Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภูมิปัญญาไทยของ4 ภาค

ภูมิปัญญาไทยของ4 ภาค

Published by sasivimon142546, 2021-04-03 08:16:56

Description: ภูมิปัญญาไทยของ4 ภาค

Search

Read the Text Version

ภมู ปิ ัญญาไทย 4 ภาค โดย น.ส. ศศิวิมล พลอยแสง เลขท่ี 36 ช้นั ม.5/4



ปลาตะเพยี นสาน เป็ นงานประดิษฐท์ ่ีเกิดจากภูมิปัญญาของคนไทย เดิมมกั ใชใ้ บลานมาทาเป็นเส้นแผน่ ยาว ๆ บาง ๆ มาตากแดด 2-3 นาที แลว้ มาสานเป็นรูปปลาตะเพียน เนื่องจากใบลานมีโครงสร้างที่เหนียว แขง็ แรง แลว้ ลงสีให้สวยงาม จากน้นั กน็ ามาประกอบเป็น โมบาย สมยั ก่อนคนไทยมีอาชีพทานากนั เป็นส่วนใหญ่ ในคูคลองก็จะมีปลาตะเพียนเป็นจานวนมาก ปลาตะเพียนสานจึงเป็น สญั ญลกั ษณ์แห่ง ความอุดม สมบูรณ์ เนื่องจากช่วงที่ ปลาโตเตม็ ท่ีน้นั เป็นช่วงเดียวกบั ช่วงเวลาที่ขา้ วตกรวง นอกจากน้ีผใู้ หญม่ กั จะ แขวน ปลาตะเพียนสาน ไวเ้ หนือเปลเดก็ เพือ่ เป็นการอวยพร ให้เดก็ สุขภาพแขง็ แรงอีกดว้ ย และในโอกาสที่มีพระราชพิธีสมโภชเดือน และข้ึนพระอพู่ ระเจา้ หลานเธอ พระองคเ์ จา้ ทีปังกรรัศมีโชติ พ.ศ. 2548 จึงให้ประชาชนคนไทยร่วมสานปลาตะเพยี นร้อยเป็นโบมาย แขวนประดบั ไวท้ ่ีหนา้ บา้ น หรือหา้ งร้านเพื่อถวายพระพร ปลาตะเพยี นสาน มี 2 ชนิด คือ ชนิดมีลวดลายและตกแตง่ สวยงาม ซ่ึง ประดิษฐข์ ้ึนในสมยั รัชกาลท่ี 5 และอีกชนิดหน่ึงเป็นเพยี งสีใบลานตามธรรมชาติ

ประวตั ิความเป็นมาของการราพาขา้ วสาร จะจดั ทาข้ึนหลงั วนั ออกพรรษาช่วงเขตกฐิน (วนั แรม ๑ ค่า เดือน ๑๑ - วนั ข้ึน ๑๕ ค่า เดือน ๑๒) ในเวลากลางคืนระหว่างเวลา ๑ ทุ่ม ถึงเที่ยงคืน ชาวไทยรามญั ชาย – หญิง ท้งั คนหนุ่มคนแก่คณะหน่ึงลงเรือลาใหญเ่ รียกวา่ เรือเจา้ ขาว หวั เรือจุดตะเกียงให้แสงสว่างในเรือมีกระบงุ กระสอบสาหรับใส่ขา้ วสารและสิ่งของอ่ืน ๆ เคร่ือง ดนตรี ไดแ้ ก่ ซอ จะเข้ ขลุย่ ฉ่ิง กลอง (เปิ งมาง) ตอ่ มาเพิ่มระนาด บรรเลงประกอบการร้อง จดั ให้คนแก่คนหน่ึงแตง่ กายนุ่งขาวห่มขาวเป็นประธานนง่ั กลางลาเรือ ส่วนคนอื่นจะแต่งอยา่ งไร กไ็ ดช้ ว่ ยกนั พายเรือไปตามบา้ นทวั่ ไป พอถึงจอดเรือที่หวั บนั ไดบา้ นแลว้ ร้องเพลงิเป็นทานองบุอกบญุ เชิญชวนใหท้ าบุญร่วมกนั เมื่อเจา้ ของบา้ นไดย้ ินเพลง กร็ ู้ไดท้ นั ทีวา่ เป็นการมาบอก บญุ เพ่ือรวบรวมขา้ วสาร ส่ิงของต่าง ๆ เพ่ือนาไปทอดกฐิน ก็จะรีบนาลงมาใหท้ ่ีเรือพร้อมยกมือไหวเ้ ป็นการอนุโมทนาดว้ ย คณะเรือเจา้ ขาวก็จะร้องเพลงให้พรเจา้ ของบา้ น แลว้ จึงพายเรือ ไปยงั บา้ นอ่ืน ๆ ต่อไป คณะเรือเจา้ ขาวจะออกบอกบุญคร้งั ละหลาย ๆ คืน จนกว่าเห็นว่าขา้ วของที่ไดม้ าเพียงพอทจ่ี ะทอดกบินแลว้ งจึงยตุ ิ การบอกบญุ แบบน้ีสนั นิษฐานวา่ เริ่มมีข้ึน ประมาณกรุงรัตนโกสินทร์ตอนตน้ หรืออาจเป็นประเพณีท่ีมีอยกู่ ่อนในเมืองมอญแลว้ ก็ได้คร้ันอพยพเขา้ มาต้งั ถ่ินฐานท่ีเกาะเกร็ดกย็ งั ถือปฏิบตั ิสืบตอ่ มา เดิมเน้ือร้องเพลงบอกบญุ เป็น ภาษามอญ ต่อมารัชกาลท่ี ๒ ไดเ้ สดจ็ ฯ เย่ยี มชาวไทยรามญั ท่ีเขา้ มาต้งั บา้ นเรือนที่เมืองนนทบุรี เมืองสามโคก หลายคร้ัง คร้ังหน่ึงพระวรวงศเ์ ธอพระองคเ์ จา้ วชั รีวงศ์ พระเจา้ หลานยาเธอใน รัชกาลท่ี ๒ (พระองคเ์ จา้ ขาว – พระโอรสในกรมพระเทเวศน์วชั รินทร์ พระราชโอรสในรัชกาลที่ ๒ กบั เจา้ จอมมารดานอ้ ยระนาด ตน้ สกุลวชั รีวงศ)์ ไดต้ ามเสดจ็ ฯ และทรงทราบถึง ประเพณีการ้องเพลงบอกบุญเป็นภาษามอญ พระเจา้ หลานยาเธอพระองคน์ ้ีจึงไดท้ รงริเริ่มนิพนธเ์ น้ืองเพลงบอกบญุ เป็นภาษาไทย เพ่ือจะไดร้ ้องบอกบญุ แก่คนไทยไดด้ ว้ ย ส่วนทานองร้อง ยงั คงเดิม ต้งั แตน่ ้นั เป็นตน้ มาเพลงบอกบญุ ของชาวไทยรามญั ก็ไดม้ ีเน้ือเพลงเป็นภาษาไทย และมีชื่อว่า เพลงเจา้ ขาว ตามพระนามเดิมของพระองค์

ขนมไทย มีเอกลกั ษณ์ดา้ นวฒั นธรรมประจาชาติไทยคือ มีความละเอียดออ่ นประณีตในการเลือกสรรวตั ถุดิบ วิธีการทา ท่ี พถิ ีพิถนั รสชาติอร่อยหอมหวาน สีสนั สวยงาม รูปลกั ษณ์ชวนรับประทาน ตลอดจนกรรมวธิ ีที่ประณีตบรรจงในสมยั โบราณคนไทยจะทาขนมเฉพาะวาระสาคญั เทา่ น้นั เป็นตน้ วา่ งานทาบุญ งานแตง่ เทศกาลสาคญั หรือตอ้ นรับแขกสาคญั เพราะขนมบางชนิดจาเป็ นตอ้ งใชก้ าลงั คนอาศยั เวลาในการทาพอสมควร ส่วนใหญเ่ ป็น ขนบประเพณี เป็นตน้ วา่ ขนมงาน เนื่องในงานแตง่ งาน ขนมพ้นื บา้ น เช่น ขนมครก ขนมถว้ ย ฯลฯ ส่วนขนมในร้ัวในวงั จะมีหนา้ ตาสวยงาม ประณีตวจิ ิตร บรรจงในการจดั วางรูปทรงขนมสวยงาม ขนมไทยด้งั เดิม มีส่วนผสมคือ แป้ง น้าตาล กะทิ เท่าน้นั ส่วนขนมท่ีใชไ้ ข่เป็น ส่วนประกอบ เช่น ทองหยบิ ทองหยอด เมด็ ขนุน น้นั มารี กีมาร์ เดอ ปี นา (ทา้ วทองกีบมา้ ) หญิงสาวชาวโปรตเุ กส เป็นผนู้ า สูตรมาจากโปรตเุ กส



ร่มบอ่ สร้างน้นั เป็นสินคา้ ที่สร้างช่ือเสียงใหแ้ ก่จงั หวดั เชียงใหมม่ าชา้ นานหลายชว่ั อายคุ นแลว้ ซ่ึงนกั ท่องเที่ยวที่ เดินทางไปเที่ยวเชียงใหมส่ ่วนใหญจ่ ะตอ้ งแบ่งเวลาแวะเวยี นไปที่อาเภอสนั กาแพง เพอ่ื ชมและเลือกซ้ือร่มบ่อสร้าง ท่ี “บา้ นบ่อสร้าง”เป็นที่ระลึกติดมือกลบั มา ถือเป็นสินคา้ พ้ืนเมืองท่ีไดร้ ับความนิยมอยา่ งมากในหมู่นกั ทอ่ งเที่ยว ท้งั ชาว ไทยและชาวต่างประเทศ สาเหตทุ ี่เรียกวา่ ร่มบอ่ สร้างเพราะร่มน้ีผลิตกนั ท่ีบา้ นบอ่ สร้าง สมยั ก่อนชาวบา้ นจะ ทาร่มกนั ใตถ้ ุนบา้ น แลว้ นาออกมาวางเรียงรายเตม็ กลางลานบา้ นเพื่อผ่งึ แดดให้แห้ง สีสนั และลวดลายบนร่มน้นั สะดุดตาผพู้ บ เห็น มีท้งั หมด 3 ชนิดดว้ ยกนั คือ ร่มท่ีทาดว้ ยผา้ แพร ผา้ ฝ้าย และกระดาษสา แตล่ ะชนิดมีวธิ ีทา อยา่ งเดียวกนั หาก นกั ท่องเท่ียวประสงคจ์ ะชมข้นั ตอนการผลิต ไปชมไดท้ ่ีศนู ยอ์ ตุ สาหกรรมทาร่ม

เรือนกาแล เป็ นเรือนพกั อาศยั ทวั่ ไปที่คงทน (ตา่ งจากกระทอ่ ม เรียกวา่ ตบู จะไม่ค่อยคงทน) มียอดจวั่ เป็ นกากะบาท มีท้งั ไม้ ธรรมดาและไมส้ ลกั อยา่ งงดงามตามฐานะ นิยมมงุ แผน่ ไมเ้ รียก “แป้นเกลด็ ” แตป่ ัจจุบนั ไมเ้ ป็นวสั ดุหายากมีราคาแพงจึง เปล่ียนมาใช้ “ดินขอ” มุงหลงั คาแทน ใชว้ สั ดุอยา่ งดี การช่างฝี มือสูงประณีต แต่มีแบบค่อนขา้ งตายตวั ส่วนใหญ่เป็นเรือน แฝด มีขนาดต้งั แต่ 1 หอ้ งนอนข้ึนไป เรือนกาแลจะมีแผนผงั 2 แบบใหญ่ ๆ คือ แบบเอาบนั ไดข้ึนตรงติดชานนอกโดด ๆ กบั แบบเอาบนั ไดอิงชิดแนบฝาใตช้ ายคาคลุม แตท่ ้งั สองแบบจะใชร้ ้านน้าต้งั เป็นหน่วยโดด ๆ มีโครงสร้างของตนเอง ไมน่ ิยมตี ฝ้าเพดาน หรือบางกลุ่มประกอบดว้ ยเรือนหลายหลงั เป็นกลุ่มใหญ่

พิธีสืบชะตาเป็ นประเพณีสาคญั อยา่ งหน่ึงของชาวลา้ นนาที่เชื่อกนั วา่ เป็นการต่ออายหุ รือต่อชีวติ ของบา้ นเมืองหรือของ คนให้ยนื ยาว มีความสุข ความเจริญ ตลอดจนเป็นการขจดั ภยั อนั ตรายต่างๆท่ีจะบงั เกิดข้ึนใหแ้ คลว้ คลาดปลอดภยั พิธีสืบชะตาแบบพ้ืนเมืองของจงั หวดั น่านไดย้ ดึ ถือและปฏิบตั ิสืบตอ่ กนั มาชา้ นาน ชาวน่านในทุกหมบู่ า้ น ทุกตาบลต่าง รู้จกั และยดึ มนั่ ปฏิบตั ิกนั อยู่ เพราะเช่ือวา่ ทุกขภ์ ยั ท้งั หลายที่จะเกิดข้ึนกบั ตวั เอง และญาติพน่ี อ้ งจะหมดหายไปชีวิตกจ็ ะ ยนื ยาวยงิ่ ข้ึน อีกท้งั เชื่อวา่ ก่อใหเ้ กิดขวญั และกาลงั ใจในการปฏิบตั ิหนา้ ท่ีการงานพร้อมที่จะสู้กบั ชะตาชีวติ ตอ่ ไป



ประเพณีบุญบ้งั ไฟ เป็นประเพณีหน่ึงภาคอีสานของไทยรวมไปถึงลาว โดยมีตานานมาจากนิทาน พ้ืนบา้ นของภาคอีสานเรื่องพระยาคนั คากเรื่องผาแดงนางไอ่ ซ่ึงในนิทานพ้ืนบา้ นดงั กล่าวถึง การท่ี ชาวบา้ นไดจ้ ดั งานบญุ บ้งั ไฟข้ึนเพื่อเป็นการบูชา พระยาแถน หรือเทพวสั สกาลเทพบุตร ซ่ึงชาวบา้ น มีความเชื่อวา่ พระยาแถนมีหนา้ ท่ีคอยดูแลให้ฝนตกถูกตอ้ งตามฤดูกาลและมีความชื่นชอบไฟเป็น อยา่ งมากหากหมู่บา้ นใดไม่จดั ทาการจดั งานบุญบ้งั ไฟบูชา ฝนกจ็ ะไม่ตกถูกตอ้ งตามฤดูกาล อาจ ก่อให้เกิดภยั พบิ ตั ิกบั หมู่บา้ นได้

ประเพณีไหลเรือไฟ บางทีเรียกวา่ “ลอยเรือไฟ” หรือ “ล่องเรือไฟ “หรือ “ปล่อยเรือไฟ” เป็น พธิ ีกรรมทางพทุ ธศาสนาท่ีนิยมทากนั ในวนั ข้ึน 15 ค่า เดือน 11 (วนั ออกพรรษา) โดยเฉพาะทอ้ งถ่ินท่ีมีชยั ภมู ิเหมาะสม คือ มีแม่น้าหรือลาน้า เท่าที่ปรากฏจะมีแนวทางท่ี คลา้ ยกนั และอยบู่ นพ้นื ฐานความเช่ือตา่ ง ๆ อาทิ ความเชื่อเกี่ยวกบั การบูชารอยพระพทุ ธบาท ความเชื่อเกี่ยวกบั การบวงสรวงพระธาตุ จุฬามณีบนสวรรค์ ความเช่ือเกี่ยวกบั การขอฝน ความเช่ือในการเอาไฟเผาความทกุ ข์ ความเชื่อเก่ียวกบั การขอขมาและระลึกถึง พระคุณพระแม่คงคา เป็นตน้ เรือไฟในสมยั โบราณน้นั มีรูปแบบท่ีเรียบง่าย โดยทาจากตน้ กลว้ ยและลาไมไ้ ผท่ ี่หาไดม้ าจดั ทาเป็น โครงเรือไฟง่าย ๆ พอท่ีจะทาให้ลอยน้าได้ การประดบั ตกแต่งเรือไฟภายในเรือไฟจะประดบั ดว้ ยดอกไม้ ธูป เทียน ตะเกียง ข้ีไต้ สาหรับจุดใหส้ วา่ งไสว ก่อนจะปล่อยเรือไฟลงกลางลาน้า ปัจจุบนั ไดจ้ ดั ทาเรือไฟรูปแบบต่างๆ โดยมีการนาเอาเทคโนโลยสี มยั ใหม่ มาใชป้ ระกอบในการจดั ทา และประดบั ตกแตง่ ให้วจิ ิตรตระการตามากยงิ่ ข้ึน เม่ือปล่อยเรือไฟเหล่าน้ีลงกลางลาน้าภายหลงั การจดุ ไฟ ใหล้ ุกโชติช่วง แลว้ จะเป็นภาพท่ีงดงามและติดตาตรึงใจตลอดไป

การทอผา้ มีการสืบทอดการทอผา้ ต่อๆกนั มา ไม่ขาดสาย ชนิดของผา้ เป็นประเภทผา้ ไหม และผา้ ฝ้าย



ผ้าบาติกหรือผ้าปาเต๊ะ เป็นคาท่ีใชเ้ รียกผา้ ชนิดหน่ึงที่มีวธิ ีการทาโดยใชเ้ ทียนปิ ดส่วนที่ไมต่ อ้ งการใหต้ ิดสีและใชว้ ิธีการแตม้ ระบาย หรือยอ้ มในส่วนท่ีตอ้ งการให้ติดสี ในประเทศไทย มีการทาผา้ บาติกเป็นอุตสาหกรรมและการผลิตผา้ บาติกตามสถานท่ีท่องเที่ยวท่ีมีช่ือเสียงในหลายจงั หวดั ทางภาคใต้ เช่น ยะลา ปัตตานี สงขลา นราธิวาส ภเู ก็ต การแพร่หลายของผา้ บาติกน้นั เร่ิมเขา้ มาทางจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ โดยไดร้ ับอิทธิพลมาจากมาเลเซีย ซ่ึง มาเลเซียเองก็ไดร้ ับอิทธิพลมาจากอินโดนีเซียอีกทอดหน่ึง ในปัจจบุ นั บาติกลายเขียนไดร้ ับการพฒั นาและแพร่หลายมาก ทาใหส้ ามารถ ผลิตผา้ ไดห้ ลายรูปแบบกวา่ เดิม และสามารถขายไดร้ าคาท่ีดีกวา่ บาติกพิมพ์ ทาให้โรงงานอตุ สาหกรรมผา้ บาติกในภาคใตห้ นั มาผลิตผา้ บาติกลายเขียน เกิดการแข่งขนั ในตลาดโดยแสดงลกั ษณะงาน รูปแบบและเอกลกั ษณ์ของตนเอง จนผา้ บาติกบางชิ้นกลายเป็น จิตรกรรมที่มีราคาสูงกวา่ ทว่ั ไปมาก ผา้ ที่นิยมทากนั มาก ไดแ้ ก่ ผา้ โสร่ง ผา้ ชิ้น และเคร่ืองนุ่งห่มต่าง ๆ เช่น เส้ือผา้ สาเร็จรูป เป็ นตน้

โนรา เป็นการร่ายราตามแบบฉบบั ของชาวปักษใ์ ต้ มีการขบั ร้องประกอบดนตรี อนั ไดแ้ ก่ กลอง ทบั โหมง่ ฉ่ิง ป่ี และแตระ ซ่ึงเป็นตน้ ฉบบั ในการเล่นละครชาตรีมาแตส่ มยั อยธุ ยาจนถึงสมยั รัตนโกสินทร์ มีผรู้ ู้บางคนกล่าววา่ การราโนราน่าจะเป็ น วฒั นธรรมของอินเดียมาแตเ่ ดิม แลว้ แพร่หลายเขา้ สู่ชวา มลายู ในช่วงที่อาณาจกั รศรีวิชยั กาลงั รุ่งเรือง ถา้ พิจารณาดูท่ารา แมบ่ ทของโนราชาตรี จะเห็นไดว้ ่าหลายท่าคลา้ ยกบั \"ทา่ กรณะ\" ในคมั ภีร์ภรตนาฏยศาสตร์และคลา้ ยกนั มากกบั ท่าราในแผน่ ศิลาจาหลกั ที่ บุโรพธุ โธ ในเกาะชวาภาคกลาง นอกจากน้นั วธิ ีการเล่นของหุ่นละครชาตรี ยงั คลา้ ยคลึงกบั ละครประเภทหน่ึง ของอินเดีย ซ่ึงเล่นอยตู่ ามแควน้ เบงกอลในสมยั โบราณท่ีเรียกวา่ \"ยาตรา\" ก็ได้ จากหลกั ฐานน้ีพอจะยนื ยนั ไดว้ า่ โนรา เป็น อารยธรรมของอินเดียภาคใตท้ ี่เขา้ มาทางแหลมมลายแู ละภาคใตข้ องไทย

เป็นประเพณีเนื่องในพทุ ธศาสนา กระทากนั หลงั วนั มหาปวารณาหรือวนั ออกพรรษา ๑ วนั คือตรงกบั วนั แรม ๑ ค่า เดือน ๑๑ โดยพทุ ธศาสนิกชนพร้อมใจกนั อาราธนาพระพทุ ธรูปข้ึนประดิษฐานบนบษุ บกที่วางอยเู่ หนือเรือ รถ หรือลอ้ เลอื่ นท่ีชาวบา้ น เรียกวา่ \"พนมพระ\" แลว้ แห่แหนชกั ลากไปตามถนนหนทาง หรือในลาน้า แลว้ แตส่ ภาพภมู ิประเทศจะเหมาะสม ซ่ึงชาวใตต้ ้งั แต่ จงั หวดั ชุมพรลงมาหลายจงั หวดั จะมีประเพณีน้ี ประเพณีลากพระของชาวใตม้ ีมาแต่โบราณและก่อให้เกิดวฒั นธรรมอื่น ๆ สืบเน่ืองหลายอยา่ ง เช่น ประเพณีการแขง่ ขนั เรือ พาย การประชนั โพนหรือแขง่ โพน กีฬาซดั ตม้ การทาตม้ ยา่ ง การเล่นเพลงเรือ เป็นตน้ นอกจากน้นั ประเพณีชกั พระยงั ก่อให้เกิด การรวมกลุ่มกนั ทาคุณงามความดี ก่อให้เกิดความสามคั คีธรรมของหม่คู ณะ นาความสุขสงบมาใหส้ งั คม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook