเสารพวกกินเน้อื มฟี นและอุง ตนี หนา หากความเชอ่ื นเ้ี ปนจรงิ นกทเี่ ราเห็นอยูน ั้น ก็คอื ไดโนเสารใ นโลกปจจุบนั น่นั เอง

25 จุดที่ 33 นิทรรศการสยามแรปเตอร สวุ ัจนต ิ (Siamraptor suwati) อ.มดใหขอ มูล การสอื่ ความหมายของมคั คเุ ทศกควรอยใู นขอบเขตเนื้อหานทิ รรศการ ดังน้ี สยามแรปเตอร เปนไดโนเสารเทอโรพอดอยูในกลุมคารคาโรดอนโตซอเรีย (ไดโนเสารฟน ฉลาม) จัดเปนคารคาโรดอตอซอรตัวแรก ท่ีมีความเกาแกและมีขนาดใหญที่สุดในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียง การต้ังชื่อ ช่ือสกุล “Siam” ต้ังตามชื่อเดิมของประเทศไทย (สยาม) อันหมาย รวมถึง “Siamraptor นักลาแหงสยาม” ชื่อชนิด “suwat” ตั้งเพ่ือเปนเกียรติแก นายสุวัจน ลิปตพัลลภ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ท่ีสงเสริม สนบั สนนุ การดาํ เนินงานอนรุ กั ษและวจิ ัยฟอสซลิ ของสถาบนั วจิ ัยไมกลายเปน หนิ ฯ มาถงึ 25 ป ฟอสซลิ ท่ีพบ ไดแก กะโหลก กระดูกคอ กระดูกสะโพก กระดูกสันหลังสว นตน และสว น หาง กระดูกขาหลัง กระดูกน้วิ ตนี และกรงเล็บ อายปุ ระมาณ 120-113 ลา นป ยคุ ครีเทเชยี สตอน ตน แหลง ทพ่ี บ บา นสะพานหนิ ตาํ บลสุรนารี อาํ เภอเมืองนคราชสมี า จงั หวดั นครราชสีมา ภาพที่ 42 นิทรรศการสยามแรปเตอร สุวัจนต ิ จดุ ท่ี 34 นิทรรศการหนุ จําลองไดโนเสาร การสือ่ ความหมายของมคั คุเทศกควรอยใู นขอบเขตเนื้อหานทิ รรศการ ดงั นี้ รูปจําลองเหมือนจริงเคลื่อนไหวไดของ ไดโนเสารเดนของโคราช ไดโนเสารกินเนื้อ อัลโลซอร เปนไดโนเสารเทอโรพอดขนาดใหญ เดิน ไดโ ด ยใช 2 เทา หลัง กร ะดูก ส ะโ พ กแบ บ สตั วเลื้อยคลาน มีนิ้วที่ขาหนา 3 นิ้ว และไดโนเสาร กินพืชแมลูกอิกวั โนดอน ภาพท่ี 43 นิทรรศการหุนจําลอง

26 จดุ ท่ี 35 นทิ รรศการไดโนเสารสไปโนซอรสั อ.มดใหขอ มูล การสอ่ื ความหมายของมคั คุเทศกควรอยูในขอบเขตเนื้อหานทิ รรศการ ดงั นี้ สไปโนซอรัส เปนไดโนเสารเทอโรพอด จัดอยูในวงศสไปโนซอริด พบครั้งแรกในทวีป แอฟริกาเหนือ โดยชนิดท่ีเปนท่ีรูจักกันดีทั่วโลก คือ สไปโนซอรัส เอยิปติเอคัส (Spinosaurus aegyptiacus) อาศยั อยูในยุคครีเทเชยี สตอนปลาย อายปุ ระมาณ 99-93.5 ลานปก อ น กะโหลกสไปโนซอรัสจะมีลักษณะท่ียาว และแคบ มีความคลายกะโหลกพวกจระเข ฟนสไปโนซอรัสจะยาวเปนกรวย ฐานกวางปลาย แคบ มีสันสลับรอง ลักษณะเดนคือการมีกระโดง หลังสวนกระโดงหลังลักษณะมีกลามเน้ือยึดติด คลายครีบปลาชวยในการวายน้ําได โครงสรางของ หางคลายใบพาย โมเดลลาสุดพบวาสไปโนซอรัส อาศัยอยูในนํ้า สไปโนซอรัสจัดวาเปนเทอโรพอดที่ ใหญทีส่ ดุ ในโลก ขนาดใหญท สี่ ดุ ท่พี บมคี วามยาวถึง 18 เมตร ภาพท่ี 44 นทิ รรศการสไปโนซอรสั จดุ ที่ 36 นิทรรศการไดโนเสารสริ ินธรนา โคราชเอนซสิ (Sirindhorna khoratensis) การสอ่ื ความหมายของมัคคเุ ทศกควรอยูใ นขอบเขตเนื้อหานิทรรศการ ดังน้ี สิรินธรนา โคราชเอนซิส เปนไดโนเสารออรนิโทพอด จัดเปนวงศหน่ึงของไดโนเสาร แฮดโดรซอร อยใู นกลมุ อกิ ัวโนดอน กระดูกสะโพก แบบนก กินพืชเปนอาหาร ฟอสซิลที่พบ ไดแก กะโหลก กระดกู แกน และกระดูกรยางค ที่มาของ ชอื่ ตั้งช่ือสกุล “สิรินธร” เพื่อเปนเกียรติแดส มเด็จ พระเทพรัตนราฃสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ผูทรง สนพระทัยสงเสริมสนับสนุนการศึกษาวิจัยและ อนุรักษซากดึกดําบรรพ ต้ังชื่อชนิด “โคราชเอน ซิส” เพ่ือเปนอนุสรณของแหลงท่ีพบคือจังหวัด นครราชสีมาหรือโคราช ฟอสซิลท่ีพบถือวามีความ ภาพท่ี 45 นิทรรศการสริ ินธรนา โคราชเอนซสิ สมบูรณมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ลําตัว ยาวประมาณ 6 เมตร อาศยั อยูในยุคครีเทเชยี สตอนตน ประมาณ 120 - 113 ลานปก อน

27 จุดท่ี 37 นทิ รรศการไดโนเสารราชสมี าซอรัส สุรนารีเอ (Ratchasimasaurus Suranareae) การสอื่ ความหมายของมัคคเุ ทศกควรอยใู นขอบเขตเน้ือหานิทรรศการ ดังนี้ ราชสีมาซอรัส สุรนารีเอ เปนไดโนเสาร อิกัวโนดอนตตัวแรกของประเทศไทย ที่คนพบใน จังหวัดนครราชสีมา ลําตัวมีความยาวประมาณ 4 เมตร ท่ีมาของชื่อต้ังชื่อสกุล “Ratchasima” เพ่ือเปนอนุสรณแกแหลงที่พบ คือ จังหวัดนคราช สีมา ต้ังช่ือชนิด “suranaree” เพื่อถวายเปน เกียรติแดทาวสุรนารี วีรสตรีผูกอบกูเมือง นครราชสีมา ฟอสซิลท่ีพบ ขากรรไกรลางซาย ภาพที่ 46 นทิ รรศการราชสมี าซอรัส สรุ นารเี อ อายปุ ระมาณ 110 ลา นปกอน ยุคครีเทเชียสตอนตน อยูใ นหมวดหินโคกกรวด แหลงท่ีพบบา นโปง แมลงวัน ตาํ บลโคกกรวด อาํ เภอเมืองนครราชสีมา จงั หวดั นครราชสีมา จดุ ที่ 38 นทิ รรศการโคราโตซูคัส จนิ ตสกลุ ไล (Khoratosuchus Jintasakulai) การส่ือความหมายของมคั คุเทศกควรอยใู นขอบเขตเนื้อหานิทรรศการ ดังนี้ โคราโตซูคัส จินตสกุลไล เปนจระเขบกที่มีปาก ยาวปานกลาง ขากรรไกรบนเพรียว และมีขนาด ลาํ ตวั ยาวประมาณ 2.1 - 2.4 เมตร คาดวานาจะกิน ปลาหรือสัตวน ํ้าขนาดเล็กเปนอาหาร ช้ินสวนที่พบ เปนกะโหลก อาศัยอยูในยุคครีเทเชียสตอนตน ประมาณ 120-113 ลานปกอน หมวดหินโคกกรวด ท่ีมาของช่ือ “โคราโตซูคัส” ช่ือสกุล ต้ังเพ่ือเปน อนุสรณแกแหลงที่พบคือนครราชสีมาหรือโคราช “จินตสกุลไล” ชื่อชนิด ตั้งเพื่อเปนเกียรติแก ผศ. ดร.ประเทือง จินตสกุล ผูคนพบตัวอยางตนแบบ ภาพท่ี 47 นิทรรศการราชสมี าซอรัส สุรนารเี อ และใหความอนุเคราะหตัวอยางมาทําการวิจัย แหลง ทพ่ี บบา นสะพานหนิ ตําบลสรุ นารี อาํ เภอเมอื งนครราชสีมา จังหวัดนครราชสมี า จดุ ที่ 39 นิทรรศการคิซิลคูมีมิส โคราชเอนซิส (Kizylkumemys khoratensis) การส่ือความหมายของมัคคเุ ทศกควรอยใู นขอบเขตเนื้อหานทิ รรศการ ดงั น้ี ซิลคูมีมิส โคราชเอนซิส เปนเตาจมูกหมูขนาดกลาง อาศัยอยูในแหลงน้ําจืด และมีขนาด กระดองหลังยาวประมาณ 35 เซนติเมตร ท่ีมาของช่ือเปนอนุสรณแกแหลงที่พบคือ โคราชหรือ นครราชสีมา ช้ินสวนที่พบ คือ กระดองหลัง อายุยุคครีเทเชียสตอนตน ประมาณ 110 ลานปกอน

28 หมวดหินโคกกรวด แหลงที่พบคือ บานสะพานหิน ตําบลสุรนารี อําเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัด นครราชสีมา เตาชนิดนี้มีความใกลเคียงกับเตาท่ีอยู ในยุคครีเทเชียสตอนตนของลาวและเอเชียกลาง ซ่ึง เปนกลุมที่พบเฉพาะในเอเชียชวงมหายุคมีโซโซอิก ตอมาไดแพรกระจายไปยังอเมริกาเหนือ ยุโรปและ ออสเตรเลยี ในชว งมหายุคซีโนโซอิก ภาพท่ี 48 นิทรรศการคซิ ลิ คูมีมสิ โคราชเอนซิส จุดท่ี 40 นิทรรศการโครงกระดูกไดโนเสาร การส่ือความหมายของมัคคเุ ทศกควรอยูในขอบเขตเน้ือหานิทรรศการ ดงั น้ี โครงกระดูกไดโนเสารที่เห็นตัวบนสุด คือ อัลโลซอร เปนไดโนเสารกินเนื้อ โครงกระดูก สมบูรณ หัวกะโหลกเล็ก เพราะอายุนอย คนพบ ทที่ วีปอเมรกิ าเหนือ ไดโนเสารปากนกแกว หรือ ซิตตะโกซอรัส มีขนาด 1-1.5 เมตร คนพบมณฑลเหลียวหนิง ประเทศจนี ประเทศไทยคน พบทจี่ ังหวดั ชยั ภมู ิ หัวกะโหลกอันใหญเปนของอัลโลซอรฟาจิ ลิส กินเนอื้ เปน อาหาร พบในทวีปอเมรกิ าเหนือ ฟอสซิลกรามลางของอัลโลซอรที่พบใน ตําบลสุรนารี มีขนาดใหญกวากรามของอัลโลซอร ฟาจลิ ิสและฟนก็ใหญก วา เมื่อเทียบกนั แลว ถา พบ หัวกะโหลกท้งั หมด จะมขี นาดใหญเ กอื บ 1 เมตร ภาพท่ี 49 นิทรรศการโครงกระดกไดโนเสาร จุดท่ี 41 นทิ รรศการฟอสซลิ ทีพ่ บจากหมวดหนิ โคกกรวด จงั หวดั นครราชสีมา การสือ่ ความหมายของมัคคุเทศกควรอยูในขอบเขตเนื้อหานิทรรศการ ดงั นี้ ฟอสซิลกะโหลกจระเข โคราโตซูคัส จินตสกุล อาศัยอยูในยุคครีเทเชียสตอนตน ประมาณ 120-113 ลานปกอน หมวดหินโคกกรวด แหลงท่ีพบบานสะพานหิน ตําบลสุรนารี อําเภอเมือง นครราชสีมา จงั หวดั นครราชสมี า ฟอสซิลขากรรไกรลางซายของไดโนเสารราชสีมาซอรัส สุรนารีเอ เปนไดโนเสาร อกิ วั โนดอนตตวั แรกของประเทศ อายปุ ระมาณ 110 ลา นปก อน ยคุ ครีเทเชยี สตอนตน อยใู นหมวด หินโคกกรวด แหลงท่ีพบบานโปงแมลงวัน ตําบลโคกกรวด อําเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัด นครราชสมี า

29 ฟอสซิลฟนของอัลโลซอร กระดูกโคนขากรรไกรขา งซาย กระดกู โคนขากรรไกรขา งขวา ฟอสซลิ ฟน ไดโนเสารกินพชื อิกวั โนดอนต ฟนสตั วเลอ้ื ยคลานบิน เทอโรซอร ขากรรไกร แฮดโดรซอร และฟน ไดโนเสารก ินเน้ืออลั โลซอร ฟอสซลิ เกลด็ ปลาเลปโดเทส เปนปลาโบราณเกล็ดแข็ง นอกจากน้ันยังมกี ารขุดพบ ฟนจระเข และฟน ฉลามนําจืดไฮโบดอน ไทยโอคัส รุจอิ ิ ภาพท่ี 50 นิทรรศการฟอสซลิ ที่พบจากหมวดหนิ โคกกรวดจงั หวัดนครราชสมี า

30 จดุ ท่ี 42 นิทรรศการเทอรโรซอร (Pterosaur) อ.มดใหข อมูล การสือ่ ความหมายของมคั คุเทศกควรอยใู นขอบเขตเนื้อหานิทรรศการ ดงั น้ี เทอโรซอร (Pterosaur) เปนสัตวเล้ือยคลานบินได (flying reptile) กลุม หนึ่ง อาศัยรวมยุคกับไดโนเสาร เทอโรซอรมี ลักษณะพิเศษคือลักษณะของปกนั้นถูกสรางมาจาก เน้ือเยื่อผิวหนังและเนื้อเยื่อท่ีใชกางปกออกจากขอ ตอกับนิ้วที่สี่ เทอรโรซอรไมมีความเก่ียวของกับนก เพราะไมไดมีบรรพบุรุษรวมกัน อาศัยอยูรวมยุคกับ ไดโนเสาร อายปุ ระมาณ 228-66 ลา นป ภาพท่ี 51 นทิ รรศการเทอรโรซอร จดุ ที่ 43 นิทรรศการไขไ ดโนเสาร (Dinosaur eggs) อ.มดใหขอมลู การสอื่ ความหมายของมคั คุเทศกควรอยใู นขอบเขตเน้ือหานิทรรศการ ดังนี้ ฟอสซิลไขไดโนเสาร ถูกคน พบคร้ังแรกโดยการคนพบวาดานในมตี ัวออ นของไดโนเสารพัฒนา อยู ไดโนเสารจัดเปนสตั วเ ลอื้ ยคลานประเภทหนึ่งท่ีออกลูกเปนไข และมีพฤติกรรมการสรา งรังไข โดย ท้ังไดโนเสารกินพืช และไดโนเสารกินเนอ้ื จะสรางรัง เหมือนกัน แตไขมีรูปรางตางกัน ดังเชน ฟอสซิลท่ี จัดแสดงในพพิ ธิ ภณั ฑ รังไขของไดโนเสารสเตโกซอร จะมีลักษณะ เปนวงกลม มน อาจวางไขไดหลายช้ัน (จากภาพ วางไขช้ันเดียว) อายุประมาณ 70-65 ลานปกอน ตัวอยางจัดแสดงจากประเทศจนี รังไขของโอวิแรปเตอร จะมีลักษณะเปน วงรียาว บนกวา ง ทา ยเรียวลง อายุประมาณ 70-65 ลา นปกอ น ตวั อยางจดั แสดงจากประเทศจีน ภาพท่ี 52 นิทรรศการไขไดโนเสาร

31 จดุ ที่ 44 กะโหลกสไปโนซอรสั (Spinosaurus skull) อ.มดใหขอมูล การส่ือความหมายของมัคคุเทศกควรอยูในขอบเขตเน้ือหานิทรรศการ ดงั น้ี สไปโนซอรสั เปนไดโนเสารเ ทอโรพอด จดั อยใู นวงศส ไปโนซอรดิ พบคร้ังแรกในทวีปแอฟรกิ า เหนือ โดยชนิดที่เปนท่ีรูจักกันดีท่ัวโลก คือ สไปโนซอรัส เอยิปติเอคัส (Spinosaurus aegyptiacus) อาศยั อยใู นยคุ ครีเทเชียสตอนปลาย อายปุ ระมาณ 99-93.5 ลานป กะโหลกสไปโนซอรัสจะมีลักษณะท่ียาว และแคบ มีความคลายกะโหลกพวกจระเข ฟนสไป โนซอรัสจะยาวเปนกรวย ฐานกวางปลายแคบ มีสัน สลับรอง ลักษณะเดนคือการมีกระโดงหลังสวน กระโดงหลังลักษณะมีกลามเนื้อยึดติดคลายครีบ ปลาชวยในการวายนํ้าได โครงสรางของหางคลาย ใบพาย โมเดลลาสุดพบวาสไปโนซอรัสอาศัยอยูใน นํ้า สไปโนซอรัสจัดวาเปนเทอโรพอดที่ใหญท่ีสุดใน โลก ขนาดใหญท ส่ี ุดท่พี บมคี วามยาวถึง 18 เมตร ภาพท่ี 53 นิทรรศการกะโหลกสไปโนซอรัส จุดท่ี 45 กะโหลกคารค าโรดอนโตซอร (Carcharodontosaur skull) อ.มดใหข อมูล การส่อื ความหมายของมัคคุเทศกควรอยใู นขอบเขตเน้ือหานิทรรศการ ดงั น้ี คารคาโรดอนโตซอรัสเปน ไดโนเสารก นิ เน้ือ (theropod dinosaur) ขนาดใหญทีส่ ุดชนดิ หนึ่ง เมอ่ื เทยี บกับไดโนเสารกินเน้ือชนดิ อื่น ๆ ซ่ึงคาดวามีชวี ิตอยูในยุคครีเทเชียส ประมาณ 112-93 ลานป กอน กระจายตัวอยูท่ัวภูมิภาคของโลกท้ังในทวีปเอเชีย อเมริกา และยุโรป คนพบคร้ังแรกที่ประเทศ แอลจีเรีย ลกั ษณะของกะโหลกคารคาโรดอนโตซอรัส พบวามีขากรรไกรท่ีใหญแข็งแรงและยาว กระดูก และฟนมีลักษณะคลายกับฟนฉลาม (shark tooth) มีความคมและมีสันดานขางฟนเรียงกันเปนแถว (serrated teeth) เพื่อเฉือนเนื้อเชนเดียวกับฉลาม ฟนเปนซ่ี มีขอบสันฟน และฟนเปนซ่ียาวไดถึง 8 น้ิว กะโหลกมีความยาวประมาณ 1.5-1.6 เมตร ปจจุบันพบวากะโหลกท่ีใหญที่สุดของไดโนเสาร กลุมฟนฉลามนนั้ คือ ไจแกนโนโตซอรสั คารค าโร ดอนโตซอรัส มลี ําตัวยาวประมาณ 12-13.4 เมตร ภาพท่ี 54 นิทรรศการกะโหลกคารคาโรดอนโตซอร

32 จุดที่ 46 อลั โลซอร (Allosaur) อ.มดใหขอมูล การสอื่ ความหมายของมคั คุเทศกควรอยใู นขอบเขตเน้ือหานทิ รรศการ ดงั น้ี อัลโลซอรัส (Allosaurus) เปนไดโนเสาร เทอโรพอดขนาดใหญ เดินไดโดยใช 2 เทาหลัง กระดูกสะโพกแบบสตั วเล้ือยคลาน มีน้ิวทข่ี าหนา 3 น้ิว กะโหลกอัลโลซอรัส จะมีลักษณะเบา มี โพรงในกะโหลก แตมีความแข็งแรง ฟนแบนและมี สันขอบฟนมีรอยหยักเล็ก ๆ (serrated teeth) ลําตัวมีความยาวประมาณ 10-12 เมตร สายพันธุท่ี เปนที่รูจักกันดี คือ Allosaurus fragilis อาศัยอยู ในยุคจูแรสสิคตอนปลาย อายุประมาณ 155-145 ภาพที่ 55 นิทรรศการอลั โลซอร ลา นป จดุ ท่ี 47 ชติ ตะโกซอรัส (Psittacosaurus) อ.มดใหข อมลู การส่ือความหมายของมคั คเุ ทศกควรอยใู นขอบเขตเน้ือหานทิ รรศการ ดังน้ี ชิตตะโกซอรัส (Psittacosaurus) ไดโนเสารปากนกแกว จัดเปนไดโนเสารกินพืชที่มีกระดูก สะโพกแบบนก ลําตัวขนาดเล็ก ยาวประมาณ 1-2 เมตร มีชีวิตอยูในยุคครีเทเชียสตอนตน พบไดใน ทวีปเอเชีย และทวปี ยุโรป ชิตตะโกซอรัส มีลักษณะกะโหลกแคบ กระดูกแกมมีลักษณะคลายเขา ตาและรูจมูกอยูคอน ขางสูง จะงอยปากมีลักษณะงองุมคลายปากของนกแกว จึงทําใหมันไดช่ือวา \"ไดโนเสารนกแกว\" หนา ตาของมนั ไมคอยดุรา ยเหมือนไดโนเสารตัวอน่ื ๆ ในตระกลู เดียวกนั ชติ ตะโกซอรสั เปนหนงึ่ ในตระกลู เซราทอปเซียนส (Ceratopsians) แตสายพนั ธใกลเ คยี งกับ ไทรเซราทอปส (Triceratops) มากกวา ในประเทศไทยมีการคนพบไดโนเสาร ปากนกแกวชนิดใหม ท่ีหมวดหินโคกกรวด อําเภอ คอนสวรรค จังหวัดชัยภูมิ ซึ่งเปนการคนพบซาก ฟอสซิลไดโนเสารปากนกแกวครั้งแรกของเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต ชิ้นสวนที่พบคือชิ้นสวนกระดูก ขากรรไกรบน-ลาง จึงไดมกี ารตั้งช่ือใหกบั ไดโนเสาร ปากนกแกว ชนิดใหมนวี้ า \"ซติ ตะโกซอรัส สัตยารกั ษ กี\" เพื่อเปนเกียรติแดนายนเรศ สัตยารักษ ซ่ึงเปนผู ภาพท่ี 56 นิทรรศการชิตตะโกซอรัส คนพบฟอสซิล

33 ซิตตะโกซอรสั สตั ยารักษกี จัดอยใู นยุคครีเทเซียสตอนตน อายปุ ระมาณ 100 ลานปก อน นับเปน ไดโนเสารป ากนกแกว ชนิดใหมข องโลกและเปน การคน พบไดโนเสารปากนกแกว คร้งั แรกของ เอเซียตะวันออกเฉยี งใต จุดที่ 48 กะโหลกไทแรนโนซอรสั (Tyrannosaurus skull) อ.มดใหข อมูล การสือ่ ความหมายของมัคคเุ ทศกควรอยูในขอบเขตเนื้อหานิทรรศการ ดงั นี้ ไทแรนโนซอรัส (Tyrannosaurus) เปนไดโนเสารเ ทอโรพอดที่อยูใ นวงศไทแรนโนซอรดิ โดย ชนดิ ทีร่ ูจ ักกนั ดที ว่ั โลก คอื ไทแรนโนซอรสั เรก็ ซ หรือ ทีเร็กซ ซ่ึงคนพบในภูมิภาคอเมรกิ าเหนือ อาศัย อยใู นยุคครีเทเชยี สตอนปลาย อายปุ ระมาณ 68-65 ลา นป กะโหลกไทรันโนซอรัส (Tyrannosaurus skull) จะมีขนาดใหญ หนา และแข็งแรงมาก มีขา หนาที่เล็ก ขาหนามีกรงเล็บ 2 กรงเล็บ แตขาหลัง ทรงพลังมาก ลักษณะฟนเปนแบบเทอโรพอดทั่วไป แตจะมีความกลม มนและหนากวาเทอโรพอดในก ลุมคารคาโรดอนโตซอร แตขอบฟนมีรอยหยักเพ่ือ เอาไวใชกระชากเหย่ือเหมือนกัน ลําตัวมีขนาด ภาพที่ 57 นิทรรศการกะโหลกไทแรนโนซอรสั ประมาณ 12 เมตร จุดที่ 49 โครงกระดูกจาํ ลองสยามโมซอรัส สธุ ีธรนี (Siamosaurus suteethorni) อ.มดให ขอ มูล การส่ือความหมายของมัคคเุ ทศกควรอยใู นขอบเขตเน้ือหานิทรรศการ ดงั นี้ สยามโมซอรัส สุธีธรนี (Siamosaurus suteethorni) เปนไดโนเสารชนิดแรกของ เมืองไทยที่คน พบในป พ.ศ. 2529 โดย ดร.อริ ิก บุพโต และ รุจา อิงคะวัติ สยามโมซอรัสนี้จัดเปนเทอ โรพอดขนาดใหญอยูในวงศสไปโนซอริด ลําตัวยาว ประมาณ 7 เมตร มีกระโดงหลัง ฟนมีลักษณะเปน ทรงกรวยปลายแหลม คลายฟนจระเข ตัวฟนมีสัน เล็ก ๆ ยาวตลอด มีแนวรองและสันเรียงสลับกัน สนั นิษฐานวากินปลาเปนอาหาร ชื่อสกุล “สยามโม ซอรัส” มาจากชื่อสยามซึ่งเปนชื่อเดิมของไทยมี ความหมายคือสัตวเล้ือยคลานจากสยาม และช่ือ ชนิด “สุธีธรนี” ตั้งใหเพื่อเปนเกียรติแก ดร.วราวุธ สุธีธร (ผูมีสวนสําคัญในการคนพบซากดึกดําบรรพ สัตวมีกระดกู สันหลังในประเทศไทย) สยามโมซอรัส ภาพท่ี 58 นทิ รรศการโครงกระดกู จาํ ลอง สยามโมซอรสั สธุ ธี รนี

34 มีชีวิตอยูในชวงครีเทเซียสตอนตน หมวดหินเสาขัว อายุประมาณ 130 ลานป สถานที่คนพบ จังหวัด ขอนแกน กาฬสนิ ธุ จดุ ท่ี 50 ไดโนเสารทโ่ี ดดเดนของประเทศไทย (นิทรรศการทตี่ ิดรอบผนัง) การส่ือความหมายของมัคคุเทศกควรอยูใ นขอบเขตเนื้อหานิทรรศการ ดงั นี้ โปรซอโรพอด กระดูกสะโพกแบบสัตวเล้อื ยคลาน กินพืชเปน อาหาร พบที่ปาสงวนแหงชาติภู ขวาง ติดกับอุทยานแหงชาติภูกระดึง จ.เลย พบในช้ันหินหมวดหินน้ําพอง อายุประมาณ 210 ลานป กอ น อิสานโนซอรัส อรรถวิภัชนชิ เปน ไดโนเสารกินพืช (sauropod) ท่ีเกาแกที่สุดในประเทศไทย เทา ท่ีเคยมีหลักฐานมากอน พบในชนั้ หนิ หมวดหนิ นํ้าพอง อายปุ ระมาณ 210 ลา นปก อน ซติ ตะโกซอรัส สัตยารักษก ี เปนไดโนเสารก ินพืช พบในชน้ั หนิ หมวดโคกกรวด อายุประมาณ 100 ลานปกอน มีกระดูกสะโพกแบบนก ตัวขนาดเล็ก ยาวประมาณ 1-1.5 เมตร พบที่จังหวัด ชยั ภูมิ นับเปนไดโนเสารป ากนกแกวชนิดใหมข องโลก และเปนการพบไดโนเสารป ากนกแกว คร้ังแรก ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต สยามโมซอรัส สุธีธรนี เปนไดโนเสารกิน เนื้อ (theropod) พบในช้ันหินหมวดหินเสาขัว อายุ ประมาณ 130 ลานปก อ น จัดเปนไดโนเสารส กุลใหม และชนดิ ใหมข องโลก ชือ่ หลังวา สธุ ธี รนี เปน การตั้ง เปนเกียรติ แก ดร.วราวุธ สุธีธร นักวิจัยดาน ไดโนเสารท่ีมชี ื่อเสียงของประเทศไทย สยามโมไทรันนัส อิสานเอนซิส เปน ไดโนเสารกินเน้ือ พบในชนั้ หนิ หมวดหินเสาขัว อายุ ประมาณ 130 ลานปกอน นบั เปน ฟอสซิลไดโนเสาร วงศไทรันซอริดีท่ีเกาแกท่ีสุด และเกาแกกวา ไท รันโนซอรัส เร็กซ หรือ ที เร็กซ สันนิษฐานวา ภาพท่ี 58 นทิ รรศการไดโนเสารท ีโ่ ดดเดน ของ กําเนิดขึ้นครั้งแรกในทวปี เอเชีย ประเทศไทย ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน เปนไดโนเสารกินพืช (sauropod) ชนิดแรกที่พบในประเทศไทย พบในช้ันหินหมวดหินเสาขัว อายุประมาณ 130 ลานปกอน ตัวขนาดกลาง ยาวประมาณ 15-20 เมตร มีคอยาวและหางยาว เดิน 4 เทา คนพบที่ อ.ภูเวียง จ.ขอนแกน นับเปนการพบฟอสซิล ไดโนเสารครั้งสําคัญ เนื่องจากเปน ไดโนเสารสกุลใหมแ ละชนดิ ใหมของโลก ทงั้ ยังไดร ับพระราชทาน อนญุ าตจากสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ใหใชพ ระนามาภิไธย “สิรินธร” เปน ชอื่ ชนิดไดโนเสาร

35 จุดท่ี 51 โคราชอกิ ธสิ จิบบัส (Khoratichthys gibbus) อ.มดใหขอ มูล การสือ่ ความหมายของมัคคเุ ทศกควรอยใู นขอบเขตเน้ือหานิทรรศการ ดังน้ี โคราชอิกธิส จิบบัส เปนปลากระดูกแข็งท่ีอาศัยอยูในนํ้าจืด มีความยาวลําตัวขนาด 36 เซนติเมตร และกวาง 12 เซนติเมตร ลักษณะเดนของโคราชอิกธิส คือ บริเวณคอเปนโหนกชัดเจน โคราชอิกธิสจัดเปนปลากลุมแรก ๆ ของสาย วิ วั ฒ น า ก า ร ป ล า ใ น ก ลุ ม เ ดี ย ว กั บ ป ล า ก า ร (Lepisosteiformes) เปนหลักฐานแสดงถึงความ หลายหลายของปลากลุมดังกลาวในหมวดหินภู กระดึงของประเทศไทย อายุยุคจูแรสซิกตอนปลาย ถงึ ครีเทเชียสตอนตน ประมาณ 150 ลา นปกอน พบในหมวดหินภูกระดึง ช้ินสวนท่ีพบเปนรอยพิมพของตัวปลาที่ คอนขางสมบูรณต้ังแตสวนหัวและสวนเกล็ดเรียงกัน ตอเน่ือง ฝงตัวในแผนหนิ ทราย ภาพที่ 59 นทิ รรศการโคราชอิกธิส จบิ บัส ทม่ี าของช่ือ “Khoratichthys” ชื่อสกลุ ต้ังเพือ่ เปน อนุสรณแกแ หลงท่พี บ คอื จงั หวัด นครราชสีมาหรอื โคราช (ichthys=ปลากระดกู แขง็ ) “gibbus” ชอ่ื ชนดิ มาจากลักษณะเดนของปลา คือ มโี หนกชดั เจน ลักษณะเดน บริเวณหลงั สวนคอมลี กั ษณะเปนโหนกชัดเจน จนเปนท่มี าของช่ือ จบิ บสั ขนาดรปู รา งยาว 36 เซนตเิ มตร กวาง 12 เซนตเิ มตร และหนา 8 เซนตเิ มตร แหลง ทพี่ บ บานโนนสาวเอ ตําบลวังหมี อําเภอวังน้ําเขยี ว จงั หวดั นครราชสีมา จุดท่ี 52 สิรนิ ธรนา โคราชเอนซสิ (Sirindhornakhoratensis) อ.มดใหขอ มลู การส่ือความหมายของมัคคเุ ทศกควรอยใู นขอบเขตเนื้อหานทิ รรศการ ดงั นี้ สิรินธรนา โคราชเอนซิส (Sirindhorna khoratensis) เปนไดโนเสารออรนิโทพอด สิรินธรนาจัดเปนวงศหนึ่งของไดโนเสารแฮดโดร ซอร จัดอยูในกลุมอิกัวโนดอน กระดูกสะโพกแบบ นก กินพืชเปนอาหาร ฟอสซิลที่พบ ไดแก กะโหลก กระดูกแกน และกระดูกรยางค ฟอสซิลท่ีพบถือวา มคี วามสมบูรณม ากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ลําตัวยาวประมาณ 6 เมตร สิรินธรนาอาศัยอยูใน ยุคครีเทเชียสตอนตน ประมาณ 120-113 ลานป กอน ภาพท่ี 60 นทิ รรศการสิรินธรนา โคราชเอนซสิ

36 จดุ ท่ี 53 แหลง ขดุ คนไดโนเสารไทย-ญ่ีปนุ การส่อื ความหมายของมัคคุเทศกควรอยูในขอบเขตเนื้อหานิทรรศการ ดังน้ี พน้ื ที่ขุดสํารวจไดโนเสารอยูในเขตตาํ บลสุรนารี ตาํ บลโคกกรวด อาํ เภอเมืองนครราชสีมา เร่ิมตนโครงการคร้ังแรกตง้ั แต ปพ.ศ.2551 จนถึงปจ จบุ ัน เกาะหนิ ทเ่ี หน็ ในภาพเปน หินกรวดมนปนปูน อยูใ นหมวดหนิ โคกกรวด ยุคครีเทเซียสตอนตน อายุประมาณ 110 ลานปก อน ซากดกึ ดําบรรพทพ่ี บไดแ ก ไดโนเสาร จระเข เตา ปลากระดูกแขง็ ฯลฯ ข้ันตอนการขุดสํารวจ - สํารวจพื้นท่ี เลอื กพ้ืนทีท่ ่ีคาดวาจะพบ ฟอสซิล - เปดหนา ดิน ทาํ แผนที่เกาะหิน คน หา ฟอสซิลดว ยการยอยหนิ ใหเล็กลง - คน หาฟอสซลิ ทําการอนุรกั ษเบือ้ งตน และลงทะเบียนในภาคสนาม - สงตัวอยางที่ไดจากภาคสนามไปยงั ภาพท่ี 61 นทิ รรศการแหลง ขดุ คน ไดโนเสาร หอ งปฏิบัตกิ ารเพื่อเตรียมตวั อยาง อนุรักษและศึกษาวจิ ัยตอ ไป จุดท่ี 54 ไดโนเสารซ อโรพอด อ.มดใหขอ มลู การสอื่ ความหมายของมัคคุเทศกควรอยูใ นขอบเขตเน้ือหานทิ รรศการ ดังน้ี ไดโนเสารซอโรพอด (Sauropod dinosaur) ไดโนเสารกินพชื กลุมซอโรพอด ซ่ึงจัดอยูใน กลุมซอริสเชีย (Saurischia; กระดูกสะโพกคลาย สัตวเล้ือยคลาน) ไดโนเสารซอโรพอดสวนมากมี ขนาดใหญ กะโหลกเลก็ เม่อื เทียบกับขนาดของลาํ ตัว มลี กั ษณะคอยาว หางยาว เดินส่ีขา ซอโรพอดพบ ตั้งแตยุคไทรแอสสิคตอนปลาย จนถึงยุคครีเทเชีย สตอนปลาย (อายุประมาณ 215-66 ลานป) ซอโร พอดที่จัดแสดงในพิพิธภัณฑไดโนเสารมีขนาดลําตัว ยาว 25 เมตร ความสูง 4.5 เมตร มีน้ําหนัก ประมาณ 30 ตัน พบไดทั่วไปในทวีปเอเชีย ยุโรป อเมรกิ า ภาพที่ 62 นทิ รรศการไดโนเสารซ อโรพอด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook