Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ท่องเที่ยวไทยaa

ท่องเที่ยวไทยaa

Description: ท่องเที่ยวไทยaa

Search

Read the Text Version

งานกอ่ สรา้ งโรงแรมเอราวณั ดเู หมอื นจะมลี างบอกเหตไุ ม่ค่อยดี โดยการเกดิ อุบตั เิ หตุร้ายแรงและความล่าช้าของ การก่อสร้าง ท�ำ ให้วนั เปดิ ตัวโรงแรมล่าช้าออกไป นอกจากนเ้ี จา้ หนา้ ท่ีผู้ปฏิบตั งิ านยงั เหมือนถกู สาปแชง่ จากความ งงงวยจากปญั หาต่างๆทเ่ี กดิ ขนึ้ พวกเขาจึงไดน้ ำ�หมอผมี าสำ�รวจศึกษาสถานที่ก่อสรา้ งโรงแรม หลังจากการสำ�รวจ ได้ข้อสรปุ ว่าปัญหาที่เกดิ ขนึ้ อยทู่ ี่การตัดสนิ ใจของผรู้ บั เหมาท่ีท�ำ การโคน่ ต้นไม้ลงก่อนหน้าน้ี ซ่งึ เชอื่ วา่ มสี ิง่ ศักดสิ์ ทิ ธ์ิ ท่ีท�ำ หน้าทป่ี กปอ้ งทรัพย์สินที่ดินแหง่ นีส้ ถิตอย “จงสร้างท่ีพ�ำ นกั ใหมแ่ ด่ดวงวญิ ญาณศกั ดส์ิ ิทธเ์ิ หลา่ น้ี และท่านเหลา่ นั้นจะไดร้ ับความสงบสขุ ” ดงั น้ันเจา้ หน้าทจี่ ึงไดส้ รา้ งศาลพระพรหมเอราวัณข้นึ เพอื่ เปน็ ท่ีพำ�นกั ของรปู ป้ันพระพรหม หลังจากน้ันอบุ ตั เิ หตุ ทเี่ กิดข้ึนมีจำ�นวนลดลง และการสรา้ งโรงแรมยังสามารถด�ำ เนนิ การเสรจ็ ส้นิ ก่อนเวลาที่ก�ำ หนด ในเวลาต่อมา ศาลพระพรหมเอราวณั ไดก้ ลายมาเป็นจดุ ทอ่ งเท่ยี วท่ีนยิ มส�ำ หรับคนไทยและชาวตา่ งชาติ ท่เี ขา้ มาสกั การะขอพรจากท่านพระพรหมให้ประสบความส�ำ เรจ็ ในเรอ่ื งการสอบเขา้ เรียน ความรัก ธุรกิจ และความพยายามท่ี จะส�ำ เร็จในด้านอนื่ ๆ จากน้ันมา โรงแรมเอราวณั กลายเป็นโรงแรมของประเทศไทย ส�ำ หรบั ตอ้ นรับแขกบ้านแขกเมือง อยา่ งเป็นทางการ เป็นเวลาหลายปี ข้อสงั เกตทส่ี ำ�คัญคอื สภุ าพสตรีเป็นผ้มู ีบทบาทนำ�ในการกอ่ สรา้ งและบรหิ ารจดั การ สง่ ผลให้โรงแรมมชี ่ือเสียง ท้งั ๆ ท่ีมแี นวคิดวา่ ผหู้ ญงิ อาจจะไมเ่ หมาะสมในการทำ�หน้าท่ีบริหารจัดการ โดยสภุ าพสตรีทีม่ ีบทบาทในการบริหารจดั การ โรงแรม ไดแ้ ก่ ท่านผหู้ ญิงชนัตถ์ ปยิ ะอุย (โรงแรมปรน้ิ เซส และโรงแรมดุสิตธานี) คุณกมลา สโุ กศล และมารดา (โรงแรมสยามซติ ้ี โรงแรมสยามเบย์ชอร์ และโรงแรมสยามเบยว์ วิ ) ทา่ นผูห้ ญิงสมศรี เจรญิ รัชตภาคย์ (โรงแรมเพรส ซเิ ดน้ ท์ และโรงแรมอนิ เตอรค์ อนติเนนทลั ) ท่านผหู้ ญิงเลอศักด์ิ สมบัตศิ ริ ิ (โรงแรมนายเลศิ ปาร์ค: Nai Lert Park) คณุ หญงิ แร่ม พรหโมบล (โรงแรมเวยี งใต)้ คุณพงา วรรธนะกลุ (โรงแรมรอยัล คลิฟบีช) และคุณหญิงสุนีรตั น์ เตลาน (โรงแรมรามา ฮิลตนั : Rama Hilton) ในปี 1961 คณุ หญงิ สนุ ีรัตน์ เตลาน ซึง่ เปน็ พ่สี าวของท่านผหู้ ญงิ ชนตั ถ์ เปดิ ตวั โรงแรมรามา ฮลิ ตนั ซงึ่ เปน็ โรงแรม 10 ชนั้ ตั้งอย่หู ัวมมุ ถนนสลี มและสุรศักดิ์ ซึง่ มีนวัตกรรมคอื ประตเู ปิดเล่อื นอตั โนมตั ติ รงทางเขา้ หลกั และหอ้ งบอลรมู บนชั้น 10 ซึง่ สามารถเห็นววิ ทิวทัศน์ของกรงุ เทพมหานครในมุมกวา้ ง นอกจากน้ี โรงแรมนยี้ งั เปน็ โรงแรมไทยแหง่ แรก ที่อยู่ในเครือฮิลตนั (the Hilton) ของตา่ งประเทศ และ ในปี 1965 ไดเ้ ปลย่ี นชอ่ื เป็นโรงแรมรามา ฮลิ ตัน (Rama Hilton) ดว้ ยการทม่ี คี ุณรชิ าร์ด ฮานดล์ (Richard Handl) เข้ามาช่วยในการบรหิ ารจดั การ ทำ�ให้โรงแรมรามา ฮิลตัน พฒั นาเปน็ หน่ึงในโรงแรม ทพ่ี ักอนั ดบั ตน้ ๆ ของกรุงเทพมหานคร อย่างรวดเรว็ โรงแรมอน่ื ๆที่มคี วามแข็งแกร่ง นอกเหนือไปจากโรงแรมโอเรียนทอล (The Oriental) ได้แก่ โรงแรมรัตนโกสินทร์ (โรงแรมรอยัล ในปี 1942 ซง่ึ อยูไ่ มห่ า่ งจากพระราชวงั ) โรงแรมแอตแลนต้า (ปี 1952) สรา้ งโดย ดร.แม็กซ์ เฮ็นน์ (Dr. Max Henn) ตั้งอยู่ซอย 2 ถนนสขุ มุ วทิ โรงแรมปร้นิ เซส (ปี 1949) เปดิ ตวั โดย ทา่ นผู้หญงิ ชนัตถ์ ปยิ ะอุย โรงแรมเอราวณั (ปี 1957) ท่รี าชประสงค์ โรงแรมพลาซา่ (ปี 1950 - 1959) กอ่ นถึงสถานบันเทิงยามคำ�่ คนื พัฒน์พงษ์ และโรงแรมคิงส์ (ปี 1959) บนถนนสาทร อย่างไรกด็ ี ในปี 1960 กรุงเทพมหานครฯ มหี อ้ งพักคุณภาพทเ่ี หมาะสม ส�ำ หรบั นักทอ่ งเทยี่ วเพยี ง 959 ห้อง เท่าน้นั ช่วงปี 1960 – 1969 เปน็ ชว่ งที่การก่อสรา้ งโรงแรมเจรญิ รงุ่ เรอื งอยา่ งมาก ในการตระหนกั ถึงผลประโยชนร์ ะยะยาว รฐั บาลได้เปิดตวั แผนระยะยาว 5 ปี เป็นครง้ั แรกและยกเวน้ ภาษีน�ำ เขา้ วสั ดแุ ละอปุ กรณ์กอ่ สร้างสำ�หรบั การสรา้ ง

โรงแรมใหม่ นอกจากนร้ี ฐั บาลยงั เสนอใหน้ กั ลงทนุ ยกเวน้ การจ่ายภาษีสำ�หรบั ช่วง 5 ปีแรก หลงั จากท่เี ร่ิมดำ�เนนิ กจิ การ ภายใต้อภิสทิ ธิ์นี้ มกี ฎเกณฑ์วา่ “โรงแรมตอ้ งมีจ�ำ นวนห้องพกั ไม่นอ้ ยกวา่ 400 ห้อง ถา้ ตง้ั อยูใ่ นกรงุ เทพมหานครฯ และ 80 ห้องส�ำ หรับโรงแรมท่ตี งั้ อยู่ใน เขตเทศบาลเมอื งอน่ื และ 60 หอ้ งส�ำ หรบั โรงแรมที่ตัง้ อยทู่ ี่อ่นื ๆ (จากหนังสือ ดิ เอก็ โซตกิ อิมเมจ: The Exotic Image, 31 สงิ หาคม ปี 1972)” โรงแรมตา่ งๆ จะต้องเปน็ โรงแรมช้นั หน่ึง และ จะต้องจัดให้มี หอ้ งประชมุ และหอ้ งจัดงานตา่ งๆ สระว่ายน�ำ้ รา้ นขายขนม รา้ นกาแฟ ศนู ย์การค้า ร้านตดั ผม และ บรกิ ารเสรมิ อนื่ ๆ นกั ลงทุน 11 ราย ไดร้ บั การตอบรับ และโรงแรมท่ีได้รับการอนมุ ตั ทิ ง้ั หมดไดด้ �ำ เนินกจิ การ ในปี 1966 และ ในปี 1970 โรงแรมในกรุงเทพมหานครฯ 24 แห่ง และอีก 26 แห่งในตา่ งจงั หวัด ไดก้ ารรบั รองคุณภาพ และ ได้รบั สทิ ธิพิเศษทางภาษดี ังกล่าว รฐั บาลไทยมสี ่วนสนบั สนนุ การเตบิ โตดา้ นการทอ่ งเท่ียวท่ีเกีย่ วขอ้ งกับการอ�ำ นวย ความสะดวก อย่างไรกต็ ามแม้จะมกี ารอดั ฉีดเม็ดเงนิ เหล่าน้ี แต่ก็ยงั ไมเ่ พียงพอทจ่ี ะช่วยให้โรงแรมตา่ งๆ สามารถ รบั มอื ไดท้ นั ต่อการหลงั่ ไหลเข้ามาของนักทอ่ งเท่ียวจ�ำ นวนมาก คุณเอริค ฮอลลิน (Eric Hallin) ผูจ้ ดั การท่วั ไป ของโรงแรมเรมแบรนดท์ (Rembrandt Hotel) จำ�ได้วา่ เมือ่ เกิดเหตุขดั ข้องทางเทคนิคท่ีท�ำ ให้เครอื่ งบินไม่สามารถ ออกจากสนามบนิ ดอนเมืองได้ โรงแรมตา่ งๆ มหี อ้ งพักไม่เพยี งพอสำ�หรับนักเดินทาง โดยโรงแรมสว่ นใหญ่จะใช้ เตยี งเสรมิ และเม่ือเท่ยี วบนิ ลา่ ช้าออกไป โรงแรมต่างๆ จะจดั เตียงเสรมิ เหล่านไ้ี ว้ในห้องบอลรมู ของโรงแรมส�ำ หรับ แขกที่มาเข้าพกั จากการที่รฐั บาลใหก้ ารสนบั สนนุ ตง้ั แต่ปี 1960 สง่ ผลให้จำ�นวนห้องของโรงแรมเพิ่มข้ึนจาก 959 ห้อง เปน็ 1,843 ห้อง ในปี 1963 จำ�นวน 2,643 หอ้ ง ในปี 1965 และ 7,064 หอ้ ง ในปี 1967 ซ่ึงเพม่ิ ขนึ้ มาถึง 7 เท่า ในเวลา 5 ปี ตอ่ มา มโี รงแรมต่างๆเกดิ ขนึ้ มา ไดแ้ ก่ โรงแรมรามา (1961) โรงแรมแคปปติ อล (1962) โรงแรมนานา (1963) โรงแรมวคิ ทอรี่ โรงแรมพาร์คและโรงแรมอมิ พีเรยี ล (1964) และโรงแรมเร็กซ์ โรงแรมอมารนิ โรงแรมเฟดเดอรลั โรงแรมคราวนแ์ ละโรงแรมไมอาม่ี (1965) อย่างไรก็ตาม มโี รงแรมเพียงสองแหง่ เท่านัน้ คือ โรงแรมเอราวัณและ โรงแรมโอเรียนทอล ทเ่ี ปน็ โรงแรมระดบั หา้ ดาว ดังนัน้ ในชว่ งทา้ ยของปี 1966 มีโรงแรมหรหู ราชั้นหนึง่ ทัง้ หมด 14 แห่ง เปิดตัวในกรุงเทพฯ รวมท้งั โรงแรมสยาม อนิ เตอร์ คอนทเิ น็นทลั (Siam Inter Continental) โรงแรมมโนห์รา (Manorha) และโรงแรมสุรวิ งศ์ (Suriwongse) นอกจากน้ี ผู้ประกอบการโรงแรมไดแ้ ข่งขนั กนั สรา้ งโรงแรมหลายช้นั สงู เสยี ดฟ้า ท่ามกลางความบา้ คลั่งในการเปดิ โรงแรมใหม่ ซงึ่ โรงแรมใหม่ตา่ งๆทป่ี รากฏขน้ึ มาในช่วงปีน้ัน ได้แก่ โรงแรม อมารนิ โรงแรมแอมบาสเดอร์ โรงแรมเอเชีย โรงแรมเซ็นจูรี่ โรงแรมเจา้ พระยา โรงแรมชวลติ โรงแรมคอนทิเนน็ ทัล โรงแรมเฟเดอรลั โรงแรมเฟิร์สท์ โรงแรมฟลอรดิ า โรงแรมเกรซ โรงแรมลเิ บอร์ต้ี โรงแรมมาเจสตกิ โรงแรมมาเลเซยี โรงแรมแมนแฮตตัน โรงแรมมนเฑียร โรงแรมเพนินซูลา่ โรงแรมปรนิ ซ์ โรงแรมราชา โรงแรมเรโน โรงแรมริช และ โรงแรมวินด์เซอร์ การปรากฏตัวของทหารอเมรกิ ัน (American GIs) ทม่ี สี ่วนร่วมในสงครามเวียดนาม ที่เดินทางมากรุงเทพมหานครฯ ส�ำ หรับการพักผ่อนและฟ้ืนฟู (R&R: Rest and Recuperation) เป็นเวลาห้าวนั เปน็ สว่ นหนึง่ ท่ชี ว่ ยให้การโรงแรม เจริญเตบิ โตอยา่ งรวดเร็ว เมอื งพัทยาเปน็ พ้นื ทต่ี ่างจังหวดั แรกทเ่ี ตบิ โตอยา่ งรวดเร็วโด เนอื่ งจากการท่ีทหารอเมริกันได้ เข้ามาสร้างฐานทัพอยทู่ ีฐ่ านทพั อากาศอตู่ ะเภาไปทางทศิ ใต้ การบอกกลา่ วเกย่ี วกับเรอ่ื งนแ้ี พรส่ ะพัดออกไป และทหาร อเมริกนั จ�ำ นวนมากท่ปี ระจ�ำ อย่ฐู านท่ไี ทยไดท้ ่องเที่ยวบนหาดพัทยา นอกจากนี้ เรือนาวกิ โยธนิ ของสหรัฐอเมริกา ยังถกู เรียกว่าเปน็ รสี อรท์ แห่งการพักผอ่ นและฟน้ื ฟู (resort for R&R stays)

ในปีเดียวกัน กรุงเทพมหานครฯ ได้เปน็ เจ้าภาพจัดงานเอเชยี น อนิ เตอรเ์ นช่นั แนล เทรด แฟร์ (Asian International Trade Fair) และเอเชียน เกมส์ คร้ังที่ 5 (Fifth Asian Games) ซึ่งดงึ ดดู นักท่องเท่ยี วเขา้ มาเป็นจำ�นวนมาก ใน ขณะทช่ี ว่ งต้นปี 1960-1969 อาจารย์ผู้เช่ียวชาญได้ท�ำ นายไวว้ ่า กิจการโรงแรมกำ�เนดิ ใหม่เหลา่ น้ีจะลม้ ละลาย โดยใน ปี 1967 การท่องเที่ยวสรา้ งรายไดเ้ ปน็ จ�ำ นวนเงนิ 33 ลา้ นดอลล่าร-์ สหรฐั ฯ ซึง่ คดิ เป็น 6 เทา่ ของทศวรรษท่ีผา่ นมา โรงแรมชั้นหนงึ่ ท้งั หลายมีอตั ราการเขา้ พักมากกวา่ ร้อยละ 50 และโรงแรมท่ีมคี วามหรูหรามากทีส่ ดุ ไดแ้ ก่ โรงแรม เอราวณั โรงแรมโอเรียนทอลและโรงแรมเพรสซเิ ดน้ ท์ ข้อสังเกตทสี่ �ำ คัญเก่ยี วกับการเติบโตของการโรงแรมคือแรงผลกั ดนั ทางด้านภูมิศาสตร์ โดยกอ่ นหน้านี้โรงแรมต่างๆ ต้งั อย่บู นถนนสายใหม่ (New Road) ถนนสลี ม ถนนสรุ ิวงศ์และ ถนนราช - ดำ�เนิน ปัจจุบนั โรงแรมเหลา่ นขี้ ยาย ไปสทู่ างทิศเหนือ โดยตัง้ อยใู่ นย่านการค้าและการท่องเทีย่ ว เชน่ ประตนู ้ำ� ราชด�ำ ริ และราชเทวี ความสงสยั เกย่ี วกบั โรมแรมอนิ ทรา (Indra Hotel) ซ่งึ มีห้องพักจ�ำ นวน 500 หอ้ ง เปิดท�ำ การในปี 1971 ตง้ั อยู่ทางทศิ เหนอื ของประตนู �ำ้ ว่าอาจจะอยูไ่ กลออกไปจากใจกลางเมือง อยา่ งไรกด็ ี โรงแรมนก้ี ไ็ ด้รบั ชัยชนะและประสบความสำ�เร็จ สง่ ผลใหผ้ ู้ ประกอบกจิ การโรงแรมรายอ่นื ๆ เข้ามาสร้างโรงแรมอยูน่ อกพื้นท่ีทอ่ งเท่ยี วด้ังเดิม โรงแรมพาร์ค (The Park) และ โรงแรมเร็กซ์ (The Rex) ซ่งึ เปดิ ตวั ขึ้นในปี 1969 ขยายไปสู่ถนนสุขมุ วทิ ตรงขา้ มกับพ้ืนที่ทอ่ งเทย่ี วหลกั รอบพระบรม มหาราชวัง(Grand Palace) โดยส้ินเชงิ จากน้นั โรงแรมอ่นื ๆก�ำ เนิดขึน้ มา โดยสรา้ งอยู่ในบริเวณถนนสขุ มุ วิท ทา่ นผู้หญิงสมศรี เจริญรัชต์ภาคย์ กำ�เนิดในปี 1924 ณ กรงุ เทพมหานคร จบการศึกษาจากโรงเรียนมาแตร์ เดอี (Mater Dei School) ในกรุงเทพฯ และโรงเรยี นปนี งั คอนแวนต์ (Penang Convent school) เนือ่ งจากทา่ นผ้หู ญงิ มีพ่ชี ายอกี คนหนง่ึ คือ ดร.ราชวิกรม อาทิตย เจริญรัชตภ์ าคย์ บดิ ามารดาใหเ้ หตผุ ลกบั ท่านผ้หู ญงิ วา่ ท่านเป็นเด็ก ผูห้ ญิง ซึง่ ไม่จ�ำ เป็นตอ้ งศกึ ษาเลา่ เรียนตอ่ จึงไมไ่ ด้ส่งท่านให้เรียนต่อในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ทา่ นผหู้ ญิงได้ ติดตามนอ้ งชาย (คณุ เฉลมิ พันธ์) ไปทป่ี ระเทศสหรฐั อเมรกิ า และทา่ นไดร้ ับการเตมิ เตม็ ด้วยความคิดใหมๆ่ เมอ่ื ท่าน กลบั มายงั ประเทศไทย ในปี 1959 ท่านผหู้ ญงิ ได้สร้างซูเปอรม์ ารเ์ กต็ แห่งแรกในประเทศไทย ซง่ึ ปัจจุบนั คือ อัมรินทรพ์ ลาซ่า (Amarin Plaza) นอกจากนี้ทา่ นผ้หู ญงิ และนอ้ งชาย คุณเฉลมิ พนั ธ์ ศรวี กิ รณ์ ยงั ไดส้ ร้างเกสร โบวล์ the Gaysorn Bowl (Gaysorn Bowl) ซ่งึ เปน็ ที่ตง้ั ของโรงแรมอินเตอร์ คอนตเิ น็นทัล (the Intercontinental Hotel) ในปจั จุบนั และสยาม โบวล์ (the Siam Bowl) ในสยามสแควร์ (Siam Square) ซง่ึ ยืนหยัดอยูไ่ ด้เป็นเวลาหลายปี อยา่ งไรกต็ ามทา่ นผหู้ ญงิ มคี วามตงั้ ใจอยา่ งมากทจี่ ะสรา้ งโรงแรมชนั้ สงู สดุ นอ้ งชายของทา่ น อกี คนหนงึ่ คอื คณุ สทุ ธพิ งษ์ ศรวี กิ รณ์ เปดิ ตัวโรงแรมอมาริน บนถนนเพลิตจิตฝัง่ เหนือ ในปี 1962 โรงแรมประกอบดว้ ยห้องพัก จำ�นวน 150 ห้อง และอีก 200 ห้องเพิม่ เตมิ ในปี 1965 ท่านผู้หญิงสมศรีเลือกพืน้ ท่ฝี ั่งตรงขา้ มถนนเพลินจิต และร่วมกบั คุณเฉลมิ พันธ์ ลงมอื ด�ำ เนนิ การแผนอนั ทะเยอทะยานที่จะสรา้ งโรงแรมชั้นสูงสดุ พวกเขาได้ดำ�เนินการตามความตง้ั ใจในปี 1964 และ ปี 1966 โดยเปิดโรงแรมเพรสซิเดนท์ (President Hotel) และสรา้ งห้องพักเพิ่มอีก 220 หอ้ งในปี 1976 และในปี 1999 ทา่ นผ้หู ญงิ ได้สรา้ งโรงแรมอินเตอร์ คอนตเิ น็นทลั เพรสซิเดน้ ท์ (Inter Continental President Hotel) อยู่ติด กับโรงแรมเดมิ และสถานท่โี ยนโบวล์ ่งิ เดิม

ในปี 1967 ดร.ชยั ยุทธ กรรณสูต และนายจอรโ์ จ แบลิงเจริ (Mr. Giorgio Berlingieri) ไดเ้ ขา้ มามสี ว่ นรว่ มใน การตกแตง่ บรู ณะโรงแรมท่ีเกา่ แกท่ ี่สุดของเมอื ง นั่นคือ โรงแรมโอเรยี นทอล โรงแรมน้ีถูกขยายออกไป และเลื่อนระดับ จนกลายมาเปน็ หนง่ึ ในโรงแรมทพี่ กั ชัน้ น�ำ ของเอเชยี นอกจากนี้ ยังไดร้ บั การขนานนามวา่ เป็นโรงแรมที่ดที สี่ ุดในโลก (The Best Hotel in the World) โดยบรรดาผ้อู ่านนติ ยสารธุรกิจที่มชี ือ่ เสียงอยา่ ง อนิ ส์ทวิ ชนั แนล อินเวสเตอร์ (Institutional Investor) เป็นเวลา 9 ปตี ิดต่อกนั ซงึ่ ถือว่าเปน็ เวลาที่ยาวนานท่ีสดุ ในประวตั ิศาสตร์ และยังได้รับการ จดั อนั ดบั ว่าเป็นหนึ่งในโรงแรมชัน้ นำ�ของโลก โดย ทราเวลแอนดเ์ ลเชอร์ (Travel and Leisure) ชือ่ เสยี งของโรงแรม อนั โดง่ ดงั ท�ำ ใหม้ น่ั ใจไดว้ า่ โรงแรมจะสามารถรบั รองแขกผมู้ เี กยี รตทิ ม่ี ชี อ่ื เสยี งไดม้ ากมาย ไดแ้ ก่ ประธานาธบิ ดสี าธารณรฐั เช็ก (Czech Republic) ฯพณฯท่าน วาคาลฟ์ ฮาเวล นายกรัฐมนตรปี ระเทศออสเตรเลีย พอล คีตตงิ (Paul Keating) บิล เกตส์ (Bill Gates) เปน็ ต้น นักประพันธท์ ่ีมชี ่อื เสยี งอยา่ ง ซอมเมอรเ์ ซท็ มอหม์ (Somerset Maugham) โจเซฟ คอนราด (Joseph Conrad) เอียน เฟลมมิง่ (Ian Fleming) เฟเดอรกิ ฟอรไ์ ซท์ (Frederick Forsyth) วลิ เลียม โกลดด์ ิง้ (William Golding) นอร์แมน ไมเลอร์ (Norman Mailer) เจมส์ มชิ เนอร์ (James Michener) ไอริส เมอร์ดอช วี.เอส. ไนพอล (Iris Murdoch. V.S. Naipaul) ปีเตอร์ อุสตนิ อฟ (Peter Ustinov) และกอร์ วดิ ลั (Gore Vidal) นอกจากนี้ ยังมีดารา นักแสดงช่อื ดัง อย่างเช่น เพยี ซ บรอสนัน (Pierce Brosnan) นาโอมิ แคมป์เบลล์ (Naomi Campbell) แจค็ ก้ี ชาน (Jackie Chan) ลโี อนาโด ดิ คาปรโิ อ (Leonardo DiCaprio) ไมเคลิ ดกั กลาส (Michael Douglas) ไมเคลิ แจค็ สัน (Michael Jackson) ไมเคิล พาลิน (Michael Palin) เทเรนซ์ แสตมป์ (Terence Stamp) และแอนดรูว์ ลอยด์ เว็บเบอร์ (Andrew Lloyd Webber) ไดม้ าเขา้ พกั ทโี่ รงแรมแหง่ นี้ด้วย ในเดือนสงิ หาคม ปี 1968 พลโทเฉลมิ ชัยมสี ว่ นเกี่ยวข้องในการก�ำ เนดิ ของโรงแรมสยาม อินเตอร์คอนติเน็นทัล (Siam Inter Continental) บนพ้ืนท่ี 26 ไรข่ องทดี่ ินส�ำ นักงานทรพั ยส์ ินสว่ นพระมหากษัตรยิ ์ ที่อยู่ติดกับคลองแสน แสบ (Sansaeb Canal) สถาปนกิ ชาวออสเตรเลียทีม่ ชี ือ่ ว่าปีเตอร์ บารต์ (Peter Bart) ไดอ้ อกแบบอาคารโรงแรมทม่ี ี หลังคาอันสวยสง่างาม อกี ทัง้ ยังเป็นหลังคากระเบ้ืองใหญ่ทส่ี ดุ ในโลก ซ่งึ โรงแรมนีไ้ ด้รับความนยิ มชมชอบเปน็ อย่างมาก โรงแรมหรูหราแห่งนี้ ได้ท�ำ หนา้ ที่ส�ำ หรบั ต้อนรับแขก ผูเ้ ข้าพักจำ�นวนมาก จนกระทั่งสญั ญาเชา่ 25 ปี ไดส้ ิ้นสดุ ลง และถกู ทำ�ลายลงในปี 2002 เพ่ือสรา้ งห้างสรรพสนิ ค้าสยามพารากอน (Siam Paragon) โรงแรมนารายณ์ (The Narai Hotel) ซ่งึ ต้งั อยู่บนถนนสีลม เปิดตวั ขน้ึ ในปี 1969 ลกั ษณะเดน่ ของโรงแรมนี้ คือรา้ น อาหารบนชัน้ บนสดุ ซึง่ สามารถมองเห็นวิวทิวทัศนข์ องเมืองได้ 360 องศา รอบทิศทุกๆชั่วโมง และทำ�ใหม้ องเห็นมมุ มองอันงดงามของเมือง ในขณะท่รี ับประทานอาหารค�ำ่ ‘การท่องเท่ยี วเตบิ โตขึน้ อย่างย่งิ ใหญ่คร้งั ถดั ไปในปี 1970 เมื่อเครื่องบนิ ไอพ่นเร่ิมน�ำ เข้ามาทีก่ รงุ เทพฯ ส่งผลใหม้ ี นักท่องเท่ียวเข้ามาจ�ำ นวนมาก และยังเปน็ การกระตนุ้ การพัฒนาส่ิงอำ�นวยความสะดวกทเี่ สริมข้ึนมาสำ�หรบั ส�ำ หรับ นักท่องเที่ยว เชน่ เดยี วกับสถานท่ีท่องเที่ยวใหมๆ่ นกั ลงทนุ ตอบสนองตอ่ การจูงใจอันนา่ ดึงดดู ของแมน่ ้ำ�เจา้ พระยา และใชส้ ถานทตี่ ั้งรมิ แมน่ ้�ำ ใหเ้ กิดประโยชน์ในการสร้างโรงแรมรอยัล ออร์คดิ เชอราตนั (Royal Orchid Sheraton) โรงแรมแชง กรีล่า (Shangri - la) และโรงแรมรอยลั ริเวอร์ (Royal River)

หลงั จากปี 1975 และการสิ้นสุดของสงครามอินโดจนี (Indochina war) แขกผเู้ ขา้ พักทหารชาวอเมรกิ ันถูกแทนที่ โดยชายหนมุ่ โสด แต่ในช่วงท้ายของทศวรรษ แขกผเู้ ข้าพกั มีทั้งครู่ ักทม่ี าฮนั นมี ูน และครอบครวั ทีม่ เี ดก็ เล็ก ซึ่งพวกเขา เหลา่ นี้ สว่ นใหญ่อาศัยอยู่ในประเทศเพือ่ นบา้ นแถบเอเชยี ทีเ่ ดินทางมาพกั ผ่อนช่วงวันหยุดในพทั ยา พวกเขาตอ้ งการ โรงแรมทมี่ ีขนาดใหญม่ ากกว่าน้ี และผู้ประกอบการโรงแรมชาวไทยก็ตอบสนองความตอ้ งการนอี้ ย่างทันทที ันใด ใน เวลาต่อมาไมน่ าน รีสอร์ทนภิ า ลอดจ์ (the Nipa Lodge) ซง่ึ เป็นรีสอร์ทชายหาดดง้ั เดมิ ของพัทยา ได้เข้าร่วมกับ โรงแรม รอยัล คลิฟ บชี (Royal Cliff Beach Hotel) ดุสติ รสี อร์ท (the Dusit Resort) สยาม เบยช์ อร์ (Siam Bayshore) และสยาม เบยว์ ิว (Siam Bayview) ซ่งึ ไดเ้ ปดิ ตัวขนึ้ ในฐานะที่เปน็ จุดหมายปลายทางแห่งการท่องเท่ยี ว พักผ่อนอยา่ งสมบูรณ์ ด้วยราคาที่ถูกกวา่ และสภาพอากาศปลอดโปรง่ สง่ ผลใหป้ ระเทศไทยเปน็ ที่นยิ มมากกวา่ รีสอรท์ รมิ ชายหาดในเมดิเตอรเ์ รเนียน หลายปีตอ่ มา พบวา่ มีนักท่องเท่ยี วจากประเทศอ่ืนๆในเอเชยี ท่มี ภี มู อิ ากาศหนาวเย็น ตอ้ งการมาพักผอ่ นในที่อากาศอบอ่นุ และเลน่ น้�ำ ในเมอื งพัทยาเพอ่ื การผ่อนคลาย คณุ กมลา สุโกศล ถือเป็นผู้ช่�ำ ชองในวงการโรงแรมยคุ น้นั ทา่ นเป็นเจา้ ของเครือข่ายโรงแรมตา่ งๆ รวมทั้งสยาม เบย์ชอร์ (Siam Bayshore)และสยาม เบย์วิว (Siam Bayview) คุณกมลา กา้ วเข้ามาในธุรกจิ โรงแรมตามท่คี วรจะเป็น “ในปี1972คณุ พอ่ ของขา้ พเจา้ ไดซ้ อื้ ท่ดี นิ อันไร้คา่ มาโดยไมไ่ ด้คิดเลยวา่ จะสรา้ งโรงแรมหรือโรงพยาบาลบนท่ดี ินผืนน้ัน ข้าพเจา้ ไมร่ ู้อะไรเกยี่ วกับการโรงแรมเลย แต่คณุ พอ่ กช็ กั จงู ใหเ้ ขา้ สธู่ รุ กิจนี้ และข้าพเจา้ กเ็ รยี นรไู้ ด้อยา่ งรวดเร็ว ในปี 1975 เราได้เปิดตัวโรงแรมสยาม เบย์ชอร์ จากน้นั คุณพอ่ ก็ไดซ้ ื้อท่ีดินอีกผืนหนงึ่ ในปี 1983 และสร้างโรงแรมสยาม เบย์วิว นนั่ คอื สง่ิ ทีท่ ำ�ให้ขา้ พเจ้าเร่มิ เขา้ มาในธุรกจิ โรงแรม และจากนั้นมา เราไดส้ รา้ งอสงั หารมิ ทรัพยร์ ะดับหา้ ดาว หลายแหง่ ในกรุงเทพมหานคร และอกี แหง่ หนึ่งในพทั ยาทมี่ ชี ือ่ ว่า เดอะ เวฟ (The Wave)” คุณกมลา ถอื เป็นผขู้ ับเคลอ่ื นใหเ้ กิดความสำ�เรจ็ ซ่งึ จะเหน็ ได้จากจำ�นวนกจิ กรรมส่งเสริมการขายตา่ งๆ ในพัทยา จาก ปี 1984 ถงึ 1988 คุณกมลา ดำ�รงตำ�แหน่งเป็นประธานสมาคมโรงแรมไทย (Thai Hotels Association) ในส่วน ของพัทยา การประสบความสำ�เร็จทางธุรกิจสงู สุดของทา่ นคือ การจัดงานพัทยา เฟสติวัล (Pattaya Festival) ซ่ึง กลายมาเปน็ หลักส�ำ คัญของการทอ่ งเท่ยี วพทั ยา รสี อรท์ รมิ ชายหาดตา่ งๆทอ่ี ยทู่ างภาคใตข้ องไทยเปน็ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วส�ำ คญั ทส่ี ามารถดงึ ดดู ความสนใจของนกั ทอ่ งเทย่ี ว และนกั ลงทนุ ตอบสนองโดยการสรา้ งโรงแรมชั้นหนง่ึ ขึ้นมาเปน็ จ�ำ นวนมาก นอกจากนี้ การยกระดบั ของท่าอากาศยาน เชียงใหม่ไปสรู่ ะดบั สากล สง่ ผลใหม้ ีนักทอ่ งเท่ยี วหลั่งไหลเข้ามาเปน็ จ�ำ นวนมาก และการสรา้ งโครงสร้างพืน้ ฐานเปน็ สิ่งจำ�เป็นสำ�หรบั การดแู ลและตอ้ นรบั พวกเขา ในปี 1980 จะได้เห็นว่า ประเทศไทยมกี ารก่อสร้างโรงแรมแหง่ ใหม่เป็นจำ�นวนมาก โรงแรมในประเทศไทยมีความ โดดเดน่ เปน็ เอกลักษณใ์ นเอเชยี ซ่งึ มคี วามหลากหลายของหอ้ งพกั จากโรงแรมระดับห้าดาว ไปถึงโรงแรมขนาดเลก็ และเกสต์เฮ้าส์ตา่ งๆ การก่อสร้างโรงแรมส�ำ หรบั นกั ทอ่ งเทีย่ วชาวต่างชาติ ด�ำ เนนิ ควบคไู่ ปกบั การเจรญิ เตบิ โตของ การทอ่ งเท่ยี วภายใน ประเทศ ซึง่ กอ่ ใหเ้ กดิ การสรา้ งและการบรหิ ารจดั การโรงแรมขาดเล็กหลายแห่งโดยเจ้าของธุรกจิ คนไทย สถาปนิกของ โรงแรมในตลาดทอ้ งถิ่นใชศ้ ิลปวตั ถุของไทยในการออกแบบโรงแรมของพวกเขา มากกว่าที่จะใชศ้ ลิ ปะแบบตะวันตก

เพ่อื ท�ำ ให้มีความแตกตา่ งออกไปจากโรงแรมเครอื ขา่ ยตา่ งชาติ ส่งผลให้การใช้ศลิ ปวัตถุของแทก้ ลายมาเป็นความ งดงามทเี่ ปน็ แบบแผน นอกจากน้ี นกั ทอ่ งเทยี่ วภายในประเทศยังนยิ มพักโรงแรมทอ่ี ยใู่ กล้กบั โรงภาพยนตร์ รา้ นอาหาร ไนต์คลับ ลานโบว์ลง่ิ หา้ งสรรพสนิ ค้าและงา่ ยต่อการเขา้ ถงึ สถานทท่ี ่องเท่ยี วทอ้ งถ่นิ ความพยายามในช่วงแรกถกู ขดั ขวาง โดยการขาดความรู้ ในการประกอบกจิ การและการจัดการโรงแรม เจา้ ของกจิ การทั้งหลายเลอื กท่จี ะจ้างชาวต่างชาติในการก�ำ กับดูแลการ บริการด้านอาหารและการจดั การห้องพัก ความสามารถเหลา่ น้ีกลายเปน็ ตัวขบั เคลือ่ นหลักในความสำ�เร็จของโรงแรม แตก่ ารด�ำ เนินงานหลักยงั คงเปน็ ของคนไทย ในทีส่ ุดคนไทยท่ีผา่ นการฝกึ อบรมด้านการใหบ้ ริการในประเทศก็ได้เขา้ มา แทนท่ีพวกเขา นอกเหนอื จากโรงแรมเพริ ์ล (Pearl Hotel) และโรงแรมภเู ก็ต ไอส์แลนด์ รีสอร์ท (Phuket Island Resort) การ เตบิ โตของกจิ การโรงแรมในภเู ก็ตยังไมเ่ รม่ิ ตน้ ข้ึนจนกระท่ังช่วงปี 1980 – 1989 ชายหาดปา่ ตอง (Patong) เปน็ ชายหาดแรกท่ีได้รับความสนใจจากผปู้ ระกอบกจิ การโรงแรม และโรงแรมตา่ งๆได้ แผข่ ยายเข้าไปตงั้ อยู่บนรมิ ชายหาด ตามแนวชายฝ่ังตะวันตกอยา่ งรวดเร็ว ไดแ้ ก่ โรงแรมคลับ เมด (Club Med) โรงแรมดสุ ติ ลากนู า่ (Dusit Laguna) และโรงแรมเดอะโบ้ทเฮาส์ อนิ น์ (The Boathouse Inn) การหล่งั ไหลเขา้ มาของเกลยี วคลน่ื นกั ท่องเทยี่ วยังคงด�ำ เนินตอ่ ไปจนสน้ิ สุดศตวรรษการลม่ สลายของสหภาพโซเวยี ตสง่ ผลใหน้ กั ทอ่ งเทยี่ วจากประเทศมา่ นเหลก็ ในอดตี เขา้ มาทอ่ งเทย่ี วในประเทศไทยหลงั จากนน้ั การเขา้ มาของนกั ทอ่ งเทยี่ ว ชาวเอเชีย โดยเฉพาะชาวจีน ท�ำ ให้รายได้ดา้ นการท่องเทีย่ วเพ่ิมขึ้นอย่างมาก และผู้ประกอบกจิ การชาวไทยตอบสนอง ความตอ้ งการของนักท่องเทยี่ วเหล่านี้ ดว้ ยการจดั หาสิ่งอ�ำ นวยความสะดวก และสถานทท่ี อ่ งเทยี่ วทสี่ อดคล้องกบั รสนิยมของพวกเขา

“ทา่ นผหู้ ญิงชนตั ถ์ เรียนถามสมเดจ็ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาฯ ว่า เหตใุ ดพระองค์ทรงเสด็จฯ เปน็ ประธานพิธี ขา้ พเจ้า มคี วามประสงค์ชว่ ยเหลอื หญิงสาวที่ตอ้ งการเรม่ิ ต้นธุรกจิ ” ท่านผู้หญิงชนัตถ์ ปยิ ะอุย ท่านผหู้ ญิง (คำ�น�ำ หนา้ นามที่ไดร้ บั มาจากการถวายงานรบั ใชพ้ ระมหากษัตรยิ )์ ชนตั ถ์ ปยิ ะอุย กล่าววา่ ท่านได้เขา้ มาสู่ธรุ กิจโรงแรมโดยไม่ไดต้ ้ังใจ ระหว่างสงครามโลกคร้ังที่ 2 เร่ิมมีการทงิ้ ระเบิดท่ีมหาวทิ ยาลัย ธรรมศาสตร์ สถานท่ีที่ท่านเรยี นวิชากฎหมาย ด้วยความเปน็ หว่ งตอ่ ความปลอดภัยของท่าน คุณแม่ของ ท่านจงึ ส่งทา่ นไปอยบู่ า้ นคุณตาคณุ ยายทีต่ ่างจงั หวัดในจงั หวดั สงิ หบ์ รุ ี เพื่อให้หา่ งจากภัยอนั ตราย ในเวลาสองปตี อ่ มา ทา่ นกลับมายงั กรงุ เทพมหานคร และเพ่ือนรว่ มชัน้ เรยี นของทา่ นทกุ คนต่าง จบการศึกษา ดงั นน้ั ทา่ นจงึ ลงั เลทจ่ี ะกลบั เขา้ เรยี น ทา่ นผหู้ ญงิ ไดก้ ลบั ไปทน่ี วิ ยอรก์ และพยายามทจ่ี ะเขา้ เรยี นในมหาวทิ ยาลยั ในขณะเดียวกัน ทา่ นไดท้ ่องเทีย่ วส�ำ รวจเมอื งนวิ ยอร์ก และทำ�งานนอกเวลาไปดว้ ย ท่านหลงเสนห่ ใ์ นโรงแรม หรูหรา อย่างเชน่ โรงแรมวาลดอรฟ์ (Waldorf), โรงแรมพลาซ่า (Plaza) และโรงแรมอืน่ ๆ และไดใ้ ช้เวลา ศึกษาว่าอะไรทท่ี �ำ ให้โรงแรมเหลา่ น้มี ีความเปน็ พิเศษ ทา่ นกลับมาท่ีกรุงเทพฯ และมีความตัง้ ใจท่ีจะสร้างโรงแรมที่มีคณุ ภาพเท่าเทียมกนั ในปี 1948 ทา่ นได้ กูย้ มื เงินจากบิดามารดา โดยจ�ำ นองท่ีดินผืนเลก็ ที่อยู่บนถนนสายใหม่ (New Road) ซ่ึงอยตู่ รงขา้ มปาก ทางโรงแรมโอเรียนทอล และดำ�เนินงานออกแบบโรงแรมชัน้ หนง่ึ ในวันหยดุ สดุ สัปดาห์ คุณพอ่ ของท่านจะ เดินทางจากสิงห์บรุ ี และน�ำ เงนิ มาด้วยเพอื่ ท่ที า่ นจะไดด้ �ำ เนนิ การจ่ายค่ากอ่ สร้าง เมือ่ การกอ่ สร้างโรงแรมเสร็จสมบรู ณ์ โรงแรมประกอบด้วยห้องพกั จำ�นวน 50 ห้อง และเปน็ หน่ึงในโรงแรม แหง่ แรกๆ ของเมอื งไทย ที่มสี ระว่ายนำ�้ เครอื่ งปรับอากาศ และสิ่งอำ�นวยความสะดวกที่ทนั สมัย เน่ืองจาก ท่านตระหนักถึงความสำ�คญั ของประสบการณ์ในการรบั ประทานอาหารทด่ี ี จงึ ได้ดำ�เนินการจา้ งหวั หน้า พ่อครวั (Chefs) ชาวเซย่ี งไฮ้มาเตรียมอาหาร จากนนั้ ไมน่ าน โรงแรมปรนิ้ เซส (The Princess) ได้กลาย มาเปน็ โรงแรมที่ดีทสี่ ดุ ในกรุงเทพฯ ในชว่ งปี 1950 – 1959 สายการบินแพน อเมริกนั แอร์ไลน์ (Pan American Airline) ใช้โรงแรมนี้ เพ่ือรบั รองแขกและลกู เรือของสายการบนิ

ในปี 1949 ทา่ นผูห้ ญงิ ชนตั ถ์ ไดเ้ ชญิ สมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ เจ้าฟ้ากลั ยาณวิ ฒั นาฯ (HRH Princess Galyani Vadhana) พระเชษฐภคินขี องพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯ เพือ่ ทรงเป็นประธานในพิธีเปดิ โรงแรมใหม่ของทา่ น สมเด็จพระเจา้ พีน่ างเธอฯ ทรงประทานอนญุ าตให้ท่านผูห้ ญงิ ใช้ชื่อโรงแรมวา่ “ปริน้ เซส (Princess)” เพ่อื เป็นเกยี รตแิ ดพ่ ระองค์ โรงแรมเปดิ อยา่ งเป็นทางการในวันท่ี 6 พฤษภาคม ซ่ึงเป็นวนั เดยี วกบั วันประสตู ิของสมเดจ็ เจา้ ฟ้ากลั ยาณวิ ฒั นาฯ ในเวลาต่อมา ท่านผหู้ ญิงชนตั ถเ์ รียนถามสมเดจ็ เจ้าฟา้ กลั ยาณิวฒั นาฯ วา่ เหตใุ ดพระองค์ทรงเสด็จฯ เปน็ ประธานพิธี “ข้าพเจ้ามีความประสงคช์ ่วยเหลือหญิงสาว ที่ตอ้ งการเร่มิ ตน้ ธุรกิจ” น่นั คือค�ำ ตอบของพระองค์ สมเดจ็ เจา้ ฟ้ากลั ยาณวิ ัฒนาฯ ทรงด�ำ เนินพระกรณยี กิจ เป็นประธานเปิดโรงแรมในเครือดสุ ิตทง้ั หมด เปน็ เวลาต่อมา 50 ปี และโรงแรมแห่งสดุ ท้ายคือ ดสุ ติ ธานี มะนลิ า (Dusit Thani Manila) ในปี 1997 ทา่ นผู้หญงิ ชนัตถ์ เปน็ ผู้บรหิ ารท่ีมีฝมี อื อยา่ งมาก ทา่ นยนื กราน ที่จะดูแลการจดั การในทกุ แงม่ ุม ซ่งึ เหน็ ได้อยา่ งชดั เจน และทา่ นยงั เตรียมการทจ่ี ะด�ำ เนินการทุกส่งิ ทกุ อยา่ ง ในขณะเดยี วกนั ไมว่ า่ จะเป็นแม่บ้านหรือแม่ครวั ในชว่ งปี 1950 – 1959 ยงั ไม่ปรากฏวา่ มีนกั ธรุ กิจหญงิ คนไทยมากนัก โดยทว่ั ไป ผหู้ ญิงไทยท่ีจบการศกึ ษา สว่ นใหญ่ จะท�ำ งานราชการ หรือเปน็ แมบ่ ้าน นอกจากนี้ เป็นการยากส�ำ หรบั ผูห้ ญงิ ท่จี ะบริหารกิจการ โรงแรม งานเช่นน้ีดเู หมือนว่าจะเปน็ งานที่ไมเ่ หมาะสมสำ�หรบั ผหู้ ญงิ และในฐานะทเี่ ป็นผ้หู ญิง ทา่ นตอ้ งตอ่ สู้ อยา่ งเขม้ แขง็ เพอ่ื ลบลา้ งอคตเิ ชน่ น้ี อยา่ งไรกด็ ที า่ นมเี พอ่ื นนกั ธรุ กจิ มากมาย มมี ติ รภาพทด่ี จี นกระทง่ั ปจั จบุ นั ในชว่ งปี 1960 – 1969 ท่านผู้หญิงฯ ได้สรา้ งโรงแรมซิต้ี (The City Hotel) บนถนนเพชรบุรตี ัดใหม่ และ โรงพยาบาลสขุ ุมวิท อย่างไรกต็ าม ทา่ นใฝฝ่ ันมาตลอดถงึ การสร้างบางส่ิงทยี่ ิ่งใหญ่ ทา่ นไดพ้ ูดคยุ กบั คุณอวิ าจโิ ระ โนดะ (Iwajiro Noda) ประธานของโรงแรมโตเกยี ว โอคุระ (Tokyo’s Okura Hotel) ซึ่ง ท่านผู้หญิงโปรดปารนอย่างมาก คุณโนดะไดก้ ลายมาเป็นเพ่ือนและทปี่ รกึ ษาท่ีดีของทา่ น ดว้ ยเหตุน้ี โรงแรม ดุสิตธานีจงึ ถกู ออกแบบโดยสถาปนกิ ชาวญี่ปุ่น ในการหาเงนิ ทุนเพือ่ ร่วมทุนใหม่ ท่านได้ท�ำ การขายทรพั ยส์ มบตั ิ รวมทั้งเครอ่ื งเพชรของท่าน และเกบ็ เหลือ ไว้เพียงบ้านและโรงพยาบาลนอกจากน้ี ท่านยงั ได้สรา้ งบริษัท ดุสิตธานี (Dusit Thani) โดยท่เี ปน็ หนงึ่ ใน บรษิ ัทมหาชนแหง่ แรกๆของไทย จากนัน้ ทา่ นได้พูดคยุ กับเพอ่ื นๆของท่าน และเพื่อนๆของท่านมากกว่า 100 คน ไดก้ ลายมาเปน็ ผู้ถอื หุน้ บริษัท ในปี 1975 เมื่อตลาดหลักทรัพยแ์ ห่งประเทศไทย (The Securities Exchange of Thailand) ก่อตง้ั ขึ้น ดสุ ติ ธานเี ปน็ หนึง่ ในบริษทั แรกๆท่มี ีชื่ออยู่ในตลาดหลักทรพั ยฯ์ ท่านท�ำ เชน่ นน้ั เพราะทา่ นรสู้ กึ วา่ มนั เปน็ หนา้ ทข่ี องทา่ น ทจ่ี ะชว่ ยเหลอื ผทู้ ส่ี นบั สนนุ ทา่ นใหส้ ามารถท�ำ การขายหนุ้ ได้ ในปี 1973 เมอ่ื โรงแรมดุสิตธานี (หรือเมอื งในสวรรค์: Town in Heaven) ซ่งึ เปน็ อาคาร 23 ช้นั สร้างเสร็จ สมบรู ณ์แล้ว โรงแรมได้รับการจดั อันดับใหเ้ ปน็ ตึกท่สี ูงท่ีสดุ ในกรุงเทพฯ ทา่ นเกษียณฯ ในปี 2004 แตไ่ มใ่ ช่ กอ่ นหนา้ ท่ีทา่ นจะมโี ครงการในฝันอกี โครงการหนึง่ ในปี 1993 ขณะที่ทา่ นดำ�รงตำ�แหน่งประธานสมาคม โรงแรมไทย ทา่ นไม่ประสบความสำ�เรจ็ ในการชักจงู ใหร้ ฐั บาลสนใจทจ่ี ะสร้างโรงเรียนการโรงแรมเตม็ รปู แบบ

ดังนัน้ ท่านจงึ ไดล้ งทนุ สร้างวิทยาลยั ดุสติ ธานี (Dusit Thani College) ด้วยตัวท่านเอง โดยวทิ ยาลยั ม่งุ เน้น หลกั สตู รปริญญาตรใี นดา้ นการบรกิ าร ท่านกระทำ�เช่นนี้เน่ืองจาก ท่านตระหนกั ดวี ่า ทา่ นตอ้ งประสบความ ยากลำ�บากในการทำ�ธรุ กิจในช่วงตน้ เพราะขาดการฝึกฝนทีเ่ หมาะสม ดุสิตธานเี ปน็ บรษิ ัทไทยแหง่ แรกท่ี สร้างโรงเรียนสำ�หรับอุตสาหกรรมโรงแรมโดยรวม ท่านไดร้ ับประสบการณ์อันทรงคณุ คา่ ในอุตสาหกรรมโรงแรมเปน็ เวลายาวนานถงึ 70ปีสิง่ สำ�คญั ในการขยาย การอ�ำ นวยความสะดวกดา้ นการทอ่ งเทีย่ วของประเทศไทยคือ การท่ที า่ นไดม้ มี ติ รมากมาย ซง่ึ ทา่ นถือวา่ เป็นรางวลั หลักในชีวิต

“เราอาศัยความเชีย่ วชาญจากตา่ งชาติมารวมเขา้ ไว้ แตเ่ รายงั เนน้ และใหค้ วามสำ�คัญกับความเปน็ ไทยของเรา การบริการตอ้ งสภุ าพและเหมาะสมในแบบวถิ ีไทย เช่นเดยี วกับทีเ่ ราด�ำ เนนิ ชวี ติ ในบ้านของผูด้ ี” ทา่ นผหู้ ญงิ เลอศกั ดิ์ สมบตั ศิ ริ ิ ทา่ นผู้หญิง เลอศักด์ิ สมบตั ศิ ริ ิ (ปี 1919 - 2011) ผู้ก่อตั้งโรงแรมฮลิ ตนั อินเตอรเ์ นชนั่ แนล (The Hilton International Hotel) ท่ปี าร์คนายเลศิ (Nai Lert Park) ท่านเปน็ ธดิ าของพระยาภักดี - นรเศรษฐ (เลิศเศรษฐบุตร)ซ่งึ เป็นหน่งึ ในผู้ประกอบการท่ไี ด้นำ�นวัตกรรมใหมเ่ ข้ามาในกรงุ เทพฯ ท่านเลิศเศรษฐบตุ ร เป็นบิดาของตระกลู ทม่ี ชี ่ือเสียงโดดเดน่ ผู้หญงิ ในตระกลู จำ�นวนสามร่นุ เปน็ ผขู้ บั เคลอ่ื น และรบั ผดิ ชอบการ สรา้ งแหลง่ โอเอซสิ สีเขยี วในเมอื ง โรงแรมตา่ งๆ ถกู สรา้ งขน้ึ ตามปกติ และจากนน้ั นกั ออกแบบภมู ทิ ศั นไ์ ดเ้ ขา้ มารบั ชว่ งตอ่ กจิ การ โรงแรมฮลิ ตนั อินเตอรเ์ นชัน่ แนล ใหค้ วามสำ�คัญกบั การสรา้ งสวนเป็นอันดบั แรก แลว้ จึงสรา้ งโรงแรม ในสวนต่อมาโรงแรม นีไ้ ด้กลายมาเปน็ หนึ่งในโรงแรมสวรรค์ (haven hotels) ที่มีอยเู่ พยี งสองสามแหง่ ในกรุงเทพฯ ซง่ึ คล้ายกับ โรงแรมสยาม อนิ เตอรค์ อนตเิ นน็ ทลั ในอดตี จดุ เร่ิมตน้ ของตระกูลในฐานะผ้ปู ระกอบการโรงแรม เร่มิ ต้นท่ที ่านพ่อของท่านผู้หญิง เลอศกั ดิ์ สมบตั ศิ ริ ิ (นายเลศิ เศรษฐบตุ ร) เจ้าของบริษัทไวท์ บัส (White Bus Company) บริษัท ไวทโ์ บท้ (White Boat Company) โรงงานผลติ นำ้�แขง็ แห่งแรกของเมอื ง และกจิ การอ่นื ๆอีกมากมาย ในปี 1907 ท่านไดซ้ ้อื โรงแรมโฮเตล็ เดอ ลา เพซ์ (Hotel de la Paix) บนถนนสรุ ิวงศ์ สถานทที่ ่ีทา่ นเสิร์ฟเบียรอ์ ังกฤษ และ เป็นบคุ คลแรกท่ีจัดใหม้ ีเหล้าวสิ กี้ (VAT 69) ออนเดอะรอ็ คส์ ทา่ นสอนคุณหญงิ สินน์ (เตวทิ ย)์ ผูซ้ ึง่ เปน็ ภริยา ในการท�ำ ไสก้ รอกทเี่ สริ ์ฟใหก้ ับลกู ค้าชาวต่างประเทศ กษตั ริยว์ ชิราวุธ (r. 1910 - 1925) ทรงเคย เสด็จฯ เพือ่ มาเสวยไสก้ รอกเหลา่ นี้ จากนั้นมาโรงแรมไดป้ ิดกจิ การในปี 1946 ในปี 1915 ท่านไดซ้ ้ือท่ดี ินจำ�นวน 65 ไร่ (26 เอเคอร)์ ทีม่ ีเส้นทางจากคลองแสนแสบและเพลนิ จิต และ ด้านทศิ ตะวันออกไปสู่ทิศตะวันตก จากชดิ ลมไปยังสุขมุ วทิ ซอย 5 ซง่ึ ไมใ่ ชท่ ดี่ นิ ทอ่ี ย่ใู นการพิจารณา ทา่ น ได้สร้างแผนแมบ่ ทสำ�หรับเขตนี้ และแบง่ สดั สว่ นอสังหารมิ ทรพั ย์เปน็ ส่วนของท่อี ยู่อาศยั และ การพานิชย์ ในปี 1921 ท่ีดนิ จำ�นวน 32 ไร่ถกู ขายให้กบั รัฐบาลอังกฤษเพ่ือสร้างสถานทูตในไทย และส่วนทีเ่ หลืออกี 34 ไร่ ถูกเกบ็ รกั ษาไวส้ ำ�หรบั บ้านของครอบครวั ซงึ่ บางสว่ นของที่ดนิ 34 ไรน่ ี้ ไดก้ ลายมาเปน็ สถานทก่ี อ่ สรา้ ง โรงแรม สวิสโซเทล็ ปารค์ นายเลิศ (Swissotel Nai Lert Park)

“ทา่ นใหก้ ารศกึ ษากับธิดาคนเดียวของทา่ น น่นั คอื ทา่ นผหู้ ญิงเลอศกั ด์ิ และต้ังใหเ้ ธอเป็นทายาทของเขา” ธิดาของทา่ นผูห้ ญิง คณุ พิไลพรรณ สมบตั ศิ ริ ิ ซ่งึ ดำ�รงตำ�แหนง่ ประธานของโรงแรมกล่าว “ทา่ นผู้หญิงเคย ศึกษาเคหเศรษฐศาสตร์ (Home Economics) ทว่ี ทิ ยาลยั เคียวรติ สุ (Kyoritsu College) ในประเทศญป่ี ุ่น และหลังจากทท่ี า่ นเลศิ เศรษฐบุตร ถึงแกก่ รรมในปี 1945 ท่านผู้หญิงจึงไดร้ ับชว่ งกจิ การบริษัท ไวท์ บัส ซงึ่ ท่านดำ�เนินกจิ การเองจนกระท่ังปี 1975 ท่รี ัฐบาลไดใ้ ห้บรกิ ารรถโดยสารประจำ�ทาง” ทา่ นผู้หญิง ด�ำ รงตำ�แหน่งเป็นรฐั มนตรกี ระทรวงสอื่ สาร (Minister of Communications) จนกระทัง่ ปี 1977 เม่ือรัฐบาลสามารถแก้ปัญหาได้แล้ว ทา่ นนายกรัฐมนตรีเกรยี งศักด์ิ ชมะนันทน์ แนะน�ำ ท่านผูห้ ญงิ วา่ ท่าน ควรจะด�ำ เนินการบางอยา่ งกับท่ีดินนายเลิศจำ�นวน 15 ไร่ (6 เอเคอร)์ ทด่ี ินบางส่วนเป็นพ้ืนท่ีอูจ่ อดรถ บรษิ ทั ไวท์ บัส และทที่ ำ�การของพนกั งาน ท่านไดย้ ่ืนขอรบั การสนบั สนุน และได้รับการสนับสนนุ จากคณะ กรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ในการสร้างโรงแรม “คณุ หญงิ แมร่ ะลกึ ถงึ โรงแรมโฮเตล็ เดอ ลา เพซ์ (Hotel de la Paix) ของท่านตา และต้องการออกแบบ โรงแรมให้มีความเปน็ ส่วนตวั มากกว่าทจี่ ะเปน็ ตกึ สงู ระฟ้าในปา่ คอนกรตี ท่านไดเ้ ย่ียมชมหมูเ่ กาะฮาวาย และชื่นชอบโรงแรมมอน่า คี บีช (Mauna Kea Beach Hotel) ซึง่ เป็นโรงแรมแบบอาคารต�ำ่ จากนนั้ ทา่ น กไ็ ด้วางพ้นื ฐานการออกแบบท่านต้องการท�ำ ใหโ้ รงแรมเสมือนบ้านของท่านซงึ่ จะมีทง้ั สวนขา้ งในและอาคาร ที่อย่ภู ายในสวน การตกแตง่ ภายในจะใชพ้ ืชท่ีอยู่ด้านนอกแทรกเข้าไปในตัวอาคาร ซง่ึ ใชว้ สั ดแุ ก้วและไมเ้ ป็น จ�ำ นวนมาก” ท่านทำ�งานร่วมกบั คุณลอวต์ นั (Lawton) และคณุ อเู มมูระ (Umemura) สถาปนิกผอู้ อกแบบ โรงแรมมอนา่ คี บชี เพ่ือวาดพิมพ์เขียว และจากน้ัน ท่านไดจ้ ้างคณุ ชัชวาลย์ พรงิ้ พวงแกว้ (Chatchawal Pringpuangkeo) จากบริษัท บางกอก ดีไซน์ 103 (Bangkok’s Design 103) เพือ่ ท�ำ หน้าที่บริหารงาน ออกแบบ หนึง่ ในหอ้ งพกั แบบสวที (Suite) ได้รบั การออกแบบโดยวาเลนตโิ น่ (Valentino) “เมอื่ แผนต่างๆเสร็จสมบูรณ์ ท่านหญิงแม่เรยี กให้ขา้ พเจา้ กลับบา้ นทีก่ รุงเทพมหานคร จากบรษิ ทั ออกแบบ ตกแต่งของข้าพเจา้ ในเมืองฮูสตัน (Houstom) และข้าพเจ้ากร็ ับช่วงกิจการต่อในฐานะหวั หน้า ผู้ควบคมุ การ กอ่ สร้าง” คณุ พิไลพรรณหวั เราะ มันเป็นสิ่งทีท่ า้ ทาย “เราเปน็ ครอบครวั ของผหู้ ญิงแกรง่ ซึง่ มคี วามแขง็ แกรง่ และมองการณ์ไกลเชน่ เดียวกบั ผชู้ าย หลกั การของท่านหญิงแมค่ อื ผู้หญิงสามารถท�ำ งานทผ่ี ชู้ ายท�ำ ได ในโลก ของผู้ชาย เมือ่ ข้าพเจา้ ได้มาบรหิ ารจัดการการกอ่ สร้าง ขา้ พเจา้ ตอ้ งท�ำ งานอย่างหนักเพอ่ื ใหเ้ ปน็ ท่ียอมรับ และขา้ พเจา้ ตระหนักดวี า่ ทา่ นหญิงแมต่ ้องทำ�งานหนกั กว่าข้าพเจ้าถึงสามเทา่ ” โรงแรมเปิดตวั ในวันท่ี 30 กันยายน ปี 1983 ประกอบด้วยหอ้ งพักจ�ำ นวน 338 ห้อง “โรงแรมฮลิ ตัน อินเตอร์ เนชนั่ แนล นำ�ความรู้ (know-how) มาให้ แต่เราน�ำ คนท่ีควรรู้ (know who)มาให”้ คุณนภาพร หลานสาว ของคุณพิไลพรรณ ซ่งึ เป็นกรรมการผ้จู ดั การปัจจบุ นั กลา่ วเสริม “ฮลิ ตนั เป็นพลังทรงอำ�นาจและมีศกั ดิศ์ รี และท้าทายใหเ้ ราเป็นโรงแรมทด่ี ที ส่ี ุด “ทา่ นหญิงแมแ่ ละข้าพเจา้ เป็นผู้ท่พี อใจแตส่ ิง่ ดเี ลิศ (perfectionist) และมรี ายละเอยี ดมาก ทา่ นหญิงแม่สอนวา่ เราจะตอ้ งแขง่ ขันกับตัวเราเองเพอื่ รักษามรดกไว้”

“เมอื่ สัญญาด้านการจัดการกับฮลิ ตนั สิ้นสดุ ลงในปี 2003 เราได้ตัดสินใจท่ีจะร่วมงานกบั สวสิ - โซเท็ล (Swissotel) ในฐานะทีมบริหารจดั การ ซง่ึ จะหมดอายุสัญญาในอีกสามปตี ่อมา หลงั จากนั้น เราได้จดั ต้ัง บรษิ ัท ปาร์ค นายเลิศ กรปุ๊ และบริหารจดั การโรงแรมของเราเอง ทง้ั ในเชียงใหม่ กรงุ เทพฯและหัวหิน ปจั จุบนั เราเปน็ ที่รู้จักเพราะสถานท่ีตงั้ แต่ไม่ใชเ่ พราะแบรนด์ (Brand) เราต้องการขยาย แบรนด์ และ ความสะดวกสบายของบ้านท่ีหรูหรา โดยปราศจากขอ้ อ้าง” นายเลศิ เศรษฐบุตร ไดส้ ร้างบ้านไม้สักของครอบครวั จากไม้สักที่เหลอื จากบริเวณท่าเรือริมแมน่ ำ�้ ซง่ึ เปน็ ท่ี ท่ีท่านสร้างเรือเดินสมุทรให้กบั กองทัพเรอื สยาม ระหว่างปี 1915 และ 1917 ในปี 2012 บ้านหลังนถี้ ูก เปลย่ี นมาเป็นพิพิธภณั ฑบ์ า้ นปารค์ นายเลิศ (Nai Lert Park Heritage Home) ซึง่ ภายในพพิ ิธภณั ฑ์ ประกอบด้วยของสะสมกว่า 30,000 ชิน้ และมกี ารจัดแสดงรถโดยสารประจำ�ทางบริษัท ไวท์ บัส และเรอื ทอ่ี อกแบบโดยนายเลศิ เอง เชน่ เดยี วกบั พิพิธภัณฑบ์ ้านไทย จิม ทอมปส์ ัน (The Jim Thompson House) ที่ไดก้ ลายมาเปน็ สถานทท่ี อ่ งเทยี่ วทีส่ ะท้อนให้เห็นถึงชวี ติ ทีห่ รูหราในอดตี

“คณุ แมไ่ มม่ ปี ระสบการณใ์ นการเปน็ ผปู้ ระกอบการโรงแรมเลย แต่ทา่ นมีเพ่ือนที่เป็นนักธรุ กจิ หลายคน และพวกเขาได้ให้ คำ�ปรึกษากบั ท่าน ทา่ นเป็นผทู้ ม่ี ีมนษุ ยสมั พันธ์ดมี าก และทา่ นยังช่นื ชอบในอตุ สาหกรรมดา้ นบริการ ดังน้ันท่านจึงมคี วามเปน็ ธรรมชาต”ิ อรนชุ โอสถานนท์ คุณหญงิ แรม่ พรหโมบล คุณหญิงแร่ม พรหโมบล (ปี 1911 - 2008) เป็นผู้น�ำ หญิงอีกหนง่ึ คนในธรุ กิจการโรงแรมช่วงตน้ อยา่ งไร กต็ าม แขกผ้เู ข้าพกั ในโรงแรมท่าน สว่ นใหญเ่ ปน็ คนไทยต่างจงั หวัดทีเ่ ข้ามาท�ำ ธุรกิจในกรุงเทพฯ ในปี 1930 ท่านจบการศกึ ษาจากมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ในวัยเพยี ง19ปีและเปน็ ทนายหญิงคนแรกของประเทศไทย ชวี ิตครอบครวั ของเธอต้องเดนิ ทางไปตา่ งจงั หวดั บ่อย และประสบการณ์ของพวกเขาในโรงแรมตา่ งจงั หวดั นน้ั ไมด่ นี กั ซง่ึ เปน็ แรงบนั ดาลใจใหท้ า่ นเปดิ โรงแรมเวยี งใต้ (Viengtai Hotel) ในปี 1951 “บดิ าของขา้ พเจ้าเคยเป็นเจา้ หนา้ ท่ีกระทรวงมหาดไทย ผู้ซง่ึ ไดร้ บั ฉายาวา่ ผูว้ ่าราชการหลาย จงั หวัด” บุตรสาวของคณุ หญงิ (คุณอรนุช โอสถานนท)์ กลา่ ว “หลงั จากที่เปน็ ทนาย คุณแมข่ องขา้ พเจ้า ได้เข้าท�ำ งานที่ฝ่ายกฎหมายของสำ�นกั งานทรพั ย์สินสว่ นพระมหากษตั รยิ ์ แต่เมอ่ื คุณพ่อไดร้ บั มอบหมายให้ ปฏิบตั งิ านต่างจงั หวดั ทา่ นปฏเิ สธท่จี ะติดตามคณุ พ่อไปด้วย” ในการไปทำ�งานตา่ งจงั หวัด พวกเขาต้อง พักอาศัยอยูท่ ่บี ้านพกั ทีร่ ัฐบาลจดั ไวใ้ ห้ ซงึ่ มักจะต่ำ�กวา่ มาตรฐาน ดงั นั้นพวกเขาจงึ จ�ำ เป็นต้องพกั อาศัยใน โรงแรม “พวกเขาไม่ต้องการความหรหู ราใดๆ เพียงแต่หอ้ งของโรงแรมในต่างจงั หวดั ในสมยั น้ันไม่สะอาด และไม่สะดวกสบาย” เมื่อครอบครวั ของท่านไดก้ ลบั มาอยทู่ ี่กรงุ เทพฯ ในทา้ ยที่สุด คุณหญิงแรมตระหนกั วา่ เจา้ หนา้ ท่ีรัฐจากตา่ งจังหวัดท่เี ขา้ มาท�ำ ธุรกจิ ในกรุงเทพฯ ตอ้ งเผชญิ กบั ความทา้ ทายเช่นเดยี วกับทค่ี รอบครวั ของท่านประสบในท้องถิน่ ต่างจงั หวดั “ในปี 1951 ไมค่ อ่ ยมีโรงแรมมากมายนกั ในกรุงเทพฯ ส�ำ หรบั คน ไทย” คณุ อรนชุ กล่าว “ครอบครวั ทมี่ ชี ื่อเสียงหลายครอบครัว ท่ที ำ�งานให้กับรฐั บาล ไมม่ บี า้ นในเมอื ง ดงั นั้นจงึ ตอ้ งพกั อาศัยกบั ญาตขิ องพวกเขา ดว้ ยการที่คุณแม่ตระหนกั ถึงการขาดแคลนหอ้ งพกั ท่านจึงตดั สนิ ใจ ท่ีจะสร้างทพี่ กั เปรียบเสมอื นบา้ นใหก้ ับพวกเขา” คุณหญงิ และสามไี ด้ซ้ือบา้ นบนถนนตานี ในบางลำ�พู ซ่ึงอยู่ใกลก้ ับถนนข้าวสาร สำ�หรบั จดุ ประสงคเ์ พือ่ เปิด โรงแรมจ�ำ นวน20หอ้ งในปี1951บางล�ำ พูเปน็ ศนู ยก์ ลางของกรุงเทพมหานครอยา่ งเป็นทางการโดยมีหน่วย งานตา่ งๆตงั้ อย่ใู กลๆ้ เช่น คณะกรรมการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งเอเชยี และแปซิฟิก-เอสแคป (ESCAP) องคก์ ารอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO), กองทุนเพอ่ื เดก็ แห่งสหประชาชาติ (UNICEF) และ องคก์ ารอนามัยโลก (WHO) เป็นต้น

คณุ อรนชุ เลา่ วา่ “คุณแม่ไม่มีประสบการณใ์ นการเป็นผู้ประกอบการโรงแรมเลย แตท่ ่านมีเพอื่ นที่เป็นนกั ธรุ กิจหลายคน และพวกเขาได้ใหค้ �ำ ปรกึ ษากับทา่ น ทา่ นเปน็ ผู้ท่มี มี นษุ ยสมั พันธด์ มี าก และทา่ นยังช่ืนชอบ ในอตุ สาหกรรมด้านบริการ ดังนั้นท่านจงึ มีความเป็นธรรมชาติ และการทโ่ี รงแรมมขี นาดเล็ก ทำ�ใหร้ ้สู ึกว่า เหมอื นจดั การดูแลบ้าน ท่านท�ำ ทุกอย่าง รวมทัง้ การจัดเตียง” ในปี 1960 คุณหญิงแรม่ รู้สึกวา่ ต้องท�ำ การขยายโรงแรม ทา่ นจงึ ได้ทำ�การขออนุมตั ิจากส�ำ นกั งานคณะ กรรมการสง่ เสรมิ การลงทุน เพอ่ื ใหเ้ จา้ ของโรงแรมสามารถมีทจ่ี อดรถได้ 150 คัน สระวา่ ยน้�ำ เคร่อื งปรบั อากาศในทกุ หอ้ ง หอ้ งและห้องโถงทมี่ ีขนาดมาตรฐานตามท่ีรฐั ก�ำ หนด “ในการทจ่ี ะสร้างทีจ่ อดรถ ทา่ น ต้องยอมทบุ บ้านหลังเก่าทเี่ ปี่ยมด้วยความทรงจ�ำ มากมายท้ิงไป และเพอ่ื ซ้อื ทีด่ ินเพม่ิ อกี สองแปลง ปจั จบุ ัน โรงแรมท่ขี ยายออกไป ประกอบดว้ ยห้องพกั จำ�นวน 70 หอ้ ง” ในปีเดียวกันน้ัน ท่านไดเ้ ริม่ ต้อนรบั แขก ชาวตา่ งชาติ ซึ่งเป็นฐานสำ�หรับการรว่ มทนุ คร้ังใหม่ของประเทศไทยในด้านการท่องเทีย่ ว “การท่องเท่ยี ว เพิ่งจะเรม่ิ ต้นขนึ้ และขา้ พเจ้าเหน็ ถงึ ประโยชนท์ ีจ่ ะได้รับตามมาจากการทอ่ งเที่ยวน้”ี ท่านไม่ไดต้ ั้งใจท่จี ะ ขยายฐานลูกคา้ ชาวฝรงั่ โดยเฉพาะลกู ค้าฝรัง่ ท่มี าจากประเทศตา่ งๆในอาเซียน แตพ่ วกเขาไดย้ ินชอ่ื เสียงของ โรงแรมมาจากเพือ่ นๆ ชาวไทยของพวกเขานัน่ เอง ดว้ ยเหตนุ ้ี ทา่ นจึงไมเ่ คยมีปญั หาในการหาแขกผูเ้ ข้าพกั “ลกู ค้ามกั จะเข้าพักเต็ม 100% อย่เู สมอ ซ่งึ อาจจะเปน็ เพราะความเปน็ มติ รของคณุ แม่ มีอยคู่ รงั้ หนึ่ง ครอบครัวชาวไทยมาเช็คอิน และไมม่ ีห้องพกั ทวี่ ่างเหลอื อยเู่ ลย คณุ แมว่ ติ กกงั วลมากและกลา่ วกบั ครอบครวั นน้ั วา่ ‘โปรดมาที่บา้ นของฉัน และมาเปน็ แขกของฉนั ’ พวกเขาลงั เล แตไ่ ม่อาจปฏเิ สธคณุ แม่ได้ ซึง่ น่นั เปน็ ปกติของคุณแม”่ หลังจากปี 1963 อาสาสมัครหนว่ ยสันติภาพอเมริกัน (American Peace Corps volunteers) ได้ใช้ โรงแรมน้เี ปน็ โรงแรมหลกั “ข้าพเจ้าจำ�เหตุการณ์ในปนี ัน้ ไดเ้ ป็นอย่างดี ขา้ พเจา้ เพิง่ กลบั จากสหรฐั ฯ และ ช่ืนชอบแนวคดิ ของประธานาธบิ ดีจอห์น เอฟ. เคนเนดี (JFK) เก่ยี วกบั หนว่ ยสนั ติภาพสหรัฐอเมริกา (Peace Corps) ดังน้นั จงึ คดิ อตั ราค่าเขา้ พกั เป็นอัตราเดยี วกับแขกคนไทย เพราะพวกเขาอยอู่ าศัยเหมือน คนไทยไปแลว้ ” อยา่ งไรกต็ าม คณุ หญงิ ไม่ไดก้ ลับไปทำ�งานด้านกฎหมายแล้ว “ทา่ นทำ�งานสองอาชีพ และ เมือ่ ถามท่านเก่ยี วกบั อาชพี ทา่ นภมู ใิ จทจี่ ะกลา่ ววา่ ‘ท่านเปน็ ทนายความ ไม่ได้เป็นเจา้ ของโรงแรม’ ทา่ นมี บรษิ ัทกฎหมายเปน็ ของตนเอง ซง่ึ จดั การคดเี กย่ี วกบั การหยา่ ร้างและครอบครวั นอกจากนี้ ท่านยงั บริหาร สำ�นกั งาน และดำ�รงต�ำ แหนง่ สมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฏรหญิงคนแรกจากภูเก็ต ตอ่ มาทา่ นได้รบั การแตง่ ต้ัง เป็นสมาชกิ วฒุ ิสภา และท�ำ งานร่างกฎหมายในคณะกรรมการกฤษฎีกา (Council of State)” คณุ อรนชุ ท�ำ งานทีส่ ำ�นกั งานส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณชิ ย์ แต่จะเขา้ ไปทำ�งานทีโ่ รงแรมในวันเสาร์ และอาทิตย์ “บา้ นของเราอยใู่ กลก้ บั โรงแรมมาก ดงั นั้น ทุกๆเยน็ คุณแมจ่ ะมาเลา่ ใหฟ้ ังเกีย่ วกบั ปัญหาของ โรงแรม และข้าพเจา้ จะชว่ ยท่านแก้ปญั หา ซ่งึ เปรียบเสมือนว่าข้าพเจา้ ได้ศกึ ษา หาความรู้ ไปดว้ ย”

“ผู้อา่ นนติ ยสาร อนิ สตวิ ชนั แนล อินเวสเตอร์ (Institutional Investor) จัดอนั ดบั ให้โรงแรมโอเรียนทอล เป็นโรงแรมอันดับหนึ่งถึง 9 ปีซอ้ น นอกจากนี้ นติ ยสาร ทราเวลแอนดเ์ ลเชอร์ (Travel and Leisure Magazine) ยังจดั ใหโ้ รงแรมได้ชือ่ ว่าเปน็ โรงแรมชนั้ น�ำ อกี ด้วย” เคริ ท์ ว๊าชไฟท์ ภาพของเคิร์ท วา๊ ซไฟท์ ทปี่ รากฏข้ึนในใจของผู้คนสว่ นใหญท่ ี่รู้จักเขาคือ ความกระฉับกระเฉง ความสุภาพ อ่อนโยน ผ้ชู ายทก่ี ำ�ลังยืนย้มิ ในลอ็ บบ้โี รงแรมโอเรียนทอล และกำ�ลังพดู คุยกับแขกท่มี าเขา้ พกั ความสงา่ งาม ของโลกเกา่ ของเขาสะทอ้ นถงึ โรงแรมทเ่ี ขาถอื หางเสอื อยู่ เขาเปน็ ผจู้ ดั การทว่ั ไปทเ่ี ปย่ี มดว้ ยประสบการณ์ เขามี สว่ นรว่ มในการบรหิ ารงานวนั ตอ่ วนั และการตอ้ นรบั แขกมากกวา่ ทจ่ี ะนง่ั ท�ำ งานสบายอยใู่ นหอ้ งท�ำ งานชน้ั บน ในปี 1961 หลงั จากทเ่ี ขาจบการศกึ ษาจากโรงเรยี นการโรงแรมโลซาน (Lausanne Hotel School) ในประ เทศสวิตเซอร์แลนด์ เขาได้ศกึ ษาประวัตศิ าสตรศ์ ลิ ปะและวรรณกรรม (history and literature) ท่โี รงเรยี น ดานเต้ อาลิเจริ (Dante Alighieri School) ในกรงุ โรม อติ าลี และตอ่ มาไดศ้ ึกษาวิชาปรชั ญาทเี่ มอื ง มาดรดิ สเปน เมอ่ื เขาส�ำ เรจ็ การศกึ ษาแลว้ เขาเรม่ิ ท�ำ งานสายอาชพี ดา้ นงานบรกิ ารทโ่ี รงแรมมชี อ่ื เสยี งหลาย แหง่ ในเมอื งโลซาน (Lausanne) เวอแว (Vevey) เซนต์มอรติ ซ์ (St. Moritz) และลอนดอน (London) ในขณะท่ศี กึ ษาอยู่ที่โรงเรียนการโรงแรมโลซาน เขาไดพ้ บรกั กับคณุ เพนนี (Penny) ภรรยาชาวไทยของเขา ส่งิ นอี้ าจสง่ ผลให้เกิดการตัดสินใจ ซง่ึ อาจจะผลกั ดนั ให้เขาไปสู่กา้ วต่อไปในหนทางอาชพี ของเขา เขาเดนิ ทาง มาถงึ ประเทศไทยในปี 1965 โดยไดร้ บั เชิญเพือ่ มาปฏบิ ัตงิ านรว่ มกบั ผจู้ ัดการทว่ั ไปของโรงแรมนิภา ลอดจ์ (NipaLodge)ในเมืองพทั ยาเขาเป็นทรี่ จู้ กั และมีชือ่ เสียงท่นี นั่ และในเดอื นตุลาคมปี1967ตอนเขาอายุ30ปี กไ็ ด้รับการแต่งตัง้ เป็นผจู้ ัดการทัว่ ไปของโรงแรมแมนดาริน โอเรยี นทอล (Mandarin Oriental) ในกรงุ เทพฯ เขาปฏบิ ตั หิ น้าทีใ่ นต�ำ แหน่งนเี้ ปน็ ระยเวลา 42 ปี และเกษียณในปี 2009 อย่างไรก็ตาม โรงแรมทเ่ี ขารบั ชว่ งปฏิบัตงิ านต่อ ไดด้ �ำ เนินมาอย่างล้มลุกคลุกคลานตลอดหลายปี ห้องสวที ในอาคารโรมแรมเก่าๆ เสอื่ มสภาพลงไป นอกจากนี้ ระเบยี บวินัยของเจ้าหน้าท่ีกเ็ สอ่ื มถอย แขกที่เข้าพัก จำ�นวนมากไมพ่ อใจกบั การบริการ และก�ำ ลงั ถอนตัวจากไป การพยายามทำ�ให้แขกผเู้ ข้าพกั มีความพงึ พอใจ เปน็ สง่ิ ส�ำ คญั อันดับแรกส�ำ หรบั ว๊าชไฟท์เสมอ เม่ือคลนื่ ของโรงแรมใหม่หลายแหง่ เปิดตวั ในปี 1967 เขา ตระหนักวา่ เขาจะตอ้ งดำ�เนนิ การข้นั เด็ดขาด ในขณะทีผ่ จู้ ัดการทัว่ ไปคนใหม่ทั้งหลายไม่ใส่ใจ และหนั หลงั ให้ กับงาน แต่เขารู้สกึ ว่าโรงแรมโอเรียนทอลมศี กั ยภาพที่จะเป็นโรงแรมระดับโลก “ท�ำ ไมผมถึงมนั่ ใจในโรงแรม โอเรยี นทอลมากเชน่ นี้ โรงแรมทั้งหมดทีผ่ มเคยทำ�งานในประเทศสวิตเซอรแ์ ลนดม์ อี งคป์ ระกอบทท่ี ำ�ให้

โรงแรมเป็นโรงแรมทย่ี อดเย่ียม เช่น ประวตั ศิ าสตร์ สถานทีต่ ง้ั และผู้คน ในชว่ งกลางของปี 1960 – 1969 โรงแรมโอเรียนทอลมีอายไุ ด้ 90 ปี ซงึ่ ตงั้ อย่รู มิ แม่นำ้�ดว้ ยภาพลานตาของเหตกุ ารณ์ต่างๆทไ่ี ม่เคยสนิ้ สุด และคนไทยทกุ คนมีสญั ชาตญาณของการบริการอยู่ในตัวพวกเขาเอง นอกจากน้ี ผมยงั มีผูส้ นบั สนุนทสี่ �ำ คญั นนั่ คือ คณุ จอร์โจ แบลนิ จเิ อริ (Georgio Berlingieri) ผ้ทู นี่ ำ�เขา้ สนิ คา้ หลายอยา่ งสู่ประเทศไทย เชน่ ไวน์ ท่ีดที สี่ ุด ชสี เหล้าบร่ันดี เหลา้ Armagnacs เปน็ ต้น ซึง่ ท่านเปน็ แรงบันดาลใจและผใู้ ห้คำ�ปรกึ ษาที่ด”ี วา๊ ซไฟท์ ได้ทำ�งานใกลช้ ดิ กบั เจ้าของโรงแรม กลุ่มบรษิ ทั อิตลั ไทย (The ItalThai Group) มีแผนการ สำ�หรับการปรับปรงุ ขยายโรงแรม ห้องพกั ต่างๆ และพน้ื ทีส่ าธารณะถกู ตกแตง่ ใหม่ หอ้ งสวที ถกู ตกแตง่ ใหม่ และตงั้ ชือ่ ตามนกั ประพนั ธ์ชอ่ื ดงั ไดแ้ ก่ โจเซฟ คอนราด (Joseph Conrad) เจมส์ มชิ เนอร์ (James Michener) ซอมเมอรเ์ ซ็ท มอห์ม (Somerset Maugham) และโนเอล โควารด์ (Noel Coward) ทเ่ี คย เขา้ พกั ในโรงแรมน้ี บุคลากรได้รับการพฒั นาและฝึกอบรม โดยกระบวนการน้ดี ำ�เนินการมาเปน็ เวลาสองปี “กอ่ นทพี่ วกเขาจะเข้าใจวา่ สง่ิ ทผ่ี า่ นมาเป็นอดีตท่ีผ่านมา” เขากลา่ ว ห้องนอร์มานดี กริลล์ (Normandie Grill) ซ่งึ อยู่ช้นั บนสดุ มีสภาพทรุดโทรม เพราะพ้นื ทป่ี ดู ว้ ยเสอ่ื น�ำ้ มนั ว๊าซไฟท์ ตดั สนิ ใจทีจ่ ะทำ�ใหห้ ้องอาหารยุโรปของโรงแรมเปน็ ร้านอาหารที่ดที ี่สดุ ในประเทศไทย เขา ออกแบบใหม่ และจ้างสุดยอดเชฟมาเพอ่ื สร้างสรรคเ์ มนใู หก้ ับร้านอาหาร จนกลายมาเป็นรา้ นอาหารชั้นนำ� มากกวา่ 30 ปี ตอ่ มาเขาได้เพิม่ เตมิ ห้องคอมเพล็กซท์ อ่ี ย่ฝู ัง่ ตรงขา้ มริมแมน่ �ำ้ ท่ปี ระกอบด้วยสปา ศนู ย์ ฟิตเนสและรา้ นอาหารไทยทชพรอ้ มด้วยช้นั เรียนท�ำ อาหาร ซ่งึ สงิ่ เหล่านช้ี ว่ ยผลกั ดนั ใหโ้ รงแรมต่างๆใน กรุงเทพฯ ยกระดบั มาตรฐานของพวกเขาเอง ในเคล็ดลบั ความสำ�เร็จของเขา ว๊าซไฟท์ กลา่ ววา่ “ในการ ท่จี ะทำ�ใหโ้ รงแรมเป็นโรงแรมระดับเลิศ คุณจะต้องมีสามองค์ประกอบคือ เจ้าของกจิ การทเี่ ช่อื ม่นั ในตัวคุณ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านทส่ี นับสนนุ คุณและลูกค้าทีใ่ สใ่ นรายละเอียด” นอกจากนีย้ งั ตอ้ งมีความสมั พนั ธท์ ่ดี ี และความ เข้ากันได้ระหวา่ งพนกั งานและฝ่ายบรหิ าร “คณุ ต้องปฏบิ ัตกิ ับทกุ คนอย่างเท่าเทยี มกัน” และวธิ ีการทีง่ ่าย ท่ีสุดคอื การดแู ลแขกผ้เู ขา้ พัก โดย “รบั ฟงั พวกเขา และรับร้คู วามตอ้ งการของพวกเขาด้วย” จากน้ัน เปน็ ทีป่ รากฏวา่ เขาได้ใช้วิธีการดังกลา่ วประสบผลสำ�เร็จ เพราะผอู้ ่านนติ ยสาร อินสตวิ -ชนั แนล อนิ เวสเตอร์ (Institutional Investor) จดั อนั ดับใหโ้ รงแรมโอเรยี นทอลเป็นโรงแรมอนั ดบั หนึง่ ถงึ 9 ปีซอ้ น นอกจากนี้ นติ ยสารทราเวลแอนด์เลเชอร์ (Travel and Leisure Magazine) ยังจดั ให้โรงแรมได้ช่ือว่าเปน็ โรงแรมชัน้ น�ำ อีกดว้ ย เม่ือถามวา่ ส่งิ ใดท่ีท�ำ ให้เขาภมู ใิ จมากทีส่ ดุ ในสายอาชพี ตลอด 42 ปที ่ีผ่านมา เขากลา่ ว ว่าส่ิงทีภ่ มู ิใจมากท่สี ุดมีอย่สู ามส่ิง ได้แก่ ตำ�นานอินโดจนี ทท่ี ำ�ใหน้ ักทอ่ งเทยี่ วได้รับรถู้ ึงประวตั ิศาสตรแ์ ละ วฒั นธรรมในภมู ภิ าค รางวัลนกั เขียนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทใ่ี ห้การยกยอ่ งนักประพนั ธ์อาเซยี น (ASEAN Authors) ส�ำ หรับความสำ�เรจ็ ดา้ นวรรณกรรม และโครงการฝกึ งานของโรงแรมโอเรียนทอล (Oriental Hotel Apprenticeship Programme) ทจ่ี ัดขึ้นในปี 1990 เพื่อฝกึ อบรมผูป้ ฏิบตั งิ านระดบั ทต่ี ่ำ�กว่าผ้บู ริหารระดบั กลาง ในการยกย่องการปฏิบตั ิหน้าทดี่ ้านการบริการตลอดชวี ติ ของเขาทม่ี ตี ่อประเทศไทย ว๊าซไฟท์ ไดร้ บั เคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณจ์ ัตรุ ถาภรณช์ า้ งเผอื ก และตราเชดิ ชูเกยี รติจากประธานาธบิ ดีแห่งสหพันธส์ าธารณรฐั เยอรมนี ในปี 1987

ทอ้ งนภาสีฟา้ “การขนสง่ มวลชนทางอากาศ เริ่มเปน็ ไปได้คร้งั แรกในยุคเครอื่ งบนิ เจท็ ‘Jet Age’ สงิ่ นเ้ี ปน็ สิ่งท่ีพสิ ูจน์ไดว้ า่ การ ท่องเท่ยี วรอบโลกนัน้ มคี วามส�ำ คญั มากกว่าการทงิ้ ระเบดิ ปรมาณู ทั้งนี้ ไมม่ ีระเบดิ ปรมาณใู ดๆ ทีจ่ ะสามารถมอี �ำ นาจ และศกั ยภาพมากไปกว่านักท่องเทยี่ วทางอากาศทั้งหลาย ทเี่ ป่ียมด้วยความอยากร้อู ยากเห็น ความกระตอื รือร้นและ ความปรารถนาดี ซ่งึ พวกเขาเหลา่ น้ีสามารถเดินทางทอ่ งเทีย่ วไปทว่ั ทงั้ สม่ี มุ ของโลก พบปะมิตรภาพใหม่ๆ และความ เข้าใจที่มตี ่อผคู้ นต่างเชือ้ ชาต”ิ ฮวน ท.ี ทรปิ ป์ (Juan T. Tripp) ผูก้ อ่ ตั้งสายการบนิ แพน เอเมริกัน เวลิ ด์ แอรเ์ วยส์ (Pan American World Airways 29 ธันวาคม 1955) คณุ ฮวน ทรปิ ป์ ถอื เป็นบคุ คลทีไ่ ดส้ ่งสัญญาณบทใหมใ่ หก้ บั การท่องเท่ยี วรอบโลก การ ริเรม่ิ ของการขนสง่ ทางอากาศหลังจากสงครามโลกครงั้ ที่ 2 (World War II) เปน็ ตวั เปล่ียนเกม ซงึ่ ไมม่ ีทอี่ นื่ ใดมากไป กวา่ ในประเทศไทยอกี แลว้ ส�ำ หรบั ครัง้ แรก นกั ทอ่ งเทยี่ วสามารถเดินทางโดยอากาศยานไปยังประเทศไทยได้จากตะวนั ออกไปสู่ตะวนั ตก และท�ำ ใหพ้ วกเขาสามารถเดินทางไปท่องเท่ยี วตา่ งจังหวดั ไดร้ วดเรว็ ข้นึ โดยสายการบินในประเทศ ทรปิ ป์ตระหนกั เป็นครั้งแรกว่า “ชาวอเมรกิ นั โดยเฉล่ยี ไดพ้ บเหน็ แหลง่ ทอ่ งเที่ยวท่สี วยงาม ซงึ่ ในอดีตมเี พียงคนร�่ำ รวย เท่าน้นั ที่จะไดร้ บั สิง่ เหลา่ น”้ี ความเชือ่ มั่นนถี้ กู นำ�ไปประยุกตใ์ ช้กับชาวยุโรปและชาวเอเชียดว้ ยเช่นกนั ในเวลาต่อมา เครือ่ งบนิ จากสายการบนิ ตา่ งประเทศตา่ งๆ ลงจอดทสี่ นามบนิ ดอนเมืองของกรุงเทพฯ เปน็ ครั้งแรก สายการบิน เคแอลเอม็ (KLM) เปน็ สายการบินพาณชิ ย์เจา้ แรกท่ีมาถงึ และลงแตะพนื้ สนามบินในเดอื นพฤศจิกายน ปี 1945 ซ่งึ เป็นเทีย่ วบินระหว่างอมั สเตอรด์ มั (Amsterdam) และจาการ์ตา (Jakarta) จากนน้ั ไมก่ ่ีวนั ต่อมา สายการบินบี โอเอซี (BOAC: British Overseas Airways Corporation) (ต้นกำ�เนิดของสายการบิน บริติช แอร์เวย:์ British Airways) ซงึ่ เป็นเทย่ี วบนิ ระหว่างลอนดอนและซิดนีย์ ไดล้ งจอดที่สนามบนิ ดอนเมืองด้วยล้อยางแอสฟัลต์ ในเดือน มถิ ุนายน 1946 สายการบินแอร์ ฟรานซ์ (Air France) เทีย่ วบินปารีส-ยา่ งกงุ้ เปน็ สายการบินถัดมา ในปี 1947 สายการบนิ ต่างๆทเ่ี ขา้ มาร่วมสมทบ ไดแ้ ก่ สายการบินฟิลปิ ปนิ ส์ แอรไ์ ลน์ส (Philippine Airlines) แพน อเมริกนั (Pan American) แควนตัส(Qantas) และสายการบินทรานส์ เวิลด์ แอร์ไลนส์ (Trans World Airlines: TWA) ซึง่ เป็นการประกาศถงึ ยุคแห่งอากาศยานท่ีเต็มไปดว้ ยสายการบนิ จากชาตติ า่ งๆมากมาย และสายการบนิ เหล่าน้ไี ดล้ ง แตะพนื้ ในเมอื งหลวงกรุงเทพมหานคร ยคุ แหง่ การบินไทยไดเ้ ร่มิ ข้ึนในปี 1911 เมอ่ื เครื่องบนิ ปีกสองชน้ั (Biplane) คอ่ ยๆเคลอ่ื นผา่ นขา้ มสนามหญ้าราชกรฑี า สโมสร (Royal Bangkok Sports Club) หลงั จากน้ันไม่นานนัก นกั บินไทยสามคนได้ถูกส่งตวั ไปยังประเทศฝรงั่ เศส เพื่อฝึกบิน และในปี 1914 ทา่ อากาศยานได้ยา้ ยไปอยู่พน้ื ทที่ ่กี วา้ งขวางมากขน้ึ ซึง่ ตัง้ อยใู่ นปา่ ทางตอนเหนือของเมอื ง บริเวณพน้ื ทช่ี มุ่ น้�ำ ทีเ่ ป็นท่รี จู้ ักกนั ดใี นหมูน่ ักลา่ สัตว์ชาวยุโรปทเี่ ข้าไปล่าฝงู นกปากซอ่ ม (Snipe) ทน่ี ัน่ และใชเ้ ปน็ ลาน กฬี าตามฤดกู าลส�ำ หรับนักลา่ ฝีมือดใี นชุมชนชาวต่างชาติ ชว่ งปี 1930 – 1939 นกั บนิ ชาวไทยไดท้ �ำ การบนิ เพอ่ื สง่ จดหมาย และสง่ ผโู้ ดยสารขา้ มฟากไปยงั ตา่ งจงั หวดั เปน็ ครง้ั คราว ในขณะท่บี ริษัท ขนส่งทางอากาศ (Aerial Transport Company: ATSC) จะมีเทย่ี วบนิ ทีเ่ ก่ียวข้องกับสงครามตลอด

ช่วงสงครามโลกครง้ั ท่สี อง บริษทั ฯ เปดิ ดำ�เนนิ การในปี 1945 และภายในสองปีต่อมา สายการบนิ ไทย คอมเมอเชียล แอรไ์ ลนส์ (Thai commercial airlines) ไดเ้ สนอบริการเท่ยี วบินไปสทู่ ่าอากาศยานจังหวัด ในปี 1947 กระทรวง คมนาคมไดก้ อ่ ตั้งบริษทั ไซมิส แอร์เวยส์ จำ�กัด (Siamese Airways Company Ltd.) ตอ่ จากน้นั ไดม้ กี ารจัดตัง้ บริษัท แปซิฟิก โอเวอรซ์ ีส์ สยาม แอรไ์ ลนส์ [Pacific Overseas Airlines (Siam) Company (POAS)] ซึง่ เปน็ กจิ การร่วมระหวา่ งบริษทั แปซิฟิก แอรไ์ ลน์ คอร์เปอเรชัน่ แคลิฟอรเ์ นีย (Pacific Airline Corporation of California) และผถู้ อื หนุ้ ชาวไทยรวมทง้ั รฐั บาลไทย จากนน้ั ไมน่ านนกั บรษิ ทั ทรานส์ เอเชยี ตกิ แอรไ์ ลนส์ [Trans Asiatic Airlines (Siam) Co. Ltd. (TAA)] ได้เขา้ ร่วมกิจการเปน็ สายการบนิ ลำ�ดบั ทีส่ าม บรษิ ทั แปซฟิ ิก โอเวอรซ์ ีส์ สยาม แอร์ไลนส์ เรมิ่ ดำ�เนินการรว่ มกบั สายการบนิ ตา่ งประเทศ โดยท�ำ การบินขนสง่ ผ้โู ดยสารดว้ ยเครอื่ งบนิ ดีซ-ี 4 (DC-4) จากกรงุ เทพฯ ไปยงั ลอส แอนเจอลิส โดยบินผา่ นฮอ่ งกง กวม เกาะเวค มิดเวยแ์ ละโฮโนลลู ู และในปี 1948 ได้เพ่ิมเท่ยี วบนิ ไปปีนัง เซ่ียงไฮ้ ไตห้ วัน โตเกียวและสิงคโปร์ ในขณะท่ี บรษิ ทั ทรานส์ เอเชียติก แอรไ์ ลนส์ ด�ำ เนินการเชา่ เหมาล�ำ อยู่ในประเทศฟิลปิ ปินส์ และประสบความล้มเหลว หลังจาก ดำ�เนนิ กิจการมาเปน็ เวลาสองปี สายการบินสยามมิส แอรเ์ วยส์ เป็นสายการบินท่ปี ระสบความส�ำ เร็จมากที่สุด และไดก้ ลายมาเปน็ สายการบนิ ประจำ� ชาติ ในวนั ที่ 1 มีนาคม 1947 สายการบินได้ใช้เครอ่ื งบนิ ดักกลาส ดซี -ี 3 (Douglas DC-3) บชี คราฟท์ ซี-45 (Beechcraft C-45) แอล-ไฟว์ เซนทิเนล (L-5 Sentinel) เรยี วิน (Rearwin) และแฟรไ์ ชลด์ (Fairchild) โดยให้ บรกิ ารเท่ยี วบินภายในประเทศจกกรุงเทพฯ ไปเชยี งใหม่ ผา่ นพิษณโุ ลกและล�ำ ปาง หลงั จากนน้ั สองวนั ต่อมา เครอ่ื งบิน พร้อมผ้โู ดยสารได้บินไปตามเส้นทางบินเชียงใหม่ - แมส่ ะเรยี ง - แมฮ่ อ่ งสอน และขยายเสน้ ทางการบินไกลออกไปสู่ ทางภาคใต้และภาคตะวันออกเฉยี งเหนือในเวลาต่อมา ในเดอื นธันวาคม ปี 1947 สายการบนิ มเี ที่ยวบินต่างประเทศ เป็นคร้ังแรกโดยบนิ จากกรุงเทพฯ ผา่ นสงขลาไปยังปีนงั จากน้นั สายการบนิ ได้ขยายเท่ยี วบินไปสู่ประเทศสิงคโปร์ และ บินสเู่ วียดนามผา่ นพนมเปญ และเท่ียวบนิ ไปยังฮอ่ งกง อีกหน่ึงปตี อ่ มา อยา่ งไรกต็ าม มันถงึ กาลส้นิ สุดของสายการบินทงั้ สามแล้ว เนอื่ งจากอปุ สงค์ตอ่ การใชบ้ รกิ ารอากาศยานอยใู่ นระดับต่ำ� และสายการบินตอ้ งด้นิ รนตอ่ สู้อย่างยากล�ำ บาก นอกจากน้ี บริษัท แปซฟิ ิก โอเวอร์ซสี ์ สยาม แอรไ์ ลนส์ (POAS) และบริษัท สยามมสิ แอร์เวยส์ จ�ำ กัด (SAC) ไดเ้ พ่มิ จ�ำ นวนเที่ยวบนิ ข้นึ อกี เป็นสองเท่า แตไ่ ม่สามารถสร้างก�ำ ไรไดเ้ ลย ในเดือนธนั วาคม 1951 รฐั บาลไทยไดก้ า้ วเข้ามา และซื้อหนุ้ ท้ังหมดของบริษทั แปซิฟกิ โอเวอร์ซีส์ สยาม แอรไ์ ลน์ส และรวบรวมสายการบินอนื่ ๆ อีกสองสายการบินเข้าไว้ดว้ ยกัน เพ่ือสรา้ งบรษิ ทั การบินไทย จำ�กัด (Thai Airways Company Ltd.:TAC) การผงาดขึ้นมาของการบนิ ไทย (THAI’ Rise) ในช่วงต้นปี 1959 นายฮานส์ อรี ิค ฮานเซ็น (Hans Eric Hansen) ผจู้ ดั การฝ่ายขายทัว่ ไปของบรษิ ทั สแกนดิเน เวียน แอรไ์ ลนส์ ซสิ เทม็ (Scandinavian Airlines System: SAS) ได้เดนิ ทางมาท�ำ ธุรกิจในเอเชียตะวันออกเฉยี ง ใต้ เม่อื เขามองออกไปนอกหน้าต่างเคร่ืองบนิ โดยสารทกี่ �ำ ลงั เคลื่อนทอ่ี ยบู่ นท่าอากาศยานดอนเมือง เขาได้สงั เกตเหน็ เครอ่ื งบินซปุ เปอร์ คอนสเทลเลชนั่ (Super Constellation) จ�ำ นวนสามล�ำ จอดอยตู่ ามรันเวย์ สงิ่ นท้ี ำ�ใหเ้ ขาเกิดความ สงสยั เขาจงึ ไดไ้ ปเข้าพบ นาวาอากาศตรปี ระสงค์ สชุ ีวะ ผ้จู ัดการท่ัวไปของบรษิ ัท การบนิ ไทย จ�ำ กัด การสนทนา

แบบสบายๆเป็นกนั เอง ได้กลายเปน็ การอภปิ รายอย่างจริงจงั ส�ำ หรับศักยภาพของสายการบนิ ใหม่ ท่จี ะเปน็ การดำ�เนนิ ธุรกจิ ร่วมกนั ระหวา่ งสายการบนิ ของไทยและสแกนดเิ นเวีย ในปี 1959 รัฐบาลไทยนำ�โดยจอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต์ ไดเ้ ข้ามามอี �ำ นาจในปี 1957 พรอ้ มด้วยวิสยั ทศั นท์ ่มี ีต่ออนาคต ของประเทศไทย ทา่ นมีความตั้งใจท่จี ะริเรม่ิ นโยบายตา่ งๆที่จะสนบั สนนุ ส่งเสริมวฒั นธรรมไทยและผลประโยชน์ทาง ธรุ กิจ รวมทง้ั ได้ก่อตัง้ กระทรวงการพัฒนา (Ministry of Development) ซงึ่ นำ�ไปสกู่ ารจดั ตงั้ องค์การทอ่ งเทย่ี วแห่ง ประเทศไทย (Tourist Organisation of Thailand: TOT) กิจการสายการบนิ รว่ มอยา่ งสมบูรณแ์ บบเปน็ แผนของ ท่านท่ีจะใชส้ ถานที่ท่องเทย่ี วเปน็ เอกลกั ษณ์โดดเด่นของประเทศไทย ดงึ ดดู นกั ท่องเทย่ี วตา่ งชาตเิ ข้ามาในประเทศ จากการพบปะพูดคุยแบบสบายๆในคร้ังนน้ั ไดก้ ลบั กลายมาเป็นแผนจรงิ จัง โดยทร่ี ฐั บาลไทย จะเข้าถือหุน้ 70% ของ หนุ้ ทง้ั หมด ในขณะทบ่ี รษิ ัทสแกนดิเนเวียน แอรไ์ ลน์ส ซสิ เทม็ (SAS) ถือหนุ้ 30% นอกจากน้ี บริษัทสแกนดิเน เวยี น แอร์ไลน์ส ซสิ เทม็ จะดำ�เนินการดา้ นบรหิ าร การปฏบิ ัตกิ าร การจราจรการขาย และการบรกิ ารลกู ค้า โดยจะ ถอื หุน้ บรษิ ทั ร่วมทนุ ใหมน่ ี้ เป็นเวลา 15ปี ในวันที่ 24 สงิ หาคม 1959 คณะกรรมการบริหารคณะแรก ประกอบดว้ ย สมาชิกจำ�นวน 9 คน ซึ่งเป็นคนไทย 6 คน และสแกนดเิ นเวียน 3 คน สายการบนิ ใหมจ่ ะบรหิ ารจัดการธุรกจิ ระหวา่ ง ประเทศท้ังหมด ในขณะทีก่ ารบินไทยยงั คงใหบ้ ริการภายในประเทศ บริษัทสแกนดิเนเวยี น แอรไ์ ลน์ส ซิสเทม็ ไดจ้ ดั ให้มกี ารฝกึ อบรม การวางแผนล่วงหน้าและบริการเสริมอืน่ ๆ ใหก้ ับบริษทั การบินไทย ภายใตข้ อ้ ตกลงเพิ่มเติม ซ่งึ ได้ มีการ ลงนามเมื่อวันท่ี 31 มีนาคม 1960 สัญญาฉบับนใี้ ห้ประโยชน์ต่างตอบแทนทส่ี ำ�คญั กบั คสู่ ัญญาทั้งสองฝ่าย บริษทั สแกนดเิ นเวียนฯ (SAS) ได้รับยกยอ่ งว่า เปน็ บริษัทท่ีมีชอื่ เสยี งในฐานะสายการบินแรกท่ีไดข้ ยายการบนิ ไทยไปสู่ระดับโลก และจดั ใหม้ กี ารฝกึ อบรมท่จี �ำ เปน็ ใน การพฒั นาบุคลกรไปสมู่ าตรฐานสากล ตามแนวคิดของบรษิ ัทสแกนดิเนเวียนฯ น้นั สายการบนิ ใหม่จะสามารถขยาย เครอื ขา่ ยเสน้ ทางการบินเหนือกรุงเทพมหานครฯ กรงุ โตเกยี ว และปะเทศท่กี �ำ ลงั พฒั นาอยา่ งรวดเรว็ ในเอเชยี และ ออสตราเลเซยี (Australasia) ซงึ่ เปน็ พน้ื ทีท่ ีบ่ รษิ ทั ฯตอ้ งการฝา่ เข้าไปมานานแล้ว เคร่ืองบนิ ซูเปอร์ คอนสเตลเลช่นั ส์ (Super Constellations) จำ�นวน 3 ล�ำ ถกู ขายให้กับพนั ธมติ รรว่ มทุนของสแกนดิเนเวยี นฯ นน่ั คือ บรษิ ทั เกสท์ แอโรเวยี ส เม็กซิโก (Guest Aerovias Mexico) ส�ำ หรับเสน้ ทางบนิ แอตแลนติกกลาง บริษัท สแกนดิเนเวยี นฯได้ จัดหาเครอื่ งบิน ดักกลาส ดี ซี – 6บี (Douglas DC-6B) มาทดแทน ซง่ึ ถอื เปน็ ฝูงบนิ หลักของสายการบนิ ใหม่ ในเดอื นธนั วาคม ปี 1959 นักบินไทยจ�ำ นวน 12 คน บนิ สู่กรุงสตอกโฮล์ม (Stockholm) เพอื่ เรียนรู้การขับเครือ่ ง บนิ ดกั กลาส ดี ซี – 6บี (Douglas DC-6B)ท่มี ีความซบั ซ้อน จากน้นั พวกเขาได้เปน็ นักบนิ ร่วมกบั นกั บนิ ของสแกน ดิเนีเวยี น แอร์ไลน์ ในกรงุ เทพมหานคร พนักงานตอ้ นรับบนเคร่ืองบนิ กลุ่มแรก ประกอบดว้ ยผู้หญิงจ�ำ นวน 24 คน และผู้ชาย 12 คน อาชีพนถี้ ือเปน็ อาชีพที่มเี กยี รติ และรายได้ดี รวมถงึ โอกาสทจี่ ะได้ทอ่ งเทยี่ ว ท�ำ ใหม้ ผี มู้ าสมคั รงาน เปน็ จำ�นวนมากจนเกินโควตาทร่ี ับสมัคร ผู้สมคั รไดร้ บั การคดั เลอื ก โดยพิจารณาจากการศกึ ษาและทกั ษะทางภาษา ของพวกเขา มกี ารจดั การเรียนการสอนส�ำ หรบั พนักงานต้อนรับบนเครือ่ งบินตามมาด้วยการฝึกอบรมในเคร่ืองบิน ดี ซี – 6บี DC-6B ทไ่ี ด้สร้างจ�ำ ลองขึ้น ที่โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ (Assumption Convent School) ใน กรงุ เทพฯตอนกลาง จากนน้ั ลกู เรือไดป้ ฏิบตั งิ านกบั ลูกเรือทีม่ ากดว้ ยประสบการณ์บนเที่ยวบินของสแกนดิเนเวยี น แอรไ์ ลน์

ในขณะเดยี วกัน หอ้ งครัวการบินถกู สร้างขึน้ ทสี่ นามบินดอนเมือง และไดร้ ับการจัดอันดบั เปน็ ห้องครวั ที่ใหญท่ ่สี ดุ ในเอเชียท่ีมีสามารถเตรยี มอาหารที่น่ารับประทานได้ถึง 4,000 ม้อื ตอ่ อาทิตย์ ในปี 1967 ห้องครัวแห่งนีเ้ ตรยี ม อาหารให้กับสายการบนิ ต่างประเทศ 14 สายการบินท่ีลงจอดกรุงเทพฯ สายการบินเปิดตัวอยา่ งเป็นทางการใน วนั ท่ี 1 พฤษภาคม 1960 โดยทส่ี มเด็จพระนางเจา้ สิริกิติ์ พระบรมราชนิ ีนาถทรงเสดจ็ ฯ เป็นประธานในพิธเี ปดิ ท่ี ดอนเมอื ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ฯ ทรงพระราชทานนามแก่เคร่อื งบินแตล่ ะลำ� และเจมิ โดยรกั ษาการสมเดจ็ สงั ฆราช ในชว่ งบ่าย หัวหน้ากัปตนั ของการบนิ ไทย กปั ตันเฮดอล ฮานเซน็ และกัปตันพร้อม ณ ถลาง อดีตนักบิน ของบรษิ ทั การบินไทย (TAC) ซึง่ ไดร้ ับการเล่ือนต�ำ แหน่งให้เป็นกัปตนั อาวุโสของการบินไทย เป็นผู้ขบั เครือ่ งบิน ดี ซี – 6บี ล�ำ ใหม่ลา่ สุดท่ีเพิ่งไดร้ บั การเจมิ น้ี โดยได้พาผู้โดยสารจ�ำ นวน 60 ชีวติ บนิ ลดั ฟ้าสู่ฮอ่ งกง ไต้หวนั และ โตเกียว การบนิ ไทยเปน็ การขนส่งทางอากาศอย่างเป็นทางการ ต้งั แตน่ ้นั เปน็ ต้นมา กัปตันพรอ้ มตระหนักดวี ่าสายการบนิ เนน้ การบรกิ ารภายในเที่ยวบิน เท่ยี วบินจากกรงุ เทพฯ ไปยงั โตเกยี ว ใชเ้ วลารวม 20 ชัว่ โมง โดยหยุดพักเครอ่ื งที่ฮ่องกงและไตห้ วัน ส�ำ หรบั การรับประทานอาหารทีร่ า้ นอาหารในสนามบิน และมือ้ อาหารทเี่ สริ ฟ์ ในเท่ยี วบนิ ระหว่างเส้นทางไตห้ วนั และโตเกยี ว หลงั จากน้นั 30 ปตี อ่ มา เทยี่ วบินเดยี วกันจะใชเ้ วลาหก ชวั่ โมงโดยไม่มกี ารหยุดพกั แตม่ กี ารบริการเสริ ์ฟอาหารรสชาติอรอ่ ยของการบินไทยระหวา่ งเสน้ ทางการบิน หลังจาก วันนน้ั เครอื่ งบินของการบินไทยอีกสองลำ�บินขึน้ ไปสู่กรุงกัวลาลัมเปอร์ สิงคโปร์ ยา่ งก้งุ และกลั กตั ตา สัปดาห์ต่อมา การบินไทยไดใ้ หบ้ ริการเทยี่ วบนิ ไปส่กู รงุ พนมเปญและไซ่ง่อน และการบินไทยไดเ้ พ่มิ เทยี่ วบนิ ไปยังกรงุ มะนิลาและ จาการต์ า ในเวลาต่อมา ผบู้ ริหารการบินไทยสือ่ สารข้อความทพ่ี วกเขาตอ้ งการสูส่ าธารณชนเพื่อดึงดูดใจให้พวกเขา ใช้บริการสายการบนิ ผู้ บรหิ ารตัดสินใจว่า ความเป็นไทยและความเมตตากรณุ าของคนไทยเปน็ การตลาดท่มี ีคณุ ภาพ ซึง่ จะสร้างความโดดเด่น ของสายการบนิ ไทยใหแ้ ตกตา่ งไปจากสายการบนิ อน่ื ๆ ลวดลายไทยถกู เลอื กใชเ้ ปน็ เครอ่ื งหมายโลโกข้ องบรษิ ทั การบนิ ไทย ใช้สัญลักษณ์รูป “ตุก๊ ตารำ�ไทย” ซ่ึงออกแบบโดย หม่อมเจา้ ไกรสิงห์ วฒุ ิชัย เปน็ ตราสัญลักษณข์ องสายการบิน สลกั ไวบ้ นลำ�ตัวเคร่อื งบนิ ประกอบดว้ ยเส้นแถบสแี ดงและสนี �ำ้ เงินซ้อนทับบนพน้ื สีขาวแลน่ ไปตามความยาวของเคร่อื งบนิ ผูบ้ รหิ ารสายการบนิ ตัดสนิ ใจวา่ ควรจะขยายการบินภายในประเทศ ในชว่ งกอ่ นท่กี ารบนิ ไทยจะมชี อ่ื เสยี ง ความพยายาม ของสายการบนิ มงุ่ ไปทกี่ ารสรา้ งความประทับใจท่ีมีต่อประเทศไทยไปส่สู าธารณชน การดำ�เนินงานร่วมกับสแกน ดเิ นเวีย แอร์ไลน์ส ทเ่ี ปน็ สายการบนิ ช่ือดงั ท�ำ ใหผ้ ้โู ดยสารมน่ั ใจในสายการบนิ และการจดั การบรหิ าร สง่ ผลให้ผบู้ รหิ าร สามารถใส่ใจในการสรา้ งการบรกิ ารทีด่ ี เรมิ่ ตัง้ แต่วินาทีทีผ่ ู้โดยสารก้าวเข้ามาในการบนิ ไทย จนกระท่ังพวกเขาบินสูจ่ ุด หมายปลายทางอย่างปลอดภยั การบริการบนเทีย่ วบินและการบรกิ ารอาหารท่ดี ีกว่าสายการบินต่างประเทศเปน็ จุด เด่นของสายการบนิ ไทยที่แตกตา่ งจากคแู่ ข่ง การบรกิ ารของการบนิ ไทยเรยี กว่า “รอยลั ออร์คิด (Royal Orchid) ซงึ่ ไดส้ รา้ งความประทับใจ จนกลายมาเป็นเอกลักษณ์ของสายการบนิ ในการท่ีจะคงไว้ซ่ึงบรกิ ารทโ่ี ดดเดน่ น้ีการบนิ ไทยปฏเิ สธท่จี ะเขา้ รว่ มสมาคมขนสง่ ทางอากาศนานาชาติ(International Air Transport Association: IATA) ซ่ึงมีกฎเกณฑข์ อ้ จ�ำ กดั ดา้ นการบริการท่เี ขม้ งวด แต่การบินไทยจะบรกิ ารเครื่อง ดม่ื ฟรสี �ำ หรับผโู้ ดยสาร พนกั งานตอ้ นรบั จะรอต้อนรบั ผูโ้ ดยสารขึน้ เคร่อื งและกล่าวอ�ำ ลาผูโ้ ดยสารเม่อื ถงึ ทห่ี มาย ซง่ึ ท�ำ ให้นกั ท่องเท่ียวประทบั ใจกบั เสน่หข์ องการบินไทยเชน่ น้ี และเมอื่ ผูโ้ ดยสารสุภาพสตรนี ง่ั บนเคร่อื งบนิ แล้ว พนกั งาน

ต้อนรบั จะนำ�กล้วยไมป้ อมปาดัวรส์ ีม่วง [Dendrobium (Madame) Pompadour orchid] ซ่ึงมีความหมายเกีย่ วขอ้ ง กบั สมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกติ ิฯ์ มาตดิ ไว้บนเสอื้ ของผู้โดยสารสภุ าพสตรี และผโู้ ดยสารมปี ฏิกิรยิ าตอบสนองอยา่ งดตี ่อ ความคดิ สร้างสรรคน์ ี้ ตัง้ แตจ่ มิ ทอมป์สัน (Jim Thompson) สร้างชื่อเสยี งของผา้ ไหมไทยใหเ้ ป็นท่ีร้จู ักโดง่ ดังใน ตลาดต่างประเทศ ผา้ ธรรมชาตชิ นดิ น้ี ได้ถ่ายทอดความมสี ีสันสดใสและความงดงามอันเป็นประกายไปสู่สายตาชาวตา่ งชาติ หลงั จากท่ี เคร่ืองบินไดท้ ะยานขึน้ ส่ทู อ้ งฟ้า พนักงานตอ้ นรบั จะเปลีย่ นชุดเป็นชุด ผา้ ไทย โดยทพ่ี วกเขาจะทำ�การเลือกเน้อื ผ้าและ สขี องเสอ้ื ผ้าดว้ ยตัวเอง การตกแต่งภายในหอ้ งโดยสารสะท้อนถงึ ความเปน็ ไทยดว้ ยเชน่ กนั ผนังและผ้าคลุมทน่ี งั่ ถกู ตกแตง่ ด้วยผา้ ไหมไทย โดยท่ีเคร่อื งบินแต่ละลำ�น้ันจะมลี ักษณะเด่นแตกต่างกันเลก็ นอ้ ย การเนน้ ภาพลกั ษณ์ความเป็นไทยนี้ ได้รบั การสนบั สนุนจากการโฆษณาทีแ่ สดงให้เห็นถงึ วิถีชวี ิตและศลิ ปะของชาว ไทย การออกแบบการโฆษณามีจดุ ประสงคเ์ พอ่ื ดึงดูดนักท่องเท่ยี วให้มาเท่ยี วประเทศไทย และเหน็ ประเทศไทยดว้ ย ตาของตวั พวกเขาเอง อยา่ งไรกต็ าม งบประมาณด้านการโฆษณาของการบินไทยยังไมม่ มี ากมายเม่ือเปรียบเทียบกับ สายการบนิ ต่างชาตอิ น่ื ๆ ในอดีตการโฆษณาของการบนิ ไทยเน้นความส�ำ คัญทีแ่ หลง่ ท่องเทยี่ วท่ีโดดเดน่ และความ สภุ าพออ่ นนอ้ มของคนไทย ดว้ ยงบประมาณทจ่ี �ำ กดั ของการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ประเทศไทย (TAT) ดงั นน้ั การประชาสมั พนั ธ์ ประเทศไทยในตา่ งประเทศ จึงสรา้ งขน้ึ โดยการบนิ ไทย (THAI) ในปี 19641 ซ่ึงเป็นปีแรกทไี่ ดม้ ีการด�ำ เนินการสมบูรณแ์ บบทง้ั ปี การบนิ ไทยด�ำ เนินการขนสง่ ผ้โู ดยสารเปน็ จำ�นวน มากกวา่ 83,000 คน พร้อมด้วยเสยี งร่�ำ ลือเก่ียวกบั การบริการช้นั เลศิ การประสบความสำ�เรจ็ ในช่วงเริ่มต้นน้ี สง่ ผล ใหก้ ารบนิ ไทยต้องเชา่ เครื่องบนิ คอนเวยี ร์ โคโรนาโด เจ็ท (Convair Coronado Jet) เพ่มิ ข้นึ ในปตี ่อมา เป็นจำ�นวน 4 ล�ำ ซึง่ สามารถรองรบั ผโู้ ดยสารได้ 99 คน ในปี 1963 การบินไทยขยายกจิ การออกไป โดยการเซ็นต์สญั ญาธุรกิจ กบั มาลายา (รวมทง้ั สิงคโปร์) และฮ่องกง ในเดอื นมกราคา ปี 1964 ผูบ้ รหิ ารการบนิ ไทยตัดสนิ ใจวา่ เคร่ืองบนิ ท่ีมีอยนู่ ้ันไม่คุม้ ทนุ จึงไดน้ ำ�ฝงู เครอ่ื งบนิ คาราเวลล์ เจท็ ส์ (Caravelle jets) จ�ำ นวน 5 ลำ� มาใช้ในการปฏบิ ตั ิการท่คี ุ้มค่าและประหยดั กว่า นอกจากนี้ การบินไทยยงั เป็นสายการบินที่มีเคร่ืองบินเจ็ททุกชนิดเป็นสายการบินแรกในภูมิภาคเอเชียmการบินไทยยังคงเน้นความสำ�คัญของ ความสะดวกสบายของผโู้ ดยสาร โดยไดป้ รับลดจ�ำ นวนท่ีนั่งลงจาก 89 ทนี่ ่ังเป็น 72 ท่นี ่งั ทำ�ให้ห้องโดยสารและทพี่ ัก ขากวา้ งขวางมากขนึ้ การนำ�เครอ่ื งบนิ คาราเวลลเ์ ขา้ มา สามารถเปล่ยี นชะตาของการบนิ ไทยได้ ตลอดชว่ งเวลา 4 ปี แรก การบินไทยตอ้ งประสบภาวะขาดทุน แตใ่ นช่วงทา้ ยปี 1965 การบนิ ไทยสามารถท�ำ ก�ำ ไรได้ถงึ 3.9 ล้านบาท ในขณะเดียวกนั สายการบนิ มีความโดดเดน่ แตกต่างจากคูแ่ ข่ง โดยการให้บริการไปยังจุดหมายปลายทางทีย่ งั ด้อย โอกาส เป้าหมายของการบนิ ไทยคอื การสรา้ งกรงุ เทพฯ ให้เปน็ ศนู ย์กลางการบิน และพฒั นาเครอื ข่ายทจ่ี ะชว่ ยให้ นักเดนิ ทางสามารถเดนิ ทางไปยงั จังหวดั อนื่ ๆ ของประเทศไทยได้ ขณะเดยี วกนั นกั เดนิ ทางทม่ี าจากจงั หวัดเล็กๆ ก็ สามารถเชือ่ มต่อกบั สายการบินระหว่างประเทศในกรุงเทพฯได้อกี ด้วย นอกจากน้ี การบนิ ไทยยงั มคี วามหวังวา่ นกั ทอ่ งเทย่ี วจะเขา้ ไปเยยี่ มเยอื นสถานที่ทอ่ งเท่ยี วของไทยท่อี าจยังไม่เป็นทรี่ จู้ ักดี ดว้ ยเหตุน้ีการบินไทยจึงได้เพม่ิ เท่ยี วบนิ ไปยงั คัลคัตตาผา่ นทางยา่ งก้งุ สงิ คโปร์ผ่านทางกวั ลาลัมเปอร์ ไซ่งอ่ นผ่านทางกรงุ พนมเปญ มะนิลา และจาการ์ตา

โดยท่ไี ทยเป็นศนู ยก์ ลาง นักท่องเทีย่ วสามารถเขา้ มาท่องเทีย่ วในประเทศไทย โดยผ่านเมอื งหลวง 9 เมืองในเอเชยี ดว้ ย ในยุคแหง่ การทอ่ งเทีย่ วทมี่ ีจดุ หมายปลายทางหลากหลายได้รบั ความนิยม สิง่ นี้จึงเป็นทางเลอื กที่นา่ สนใจและตอบ สนองนักท่องเทย่ี วใหไ้ ดร้ บั ความพึงพอใจเป็นอย่างดี การบนิ ไทยมีพนักงานคนไทยมากย่งิ ข้นึ โดยในปี 1960 สายการบนิ มีพนกั งาน 378 คน และ 55 คน ในจ�ำ นวนน้ี เป็นชาวสแกนดิเนเวยี จากสแกนดิเนเวยี น แอรไ์ ลนส์ ซ่งึ เปน็ พนกั งานที่ผ้บู ริหารบริษัท สแกนดิเนวียนฯ ได้ฝกึ อบรม และท�ำ งานใกล้ชดิ กบั ผ้ชู ว่ ยคนไทย เมือ่ นายฮานส์ อรี ิค เฮน็ เซน็ (Hans Erik Hansen) ผจู้ ัดการท่วั ไปของสแกนดิเน เวยี น แอรไ์ ลน์ส กลบั มาในปี 1962 กถ็ ูกแทนท่ีโดยนายเฮนร่ี เจ็นเซน็ (Henry Jensen) และ นายเดน (Dane) ซงึ่ เคยเป็นผูจ้ ดั การของสแกนดิเนเวียน แอร์ไลน์ส ในประเทศเยอรมนี การบินไทยยงั คงไมส่ ามารถทำ�ก�ำ ไรได้ ดังน้นั เขาจงึ เริ่มด�ำ เนินการด้วยการลดต้นทุน เขาลดจำ�นวนพนกั งานสแกนดเิ นเวียน แอร์ไลน์สลง และแทนท่ีดว้ ยผูบ้ รหิ าร คนไทยทม่ี ีคุณสมบตั พิ รอ้ มก้าวเข้ามาบริหาร เขาเคยฝึกอบรมพนกั งานคนหน่ึงในบรรดาพนกั งานชาวตา่ งชาติ ท่ีอาจ จะขบั เคลือ่ นการบินไทยส่อู นาคต นัน่ คือ นายนีลส์ ลมั โฮลต์ (Niels Lumholdt) ผู้จดั การฝ่ายขาย ในปี 1964 เมื่อ เจน็ เซ็น กลับไปท่ีภมู ลิ ำ�เนา ลมั โฮลต์ ได้รับการเล่อื นต�ำ แหน่งเปน็ ผู้จดั การทว่ั ไป อัลวนิ เซกา (Alwin Zecha) กลา่ ววา่ นายลัมโฮลต์ เปน็ ผทู้ ชี่ ว่ ยให้การบนิ ไทยไปสู่สภาวะทดี่ ีขน้ึ “การบนิ ไทยป็น ผ้บู ุกเบิกในการเปดิ จดุ หมายปลายทางใหม่ๆ นีลสไ์ ปหาตวั แทนการท่องเทยี่ วในอเมรกิ าเหนือและยุโรป และเชญิ พวก เขาไปทริปท่องเทย่ี วที่สร้างความสนิทสมคุ้นเคย จนกระท่ังการขายประสบผลสำ�เรจ็ ” ในเดือนธนั วาคม ปี 1967 การบนิ ไทยเสนอเท่ียวบินไปเกาะบาหลี และหนึง่ ปีตอ่ มา เร่มิ บนิ ไปที่กาฐมาณฑุ (Kath- mandu) ซ่ึงท�ำ ใหน้ กั ทอ่ งเทีย่ วได้หยดุ พักในประเทศไทย ในขณะเดียวกนั จุดศูนย์กลางของกรุงเทพฯ ในเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ ถกู แยกออกไป เน่อื งจากเหตุสงครามในประเทศเพอื่ นบา้ น ซึ่งเป็นการดงึ ดูดใหส้ ายการบนิ อน่ื ๆ เร่มิ นำ� เสน้ ทางการบนิ ของพวกเขาผา่ นกรุงเทพฯ และสิง่ ดึงดูดอีกอย่างหนึ่ง คือ การบนิ ไทยมสี ่งิ อ�ำ นวยความสะดวกสำ�หรับ การบ�ำ รงุ รักษาเครอื่ งบินของตัวเอง และเครือ่ งบินของสายการบนิ อน่ื ๆดว้ ย ในปี 1969 นายลมั โฮลตแ์ ละนายฉตั รชยั บุญยะอนันต์ ได้ลาออกจากสายการบนิ บริตชิ แอรเ์ วยส์ (British Airways) และเขา้ ร่วมงานกบั การบินไทย ในฐานะท่เี ปน็ รองประธานดา้ นการตลาด เขามองเห็นโอกาสท่จี ะขยายเสน้ ทางบนิ และ การเพ่ิมศกั ยภาพของฝงู เครื่องบินใหม้ ขี นาดลำ�เครือ่ งทก่ี วา้ งใหญ่ข้ึน ท้ังคู่เปลยี่ นทมี งานที่น่าเกรงขามให้เป็นองคก์ ร สายการบินระดับมอื อาชพี นวัตกรรมของพวกเขาที่ไดร้ บั ความนิยมมากทีส่ ดุ ในปี 1970 คอื รอยัล ออรค์ ิด ฮอลเิ ดยส์ (Royal Orchid Holidays) ซ่ึงเปน็ แพค็ เกจท่องเท่ียวแบบราคาประหยัด รวมไวด้ ว้ ยสถานทที่ ่องเท่ยี วของไทยทีย่ ังไม่ เป็นทีร่ ู้จัก และประเทศในเอเชีย ซง่ึ ไมไ่ ดอ้ ยูใ่ นการเดนิ ทางทอ่ งเทยี่ วตามปกติ ส่วนหนง่ึ ของความส�ำ เรจ็ เกดิ จากการท่ี พวกเขามีความยืดหยุน่ เสนอทางเลือกในการเดนิ ทางและกจิ กรรมใหก้ ับนกั ท่องเทยี่ วใน แพค็ เกจ โครงการน้เี ร่มิ ตน้ ที่ ทัวรจ์ �ำ นวน 12 ทัวร์ และในทีส่ ุด การบินไทยสามารถขยายแพค็ เกจได้มากกวา่ 800 แพค็ เกจ ใน 33 ประเทศ ในปี 1979 การบนิ ไทยจะขาย 40,000 แพค็ เกจในแต่ละปี ในปี 1977 การบนิ ไทยไดด้ ำ�เนินการตกลงเกีย่ วกบั การเปน็ หุน้ ส่วนกบั สแกนดเิ นเวยี น แอรไ์ ลน์ส เปน็ ไปในทางที่ดี แตน่ ายลมั โฮลต์ ยงั คงดำ�รงต�ำ แหนง่ เปน็ รองประธานกรรมการบรหิ าร และได้ปฏิบตั ิงานในตำ�แหน่งน้เี ปน็ เวลา 11 ปี

จากนั้น เขาได้ลาออกและจดั ต้ังบรษิ ัท เอเวียช่นั แอนด์ ทวั รซิ ึม่ (Aviation & Tourism International Company) ในปี 1922 นายฉัตรชยั บญุ ยะอนันต์ กลายมาเปน็ ประธานการบนิ ไทย เขาได้ด�ำ เนนิ บทบาทน้ี โดยมนี ายธรรมนูญ หว่ังหลี ซึ่งดำ�รงต�ำ แหน่งผู้ชว่ ยผูอ้ �ำ นวยการด้านการเงนิ เข้ามาร่วมงานกับการบินไทยในปี 1960 ยุคเรืองอ�ำ นาจแห่งสมี ว่ ง (Purple Reign) ในชว่ งปี1970–1979เปน็ ทศวรรษทก่ี ารบนิ ไทยพฒั นาเปน็ อยา่ งมากการจดั ใหม้ เี ครอื่ งบนิ ดีซี–8 62เอส (DC-862s) ทีม่ ขี นาดกวา้ งใหญข่ น้ึ ท�ำ ใหก้ ารบินไทยสามารถนำ�เที่ยวบนิ ระยะทางไกลไปสู่ซิดนยี แ์ ละเมืองหลวงตา่ งๆของยุโรป ใน วนั ท่ี 30 มีนาคม 1980 การบนิ ไทยเริ่มบนิ ไปที่เมอื งซแี อตเตลิ (Seattle) ประเทศสหรัฐอเมรกิ า ในปี 1984 การบินไทย จะมีเทีย่ วบนิ ตรงระหวา่ งเมืองในต่างประเทศและจงั หวดั อนั ดับรองเมอื งหลวงของไทย เชน่ ฮ่องกง-เชียงใหม่ สงิ คโปร-์ ภูเกต็ หรอื หาดใหญ่ นอกจากนี้ สายการบินยงั มีสว่ นรว่ มในกิจกรรมทางธุรกิจ ทอี่ อกแบบมาเพอื่ เพ่ิมจ�ำ นวนนักทอ่ งเที่ยวใหเ้ ข้าสู่ ประเทศไทย ในชว่ งปี 1970 -1979 การบนิ ไทยไดเ้ ปดิ ร้านสนิ คา้ ปลอดภาษี (Duty Free Shop) ท่ีสนามบิน ดอนเมอื ง ในปี 1975 การบินไทยจัดให้มีบริการรถลมี ูซนี (Bangkok Airport Limousine Service) เพอ่ื กำ�จดั ความ วุ่นวายในการตอ่ แถวเพือ่ แย่งรถแท็กชเี่ ขา้ ไปในตวั เมือง และไปถึงโรงแรม ด้วยความรวดเรว็ และสะดวกสบาย ซ่ึงท�ำ ให้ ลูกค้ารูส้ ึกวา่ คุม้ ค่ากบั เงนิ ท่จี ่ายไป ในปี 1980-1989 การบนิ ไทยได้ขยายธุรกิจเพ่มิ เติมคือ โรงแรมรอยัล ออรค์ ิด เชอราตัน (Royal Orchid Sheraton) และโรงแรมแอรพ์ อร์ท (Airport Hotels) ในการสะทอ้ นให้เห็นถึงพลวัตใหม่ การบินไทยไดส้ รา้ งภาพลักษณ์ท่ที ันสมยั แตย่ งั คงไว้ซึ่งความเปน็ ไทย ในปี 1974 การบนิ ไทยได้ใช้ดอกรักเป็นตราโลโก้ใหม่ท่สี วยงาม ออกแบบสะดุดตาดว้ ยการผสมผสาน สที อง สีม่วงและสีชมพเู ข้า ไว้ดว้ ยกนั และสรา้ งข้ึนมาโดยนายวาลเตอร์ แลนเดอร์ (Walter Landor) ศลิ ปินกราฟกิ ทมี่ ีช่อื เสยี ง เคร่อื งบินได้รับ การตกแตง่ ดว้ ยโลโกใ้ หม่อย่างสมบูรณแ์ บบ และตกแต่งสีขององคก์ รไว้ทีส่ ่วนหางของเครือ่ งบิน และพาดผ่านตามแนว ยาวของลำ�ตวั เคร่ืองบิน ในขณะเดียวกัน การบนิ ไทยไดก้ ลายเปน็ หน่งึ ในสายการบนิ แรกในเอเชยี ทนี่ �ำ เสนอโครงการสำ�หรบั ผู้ทเี่ ดนิ ทางบ่อยๆ เรียกว่า รอยลั ออรค์ ิด พลัส (Royal Orchid Plus) ในปี 1985 การบินไทยขนสง่ ผโู้ ดยสารมายังประเทศไทย เปน็ จำ�นวน 2.5 ลา้ นคนต่อปี ซง่ึ คิดเป็น 40 เท่า ของจ�ำ นวนผโู้ ดยสาร 62,000คน ในปี 1960 และมแี นวโนม้ วา่ จะเพิม่ ข้นึ ไปถึง 5.15 ลา้ นคน การบนิ ไทย (TAC) จะดำ�เนนิ การตอ่ เนอ่ื ง เพอ่ื ตอบสนองตอ่ ตลาดในประเทศ จนกระท่ังได้มกี ารรวมเขา้ ไว้ในการจดั ตง้ั การบินไทย (THAI) เมอ่ื วนั ท่ี 1 เมษายน 1988 น่านฟา้ ทแี่ ออดั (Crowded Airspace) การเกดิ ขน้ึ ของสายการบนิ ใหมห่ ลากหลายมากมายในชว่ งสองทศวรรษทผ่ี า่ นมา เปน็ สง่ิ ทท่ี า้ ทายอ�ำ นาจของการบนิ ไทย อย่างมาก สายการบนิ ทีข่ ้ึนมาท้าทายอย่างเห็นได้ชดั คอื สายการบินบางกอก แอร์เวยส์ (Bangkok Airways) ภารกจิ หลักเรมิ่ แรกของสายการบินน้ี คือ การขนสง่ แรงงานและพสั ดสุ ำ�หรบั องคก์ ารบรหิ ารวเิ ทศกจิ แหง่ สหรฐั อเมรกิ า

(United States Operations Mission: USOM) บรษิ ัทก่อสร้างของอเมรกิ นั ทม่ี ชี ่อื ว่าโอเวอร์ซีส์ อินเตอร์เนชั่นแนล คอนสตรัคช่นั (Overseas International Construction Company: OICC) และบริษัทอ่นื ๆ ทม่ี สี ่วนรว่ มในการ ส�ำ รวจนำ�้ มันและก๊าซธรรมชาตใิ นอา่ วไทย ดร.ประเสริฐ ปราสาททองโอสถ เปน็ ผู้ทที่ ำ�ให้สายการบินบางกอก แอร์เวยส์ เป็นที่รูจ้ กั ในปี 1986 สายการบิน นี้ไดก้ ลายมาเป็นสายการบนิ เอกชนภายในประเทศแห่งแรก บางกอก แอร์เวยส์ ตัง้ ฉายาให้กบั สายการบินตนเองวา่ เป็น “สายการบนิ บตู ิคแห่งเอเชีย (Asia’s Boutique Airline)”และไดเ้ ร่ิมให้บรกิ ารในปีเดยี วกัน ตอ่ มาในปี 1989 สายการบินไดเ้ ปลี่ยนภาพลักษณใ์ หมเ่ ปน็ บางกอก แอรเ์ วย์ส (Bangkok Airways) โดยเนน้ ความเชีย่ วชาญในการ ใหบ้ ริการสถานทท่ี อ่ งเที่ยวในประเทศ ในขณะที่สายการบินอน่ื ๆยังไม่มบี ริการเชน่ น้ี เน่อื งจากพวกเขายงั ขาดแคลน สนามบนิ ดังนัน้ ดร.ประเสรฐิ จงึ ตดั สินใจสร้างสนามบินขึน้ มาเป็นของตนเอง ซ่ึงผลของการออกแบบนัน้ ค่อนขา้ ง สรา้ งสรรค์ โดยท่ี เกาะสมยุ แอร์พอรท์ (Koh Samui Airport) เปิดตัวในเดือนเมษายน ปี 1989 บริการเท่ยี วบนิ ระหวา่ งเกาะในอ่าวไทยและเชียงใหม่ ฮ่องกง กระบี่ พัทยา ภเู กต็ และสิงคโปร์ ในปี 1996 บางกอก แอร์เวยส์ เปิด สนามบนิ แห่งที่สองท่จี ังหวดั สุโขทัยในภาคเหนอื และสร้างสนามบนิ แห่งทส่ี ามในจังหวัดตาก ภาคตะวันออกเฉียงใต้ ของประเทศไทย ซ่งึ เปิดตวั ในเดอื นมีนาคม ปี 2003 เพ่ือให้บริการแหลง่ ทอ่ งเที่ยวของเกาะชา้ งท่กี ำ�ลงั ขยายตวั สายการบนิ ไดข้ ยายเสน้ ทางเหนือพรมแดนไทยไปส่บู ังคลาเทศ กัมพชู า จนี ฮ่องกง ลาว มลั ดีฟส์ พมา่ อนิ เดยี และ สิงคโปร์ อย่างไรกต็ าม สายการบินไดเ้ ริ่มตน้ ด�ำ เนนิ การด้วยเครอ่ื งบินเอทอี าร์-72 (ATR-72) เพยี งอย่างเดียว สาย การบนิ ไดเ้ พมิ่ เครือ่ งบนิ โบอิง้ 717 (Boeing 717) และแอร์บัส เอ 320 (Airbus A320) ไว้ในฝูงเครื่องบนิ 33 ลำ� พรอ้ มด้วยเครือขา่ ยเส้นทางภายในประเทศ 11 แห่ง และ 13 เมืองในต่างประเทศ นอกจากนี้ ยังเป็นเจา้ ของสายการบิน ย่อย เสียมเรยี บ แอร์เวย์ส (Siem Reap Airways) ท่ีบินไปสู่พนมเปญและนครวดั (Angkor Wat) หลายปีที่ผา่ นมา บรษิ ัททเ่ี กดิ ขน้ึ ใหมต่ า่ งๆ ทเ่ี ปน็ เหยื่อของเศรษฐกจิ และการแข่งขันทีด่ ุดนั รุนแรงได้ก้าวเข้ามาและ จากหายไปจากธรุ กจิ น้ี ไดแ้ ก่ พีบี แอร์ (PB Air) สกา แอร์ (Ska Air) แองเจิล แอร์ (Angel Air) แอรอ์ ันดามัน (Air Andaman) พรี ะ แอร์ ทรานสปอรต์ (Bira Air Transport) เอราวัณ แอร์ (Erawan Air) ภเู ก็ต แอร์ไลนส์ (Phuket Airlines) และ พี ซี แอร์ (PC Air) สายการบนิ เหล่านีย้ งั ไมร่ วมถึง 42 สายการบิน ตงั้ แตป่ ี 1998 (70% ของสายการบนิ เหล่านี้ ตง้ั แตป่ ี 2011) ทไ่ี ดล้ งทะเบียน แตไ่ ม่เคยไดน้ �ำ เครื่องบินออกจากพนื้ ดนิ เลย นอกจากนี้ ยังมกี ารขยายตวั ของสายการบนิ ภายในประเทศและต่างประเทศต้นทนุ ต่ำ�ท่ีมรี าคา ค่าโดยสารค้มุ ค่าและ ดกี ว่า สายการบนิ นกแอร์ (Nok Air) ซง่ึ มีตน้ กำ�เนดิ มาจากการบนิ ไทย และไทย แอร์ เอเชีย (Thai Air Asia) ครอบครองตลาดเหนอื สายการบินอ่ืนๆ ได้แก่ สายการบนิ ไทยสไมล์ (Thai Smile) ไลอ้อน แอร์ (Lion Air) กานต์ แอร์ไลนส์ (Kan Airlines) โอเรียนท์ ไทย (Orient Thai) อาร์ แอร์ไลนส์ (R Airlines) และไทย เวยี ทเจท็ (Thai Vietjet) ท่ไี ด้เข้ามาสู่สนามการบินเพิม่ เตมิ ทา่ อากาศยานไทย (Airports of Thailand : AOT) หลายปีท่ผี า่ นมา ประเทศไทยได้มกี ารด�ำ เนนิ การเกีย่ วกับสนามบนิ มาตอ่ เนื่องเป็นลำ�ดบั โดยเร่ิมต้นจากสนามบนิ รอยัล บางกอก สปอร์ต คลับ (Royal Bangkok Sports Club) ในปี 1914 ทเ่ี ครื่องบินลำ�แรกได้บนิ ลงสพู่ ้นื ในปี

1917 สนามบินแห่งแรกของชาตอิ ย่างเปน็ ทางการถกู สรา้ งขน้ึ ทดี่ อนเมอื ง ซ่ึงอยู่ทางตอนเหนอื ของเมืองหลวง และยัง เปน็ หน่ึงในสนามบินแห่งแรกๆของเอเชีย สนามบนิ ยังคงเปิดดำ�เนินการจนกระทงั่ ปัจจบุ ัน โดยเป็นสนามบนิ ทีเ่ ปดิ ให้ บริการยาวนานที่สุดในโลก ดงั นัน้ จึงไดม้ กี ารกอ่ สร้างอาคารโดยสารขนาดใหญ่ข้นึ และสงิ่ อำ�นวยความสะดวกต่างๆ สบื ทอดเรื่อยมา เพ่ือรองรับการจราจรที่เพ่มิ ขนึ้ ของประเทศไทย การเขา้ มาของเคร่ืองบนิ จัมโบ้ เจต็ ส์ (Jumbo Jets) ในประเทศไทย ครั้งแรก ปี 1982 ท�ำ ให้มีความจ�ำ เปน็ ตอ้ งมกี ารขยายสนามบนิ ดอนเมอื ง ถงึ แม้ตอ้ งรุกล้�ำ พ้นื ท่สี นาม กอลฟ์ ของกองทพั อากาศไทยท่ีอยตู่ รงบรเิ วณแคบระหว่างรันเวย์คู่ (เมอื่ เคร่อื งบินลงจอด สัญญาณไฟสีแดงจะแจ้ง เตอื นนกั กอล์ฟ เพอ่ื ให้พวกเขาหยดุ เลน่ ) ในปี 2006 สนามบินสุวรรณภูมิทีป่ ระกอบดว้ ยส่ิงอ�ำ นวยความสะดวกทันสมัย ไดเ้ ปดิ ตวั ขึน้ ทางตะวันออกของเมือง หลวง เพ่ือใชแ้ ทนที่สนามบนิ ดอนเมือง อยา่ งไรก็ตาม การเพิม่ ข้ึนของอปุ สงคช์ ใ้ี ห้เห็นถึงความต้องการให้มีสายการบิน ตน้ ทุนตำ่�ที่สนามบนิ ดอนเมือง ซงึ่ ไดท้ �ำ การซอ่ มแซมตกแต่งใหม่ พร้อมทั้งขยายพืน้ ท่แี ละยกระดับให้ดยี งิ่ ขนึ้ ผมู้ บี ทบาทหลักในการขยายบรกิ ารทางอากาศในประเทศไทยคือ บริษทั ท่าอากาศยานไทย จ�ำ กดั (มหาชน) [Airports of Thailand PLC] ซึ่งเดมิ เป็นหนว่ ยงานรัฐวิสาหกิจทม่ี ชี ่ือวา่ การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย ( Airports Authority of Thailand) และไดถ้ กู แปรรปู ในปี 2002 เพือ่ การปรับปรุงประสทิ ธภิ าพ ประเทศไทยสามารถเพิ่ม จำ�นวนสนามบนิ เพ่อื ใหส้ อดคลอ้ งกับมาตรฐานสากลได้ดว้ ยการน�ำ ขององค์การนี้ ปัจจบุ นั นี้ ประเทศไทยมสี นามบิน ระหว่างประเทศ ท้ังหมด 5 แห่ง ไดแ้ ก่ สนามบินสวุ รรณภมู ิ สนามบนิ ดอนเมือง สนามบินเชียงใหม่ สนามบนิ เชียงราย สนามบนิ อดุ รธานี สนามบินภเู ก็ตและสนามบินหาดใหญ่ สายการบินทมี่ คี ุณภาพมากมาย และสนามบินชน้ั นำ� ทำ�ให้มน่ั ใจได้วา่ ประเทศไทยจะมีนกั ทอ่ งเทยี่ วหลั่งไหลเขา้ มาอยา่ งต่อเนื่อง โดยจดั ให้พวกเขาเรม่ิ ตน้ ความทรงจ�ำ ใน วันหยดุ ทีแ่ สนสบาย และส่งพวกเขากลับบา้ นไดอ้ ย่างปลอดภยั

“คณุ ฉัตรชัย คณุ ลมั โฮลต์ และคณุ ธรรมนูญ หว่ังหลี พรอ้ ม ด้วยกัปตันโยธิน ภมรมนตรีและกัปตันชูศักดิ์ พาชัยยุทธ ร่วมกันสร้างทีมงานที่น่าเกรงขาม เพื่อเริ่มดำ�เนินการ โครงการที่จะขับเคลื่อนให้สายการบินไทยติดอันดับ สายการบินระดับโลก” ฉัตรชยั บญุ ยะอนนั ต์ คงมีเพียงไมก่ ีค่ นท่ไี ด้ทุม่ เทเพื่อพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วในประเทศไทยมากไปกวา่ คุณฉัตรชัย บุญยะอนนั ต์ ผู้ซง่ึ ท�ำ งานอยา่ งไมร่ จู้ กั เหนด็ เหนอ่ื ยเพอ่ื ผลกั ดนั ใหส้ ายการบนิ ไทยยกระดบั ไปสสู่ ายการบนิ ระดบั โลก และท�ำ งาน อยา่ งใกลช้ ดิ กับการบนิ ไทยเพื่อชว่ ยส่งเสริมโครงการรณรงค์ทอ่ งเท่ียวในประเทศไทย เขาเคยศกึ ษาทสี่ หราช อาณาจกั ร ในชว่ งปี 1950 – 1959 และสำ�เร็จการศึกษาจากมหาวทิ ยาลยั คาร์ดิฟฟ์ (Cardiff University) ในปี 1966 ในสาขาเศรษฐศาสตรแ์ ละการบัญชี นอกจากน้ี เขายังเก่งในดา้ นกฬี าแบดมินตัน สควอชและ เทนนสิ และยงั ได้รบั ต�ำ แหนง่ นักกฬี าแห่งปี พลงั งานทีไ่ ม่มีทีส่ น้ิ สุดของเขาได้กำ�หนดลกั ษณะอาชีพของเขา ซง่ึ ต่อมา เขาไดเ้ ขา้ เรยี นหลกั สูตรการบริหารการจดั การขนั้ สูง (Advanced Management Programme) ณ โรงเรียนธรุ กจิ มหาวิทยาลัยฮารว์ าร์ด (Harvard Business School) หลังจากนัน้ เขาได้รบั คดั เลอื กใหเ้ ข้าท�ำ งานทบี่ ริษทั บรติ ิช โอเวอร์ซี แอรเ์ วยส์ คอรเ์ ปอรเ์ รช่นั [Brit- ish Overseas Airways Corporation: BOAC ซง่ึ ไดค้ วบรวมกับบรติ ิช ยโู รเปียน แอรเ์ วยส์ (British European Airways) และกลายมาเป็นสายการบนิ บริติช แอรเ์ วย์ส (British Airways) ในปัจจบุ นั ] ที่ เปย่ี มด้วยอนาคตอันสดใสและกา้ วหน้าอย่างรวดเรว็ แต่เขาตอบรับคณุ นลี ส์ ลัมโฮลต์ เพอื่ ท่จี ะชว่ ยเหลอื การ พฒั นาสายการบินประจ�ำ ชาติของเขา โดยท�ำ หน้าทเี่ ปน็ ผู้อำ�นวยการฝ่ายการตลาดต้ังแตป่ ี 1972 และตอ่ มา ไดด้ �ำ รงต�ำ แหนง่ รองประธานฝ่ายการตลาด และรองประธานกรรมการบริหาร คุณฉัตรชยั คณุ ลัมโฮลต์ และคุณธรรมนญู หว่งั หลี พร้อมด้วยกัปตนั โยธิน ภมรมนตรี และกปั ตนั ชูศักดิ์ พาชัยยทุ ธ รว่ มกนั สร้างทมี งานท่ีนา่ เกรงขาม เพ่อื เรมิ่ ด�ำ เนนิ การโครงการทจี่ ะขบั เคลือ่ นให้ สาการบินไทย ตดิ อนั ดับสายการบินระดับโลก เขาไดน้ �ำ วตั กรรมใหมม่ าปรบั ใช้ สง่ ผลใหก้ ารบินไทยมชี ื่อเสยี งระดับโลก รวมไปถึงการตกแต่ง ภาพลักษณ์ การบรกิ ารบนเครือ่ งบินและอาหาร ในปี 1987 คณุ ฉัตรชัยเปน็ กุญแจ ส�ำ คัญในความสำ�เร็จของ โครงการปสี ง่ เสรมิ การท่องเทยี่ วไทย (Visit Thailand Year Campaign) ซึ่ง ทำ�ให้ประเทศไทยเป็นท่สี นใจของท่วั โลก และสามารถเพิ่มจำ�นวนนักทอ่ งเที่ยวได้อย่างมาก นอกจากน้ี โครงการนี้ยงั จัดขนึ้ เพื่อ ฉลองพระชนมายุ 5 รอบ (60 พรรษา) ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ภมู พิ ล อดุลยเดชฯ และยังไดม้ ีโครงการลักษณะคล้ายกนั เกิดข้ึนในประเทศอ่ืนๆด้วย

การตลาดเปน็ สง่ิ ทีเ่ ขาเก่งกาจ และโดดเดน่ ที่การบินไทย ไมเ่ พยี งแต่การสนับสนนุ สง่ เสริมสายการบิน แต่ยัง ช่วยใหป้ ระเทศไทยเปน็ ศูนยก์ ลางการบินของเอเชยี นอกจากจะทำ�งานใกลช้ ิดกับ การบนิ ไทยแล้ว เขายงั มี สว่ นร่วมอย่างแข็งขันในการเขา้ เปน็ หนุ้ สว่ นตา่ งๆ ของอตุ สาหกรรมการทอ่ งเท่ียว ประเทศไทย และยงั ดำ�รง ตำ�แหนง่ ประธานโรงแรมรเิ วอร์ไซด์ ออรค์ ิด เชอราตนั (Royal Orchid Sheraton Hotel) อกี ดว้ ย นวัตกรรมทีโ่ ดดเดน่ ท่สี ุดของท่านคอื ทา่ นไดเ้ ปิดตัวแผนกิจกรรมทางการตลาด(MarketingActivityPlans: MAP) ในปี 1972 ซงึ่ กลายมาเป็นกิจกรรมประจ�ำ ปี นอกจากน้ี คุณฉตั รชยั ได้เชิญตัวแทนของการบนิ ไทย จากทกุ จุดบนเสน้ ทางบิน มารวมตวั กันที่กรงุ เทพฯ เพอื่ ที่จะแจ้งขา่ วเกีย่ วกบั แผนการนี้ ใหบ้ คุ คลสำ�คัญ และสื่อของโครงการการบินไทยทราบ สื่อต่างๆถูกรับเชิญใหม้ าทำ�ข่าว และผลของการประชาสมั พันธ์แพร่ กระจายข่าวออกไป ทำ�ให้ชอ่ื เสียงของการบนิ ไทยเป็นท่รี ูจ้ ักกวา้ งขวางมากยิง่ ข้นึ สอ่ื ใหค้ วามสนใจกับการรบั เชญิ เข้าร่วมแผนกิจกรรมทางการตลาด (MAP) นี้อย่างมาก นอกจากการประชุมทางธุรกิจท่เี ครง่ เครียด ผู้ เข้าร่วมประชุมยงั ได้รับฟังผบู้ รรยายทม่ี ชี ่อื เสยี งระดับโลก และเข้ารว่ มกจิ กรรมสนกุ สนานอ่นื ๆ ในปี 1984 เขาไดร้ บั การเล่อื นต�ำ แหน่งเปน็ รองประธานกรรมการ เพอื่ เป็นรางวัลแห่งการอทุ ศิ ตนในการ ทำ�งานของเขา ความสำ�เรจ็ สงู สุดของเขาคอื การก้าวข้ึนเปน็ ประธานการบินไทยคนแรกทีไ่ ม่ได้ถูกคัดเลอื ก มาจากนายทหารระดับสูงของกองทพั อากาศไทย ในตอนทเ่ี ขากา้ วลงจากต�ำ แหนง่ ปี 1993 การบินไทยได้ รบั การจดั อันดับใหต้ ดิ 1 ใน 10 สายการบินท่ที ำ�ก�ำ ไรได้สูงสุดของโลก

“คณุ บ้าไปแลว้ แมแ้ ตร่ ัฐบาลยังท�ำ ก�ำ ไรไม่ได้ จากโครงการนเ้ี ลย” ดร.ประเสริฐ ปราสาททองโอสถ ผู้กอ่ ตั้งสายการบินบางกอก แอร์เวยส์ (Bangkok Airways) สายการบินภายในประเทศเอกชนแห่งแรก ของประเทศไทย ไดร้ บั การยกยอ่ งในการสร้างสถานทีท่ ่องเทีย่ วเกาะสมุย และบริการเทย่ี วบินสจู่ ังหวัด สุโขทยั กระบี่และศูนย์กลางการทอ่ งเทยี่ ววันหยุดของคนไทยอื่นๆ ดร.ประเสรฐิ เคยฝกึ การเปน็ แพทยท์ ค่ี ณะแพทยศาสตร์ ศริ ริ าชพยาบาล และเรม่ิ กอ่ ตง้ั สายการบนิ สหกลแอร์ (SahakolAir) ในปี 1968 เขาดำ�เนนิ การใหบ้ ริการรถแท็กซ่ี ภายใตก้ ารทำ�สญั ญากบั บรษิ ัทตา่ งๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ ง กบั การส�ำ รวจน้ำ�มันและก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทย ความพยายามของเขาท่ีจะด�ำ เนินการเปิดตารางเทยี่ วบิน ไปยังพทั ยา สรุ าษฎร์ธานีและระนอง ตอ้ งประสบความล้มเหลว เนอื่ งจากไม่ไดร้ ับการอนมุ ัตจิ ากรัฐบาล ดงั นัน้ ในปี 1985 ดร.ประเสรฐิ ตดั สนิ ใจท่ีจะสร้างทา่ อากาศยานเอกชนบนเกาะสมุย ซ่งึ ณ ขณะนั้น เกาะสมยุ สามารถดงึ ดดู นักท่องเทีย่ วได้เพยี ง 1,000 คนตอ่ ปี เมอื่ เขาก้าวเขา้ ไปในธนาคารเพื่อขอความช่วยเหลอื ดา้ นการเงนิ เพ่ือสรา้ งสนามบนิ แหง่ ใหม่ ธนาคารปฏิเสธ ค�ำ รอ้ งของเขาและกล่าววา่ “คุณบ้าไปแล้ว แม้แต่รฐั บาลยังท�ำ ก�ำ ไรไม่ไดจ้ ากโครงการน้เี ลย” อยา่ งไรก็ตาม ดร.ประเสริฐยังคงเดินหนา้ ตอ่ ไป ดว้ ยเขามวี สิ ัยทัศน์ว่า เกาะสมยุ อาจจะเปน็ แหลง่ ทอ่ งเทีย่ วแหง่ หนึ่งท่ีได้รับ ความนิยมมากท่สี ดุ สำ�หรับการพกั ผอ่ นชว่ งวนั หยดุ สนามบนิ เกาะสมยุ ท่ไี ดร้ บั รางวัลชนะเลศิ เปดิ ทำ�การในปี 1989 และไดจ้ ัดใหม้ เี ท่ียวบินตรงระหวา่ งเกาะสมยุ และฮ่องกง สงิ คโปรแ์ ละสนามบนิ ภายในประเทศ ปจั จบุ ัน สายการบนิ ของดร.ประเสรฐิ ไดร้ ับการรแี บรนด์ (Rebranding) และเปลย่ี นเป็นสายการบิน บางกอก แอรเ์ วยส์ (Bangkok Airways) โรงแรมที่พกั ทมี่ ี คณุ ภาพบนเกาะสมุย มอี ยอู่ ยา่ งจ�ำ กดั ดงั น้นั คุณอากร ฮนุ ตระกลู (เพอื่ นของดร.ประเสริฐ) จงึ ไดส้ ร้าง อมิ พเี รยี ล ท้องทราย รสี อรท์ (Imperial Tongsai Resort) ซงึ่ เปิดตัวในปี 1987 ในความคาดหมายของ การเรม่ิ ต้นการบริการขนสง่ ทางอากาศ ในปี 2009 สนามบนิ เกาะสมุยไดใ้ ห้บรกิ ารแกผ่ ู้โดยสารจำ�นวน 1.3 ลา้ นคน และการปฏบิ ัติการทางอากาศอกี 17,000 เทยี่ วบนิ

เน่ืองจาก การตระหนักถงึ ศักยภาพการท่องเที่ยวระหว่างประเทศท่จี ะชว่ ยพฒั นาเศรษฐกจิ ไทย พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ขณะดำ�รงตำ�แหนง่ นายกรฐั มนตรี ได้สนบั สนุนสง่ เสริมการพัฒนาเกาะสมุย และบางกอก แอร์เวยส์ เข้าร่วมกับการบนิ ไทยในงาน “ปีการทอ่ งเท่ียวไทย (Visit Thailand Year)” ในปี 1987 ปัจจบุ ัน บางกอก แอรเ์ วย์ส ด�ำ เนนิ การอยทู่ ่ีฐานในกรุงเทพมหานคร โดยจดั ให้มเี ทย่ี วบินไปยงั บงั คลาเทศ กัมพชู า จนี ฮ่องกง ลาว มัลดฟี ส์ พมา่ อนิ เดียและสิงคโปร์ และเชอื่ มตอ่ ประเทศเหล่านีก้ ับ แหล่งท่องเทย่ี ว ของไทย รวมทัง้ ชยี งใหม่ เชียงราย พัทยา กระบี่และภูเก็ต ในเดอื นตลุ าคม ปี 2000 ดร.ประเสรฐิ เปดิ ตวั สายการบิน เสยี มเรียบ แอร์เวยส์ (Siem Reap Airways) ซึ่ง เป็นบริษัทในเครอื ของประเทศกัมพชู า และบริการเท่ยี วบนิ เชอ่ื มต่อระหวา่ งพนมเปญ และนครวดั (Angkor Wat Temple)ทม่ี ีช่อื เสยี ง นอกจากการเปน็ เจ้าของสายการบินบางกอก แอรเ์ วยส์ ดร.ประเสรฐิ ปราสาททองโอสถ ยงั เป็น ผู้ก่อ ตั้งและเจ้าของบางกอก ดุสติ เมดคิ อล เซอรว์ ิสเซส (Bangkok Dusit Medical Services) ซงึ่ เป็นกล่มุ บริการดแู ลสุขภาพของเอกชนรายใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ด�ำ เนินการโดยโรงพยาบาล 6 แห่ง ที่มโี รง พยาบาลในเครอื อีก 26 สาขา ภายในกลุ่ม

“ท่านรัฐมนตรีเกษม จาติกวนชิ รัฐมนตรวี ่าการกระทรวง การค้าและอุตสาหกรรมของไทยกลา่ ววา่ “ถา้ ปราศจาก คณุ ลมั โฮลต์แลว้ อาจจะไมม่ ี บริษัท ไทยอินเตอร์เนชัน่ แนล ในวนั น้ี” นลี ส์ ลัมโฮลต์ การเจรญิ เติบโตทงี่ ดงามของการบนิ ไทย (Thai Airways International) จากช่วงกลางปี 1960-1969 จนถึงปี ช่วงกลางปี 1980-1989 สว่ นใหญ่เป็นผลสืบเนอื่ งมาจากวิสัยทัศน์ของนายนีลส์ ลัมโฮลต์ Niels Lumholdt (1933-1999) ซง่ึ ทำ�หน้าทเ่ี ป็นผ้จู ดั การทัว่ ไปของการบนิ ไทย และท้ายทีส่ ุด ลัมโฮลต์ ก็ได้ดำ�รง ตำ�แหน่งเป็นรองประธานบริหารของการบนิ ไทย นายนลี ส์ ลัมโฮลต์ กำ�เนดิ ทก่ี รุงโคเปนเฮเกน (Copenhagen) ซง่ึ คุณพอ่ ของเขาเป็นนกั ขา่ วทม่ี ีชื่อเสียง และ ยงั เป็นผ้กู ่อต้งั พรรคแดนิช ยูไนเตด็ (Danish United Party)ในเดนมาร์ก อีกดว้ ย ในช่วงสงคราม นลี ส์ พร้อมทง้ั คุณแม่และน้องสาวของเขาถกู สง่ ไปอยู่ในตอนกลางของสวเี ดน ขณะท่พี อ่ ของเขาท�ำ หนา้ ทเี่ ป็นแกน นำ�ใตด้ นิ ของเดนมาร์ก ระหวา่ งการเข้ายดึ ครองของเยอรมนั และจัดพมิ พ์หนังสอื พมิ พต์ ่อตา้ นนาซี ทีม่ ชี ือ่ ว่า มอร์แกน บลาเดท็ (Morgen Bladet) หลงั จากสงคราม นลี สจ์ บการศกึ ษามธั ยมปลายท่ีโรงเรียนในเดนมารก์ และจากนน้ั คณุ พ่อกส็ ง่ เขาไปเรียน ที่มหาวิทยาลยั มินนโิ ซตา (University of Minnesota) และจบการศึกษาระดบั ปรญิ ญาในสาขา วรรณคดี อังกฤษยคุ ฟ้ืนฟูศลิ ปวทิ ยา (English Renaissance Literature) ในชว่ งเวลานน้ั เขายังมีความรักในเสียง เพลงตลอดชวี ิตของเขา และเขาไดเ้ ลน่ เครอ่ื งดนตรีดับเบลิ เบสกับวงดนตรีแจ๊สอกี ดว้ ย หลังจากการกลบั มายงั สวเี ดนจากสหรฐั ฯ ในปี 1956 ลมั โฮลต์ได้รว่ มงานกบั บรษิ ัท สแกนดิเนเวียน แอร์ไลน์ส ซิสเทม็ (Scandinavian Airlines System: SAS) ในฐานะผู้ฝึกงานด้านการบรหิ ารจัดการ ช่วงระยะเวลา ระหว่าง 8 ปีตอ่ มา เขาได้ถูกส่งตัวไปท�ำ งานท่สี �ำ นักงานของสแกนดเิ นเวยี น แอร์ไลนส์ ฯ ในประเทศเยอรมนี อิตาลี และสำ�นกั งานใหญท่ ี่กรงุ สตอล์กโฮม ในปี 1964 เขาได้ถูกสง่ ให้ไปปฏิบตั งิ านเป็นผจู้ ดั การดา้ นการ ขายทีบ่ รษิ ัท การบินไทยในกรงุ เทพมหานคร การมาของเขาเปน็ ชว่ งเวลาท่สี อดคล้องกบั การนำ� ฝงู เคร่อื งบิน คาราเวล (Caravelle) เขา้ มา ซ่ึงเปน็ สว่ นหน่ึงท่ีสำ�คัญในการชว่ ยให้การบินไทยพ้นจากสภาพขาดทุน กลาย มาเปน็ สายการบนิ ท่กี ำ�ไรได้มากทสี่ ดุ สายการบนิ หน่ึงในเอเชยี และเปน็ สายการบินทีเ่ ตบิ โตรวดเร็วทส่ี ุด

งานทไี่ ดร้ บั มอบหมายชิ้นแรกของลัมโฮลต์คอื การเจาะตลาดในประเทศ ซึ่งในขณะนนั้ สายการบนิ คาเทย์ แปซิฟกิ แอร์เวยส์ (Cathay Pacific Airways) ครอบครองตลาดอยู่ หลงั จากท่มี กี ารตัดราคากันอยา่ ง รุนแรง ดูเหมือนวา่ การบนิ ไทยมีแนวโนม้ ท่ีจะไดร้ บั ชยั ชนะ เขากลับความต้งั ใจไปทก่ี ารเติบโตของจ�ำ นวนนกั ทอ่ งเท่ยี วทเ่ี ดินทางจากยโุ รปไปยังเอเชีย อเมรกิ าเหนือและออสเตรเลีย ในการที่จะจบั ตลาดเหลา่ นี้ ลมั โฮลต์ ไดจ้ ัดตง้ั ทีมงานทป่ี ระกอบด้วยผ้อู �ำ นวยการดา้ นการขายหลายคนในซานฟรานซิสโก นิวยอรก์ โคเปนเฮเกน และซดิ นีย์ และไดเ้ ชญิ ตัวแทนด้านการทอ่ งเท่ียวจากพืน้ ท่ีเหลา่ น้ี มาเยี่ยมเยือนกรงุ เทพมหานคร และสัมผัส ถงึ ประสบการณ์การบริการของสายการบินไทย เขาไดร้ บั การสนับสนนุ เปน็ อยา่ งดจี ากนายเดน เฮนรกิ เลา (Dane, Henrik Lau) นายลัมโฮลต์ ได้ริเร่ิมเทย่ี วบนิ ปกติไปยงั ปีนงั บาหลีและเนปาล เพ่อื เสนอการเดนิ ทางใหม่ทีน่ ่าตื่นเตน้ ใน เอเชีย ซ่ึงเปน็ การยากท่จี ะเข้าถงึ พืน้ ทเี่ หล่านใ้ี นอดีต ความดึงดูดใจของที่หมายใหมเ่ หลา่ นี้ และการบริการ บนเทย่ี วบนิ ของการบนิ ไทยชน้ั เลิศ ท�ำ ให้สายการบินต้องการพนื้ ทหี่ อ้ งโดยสารทสี่ ามารถบรรจุผูโ้ ดยสารได้ มากขึน้ เครอ่ื งบนิ ทีช่ ่วงล�ำ ตัวยาวขึ้น เพอื่ รองรบั เท่ียวบินไปสู่ซิดนีย์ และเมอื งต่างๆท่ีสำ�คัญในยโุ รป หลังจากกลบั มาถึงกรุงเทพฯ ลมั โฮลต์ทำ�งานอย่างใกลช้ ดิ และเขา้ กนั ไดเ้ ปน็ อยา่ งดกี บั เพอ่ื นรว่ มงานชาวไทย เขาไดป้ ฏิบตั งิ านในต�ำ แหนง่ ใหม่น่ันคือ ผ้จู ัดการทว่ั ไป และเชิญชวนให้คณุ ฉตั รชัย บญุ ยะอนนั ต์ ลาออกจาก บรติ ชิ โอเวอรซ์ ี แอรเ์ วย์ คอรป์ อเรชัน่ (British Overseas Airways Corporation: BOAC) และรับต�ำ แหนง่ เปน็ รองประธานดา้ นการตลาด นายอลั วนิ เซคา (Alwin Zecha) กล่าววา่ ทั้งคไู่ ด้สร้างทมี ท่ียอดเยย่ี ม ส่งผลใหส้ ายการบนิ ยกระดบั สู่บรษิ ัทมืออาชพี ส่วนหนง่ึ ของความสำ�เร็จเกิดจากความตัง้ ใจของลมั โฮลตท์ จี่ ะ ปรับตวั กลมกลืนใหเ้ ข้ากับวฒั นธรรมเอเชยี นอกจากนี้ ลัมโฮลต์ยงั เปน็ นักภาษาศาสตร์ทีโ่ ดดเด่น โดยเขา สามารถพดู ภาษายโุ รปไดห้ ลายภาษา และเขายงั สามารถเขียนและพดู ภาษาไทยได้อย่างคล่องแคลว่ อกี ดว้ ย ในปี 1970 ลมั โฮลต์ไดร้ ิเร่มิ โครงการแพคเกจทอ่ งเที่ยววันหยุดท่เี รียกว่า รอยัล ออร์คิด ฮอลเิ ดยส์ (Royal Orchid Holidays) เพอ่ื น�ำ เสนอสถานทีท่ อ่ งเทย่ี วแปลกใหม่ ซง่ึ ได้รบั ความนิมอย่างมากในบรรดาตัวแทน การทอ่ งเท่ียว นอกจากนี้ ยังสามารถดึงดดู นกั ทอ่ งเที่ยวได้ถึง 200,000 คนต่อปี โดยเดนิ ทางทงั้ หมด 800 แพค็ เกจ ในจดุ หมายปลายทาง 127 แหง่ ใน 33 ประเทศ นอกจากน้ี เขายงั มีแนวคิดท่ีจะน�ำ การบินไทยไปสู่ สายการบนิ อนั ดบั หน่ึงในภูมภิ าคเอเชยี โดยการเสนอใหม้ ชี ั้นธรุ กจิ (Business Class) และโครงการสำ�หรับ ผทู้ บ่ี นิ บอ่ ยๆ (Frequent Flyer Programme) หลงั จากท่เี ขาอุทศิ ตนทำ�งานให้กบั การบินไทยมามากกวา่ 20 ปี นายนลี ส์ ลัมโฮลต์ ไดล้ าจาก สายการบินไทย ไปต้งั บรษิ ทั การคมนาคมและการบรกิ ารระดับโลก แห่งใหม่ทม่ี ีช่อื ว่าเอเวียชนั่ แอนด์ ทวั ริซมึ อนิ เตอรเ์ นชน่ั แนล (Aviation & Tourism International) ซึ่งมีส�ำ นกั งานอยทู่ ่วั โลก

สร้างความหลากหลาย ขยายจุดเด่น การพัฒนาด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทยเป็นการพฒั นาจากดา้ นบนสู่ดา้ นลา่ ง กลา่ วคือ เรม่ิ ตน้ จากการพฒั นา ของภาครฐั ไปสกู่ ารพัฒนาในภาคเอกชน ในปี พ.ศ. 2503 รฐั บาลได้จัดต้งั การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย โดยได้ ก�ำ หนดแนวทางการดำ�เนินงานในระยะแรก อีกทง้ั รฐั บาลยังพฒั นาถนนหนทาง การขนส่ง รวมทง้ั เครือข่ายการตดิ ต่อ ส่ือสารอืน่ ๆ ซึ่งสง่ ผลให้การท่องเทย่ี วของประเทศไทยประสบความส�ำ เรจ็ ในเวลาต่อมา ในขณะที่โครงสรา้ งพ้ืนฐานของประเทศไทยได้รับการพฒั นามากข้ึน ได้มีการตั้งคำ�ถามวา่ ประเทศไทยจะสามารถดงึ ดูด นักท่องเทีย่ วไดจ้ รงิ หรอื ซ่งึ ภาคเอกชนตัดสินใจกา้ วเขา้ มามสี ่วนร่วมในอุตสาหกรรมการท่องเทยี่ ว เน่อื งจากภาค เอกชนเลง็ เหน็ ถงึ ผลประโยชน์ทีจ่ ะไดจ้ ากอุตสาหกรรมดงั กลา่ ว จนแซงหนา้ ภาครฐั ทำ�ให้การพัฒนาการทอ่ งเท่ียวของ ประเทศไทยกลายเปน็ หน้าทข่ี องภาคเอกชน และยงั ท�ำ ให้การทอ่ งเทีย่ วแห่งประเทศไทยถกู ลดบทบาทในเวลาตอ่ มา โดยการท่องเทยี่ วแห่งประเทศไทยมีหน้าท่เี พียงให้คำ�แนะน�ำ และประชาสัมพันธเ์ ท่าน้นั ในเวลาต่อมา ได้มกี ารสร้างโรงแรมใหม่ๆ ข้ึนมามากมายด้วยเงนิ ทนุ จากต่างประเทศ รวมทง้ั การเขา้ ร่วมเปน็ พนั ธมติ ร กับสายการบนิ ตา่ งๆ การสรา้ งโรงแรมทอ่ี ย่ใู นเครอื โรงแรมของต่างประเทศ ทำ�ใหเ้ กิดสิง่ สำ�คญั ต่อมาท่ีตอ้ งทำ� คือ ต้อง มีการฝกึ พนกั งาน ตอ้ งมีการพฒั นาด้านการจัดการตา่ งๆ ตอ้ งมีการต้ังบรษิ ัททอ่ งเทยี่ ว มีการเปดิ ร้านอาหารมากข้นึ มีการประชาสมั พันธ์ รวมทั้งด้านอืน่ ๆ ทเี่ กี่ยวข้องกับการเดินทางของนักทอ่ งเท่ยี วโดยครอบคลมุ ตง้ั แต่ทเี่ ดินทางเขา้ มาตลอดจนกลับออกไป จะต้องมีการเตรียมพร้อมอยา่ งถกู ต้อง เมอ่ื สิ่งตา่ งท่ีเก่ียวกบั การท่องเทยี่ วไดร้ บั การพัฒนา มากขึ้น และโลกได้มโี อกาสรจู้ ักประเทศไทยมากขน้ึ และรูว้ า่ ประเทศไทยมดี อี ยา่ งไร กถ็ ึงเวลาแล้วทปี่ ระเทศไทยจะ ประสบความส�ำ เร็จกบั การทอ่ งเที่ยวเสียที ในชว่ งปี พ.ศ. 2500 ถึง 2510 นบั วา่ เป็นปีแหง่ การก่อรา่ งสรา้ งตัว และการเรมิ่ ตน้ ทจ่ี ะนำ�ไปสคู่ วามส�ำ เรจ็ ของการ ท่องเทย่ี วของประเทศไทย แตเ่ มือ่ เวลาผ่านไป การท่องเที่ยวเร่ิมมคี วามซบั ซ้อนมากขนึ้ นกั ทอ่ งเทยี่ วตอ้ งการสิ่งใหม่ๆ ประเทศเพอื่ นบา้ นเรม่ิ ประชาสมั พนั ธก์ ารทอ่ งเทยี่ วของตนมากขน้ึ โดยพยายามสรา้ งจดุ เดน่ ทแี่ ตกตา่ งจากการทอ่ งเทย่ี ว ของประเทศอ่ืน ซึง่ หมายความว่า เม่ือเข้าช่วงปี พ.ศ. 2520 ธรุ กิจทุกประเภทในประเทศไทยต้องสร้างจดุ ขายให้กับ ตนเอง เป็นการขยายธรุ กจิ ให้ครอบคลมุ ตลาดใหมๆ่ เพื่อใหย้ ังสามารถแข่งขันกบั ประเทศอ่ืนได้ ประเทศไทยนบั ว่าได้เปรียบประเทศอืน่ ในหลายดา้ น ทั้งสภาพอากาศท่หี ลากหลาย และธรรมชาตทิ ี่งดงามไม่แพ้ใคร ประเทศไทยจึงกลายเปน็ เหมือนสวรรค์ของนักถ่ายภาพท่ตี อ้ งการสถานที่ทเี่ หมาะสมในการถา่ ยภาพ รวมทงั้ ชาวบ้าน ที่มคี วามเปน็ มิตร นอกจากนี้ ประเทศไทยยงั มที ะเล และหาดทรายที่งดงามยากจะหาทใ่ี ดเปรยี บ สภาพอากาศของ เมืองไทยจึงเอือ้ อ�ำ นวยต่อการท่องเทย่ี วตลอดท้ังปี นอกจากสภาพอากาศแล้ว ประเทศไทยยงั มั่งคง่ั ไปด้วยอตุ สาหกรรม การบริการท่ีผ่านการฝึกฝนมาเปน็ อย่างดี ดว้ ยชอ่ื เสียงทโี่ ดดเดน่ ในดา้ นการบริการทีอ่ บอุ่น ประเทศจงึ มคี วามพร้อม ในการตอบสนองตอ่ สง่ิ ใหม่ๆ อยู่เสมอ ในขณะที่ผปู้ ระกอบการธุรกจิ เองก็มีความตงั้ ใจในการเติมเต็มสิ่งทข่ี าดไปเกี่ยว กับการทอ่ งเท่ียว คดิ ค้นวธิ กี ารต่างๆ และจดั หาพนกั งานเพ่อื อำ�นวยความสะดวกใหแ้ กน่ ักท่องเทย่ี วอย่างเตม็ ท่ี

กีฬานับวา่ เปน็ อกี สิ่งหนง่ึ ท่ผี ปู้ ระกอบการให้ความสนใจเป็นอย่างมาก ผ้ปู ระกอบการธรุ กจิ ทอ่ งเทีย่ วเร่มิ พัฒนาสิง่ อำ�นวยความสะดวกสำ�หรบั การออกกำ�ลังกายอยา่ งจริงจงั ตัง้ แต่ชว่ งปี พ.ศ. 2520 โดยอาศัยประโยชน์จากสภาพอากาศ ท่สี ดชืน่ และความงดงามของธรรมชาติ ในเวลาน้นั กอล์ฟนบั ว่าเปน็ กีฬาที่ได้รับความนยิ มเป็นอยา่ งมาก แมส้ นาม กอล์ฟขนาด 9 หลุม สนามแรกจะถูกสร้างขึ้นทเ่ี ชียงใหม่ แต่สนามกอล์ฟขนาด 9 หลุม สนามแรกที่ได้รบั มาตรฐาน ในระดบั นานาชาติกลบั เปน็ สนามกอลฟ์ หลวงหัวหนิ หรือ Royal Hua Hin Golf Club ซ่งึ ก่อตงั้ ในปี พ.ศ. 2465 ใน รชั สมัยของพระบาทสมเดจ็ พระมงกฏุ เกล้าเจ้าอยู่หวั รชั กาลท่ี 6 การเล่นกอลฟ์ ในเมืองไทยเริม่ ไดร้ บั ความนยิ มมากขนึ้ ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2520 หลงั จากทีน่ ักกอลฟ์ ชาวเอเชียเริ่มเข้า มาเลน่ กอล์ฟในเมืองไทย ในช่วงปี พ.ศ. 2510 ถึง 2520 กีฬากอล์ฟไดร้ ับความนิยมอยา่ งมากในญปี่ นุ่ ถึงขนาดที่ วา่ สนามกอลฟ์ ในกรุงโตเกยี วหลายแห่ง แมก้ ระทั่งสนามไดรฟจ์ ะต้องมีการจองลว่ งหน้าหลายเดอื น จนกระทัง่ ผูท้ ่ีนิยม การเล่นกอล์ฟเรม่ิ ตระหนักว่า การเดินทางมาเล่นกอล์ฟท่เี มอื งไทยจะมีค่าใช้จ่ายท่ถี กู กว่า และการเดินทางจากโตเกียว มากรุงเทพฯ โดยเคร่ืองบนิ ซึ่งใชเ้ วลาเพียง 6 ช่ัวโมง เพือ่ มาเลน่ กอลฟ์ สองสามรอบในช่วงสุดสัปดาห์ แลว้ เดนิ ทาง กลับญปี่ นุ่ ในช่วงเย็นวันอาทิตย์ ก็มีความสะดวกสบายเชน่ กนั นอกจากน้ี นักกอลฟ์ หลายคนยังพบวา่ สำ�หรบั ประเทศไทยแลว้ ยงั มกี ิจกรรมอืน่ ๆ ให้ทำ�นอกสนามนอกจากการ ตีกอลฟ์ อีกมากมาย เช่น การทานอาหารเย็น และกิจกรรมในชว่ งกลางคนื นกั ลงทุนเรม่ิ เข้ามาสร้างสนามกอล์ฟใน เมอื งไทยมากขนึ้ อาทิ สนามกอลฟ์ 7 แห่งโดย Jack Nicklaus 5 แหง่ โดย Robert Trent Jones Jr. รวมทั้ง Nick Faldo และ Gary Player อกี รายละหน่งึ แหง่ ในช่วงปี พ.ศ. 2530 ประเทศไทยมสี นามกอล์ฟทง้ั หมด 250 แห่ง โดย 60 แหง่ ตง้ั อยู่เพยี งหนึ่งชวั่ โมงจากกรงุ เทพมหานคร นอกจากสนามกอล์ฟตามเมอื งใหญ่ ๆ อยา่ งกรุงเทพมหานคร เชยี งใหม่ รสี อร์ทรมิ ชายหาดทหี่ ัวหิน พัทยา และภูเกต็ แลว้ ยังมสี นามกอล์ฟท่ดี ึงดูดนกั ทอ่ งเท่ยี วอกี มากมายกระจาย อยทู่ วั่ ประเทศ การทอ่ งเทย่ี วในรปู แบบอ่นื ก็เปลย่ี นไป ในอดีต นกั ท่องเทย่ี วตง้ั ใจเพยี งแคจ่ ะพักผ่อนทีร่ สี อร์ทรมิ ชายหาดสวยๆ ซมึ ซับ บรรยากาศทีส่ ดชื่น วา่ ยน�้ำ ในทะเลท่อี ุ่น และรับประทานอาหารทะเลทร่ี สชาตอิ รอ่ ย หากตอ้ งการกจิ กรรมทเ่ี รา้ ใจ มากขึน้ กจ็ ะเลน่ วอเตอร์สกตู๊ เตอร์ เจ๊ตสกี หรอื เรอื ลากรม่ ในขณะท่นี ักท่องเทยี่ วทีเ่ ดนิ ทางมาในชว่ งหลงั ต้องการ กิจกรรมท่สี นุกมากขึ้น ในช่วงปี พ.ศ. 2520 นักท่องเท่ียวเร่ิมเลน่ กระดานโต้คลน่ื พายเรอื เขา้ ไปในถำ้�เกาะหอ้ ง (เป็น ถ�ำ้ ทีเ่ กิดขน้ึ ตามธรรมชาติ อยู่ในบรเิ วณเขาหินปนู ขนาดใหญใ่ นอ่าวพงั งา) หรือแลน่ เรอื ใบเลเซอร์บนน้ำ�ทน่ี ิง่ สงบ จนกระท่งั ไคท์เซิร์ฟเร่ิมเปน็ ทีน่ ิยมในเวลาต่อมา แมค้ ล่ืนลมทะเลในประเทศไทยจะค่อนข้างสงบ ไมค่ อ่ ยสร้างความ เร้าใจใหก้ ับผ้นู ิยมการเล่นโตค้ ลน่ื เท่าไรนกั แต่กย็ ังมนี กั ท่องเทีย่ วเดนิ ทางมาโต้คล่นื ท่ีประเทศไทยอย่างตอ่ เนื่อง ในชว่ ง ปี พ.ศ. 2530 รีสอร์ทหลาย ๆ แห่งเร่มิ เปิดบรกิ ารใหน้ ักทอ่ งเท่ียวสนกุ กบั เพนทบ์ อลล์ โกคาร์ท และบันจ้ีจ๊ัมพ์ ไม่นาน การว่ายน�้ำ และการด�ำ นำ�้ แบบ duck diving ในทะเลท่สี งบกก็ ลายเปน็ กิจกรรมสำ�หรบั ผตู้ ้องการการออก ก�ำ ลงั กาย การด�ำ นำ้�ตนื้ และการโตค้ ลืน่ เรม่ิ ได้รับความนิยมในชว่ งปี พ.ศ. 2510 ในชว่ งแรก นักท่องเท่ียวนยิ มไป ดำ�น�ำ้ ทเ่ี กาะล้าน จนกระทงั่ พวกเขาค้นพบสถานทีด่ ำ�น้ำ�แห่งใหม่ ซึ่งก็คอื ทภ่ี ูเก็ตน โดยเฉพาะนักท่องเทย่ี วชาวยโุ รป และอเมรกิ าเหนอื ทต่ี ้องการด�ำ น�้ำ โดยไมต่ ้องใสช่ ดุ ดำ�น�ำ้ บรษิ ทั ตา่ ง ๆ ไดต้ อบสนองความต้องการของลกู คา้ ดว้ ยการ เปดิ สอนดำ�น�้ำ โดยไดร้ ับใบอนญุ าตจาก PADI และ NAUI ซ่ึงเป็นมาตรฐานท่ีไดร้ บั การยอมรับในระดับนานาชาติ

นกั ทอ่ งเทีย่ วทีเ่ ดินทางมาเท่ียวทรี่ ีสอร์ทอาจเป็นเพียงใหม่ แตเ่ มื่อพวกเขาผา่ นการฝึกอบรมเพียงไมก่ ่อี าทิตย์ พวกเขาก็ จะมคี วามสามารถมากพอทจ่ี ะไปด�ำ นำ�้ ท่ไี หนกไ็ ด้ในโลก นอกจากนี้ ยงั มคี อรส์ พิเศษทผ่ี ู้เรยี นจะไดร้ บั ใบประกาศนยี บตั ร เป็นไดฟม์ าสเตอร์ ครูสอนดำ�นำ�้ และชา่ งภาพใตน้ ำ้� สถานทด่ี �ำ น�้ำ ทีเ่ ป็นทีน่ ยิ มบรเิ วณภเู ก็ต ไดแ้ ก่ หม่เู กาะสมิ ลิ นั ต้งั อยทู่ างตะวันตกเฉียงเหนอื ของทะเลอันดามัน โดยหมู่ เกาะสิมิลนั เป็นหน่งึ ในสถานที่ด�ำ น้�ำ ที่ดที ีส่ ดุ แหง่ หน่งึ ของโลก โดยนกั ดำ�น้�ำ สามารถดำ�ลงไปได้ลกึ ถึง 35 เมตร บริเวณ โดยรอบจะเตม็ ไปด้วยปลาหลากหลายชนิด รวมท้ังปะการังแข็งกวา่ 200 สายพันธ์ุ และเพือ่ เป็นการอำ�นวยความ สะดวกในการพกั ผอ่ นดว้ ยการด�ำ น้�ำ ผู้ประกอบการทภ่ี เู กต็ มบี ริการพานักท่องเทย่ี วไปด�ำ นำ้�โดยเรือ เป็นทรปิ แบบลีฟอะ บอร์ด (Liveaboard) บรกิ ารเช่าเหมาเรือ และบริการพาไปดำ�น้ำ�โดยเรอื เรว็ ในหน่ึงวนั ใน Burma Banks ทางตอน เหนอื ของหม่เู กาะสมิ ลิ ัน นกั ดำ�น้�ำ จะมีโอกาสไดเ้ ห็นฉลามวาฬ ทีม่ ีขนาดตัวยาวถึง 7 เมตร รวมทงั้ ฉลามพยาบาล แมส้ ิง่ มชี ีวิตพวกน้ีจะมขี นาดตัวท่ใี หญ่ และมชี อ่ื ฉลามนำ�หนา้ แตพ่ วกมนั กลบั เปน็ สัตวท์ ีเ่ ป็นมิตรมาก ผู้ประกอบการบางรายได้อาศัยประโยชน์จากความหลากหลายของปลาหลากหลายสายพันธุ์ที่ถูกพบในทะเลเขตร้อน ของประเทศไทย โดยมีบรกิ ารกีฬาตกปลาใหเ้ ช่าทีภ่ เู กต็ และบางสะเหร่ ซ่ึงอยทู่ างตอนใตข้ องพทั ยา นอกจากนี้ ยัง มกี ารพัฒนาบรกิ ารตกปลาน�ำ้ จดื บรเิ วณเขือ่ น และอา่ งเก็บน�ำ้ โดยเฉพาะในจังหวัดกาญจนบรุ ี โดยในเดอื นมถิ ุนายน ปี 2007 มีการตกปลาไนขนาดใหญท่ ี่มนี �้ำ หนักกว่า 120 กโิ ลกรมั ซง่ึ ถือวา่ เปน็ ปลาไนขนาดใหญ่ทีส่ ุดทีต่ กได้โดย คนั เบด็ ในชว่ งปี พ.ศ. 2510 นกั ทอ่ งเท่ยี วได้คน้ พบความงดงามของภเู ขาทางภาคเหนือของประเทศไทย ที่มีชาวเขา หลายเผ่าอาศยั อยู่ การเดนิ เขาเร่ิมได้รับความนิยมมากข้นึ ทั้งการปีนเขา และการพกั ค้างคนื ในหมูบ่ ้านของชาวเขา โดยนักท่องเทีย่ วจะได้สัมผัสกบั วถิ ชี ีวติ ของชาวเขา ไดร้ ับประทานอาหารทอ้ งถนิ่ ร่วมกบั ชาวเขาและครอบครัว ในขณะ เดียวกนั บริษัทน�ำ เที่ยวหลายๆ แห่งในภาคเหนอื มบี ริการใหน้ ักท่องเทย่ี วข่ีช้างชมปา่ อีกด้วย (บางบรษิ ทั ในเชยี งใหม่ก็ มีสญั ลักษณท์ ี่แสดงถงึ บรกิ าร “ข่ีชา้ งชมป่า” เช่นกัน) เมือ่ นักท่องเทย่ี ววัยรุ่นตอ้ งการกิจกรรมท่ตี อ้ งใช้พละกำ�ลังมากขึน้ การบริการนกั ท่องเทย่ี วกม็ ีเพม่ิ มากขึน้ ตามไปด้วย ทง้ั ในแงภ่ ูมิศาสตร์ และลักษณะของการบริการ ในอดีต เมืองตา่ งๆ ในแมส่ อด ปาย แม่ฮอ่ งสอน และนา่ น เปน็ เมือง ท่ีอย่หู ่างไกลจนคนกรงุ เทพฯ แทบจะไม่รูจ้ ัก นอกจากการปนี เขาแลว้ นกั ทอ่ งเท่ียวยังสามารถสนุกกบั การผจญภัย ทัว่ ๆ ไปได้ เชน่ การลอ่ งแพไปตามแม่น้ำ�ในปา่ การล่องแพไมไ้ ผ่ไปยงั น�ำ้ ตกทลี อซู หรอื การล่องเรอื ยางไปตามแม่น�ำ้ ใน อ�ำ เภอแม่แตง จังหวดั เชยี งใหม่ หรือการเท่ยี วแบบสองวัน โดยพายเรอื คายคั ไปตามแมน่ ้�ำ จากแมน่ ้ำ�ปายไปยังจังหวัด แมฮ่ ่องสอน โดยพกั คา้ งคืนท่กี ระทอ่ มในปา่ การโหนสลิงก็ไดร้ บั ความนยิ มอย่างมากเช่นเดยี วกันทั้งในจังหวัดเชียงใหม่ และชลบรุ ี การท่องเทยี่ วแนวผจญภัยเหลา่ นม้ี คี วามเหมาะสมส�ำ หรับเด็ก รวมทั้งการขม่ี า้ รมิ ชายหาดทหี่ วั หิน ส่วนใครทีช่ อบการผจญภยั แบบตนื่ เตน้ กส็ ามารถปีนเขาหนิ ปนู ได้ที่จังหวดั กระบ่ี และเชยี งใหม่ ซึ่งเป็นจงั หวัดท่นี ัก ท่องเทยี่ วนยิ มเดินทางมาปนี เขากนั เปน็ อย่างมาก เนื่องจากสถานท่ปี ีนเขาตา่ งๆ จะมอี ปุ กรณป์ ้องกนั ทไ่ี ด้มาตรฐาน ระดบั นานาชาติ และมีครผู ้สู อนการปีนเขาท่ผี ่านการอบรมคอยใหบ้ รกิ าร มวยไทยเป็นกฬี าอีกชนิดทีไ่ ดร้ ับความนิยมเช่นเดียวกัน เน่อื งจากผชู้ มจะรสู้ ึกเหมอื นได้เปน็ ส่วนหนึ่งของการแขง่ ขันไป ด้วย คา่ ยมวยหลายค่ายเปดิ สอนมวยไทย ซึง่ สรา้ งช่ือเสยี งในระดับโลกใหก้ บั ประเทศไทยมาแล้วไมต่ า่ งกบั อาหารไทย การแข่งขันมวยระหว่างชาวไทยและชาวต่างชาติที่สนามมวยท่ีมีชื่อเสียงก็ได้รับความสนใจจากผู้ชมกีฬามวยเช่น เดียวกัน

การวิง่ นับวา่ เปน็ งานอดิเรกที่ไดร้ บั ความนิยมมากในหมูน่ กั ท่องเทีย่ วท่ีต้องการฝึกความแขง็ แรง เห็นไดจ้ ากการที่จะมผี ู้ สนบั สนนุ การแขง่ ขนั วิ่งมาราธอนตามจงั หวัดตา่ งๆอย่เู สมอการแขง่ ขนั ไตรกฬี าและการแข่งขันมนษุ ยเ์ หลก็ (Ironman) ได้รบั การสนับสนุนจากการท่องเท่ียวแหง่ ประเทศไทย โดยมผี เู้ ขา้ แขง่ ขันจากหลายประเทศทั่วโลก นกั วงิ่ ซงึ่ เป็นสมาชกิ ของกลมุ่ Hash House Harriers ซงึ่ เปน็ การรวมตัวอยา่ งไม่เป็นทางการของนกั วิ่งท้งั ชายและหญิงจากทั่วโลก ได้เข้า ร่วมการแข่งขนั วิง่ แขง่ ในเมืองไทยมากมาย ในปี 2006 ไดม้ ีการจดั งาน World Interhash ขน้ึ ท่จี งั หวดั เชียงใหม่ โดย มีนกั วิ่งจากท่วั โลกเขา้ รว่ มการแขง่ ขันกว่า 6,000 คน การปน่ั จกั รยานทางราบ และการปน่ั จักรยานแบบออฟโรดกไ็ ด้รับความนิยมเชน่ เดยี วกัน มกี ารจดั แผนการเที่ยวโดย การป่ันจกั รยานเพือ่ ส�ำ รวจพ้ืนทีห่ า่ งไกลในเมอื งไทย และยงั มกี ารผจญภยั โดยมอเตอร์ครอส โกคาร์ท และรถเอทีวี (ATVs) รวมทงั้ การเลน่ ไกลเดอร์ (Glider) ทีจ่ งั หวัดเชียงใหม่ ซึง่ เปน็ จังหวัดทมี่ ีอากาศท่ีอบอุ่นเหมาะส�ำ หรับการ บินไปบนท้องฟา้ สำ�หรบั ความสนุกสนานภายในตัวเมอื ง นักทอ่ งเทีย่ วจะไดเ้ พลดิ เพลินไปกับไอซ์สเก็ตและโบว์ลิง่ โดยเฉพาะในกรงุ เทพฯ และเชียงใหม่ มกี ารก่อตั้งทีมฮอกกี้ ซึ่งเปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ ไทยทอี่ าจจะไม่เคยเหน็ หมิ ะของจริงมาก่อน นอกจากเกล็ดน้ำ� แขง็ ในตูเ้ ย็น ไดโ้ ลดแลน่ ไปมาบนลานน้�ำ แขง็ เพ่อื แยง่ ลกู พัค (Puck) ในขณะเดียวกัน ผู้ชมยังสามารถสนุกกับการเล่น สเกต็ ในลานนำ�้ แข็งบริเวณใกล้เคียง เพือ่ หลีกหนีจากอากาศรอ้ นภายนอกไดเ้ ช่นกนั ผูค้ นในยุค 80 เร่มิ เล็งเห็นถึงประโยชน์ท่จี ะได้จากการทอ่ งเที่ยวเชงิ นเิ วศในอนาคต นักทอ่ งเทีย่ วชาวไทยเรม่ิ ใหค้ วาม สนใจกับการตั้งเตน๊ ทค์ า้ งคืนและรอ้ งเพลงเล่นกตี ้ารท์ ่ามกลางความดงามของธรรมชาติ สถานท่ที ีไ่ ดร้ ับความนิยมมาก ท่สี ดุ ไดแ้ ก่ เขาใหญ่ ซงึ่ เปน็ ทที่ นี่ กั ท่องเที่ยวนิยมมาตั้งแคมป์ และปนี เขา ในบรรยากาศปา่ ฝนท่ีเตม็ ไปดว้ ยน�้ำ ตกและ กลว้ ยไมน้ านาพนั ธุ์ และเสยี งร้องของสตั ว์ป่าเจา้ ถ่ินท่ดี งั ก้องไปท่วั ผืนปา่ นักทอ่ งเทย่ี วจะไดส้ นกุ กับการส่องสตั ว์บน หอคอย ทัง้ ในตอนเช้าและตอนเย็น ซึง่ จะมีสัตว์ป่าตา่ ง ๆ มากมาย เช่น กวางปา่ ช้างปา่ เปน็ ต้น ในบางครั้ง นักท่องเที่ยว อาจมโี อกาสไดเ้ หน็ เสือป่าอกี ด้วย ซึ่งจะออกมากินหญ้าในทงุ่ หญา้ กว้าง ๆ หรอื กินดินหรือนำ�้ จากโปง่ อทุ ยานแห่งชาติแก่งกระจาน จังหวดั เพชรบรุ ี เปน็ อุทยานแห่งชาตทิ ่ีใหญ่ทสี่ ุดของเมอื งไทย ทอี่ ทุ ยานแห่งชาตแิ กง่ กระจานน้ี นกั ทอ่ งเท่ยี วจะไดช้ ืน่ ชมความงดงามของนกเงอื กท่บี ินไปตามทอ้ งฟา้ เหนือผืนป่า รวมท้งั อุทยานแห่งชาติ ภูกระดงึ จังหวดั เลย ดว้ ยววิ ทวิ ทศั นอ์ ันงดงามเลือ่ งชอ่ื เสมือนหน่งึ เป็นของขวัญส�ำ หรบั ผูม้ คี วามมานะในการขน้ึ เขาสงู ชนั หรอื พกั ผ่อนท่ามกลางความงดงามของป่าฝนท่อี ทุ ยานแห่งชาติเขาสก จังหวดั สุราษฎรธ์ านี หรอื ทีอ่ ุทยานแหง่ ชาติ หมูเ่ กาะตะรุเตา จังหวดั สตลู ซึ่งตัง้ อยใู่ นทะเลอนั ดามันอันงดงาม ไม่ไกลจากชายแดนประเทศมาเลเซีย ประเทศไทย ยงั ถือวา่ เป็นสวรรค์สำ�หรับนักชมนก ด้วยนกกว่า 1,000 สายพนั ธ์ุ ซ่งึ รวมถึงนกพันธุห์ ายากอกี 45 สายพนั ธ์ุ ทร่ี ังสรรค์ปา่ เหลา่ น้ใี ห้น่าดึงดูดดว้ ยขนอันงดงามและเสียงอนั ไพเราะของมนั ในอดีต ผ้ปู ระกอบการหลายรายทางภาคเหนือเคยตงั้ แคมปแ์ คมปห์ นึ่งขึ้นมาเพ่ือใหน้ ักทอ่ งเทีย่ วได้ชื่นชมการแสดง ความสามารถของช้าง ซึ่งเป็นส่วนสำ�คญั ทท่ี ำ�ใหเ้ กดิ อุตสาหกรรมการตดั ไม้ในปา่ ตน้ สัก จนกระทง่ั ถกู คดั คา้ นในเวลา ตอ่ มาอันเนื่องมาจากประเด็นเกี่ยวกับการอนรุ ักษ์ปา่ การท่องเท่ียวลักษณะน้ี นกั ท่องเทยี่ วจะไดอ้ าบนำ้�เยน็ ใหก้ ับ ชา้ งในตอนเชา้ และสนุกไปกบั พฤติกรรมน่ารัก ๆ ของลูกชา้ ง หรือข่ีช้างโตขึน้ เขา เป็นต้น ในท�ำ นองเดยี วกนั ศูนย์

ฟ้ืนฟูสภาพชะนีของเมืองไทยจะเป็นสถานท่ีอีกสถานท่ีหนึ่งในโลกท่ีนักท่องเท่ียวจะได้พบกับลิงอีกมากมายท่ีมีสุขภาพ แข็งแรง นอกจากน้ี นักท่องเทยี่ วยังสามารถสมคั รเป็นอาสาสมคั รไดท้ อี่ งค์กรต่างๆ เช่น มูลนธิ เิ พื่อสุนัขในซอย ซ่งึ ตง้ั อยู่ทงั้ ใน กรงุ เทพฯ และภูเกต็ เปน็ องค์กรทไ่ี ม่แสวงหาผลกำ�ไร และยงั เปน็ มูลนธิ ิเพ่ือสตั ว์ที่ใหญท่ ี่สดุ ในเอเชยี อกี ดว้ ย ด้วยความ ต้งั ใจทีจ่ ะพฒั นาชีวติ ของสนุ ัขเรร่ ่อนให้ดขี ้นึ ใหส้ นุ ขั เหล่านไี้ ด้ท�ำ หมนั และฉีดวคั ซีนเพ่ือปอ้ งกนั อันตรายท่สี ัตว์อน่ื ๆ หรอื มนษุ ย์อาจจะได้รับ โดยทผ่ี ่านมา มีชาวต่างชาติหลายคนได้ใชเ้ วลาพกั ผ่อนท้ังหมดไปกบั การทำ�งานอาสาเพื่อชว่ ย สนุ ขั เหล่าน้ี ในขณะเดยี วกัน ทพี่ ักแบบโฮมสเตยย์ ังได้รับการสนับสนนุ จากรัฐบาล ชาวทอ้ งถน่ิ หลายๆ คนสามารถเปิดบา้ นให้นกั ท่องเท่ยี วที่มแี ผนจะเขา้ ไปสำ�รวจสถานท่ีต่างๆ ในบรเิ วณโดยรอบ และเพ่อื ใหน้ ักท่องเทย่ี วเหล่านั้นได้ทานอาหารรว่ ม กับครอบครวั ได้ นกั ท่องเท่ยี วจะได้สัมผัสกับวถิ ีชีวิตของคนท้องถิ่น ตั้งแต่การทำ�นา และการเก็บเกี่ยวขา้ ว การเลยี้ ง สัตวต์ า่ ง รวมทง้ั ชวี ิตของชาวบ้านในแงม่ ุมอืน่ ๆ การทำ�โฮมสเตยจ์ ะช่วยให้ชาวบา้ นสามารถสรา้ งรายได้ไปพร้อมกับการ เรยี นรู้โลกแบบเปดิ กวา้ งได้ ซึง่ นบั ว่าส�ำ คญั อย่างมากส�ำ หรบั เดก็ วัยรุ่นท่มี คี วามกระตือรอื รน้ ที่จะเรียนรูส้ ิง่ ใหมๆ่ ทอ่ี ยู่ นอกหมบู่ ้านของตน นับว่าเปน็ ก้าวเล็กๆ ท่ีสำ�คัญอีกกา้ วหนงึ่ ในการพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วเชงิ เกษตร นักทอ่ งเท่ยี วจะได้ปลูกข้าวและเก็บเกยี่ ว ข้าว หรือกรดี ยางพาราสำ�หรบั การปลกู ยางพาราในภาคใต้ บรษิ ทั บางแห่งกก็ ้าวลำ้�ไปอกี ข้ันด้วยการน�ำ เสนอบรกิ าร 3 วนั กับทรปิ ปลกู ต้นกาแฟทจ่ี งั หวดั เชียงราย นักท่องเทีย่ วจะไดเ้ รียนรวู้ ถิ ชี วี ติ ของเกษตรกรผู้ปลูกต้นกาแฟ โดยเร่ิม ต้งั แต่การเกบ็ เมล็ดกาแฟ ไปจนถึงการคัว่ การบดเมล็ดกาแฟในถว้ ยรอ้ น ๆ หรือบริการท่องเท่ยี วท่ีฟาร์มจิมทอมป์สนั เพ่ือเรียนรู้วธิ กี ารเลย้ี งหนอนไหม การปั่นไหมออกจากรงั ไหม และการทอผา้ ไหม ดงั ทไี่ ดก้ ลา่ วไปแลว้ ว่า นักท่องเท่ียวนิยมทอ่ งเทีย่ วเพื่อศกึ ษาวฒั นธรรมของไทยมากข้นึ โดยเข้าไปมสี ่วนรว่ มใน วฒั นธรรมนั้น ๆ เพราะนักทอ่ งเทยี่ วจ�ำ พวกน้ีจะไมต่ ้องการเปน็ เพยี งผสู้ ังเกตการณอ์ ีกต่อไป แตพ่ วกเขาตั้งใจที่จะมี ส่วนร่วมในสิง่ น้ัน ๆ เพอื่ ให้พวกเขาสามารถน�ำ ส่ิงทเี่ รียนรู้มากลับไปใช้ได้ เชน่ การเรยี นมวยไทย การพับผ้าเชด็ ปาก การจดั ดอกไม้ การเป็นควาญช้าง รวมท้งั การนวด ซึ่งมักจะใชเ้ วลาในการเรยี นหลายอาทติ ย์ ในทำ�นองเดียวกนั นกั ทอ่ งเท่ียวหลายคนได้เรียนรวู้ ิธีการนัง่ วปิ ัสสนาเพื่อท�ำ สมาธิใหก้ บั ตนเอง ในขณะท่ีนักทอ่ งเท่ียวท่ีเป็นผู้ชายหลายคนถึง กับออกบวชเปน็ พระในพทุ ธศาสนา บางคนตดั สนิ ใจใชเ้ วลาทงั้ ชวี ติ อยทู่ ป่ี ระเทศไทย การเรยี นทำ�อาหารไทยอาจเปน็ กิจกรรมอีกประเภทหนึง่ ที่ไดร้ ับความนิยมมากทสี่ ุด ท่ีนักทอ่ งเที่ยวสามารถมสี ่วน ร่วมได้ ในระยะแรกน้นั จะเป็นเพียงการเรยี นท�ำ อาหารทั่วไป ซ่ึงโรงแรมจะเป็นผู้จัดขน้ึ เอง แต่ตอ่ มา การเรยี นทำ� อาหารไดร้ ับความนยิ มมากข้ึน จนมีการเรียกร้องให้สอนอย่างเตม็ รูปแบบ ซ่งึ ผู้เรียนจะไดใ้ บประกาศนียบตั รมาดว้ ย โรงแรมโอเรียนเตล็ เปน็ โรงแรมแห่งแรกท่มี บี ริการสอนท�ำ อาหารไทย ในขณะทร่ี า้ นอาหารอน่ื ๆ เช่น Blue Elephant ได้เริ่มสอนท�ำ อาหารอย่างเต็มรปู แบบ การเรยี นท�ำ อาหารไทยเริ่มมีการผสมผสานระหวา่ งวัฒนธรรมท้องถิน่ การซื้อ วัตถดุ บิ ทีต่ ลาดสดในตอนเชา้ และการคลุกคลกี บั คนทอ้ งถ่นิ จากนั้น นำ�สง่ิ ทไี่ ด้มาปรับใชเ้ พื่อเรยี นรู้วธิ กี ารสรา้ งสรรค์ อาหารให้ออกมามีรสชาตเิ อรด็ อร่อยจนแทบละลายในปาก อาหารภาคกลางมักจะเป็นจดุ เริ่มต้นของการเรียนท�ำ

อาหาร แตเ่ ม่ือเวลาผา่ นไป นกั เรยี นมีความต้องการจะเรียนท�ำ อาหารพืน้ บา้ นทมี่ ลี กั ษณะเฉพาะมากขน้ึ เชน่ อาหาร ของภาคเหนือ และภาคอีสาน เปน็ ตน้ ดอกไม้ในประเทศไทยสามารถดึงดูดนักท่องเท่ยี วไดเ้ ช่นเดยี วกับอาหารไทย เพราะนกั ทอ่ งเทีย่ วล้วนเคยเห็นดอกไม้ ของไทยวางขายตามตลาดในประเทศของตนมาแลว้ ทั้งสนิ้ ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2510 เกษตรกรผปู้ ลูกดอกไมจ้ ะเก็บ ดอกไมท้ บ่ี านแลว้ ในชว่ งบา่ ย แล้วสง่ ออกไปยังยโุ รป เช้าวันต่อมา ดอกไม้เหลา่ น้ีกจ็ ะถูกนำ�มาวางขายตามตลาดสด ในเมืองต่างๆ ในยุโรป เมอ่ื นกั ทอ่ งเทย่ี วเรม่ิ หนั มาใหค้ วามสนใจกบั ดอกไมข้ องประเทศไทยมากขน้ึ ผปู้ ระกอบการกเ็ รม่ิ เสนอบรกิ ารทห่ี ลากหลาย มากขึน้ ดว้ ยข้อไดเ้ ปรียบตา่ งๆ ทง้ั สภาพภูมิอากาศที่หลากหลาย ตง้ั แต่รมิ ทะเลไปจนถงึ ทุง่ หญ้าในภเู ขาสงู แสงแดดท่ี สอ่ งลงมาอยู่เสมอ ปรมิ าณน้ำ�ฝนท่เี พยี งพอ (ประมาณ 1.1 เมตรต่อปี) ประเทศไทยจงึ มีดอกไม้หลากหลายสายพนั ธุ์ เช่นเดยี วกบั ประเทศในแถบยุโรป ไม่วา่ จะเปน็ ดอกพวงแสด ดอกชบา ดอกราชพฤกษ์ ดอกพลบั พลงึ ดอกผกากรอง ดอกพทุ ธรักษา ดอกเขม็ ดอกกหุ ลาบมอญ ดอกเยอบรี า่ ดอกหางนกยงู และดอกเบญจมาศ ฤดูร้อนจะเป็นชว่ งที่ ดอกไม้มีสสี ันสดใสมากท่สี ดุ เชน่ ดอกแคแสด ดอกลีลาวดี หรือดอกลั่นทม แซมสเี หลืองหรอื สีชมพู ดอกราชพฤกษ์ ดอกลาเวนเดอร์ ฤดูรอ้ นยงั เป็นฤดสู �ำ หรับการเบ่งบานของดอกไม้หอมมากมาย ซงึ่ ล้วนเป็นดอกไม้สีขาวที่ใหก้ ลน่ิ หอม ทแ่ี ตกตา่ งกนั ในยามค่�ำ คนื เชน่ ดอกเจา้ หญิงรัตติกาล ดอกคามีเลีย และดอกจัสมิน การดแู ลดอกกลว้ ยไมก้ ลายเปน็ จดุ หมายสำ�คญั ของการท่องเท่ยี วบนเรือตามลำ�คลอง นกั ทอ่ งเท่ยี วจะไดส้ มั ผัสกบั กลว้ ยไมห้ ลากหลายชนดิ ทส่ี ง่ กลน่ิ หอมจากทง้ั หมด 25,000 ถงึ 30,000 ชนดิ ซง่ึ สว่ นใหญเ่ ปน็ พนั ธผ์ุ สม ในปี พ.ศ. 2521 ประเทศไทยไดม้ ีโอกาสจดั การประชุมกลว้ ยไมโ้ ลก ครั้งที่ 9 ต่อมา ปากคลองตลาด ซึ่งเป็นตลาดค้าขายดอกไมท้ ี่ส�ำ คัญ แห่งหนงึ่ ในกรงุ เทพมหานคร เรมิ่ เปน็ ทร่ี จู้ กั ในหมู่นกั ทอ่ งเท่ียวชาวตา่ งชาติ ท่ปี ากคลองตลาดในทุกเช้าๆ ดอกไม้ท่ีสด ใหมจ่ ะถูกตดั จากสวนตา่ งๆ และวางขายในราคาทยี่ อ่ มเยาว์ เน่ืองจากเมืองไทยเป็นทีล่ ุ่มชื้นแฉะ ดงั นนั้ พชื จ�ำ พวกไมพ้ มุ่ มักจะตายจากการจมน�้ำ อยเู่ สมอ แตต่ ลอดหลายศตวรรษ ทผ่ี ่านมา คนไทยได้เรียนรแู้ ละคน้ พบวธิ ีแกป้ ญั หาดังกล่าว โดยการปลกู พืชในกระถางต้นไม้ แลว้ ประดับตามระเบียง บา้ น ท�ำ ให้ดอกเฟื่องฟ้าและดอกไมช้ นดิ อืน่ ๆ กลบั มามชี วี ิตอีกครง้ั การปลกู ดอกไม้ในกระถางยังทำ�ใหเ้ กดิ การตกแต่ง ถนน และการตดั แตง่ ต้นไมใ้ ห้เปน็ รูปสัตวต์ า่ งๆ จนกลายเป็นที่นา่ ต่นื ตาใจสำ�หรบั นักทอ่ งเทย่ี ว เช่น ท่พี ระบรม มหาราชวงั และทีโ่ รงแรมสถานรี ถไฟหวั หนิ เปน็ ตน้ นอกจากนีผ้ ูท้ ชี่ ืน่ ชอบต้นบอนไซยงั พบว่าประเทศไทยมตี น้ ไม้ ขนาดเลก็ หลากหลายชนดิ ให้ชืน่ ชม ในชว่ งปี พ.ศ. 2510 เมื่อการทอ่ งเที่ยวในประเทศไทยพัฒนาขนึ้ จนนักทอ่ งเทยี่ วทมี่ าคนเดียวเรม่ิ ถูกแทนทีด่ ้วยนกั ท่องเท่ียวท่ีมาเป็นคู่ หรือมาเปน็ ครอบครวั ผู้ประกอบการหลายคนเร่ิมพัฒนาการทอ่ งเทยี่ วเพื่อดงึ ดูดกลุม่ เป้าหมายที่ เปน็ เด็ก ทีพ่ ิพธิ ภัณฑ์สตั ว์นำ�้ ทัง้ ทีบ่ างแสน จังหวัดชลบรุ ี และที่กรุงเทพฯ เด็กๆ จะไดส้ ัมผสั กับดินแดนใต้น้ำ�ทเ่ี พ่ือ ส�ำ รวจส่ิงมีชีวติ ใตท้ ะเล แดนเนรมิต (ซ่งึ แปลว่า ดินแดนแหง่ เวทยม์ นตร์) ก่อตั้งข้นึ ในปี พ.ศ. 2518 ซ่งึ ถือวา่ เปน็ สวนสนกุ แห่งแรกของประเทศไทย ตอ่ มา สวนสยาม ไดเ้ ปิดใหบ้ รกิ ารในปเี ดยี วกัน (ในปี พ.ศ. 2520 สวนสยามได้

ถกู เปล่ยี นชอื่ เป็น สยามปาร์คซติ ้ี) โดยเป็นสวนน้�ำ ท่ีเด็กๆ จะได้สนุกสนานไปกบั การเลน่ น้ำ� ซึ่งเปน็ สว่ นสำ�คญั ทท่ี ำ�ให้ สวนสยามได้รับความนยิ มอย่างรวดเรว็ นอกจากนี้ ยงั มสี ถานท่ที ่องเทีย่ วอ่ืนๆ อีกมากมาย ท่เี นน้ กล่มุ นักท่องเทย่ี วทเ่ี ปน็ เดก็ เชน่ สวนสตั วซ์ าฟารีเวิลด์ โดย มีสัตวจ์ ากแอฟริกาและหลายๆ ประเทศทวั่ โลก สวนสตั ว์เปิดเขาเขียว ซ่ึงกอ่ ต้งั ข้ึนในปี พ.ศ. 2516 บนพนื้ ท่ีกว่า 200 เอเคอร์ ในจงั หวดั ชลบรุ ี ในเวลาตอ่ มา ไดม้ กี ารขยายพน้ื ทข่ี องสวนสตั วเ์ ปิดเขาเขียวเปน็ 2,000 เอเคอร์ และเปิด บงั กะโลใหน้ ักทอ่ งเทีย่ วสามารถพกั ค้างคืนได้ รวมทง้ั สร้างกรงขนาดใหญ่ขน้ึ มา และเปดิ ให้มีการแสดงของสตั ว์นานา ชนิด เพอ่ื เป็นการศึกษาลักษณะและพฤติกรรมของสตั ว์แตล่ ะชนดิ นอกจากนี้ ยังมีสวนสัตวก์ ลางคนื หรอื ไนทซ์ าฟารี รวมทั้งเขตรักษาพนั ธสุ์ ตั ว์ส�ำ หรับเสืออกี ดว้ ย การจบั จา่ ยซื้อของ ประเทศไทยนับว่าเปน็ ประเทศที่มปี ระวตั ศิ าสตร์ทางศิลปะท่ยี าวนาน และมีศลิ ปินทม่ี ฝี ีมือมากมาย ศิลปนิ ชาวไทย ไดร้ บั คำ�ช่ืนชมจากบรษิ ทั ด้านสถาปตั ยกรรมในทวีปอเมริกาเหนือมาเปน็ เวลานาน จากฝีมือในการรา่ งแบบท่ีมคี วาม พถิ ีพถิ ัน ตลอดหลายศตวรรษทีผ่ ่านมา ศิลปนิ เหล่านีไ้ ดเ้ ปลีย่ นแปลงวัสดุหลายต่อหลายชนดิ ใหก้ ลายเป็นศลิ ปวัตถุ และเคร่อื งมือประยุกต์มากมาย เช่น การเปลี่ยนเครอื่ งใชใ้ นครวั ธรรมดาทว่ั ไป เช่น ทข่ี ดู มะพรา้ ว ท่ีตักน้ำ� ผ้ากันเปือ้ น ให้กลายเปน็ งานศิลปะได้ ยง่ิ ไปกว่าน้นั ศลิ ปวตั ถุและรปู แบบจะมีเอกลักษณ์ทีแ่ ตกตา่ งกันไปในแต่ละภาค สินค้าของประเทศไทยจึงมคี วาม หลากหลาย และสิง่ ทที่ �ำ ให้ประเทศไทยเปน็ ทีร่ ้จู กั มากทส่ี ดุ ได้แก่ ความคิดสร้างสรรค์ทไี่ มห่ ยุดน่ิง และจนิ ตนาการที่ ไมส่ ิ้นสุด รวมทัง้ การตอบสนองที่รวดเร็วตอ่ ความต้องการของตลาด นกั ท่องเทย่ี วจึงตระหนักว่า พวกเขาสามารถเดิน จบั จ่ายซ้อื สินคา้ ท่เี มืองไทยไดโ้ ดยทสี่ นิ ค้าแต่ละชนดิ จะมคี วามแปลกใหม่อยูเ่ สมอ ท�ำ ให้การจบั จา่ ยซอ้ื ของกลายเปน็ จดุ ประสงคห์ ลกั ของนักท่องเทีย่ วหลายตอ่ หลายคน ไม่ว่าจะเปน็ ชายหรอื หญิง นับต้งั แต่อดีตจนถึงปจั จุบนั เป็นเวลาหลายปี ท่ีคนไทยไดถ้ า่ ยทอดความเปน็ ศิลปนิ ของตนลงไปในศลิ ปะแบบคลาสสคิ ไมจ่ ะวา่ ในรปู ของภาพวาด หรือประตมิ ากรรมต่างๆ โดยมีความแตกต่างกันไปตามการสรา้ งสรรคข์ องแต่ละภมู ภิ าค ผลงานศลิ ปะเหล่านีล้ ว้ นได้รบั การยกยอ่ งจากชาวต่างชาติ และถกู นำ�ไปใช้เป็นของตกแตง่ บา้ นอย่างต่อเนอ่ื ง ในเวลาตอ่ มา รูปแบบและวิธปี ฏิบัติแบบ ด้งั เดิมก็ถกู เปล่ียนแปลงไปโดยศลิ ปนิ ที่มากไปดว้ ยจินตนาการท่ที ำ�งานอยกู่ ับสื่อประเภทต่างๆ ในขณะที่นักท่องเทีย่ ว กต็ อบสนองโดยการซอื้ สนิ คา้ เหล่านัน้ ผ้าของไทยนบั ว่าเป็นทตี่ อ้ งการของนกั ทอ่ งเท่ียวหลายคน ไมว่ ่าจะเป็นผ้าธรรมดา หรือผ้าท่ีตัดเย็บเป็นชุดแลว้ ซึง่ ประเทศไทยได้รับการยกย่องว่ามฝี ีมอื การตัดเยบ็ ที่ดีทส่ี ุดประเทศหน่ึงของโลก นอกจากนี้ สภาพอากาศของเมืองไทย ยงั เอ้ืออำ�นวยต่อการเพิ่มจำ�นวนของใบหมอ่ น ซึ่งเป็นอาหารของหนอนไหม และยังเป็นปจั จยั ส�ำ คัญในการปลูกฝา้ ยอีก ดว้ ย แม้ผ้าไหมไทยและผา้ ฝ้ายไทยท่วี างจ�ำ หน่ายตามร้านค้าตา่ งๆ จะถูกถกั ทอดว้ ยลายแบบเดิมๆ แต่ศลิ ปินรุ่นใหม่ก็ เร่มิ สร้างสรรค์ลายใหม่ๆ ทจ่ี ะนำ�มาใช้ทอ โดยออกแบบมาเพอ่ื ใหม้ ีความทันสมัย ทัง้ ในแงข่ องรสนยิ มและการใช้ โดยที่ ไมใ่ หส้ ูญเสียเอกลกั ษณ์ความเปน็ ไทย ท�ำ ให้สินคา้ ประเภทตา่ งๆ ไมว่ ่าจะเป็นของเล่นเดก็ ของตกแตง่ บ้าน ผ้าทีใ่ ช้ทำ�

เฟอร์นิเจอร์ รวมท้ังเครอ่ื งประดับต่างๆ ของประเทศไทยมีความหลากหลาย และตลาดก็ตอบรบั ในแง่บวก ลายเก่าๆ ไดถ้ ูกพฒั นาให้ทันสมัยข้นึ ในขณะท่เี ทคนคิ เก่าแก่อยา่ งการมดั หม่ีกถ็ กู นำ�มาใช้อีกครง้ั ในอดตี ช่างฝมี ือ ทงั้ ในกรงุ เทพ และเชียงใหม่ ได้ขายสนิ คา้ ผ่านทางพอ่ คา้ คนกลาง แต่ในชว่ งปี พ.ศ. 2520 ชาวบา้ น เร่มิ ประชาสัมพันธแ์ ละขายสนิ ค้าของตนดว้ ยตนเอง ส�ำ หรบั ภาคเหนือ งานแกะสลักไม้ เครื่องเงนิ เคร่อื งเขินถกู ขาย ใหก้ ับผซู้ อื้ โดยตรง นอกจากน้ี มกี ารซอ้ื ขายสินคา้ หลายชนิดผ่านชอ่ งทางข้อตกลงการค้าอันยตุ ธิ รรม สินคา้ ของภาค กลาง ได้แก่ เครื่องเขินดำ�และทอง เครือ่ งถม งานประดับมกุ และเครื่องทองลงหนิ ส�ำ หรับทางภาคใต้ ไดแ้ ก่ เครอ่ื ง เงนิ แอนทีค ยา่ นลิเภา เป็นการน�ำ เอาเฟนิ เถาเลอ้ื ยมาสานเป็นสนิ คา้ ตา่ งๆ ส�ำ หรับภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื จะมที ัง้ ผา้ มัดหม่ี และส�ำ หรบั ภูมิภาคทัว่ ไป จะมเี คร่อื งป้นั ดนิ เผา เซรามิกส์ ผา้ และเคร่ืองประดบั ทองต่างๆ นอกจากนี้ การ ปกั ผ้ายังถูกนำ�มาใช้สรา้ งสรรคใ์ ห้เสอ้ื ผ้ามีความทนั สมยั อกี ด้วย ร้านจติ รลดา ในมลู นิธสิ ง่ เสรมิ ศิลปาชพี ฯ ของสมเด็จ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ พระบรมราชนิ นี าถ ไดก้ อ่ ตั้งขน้ึ ในปี พ.ศ. 2520 เพ่อื เป็นตลาดสำ�หรับจ�ำ หน่ายสนิ ค้าฝีพระหัตถ์ ของพระองค์ ในช่วงปี พ.ศ. 2510 ถึง 2520 ประเทศไทยไดก้ ลายเปน็ ศูนย์กลางของการเจยี ระไนอญั มณหี ลากสที ่ีส�ำ คญั ของโลก เน่ืองจากประเทศไทยมที รพั ยากรอญั มณีมากมาย ไม่วา่ จะเป็น ไพลนิ ไขม่ ุก หยก และพลอยก่งึ มีค่า (Semi-Precious Stones) ทีด่ ึงดูดนกั ออกแบบอญั มณีจากทั่วโลกให้มาสรา้ งสรรค์เครื่องประดับอัญมณี และกระตนุ้ ให้มีการน�ำ อญั มณี ของประเทศไทยไปสตู่ ลาดทห่ี ลากหลายมากขึน้ ความสนกุ อีกอย่างหนึ่งของการเดินซือ้ ของในประเทศไทยกค็ ือการเดินตลาดนดั ในช่วงแรกท่ีมีการย้ายตลาดนัดสดุ สปั ดาหจ์ ากสนามหลวงไปยังพ้นื ท่ีทางตอนเหนอื ของกรุงเทพฯ หลายคนเช่อื วา่ จะไม่ประสบความส�ำ เรจ็ เนื่องจากเปน็ พน้ื ทท่ี อ่ี ยไู่ กลจากแหลง่ ท่องเทย่ี ว แตไ่ มน่ าน ตลาดนดั แหง่ ใหมกลบั เจริญ และเติบโตข้นึ อยา่ งรวดเร็ว จนกลายเป็น หน่งึ ในจดุ หมายปลายทางของนักท่องเที่ยวเมอื่ เดินทางมาประเทศไทย ซง่ึ ส่วนหน่งึ เป็นผลมาจากการสรา้ งสรรคแ์ ผนที่ ตลาดโดยศลิ ปินท่ชี ื่อวา่ Nancy Chandler ในชว่ งปี พ.ศ. 2520 นบั ว่าเป็นยุคแห่งการเกิดและเตบิ โตของตลาดนัดกลางคืน ตลาดนดั กลางคืนสามาถดงึ ดูดผคู้ น มากมายทั้งชาวไทย และชาวตา่ งประเทศ ให้มาเลือกสนิ ค้าจ�ำ พวกเส้ือผ้า ซ่ึงสว่ นใหญ่จะเป็นเสอื้ ผา้ มอื สอง ตลาดนดั รถไฟพหลโยธนิ ซ่งึ ปัจจุบันตั้งอยู่บนถนนศรนี ครนิ ทร์ มสี นิ ค้าจ�ำ พวกของฝากแปลกๆ จากช่วงกอ่ นยคุ 70 มากมายให้ นกั ล่าของเก่าไดเ้ ขา้ มาเลอื กซ้อื ไมว่ ่าจะเปน็ รถโบราณ เฟอรน์ ิเจอรแ์ ละของตกแตง่ บ้านซ่งึ เป็นของเกา่ ปา้ ยไวนลิ และ ปา้ ยเบคิไลทเ์ กา่ ๆ เป็นต้น ในขณะเดยี วกนั ห้างสรรพสนิ ค้าเองกท็ ยอยผุดขึ้นอย่างต่อเนอ่ื ง ทงั้ ในกรุงเทพฯ และต่างจงั หวัด สถานท่แี ห่งแรกท่ี นบั ว่าเปน็ ศนู ยก์ ลางของกรุงเทพฯ คอื สยามสแควร์ โดยย้อนกลบั ไปตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2508 ตามด้วยสยามเซน็ เตอร์ ซงึ่ ตัง้ อยู่ฝั่งตรงข้ามของสยามสแควร์ ท้ังสยามสแควร์และสยามเซน็ เตอร์ไดก้ ลายมาเปน็ ศนู ยก์ ลางของกรุงเทพมหานคร ร่วมกบั ห้างท่ตี ัง้ มากอ่ นหนา้ นี้ทั้งเซน็ ทรลั โรบินสนั และไทยไดมารู ซ่งึ เปน็ ห้างขายสินคา้ จากประเทศญี่ปนุ่ หา้ งสรรพ สนิ ค้าเหล่าน้ีได้รบั ความนยิ มอยา่ งมากเน่ืองจากเปน็ ห้างสรรพสินคา้ ท่ีติดเคร่อื งปรบั อากาศ ทำ�ให้ผ้คู นสามารถผ่อน คลายจากอากาศรอ้ นภายนอกไปพร้อมกับการเลือกซ้อื สนิ คา้ ได้ นารายณ์ภณั ฑ์กอ่ ตง้ั ขนึ้ ในปี พ.ศ. 2480 เปน็ รา้ น

จ�ำ หน่ายผลงานศิลปะและงานฝีมอื ขนาดใหญ่ของไทย ตลอดหลายทศวรรษท่ีผ่านมา นารายณ์ภัณฑ์ได้ขยายกิจการ มากขน้ึ และสนิ คา้ ก็มีความหลากหวายมากขึน้ จนกลายเป็นศนู ยก์ ารคา้ สำ�หรับงานศลิ ปะและงานฝีมือที่ใหญ่ทสี่ ดุ ของ ประเทศไทย ซึ่งนกั ทอ่ งเท่ยี วตา่ งแหก่ นั ไปเลอื กซ้อื สนิ ค้าอยา่ งต่อเนือ่ ง การท่องเทีย่ วเชิงสุขภาพ การท่องเทีย่ วที่มเี ร่ืองสุขภาพเขา้ มาเกีย่ วข้องนั้นมีประวตั คิ วามเปน็ มาท่ยี าวนาน โดยย้อนกลับไปราว 4,000 ปกี อ่ น คริสตก์ าล ชนเผา่ สเุ มเรียนไดส้ ร้างศนู ย์สขุ ภาพข้นึ มา โดยมอี ายุเกา่ แกท่ ส่ี ดุ เท่าที่มกี ารคน้ พบ โดยมีลูกคา้ จำ�นวนมาก ที่เดินทางมาจากดนิ แดนที่ห่างไกล ศูนย์สขุ ภาพนี้มีส่ิงอำ�นวยความสะดวกท้งั บ่อนำ้�พุร้อนธรรมชาติ รวมท้งั มหาวิหาร ท่ีมสี ระนำ้�ไหลด้วย แมป้ ระเทศไทยจะไม่มบี อ่ น้�ำ พรุ อ้ นทส่ี ำ�คญั แต่ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งแปลกท่ปี ระเทศไทยจะกลายเปน็ ศูนยก์ ลางสำ�หรบั การใช้ชวี ิต ท่ีสขุ ภาพดี เห็นได้จาก การทว่ี ดั โพธิ์ ซ่งึ เปน็ หน่ึงในวัดทม่ี ีชื่อเสียงทส่ี ดุ ของประเทศไทย ไดก้ ลายเป็นโรงเรยี นสอนการ นวดในเวลาตอ่ มา มนั ไมไ่ ดเ้ ปน็ เพยี งแค่การพักผ่อนทแ่ี สนสบาย แตย่ งั เปน็ การบำ�บัดรักษาอาการเจ็บปว่ ย ซง่ึ ถือว่า เป็นยาลดความเครยี ดจากชีวิตในเมืองใหญท่ ่ดี ีสำ�หรับชาวตา่ งประเทศท่เี ดินทางมาท่องเทีย่ วท่ปี ระเทศไทย ในชว่ งปี พ.ศ. 2530 นกั ทอ่ งเท่ยี วชาวต่างชาตินยิ มเดนิ ทางมาเรยี นการนวดทว่ี ดั โพธ์ิ และคลินกิ ท่เี ก่ยี วข้อง และน�ำ ความรทู้ ีไ่ ด้ กลับไปใช้ทป่ี ระเทศของตน ในอดตี เม่อื พูดถึงการนวด ผคู้ นจะนึกถึงสถานอาบอบนวด แต่ในช่วงปี 2530 หมอนวดไดพ้ ิสจู น์ให้ทุกคนเหน็ ถงึ ความ เป็นมืออาชพี ของพวกเขา โดยไม่ใหค้ วามสนใจกับความเขา้ ใจในแง่ลบทมี่ ีต่อพวกเขา โรงแรมนบั วา่ เป็นสถานท่ีแรก ทเ่ี ปดิ ใหม้ ีบริการใหม้ ีสปาทรตี เม้นทแ์ บบเตม็ รูปแบบ หลังจากน้ันไมน่ าน เรมิ่ มีการเปิดคลนิ ิกเอกชนท่เี นน้ ประโยชน์ ทางดา้ นสุขภาพส�ำ หรบั ชวี ติ ภายนอก เชน่ ชวี าศรม ซ่งึ ลกู คา้ จะไดใ้ ชบ้ ริการให้คำ�แนะน�ำ ด้านสขุ ภาพ ครูผูส้ อน ผู้ให้ คำ�ปรกึ ษาทางการแพทย์ ธรรมชาตบิ �ำ บัด นกั โภชนาการ และนกั บ�ำ บดั ชีวาศรมให้ความสำ�คญั กับความสมดุลของ สุขภาพจติ มากเท่ากับความสมดุลของร่างกาย ผสมผสานกับโยคะ โยคะร้อน การนง่ั สมาธิ รวมทงั้ การออกก�ำ ลังกาย ด้านอาหารเองกจ็ ะมีการปรุงอาหารเป็นพเิ ศษเพือ่ ให้เหมาะส�ำ หรับผทู้ ท่ี านมงั สวริ ตั ิ และผู้ทตี่ อ้ งการจะลดน้�ำ หนัก ส�ำ หรับการท่องเทยี่ วเชิงการแพทย์ สปาเพื่อสขุ ภาพหลายแห่งได้รบั ประโยชนจ์ ากการกอ่ ตั้งของ Joint Commission International ของสหรฐั อเมรกิ าในปี พ.ศ. 2494 การที่บรกิ ารดา้ นการดูแลสขุ ภาพของประเทศไทยถกู จดั ใหอ้ ยู่ใน อนั ดับสูงไดท้ ำ�ให้ชาวตา่ งชาติหลายคน (รวมทั้งคนดังมากมายทม่ี ีชีวิตทดี่ ีอยู่แล้ว) ท�ำ ใหป้ ระเทศไทยก้าวเข้าสู่ตลาด การดแู ลดา้ นสุขภาพของโลก การทอ่ งเที่ยวเชิงการแพทย์ หลายทศวรรษทผ่ี า่ นมา ประเทศไทยไดต้ อ้ นรบั ชาวตา่ งชาตทิ เ่ี ดนิ ทางมาเพอ่ื เขา้ รบั การรกั ษาทางการแพทยท์ ม่ี คี ณุ ภาพ ที่ประเทศไทยแลว้ หลายคน ในชว่ งปี พ.ศ. 2510 ประเทศไทยไดก้ ลายเป็นสถานทส่ี �ำ หรบั ชาวต่างชาตทิ ีม่ าจาก ประเทศทด่ี อ้ ยพฒั นากวา่ ท่ีต้องการเขา้ รบั การรกั ษาในโรงพยาบาลทไี่ ดม้ าตรฐานด้วยคณะแพทยท์ ่มี คี วามสามารถใน ราคาท่ไี มแ่ พงเกินไป จนประเทศไทยกลายเป็นประเทศท่สี ามารถเกบ็ ประวตั กิ ารรกั ษาของคนไข้ไว้เปน็ ความลับได้ดี ทีส่ ุดประเทศหนึ่งในโลก แต่ในช่วงแรก ประเทศไทยกลับไม่สามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากช่อื เสียงในเรือ่ งนี้ได้เท่าทคี่ วร

ประเทศไทยมวี ฒั นธรรมการรกั ษาด้วยสมนุ ไพรพื้นบ้านท่ดี ำ�เนินมาอย่างยาวนาน วัดโพธ์ิไดก้ ลายเปน็ ศนู ย์กลางการ เรยี นรพู้ ชื สมุนไพรมาเป็นเวลานาน และดงึ ดดู ผู้สนใจจากตา่ งประเทศใหเ้ ขา้ มาศกึ ษาอยา่ งต่อเนอื่ ง นอกจากนี้ ประเทศ ไทยยงั สามารถปรับตัวใหเ้ ขา้ กับการใชย้ าแผนตะวนั ตกไดด้ ี โดยนำ�ไปใชค้ วบคกู่ นั กับการรักษาแบบธรรมชาติบำ�บดั และอายุรเวธ แมว้ ดั โพธ์ิจะไดช้ อ่ื ว่าเป็นโรงเรียนสำ�หรบั การศึกษาพืชสมุนไพร แต่กไ็ ม่ไดร้ บั ความนิยมมากเท่ากบั การ เรียนนวดแผนไทย ซึ่งสามารถดงึ ดดู ความสนใจจากนักทอ่ งเทยี่ วชาวตา่ งชาติไดเ้ ป็นอยา่ งดี ปัจจัยสำ�คญั ท่ีท�ำ ให้ประเทศไทยก้าวขนึ้ ส่อู นั ดบั ต้นๆ ของวงการการทอ่ งเทีย่ วเชงิ การแพทยข์ องโลก คือ คา่ รักษา พยาบาลท่ถี ูกกวา่ เมอื่ เทยี บกบั ค่ารักษาพยาบาลในประเทศแถบตะวันตกทแ่ี พงหฉู ี่ และผ้ปู ว่ ยมักจะตอ้ งรอรับการรกั ษา เป็นเวลานานยงิ่ ไปกว่านั้นบางคนมรี ายไดท้ จ่ี �ำ กดั พวกเขาจงึ ตอ้ งหาทางเลอื กใหม่ๆสำ�หรบั ตนเองในขณะเดียวกนั ดว้ ย การท่ีการทอ่ งเทย่ี วเร่ิมไดร้ บั ความนิยมมากข้ึน เนือ่ งจากการโดยสารโดยเคร่ืองบนิ มีค่าใชจ้ ่ายทถี่ ูกลง และชาวตะวันตก เริม่ มีความคุ้นชินกับชาวเอเชียมากขึน้ ชาวตะวนั ตกจงึ เริม่ มองหาทางเลือกทางการแพทยม์ ากข้นึ การท่องเทยี่ ว แห่งประเทศไทยจึงใช้โอกาสน้ีในการประชาสัมพันธ์ประเทศไทยในฐานะที่เป็นจุดหมายปลายทางสำ�หรับการท่องเที่ยว เชิงการแพทย์ชนั้ เลศิ อกี เหตุผลหนงึ่ ทช่ี าวตา่ งชาตินยิ มเดนิ ทางมาเขา้ รับการรักษาในโรงพยาบาลทกี่ รุงเทพฯ เพราะวา่ ประเทศไทยมโี รง พยาบาลเอกชนหลายแห่ง และบริการต่าง ๆ มากมาย รวมท้ังนโยบายทางด้านตรวจคนเขา้ เมอื งท่ไี มเ่ ขม้ งวดนกั ใน ขณะเดยี วกัน ประเทศไทยยงั มสี ถานทีใ่ ห้ผปู้ ว่ ยได้เลือกพักผอ่ นมากมายตลอดการพกั ฟน้ื แมก้ ารรกั ษาโรคโดยวิธที างการแพทยจ์ ะเปน็ ส่ิงทป่ี ฏิบตั ิกันอยูท่ ว่ั ไปในเอเชีย แต่กระบวนการรักษาโดยการศัลยกรรม นน้ั กลบั ยงั ไม่เปน็ ท่ีรจู้ ักมากเหมือนในปจั จุบัน ในปี พ.ศ. 2518 นายแพทย์ปรชี า เตยี วตรานนท์ ไดท้ �ำ การผ่าตัด แปลงเพศให้กบั คนไข้รายหนง่ึ เมอื่ ผู้ป่วยชาวยุโรปเร่มิ ไมพ่ อใจกบั การทีต่ ้องรอการรักษาเป็นเวลานาน ตลอดทั้ง เงอ่ื นไขตา่ งๆ และค่าใช้จ่ายทีส่ ูง ประเทศไทยจึงเป็นอีกหนงึ่ ทางเลอื กส�ำ หรับการรักษาท่ดี กี ว่า จนกลายเปน็ ผนู้ �ำ ด้าน การศลั ยกรรมพลาสติกแหง่ หนง่ึ ของโลก นอกจากน้ี ประเทศไทยยังกลายเปน็ ศนู ย์ของการศลั ยกรรมอีกหลายประเภท อย่างรวดเร็วอันเนอ่ื งมากจากค่าใช้จ่ายท่ถี กู กว่า อย่างไรก็ตาม การรกั ษาดว้ ยการศลั ยกรรมประเภทอืน่ อาจตอ้ งใช้เวลาในการได้รับการยอมรับจากโลกตะวนั ตก ในปี พ.ศ. 2540 สถาบนั ทางการแพทยห์ ลายแห่งได้ต่อตา้ นการรักษาทีต่ ่างประเทศ โดยพยายามพูดเพ่ือให้ผ้คู นตอ่ ต้าน ซึง่ บางคนก็หันหลังใหก้ ับการรักษาในประเทศไทย ยง่ิ ไปกวา่ นัน้ บรษิ ัทประกนั ภยั หลายบรษิ ทั ในต่างประเทศปฏิเสธ ไมใ่ หป้ ระกนั ครอบคลุมคา่ ใชจ้ า่ ยส�ำ หรบั การรกั ษาพยาบาลในตา่ งประเทศ เนอื่ งจากกงั วลว่าอาจจะมคี วามยุง่ ยากตาม มาในภายหลงั ในปีเดียวกัน องค์กร JCI ไดเ้ ข้ามาใหก้ ารสนับสนนุ ประเทศไทย โดยองค์กร JCI มีหน้าที่ในการตรวจสอบและจัด อนั ดบั โรงพยาบาลตา่ งประเทศ เพือ่ ให้มั่นใจว่าสง่ิ อ�ำ นวยความสะดวกดา้ นสุขภาพของโรงพยาบาลแตล่ ะแห่งน้ันเป็นไป ตามมาตรฐานของนานาชาติ โรงพยาบาลของประเทศไทยเปน็ โรงพยาบาลแรกๆ ทผ่ี ่านการพิจารณา บริษัททอ่ งเท่ยี ว

หลายบริษัทในต่างประเทศเร่ิมมีการจัดโปรแกรมการท่อวเท่ียวเชิงการแพทย์โดยได้รับความร่วมมือจากการท่องเที่ยว แห่งประเทศไทย ตลอดทศวรรษทผ่ี า่ นมา โรงพยาบาลบ�ำ รุงราษฏรไ์ ด้ทำ�การรักษาคนไข้ชาวต่างชาติแลว้ กวา่ 190 ประเทศทวั่ โลก หลังจากนัน้ การเข้ารบั การรักษาในโรงพยาบาลตา่ งประเทศเรมิ่ ได้รบั ความนยิ มอย่างลน้ หลาม บริษทั ประกันชีวติ ในตา่ งประเทศเริม่ ใหป้ ระกนั ครอบคลมุ การผ่าตัดทีไ่ มใ่ ช่กรณีเร่งด่วน ด้วยเลง็ เหน็ ถงึ ความคมุ้ คา่ จากการให้ลกู ค้า ได้รับการรักษาท่ีประเทศไทย การท่องเทยี่ วเชิงการแพทย์ยังรวมไปถงึ การรักษาในด้านอืน่ เช่น การรักษาทางดา้ น ทันตกรรม ซึ่งผเู้ ชย่ี วชาญบางท่านได้ประเมนิ วา่ มผี ู้เดนิ ทางเขา้ มารับการรักษาทางด้านทนั ตกรรม คิดเป็นร้อยละ 40 ของการเดินทางไปรักษาท่ีต่างประเทศทั้งหมด นอกจากน้ี ยังมีผ้ปู ว่ ยอีกหลายคนทีเ่ ดนิ ทางมาประเทศไทยเพ่ือทำ�เล ซิก ผ่าตอ้ กระจก และผ่าตัดเปล่ียนเลนสต์ า ในปี 2012 อ้างองิ จากรายงานของ Patients Beyond Borders บริษทั ทัวร์ทางการแพทยข์ องสหรัฐอเมรกิ าทีก่ อ่ ตง้ั ขึ้น ในปี 2007 และจากรายงานของ Bloomberg พบวา่ ในบรรดาผู้ทเี่ ดนิ ทางไปรักษาในต่างประเทศ มีจำ�นวนถงึ รอ้ ยละ 90 ท่เี ดนิ ทางมาเอเชีย ซึ่งประเทศไทยมจี �ำ นวนผทู้ ่ีเดนิ ทางมาเขา้ รบั การรกั ษามากท่ีสุด โดยมจี �ำ นวนถงึ 1,200,000 คน คิดเป็นสองเท่าของประเทศสงิ คโปร์ สามเทา่ ของอินเดีย และ 12 เทา่ ของไต้หวนั ในปี 2014 มผี ้เู ดนิ ทางเข้ามา รับการรกั ษาในเมืองไทยแล้วกวา่ 2,500,000 คน และมกี ารคาดการณว์ า่ ในปี 2015 ประเทศไทยจะมีรายไดจ้ ากการ ทอ่ งเทย่ี วเชงิ การแพทยก์ วา่ 200,000 ลา้ นบาทตอ่ ปี และยงั มจี �ำ นวนเพม่ิ ขน้ึ อยอู่ ยา่ งตอ่ เนอ่ื งโดยคดิ เปน็ รอ้ ยละ 16 ตอ่ ปี โรงแรมและรสี อร์ทเองก็ไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการท่องเทีย่ วลกั ษณะนีเ้ นอ่ื งจากโรงแรมหรอื รสี อรท์ จะกลายเป็นทพี่ กั ส�ำ หรบั ครอบครัวของผูป้ ่วยทเี่ ดินทางมาดว้ ย รวมทั้งรา้ นอาหาร และบริการอ่นื ๆ ทเี่ กี่ยวข้องกบั การทอ่ งเที่ยว ซึ่งถอื วา่ การประชาสัมพันธ์ประเทศไทยในฐานะที่เป็นจุดหมายปลายทางสำ�หรับการทองเท่ียวเชิงการแพทย์เป็นการตัดสินใจ ทีถ่ ูกต้องและเปน็ การมองการณไ์ กล ประเทศไทยยังเปน็ ที่นยิ มสำ�หรบั การจัดพิธีแตง่ งานและการฮํ นั นมี นู อีกด้วย ใน ช่วงก่อนปี พ.ศ. 2530 คู่รักชาวตา่ งชาตจิ ะนยิ มเดนิ ทางมาจดั งานแตง่ งานเพอ่ื แลกเปลยี่ นคำ�สาบานในแบบไทยๆ ท่ี ประเทศไทย หลังจากท่จี ดทะเบียนสมรสที่ประเทศตนเองเรยี บร้อยแล้ว ในขณะท่สี ำ�นกั งานเขตบางรักเป็นสถานทจี่ ด ทะเบยี นสมรสทไี่ ด้รบั ความนยิ มอย่างมาก เนื่องจาก บางรัก แปลวา่ ดินแดนแห่งรกั นนั่ เอง ผ้ปู ระกอบการท่องเท่ียวได้ยอมรบั ว่าประเทศไทยเป็นสถานที่มคี วามโรแมนตคิ ในการจัดพิธีแตง่ งาน และเรมิ่ เสนอขาย แพ็คเกจพักผอ่ น โดยควบการจดั พิธแี ตง่ งาน ฮนั นีมูน และการเดินทางเขา้ ไว้ด้วยกนั ดว้ ยความนา่ ดงึ ดดู นีเ้ องท่ที ำ�ให้ นกั ทอ่ งเทยี่ วท่เี ป็นคู่รกั นิยมเดินทางมาประเทศไทยมากขน้ึ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยจึงทำ�การประชาสัมพันธ์ อยา่ งเตม็ ทด่ี ว้ ยตระหนักดีถงึ รายไดท้ จี่ ะตามมา ในปี พ.ศ. 2559 ประเทศไทยได้กลายเป็นหน่ึงใน 6 ประเทศชั้นนำ�ในตลาดโลกส�ำ หรับพธิ แี ต่งงานและฮนั นีมูน คูร่ ัก หลากหลายคจู่ ากประเทศตา่ ง ๆ ทั้งสหรฐั อเมริกา แคนาดา บราซิล อาร์เจนตินา่ ชิลี ฝรั่งเศส สาธารณรฐั อาหรับ เอมเิ รตส์ ออสเตรเลยี จีน ฮ่องกง ไตห้ วัน ญ่ีปนุ่ เกาหลใี ต้ มาเลเซยี และอินโดนเี ซยี ไดเ้ ดินทางมาจดั พธิ ีแตง่ งาน และแลกค�ำ สาบานท่ปี ระเทศไทย ผู้ประกอบการธรุ กิจโรงแรมได้สร้างหอ้ งฮันนมี ูนสวตี และบงั กาโล เพื่ออ�ำ นวยความ สะดวกใหก้ บั คู่รักหลากหลายคูท่ เี่ ดินทางมายงั ประเทศไทย

บริษัททอ่ งเทยี่ วเรมิ่ เปดิ ใหม้ กี ารจดั พธิ ีแต่งงานใต้ทะเล หรือท่เี รียกว่า วิวาหใ์ ตส้ มทุ ร ทางภาคใตข้ องประเทศไทย เพอื่ ให้นักท่องเทีย่ วได้มีประสบการณ์ท่ีแปลกใหมใ่ นการแลกเปลยี่ นค�ำ สาบานในชดุ ดำ�น�ำ้ ขณะอยู่ใตท้ ะเล เพื่อใหค้ รู่ กั ขา้ วใหมป่ ลามนั ได้รบั ประสบการณท์ ี่แปลกใหม่และน่าจดจำ�กลับไป นอกจากนี้ ประเทศไทยยงั เปน็ ทรี่ จู้ ักจากการเป็นประเทศทีใ่ หก้ ารยอมรบั ชาวรกั รว่ มเพศมากประเทศหน่งึ ผ้ทู อ่ี ย่แู ถว หน้าในดา้ นตา่ งๆ ต่างเปิดเผยวา่ ตนเปน็ คนรักรว่ มเพศต่อสาธารณะ และกลุ่มคนชายรักชาย และหญงิ รักหญงิ ต่างใช้ ชวี ิตอยใู่ นสังคมไทยมาเป็นเวลานานแลว้ โดยได้รับการยอมรบั จากคนในสังคม และแทบจะไมม่ กี ารกอ่ ความรุนแรง กับชาวรกั ร่วมเพศเลย ซง่ึ ไม่นา่ แปลกใจที่ชาวรกั ร่วมเพศจากตา่ งประเทศจะให้ความสนใจกับประเทศไทยในประเด็นน้ี บารเ์ กย์ และการแสดงต่างๆ ของสาวประเภทสอง เชน่ การแสดงโชว์ทิฟฟานท่ี พี่ ทั ยา ตา่ งไดร้ บั ความสนใจกล่มุ ชายจริง หญงิ แท้ และกลุ่มคนรกั ร่วมเพศ โดยเฉพาะชาวเอเชียจากประเทศที่เคร่งครัดจะคิดวา่ สิ่งเหลา่ นน้ี ่ามหัศจรรยม์ าก นิตยสารหลายฉบับเองกพ็ รอ้ มใจกนั ประชาสัมพันธ์การจัดงาน รวมทัง้ การบรกิ ารต่างๆ ท่ีเกีย่ วข้องกบั คนรักรว่ มเพศ เพื่อเปน็ การเตรยี มตัวสำ�หรบั บทบาทส�ำ คญั ในอตุ สาหกรรมการทอ่ งเทยี่ สำ�หรบั ประเทศไทย ไดม้ กี ารกอ่ ต้งั โรงเรียนท่ี สอนวชิ าการทอ่ งเทย่ี วและการโรงแรมขนึ้ มามากมายโดยสถาบนั ฝกึ สอนการทอ่ งเทยี่ วและการโรงแรมของการทอ่ งเทย่ี ว แห่งประเทศไทยนบั วา่ เปน็ ตน้ แบบของสถาบนั การศกึ ษาอืน่ ๆ ในเวลาต่อมา เชน่ กลุ่มมหาวิทยาลยั ราชภฏั ท่ีเปิดสอน หลักสตู รการโทอ่ งเท่ียวและการโรงแรมในระดับปรญิ ญาตรี ไมน่ านมหาวิทยาลยั เกือบทุกแห่งไดเ้ ปิดสอนการทอ่ งเทีย่ ว และการโรงแรม หลักสตู ร 4 ปี ซงึ่ ผทู้ ่เี รยี นจบหลกั สตู รจะไดว้ ฒุ ิปริญญาตรศี ิลปศาสตร์บณั ฑิต โรงแรมหลายแหง่ กม็ ีการเปดิ อบรมเช่นเดียวกนั แตส่ งวนไว้ส�ำ หรับพนกั งานของโรงแรมเท่านัน้ สำ�หรับดสุ ติ ธานีกรุ๊ป น้นั ได้ก่อต้ังสถาบนั การศกึ ษา หลักสตู ร 4 ปี เพ่ือฝึกนักศึกษาใหส้ ามารถท�ำ งานไดท้ ่ีทุกๆ สถาบันในเมืองไทย ไมว่ ่า จะมขี อ้ ตกลงรว่ มกนั หรอื ไมก่ ต็ าม บรษิ ัททอ่ งเทยี่ วของประเทศไทย น�ำ โดยการท่องเทย่ี วแห่งประเทศไทย ลว้ นมีความ อดทนต่อการเปลี่ยนแปลงทีส่ ำ�คญั เพอ่ื ใหส้ ามารถกา้ วตามทันยุคสมยั และความตอ้ งการของลกู คา้ ทเ่ี ปลี่ยนไป และ ยังคงไว้ซ่ึงคุณภาพของการบริการ รวมท้ังจ�ำ นวนนกั ทอ่ งเทย่ี วเดนิ ทางมาเยย่ี มชมด้วย

สยามปาร์คซติ ี้ – แดนเนรมติ เปน็ เวลาหลายปที ี่เดก็ กรงุ เทพฯ ประสบปัญหาขาดแคลนกจิ กรรมท�ำ ในยามว่าง จนกระทง่ั มชี าวไทย 2 คนได้ กา้ วเข้ามาแลว้ มอบความสนกุ สนานใหก้ บั เดก็ กรงุ เทพฯ จนกลายเป็นต�ำ นาน ในปี พ.ศ. 2523 คณุ ไชยวัฒน์ เหลืองอมรเลิศ ไดเ้ ปดิ ตัวสวนสนกุ แหง่ ใหม่ของเมอื งไทยในชื่อ สวนสยาม โดยได้รับแรงบนั ดาลใจมาจาก แหลง่ นำ้�ทอี่ ุดมสมบรู ณ์ และการเล่นนำ�้ ในคลองในวยั เดก็ ด้วยความตง้ั ใจท่ีอยากจะมอบรอยยิม้ ให้กับเดก็ ทกุ ๆ คน สวนสยามเป็นสวนสนุกขนาดใหญ่ ตัง้ อยูบ่ นพื้นทีฝ่ ั่งตะวนั ออกของกรงุ เทพฯ ขนาด 120 เอเคอร์ โดยไดร้ บั การบนั ทึกจาก Guinness Book of World Records ว่าเปน็ ทะเลในแผ่นดนิ ท่สี ร้างขน้ึ โดย มนษุ ย์ท่ีมขี นาดใหญ่ที่สดุ ในโลก (ดว้ ยพนื้ ท่ีกวา่ 13,600 ตารางเมตร) พร้อมดว้ ยสไลเดอร์นำ้�สงู 7 เมตร ซึง่ ในเวลาตอ่ มา สวนสยามไดร้ บั การขนานนามว่าเปน็ สวนนำ�้ ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และได้ ตดิ ตงั้ เครื่องเลน่ เพอ่ื เพม่ิ ความตน่ื เตน้ ขึ้นมาอกี หลายชนิด คณุ ไชยวฒั นเ์ ริ่มตน้ ชวี ติ การท�ำ งานจากตำ�่ สดุ ไปสู่จุดสูงสดุ “ครอบครวั ของผมยากจน พอ่ แมเ่ องกไ็ มม่ เี งิน มากพอจะสง่ ลกู เรียน ผมเลยเรยี นจบแคช่ น้ั ประถมฯ 4 จากน้ันกม็ โี อกาสไดท้ ำ�การประมง เลีย้ งปลาหลาย สายพันธุ์ เม่ือประสบความส�ำ เรจ็ ทงั้ ในดา้ นชอ่ื เสียง และเงินทอง ผมกเ็ ลยอยากจะทำ�ความฝนั ของผมให้ เป็นจรงิ ดว้ ยการสร้างสวนสนกุ ใหก้ ับเด็กๆ” กอ่ นหน้าที่จะสรา้ งสวนสยามคล คณุ ไชยวฒั น์ ไดเ้ ดินทางไปเยีย่ มชมสวนสนกุ และสวนนำ�้ มาแลว้ ท้ังใน ประเทศญป่ี ุ่นและสหรฐั อเมรกิ า “ผมอยากจะสร้างดิสนียแ์ ลนด์ในเมืองไทย แต่ทางดสิ นียบ์ อกว่าตลาดของ เราเลก็ เกินไปทีพ่ วกเขาจะตดั สินใจ การลงทุน ผมกเ็ ลยตดั สนิ ใจทจ่ี ะเดินหนา้ โปรเจ็คต่อไปแม้ว่าผมจะตอ้ ง ควกั เงินตวั เองลงทนุ เพยี งคนเดยี วก็ตาม” เพอื่ ให้งานออกมาดีที่สุด คุณชยั วัฒนไ์ ด้ร่วมมอื กับผ้เู ช่ยี วชาญ หลายฝา่ ย ท้งั ดา้ นการออกแบบและสถาปตั ยกรรม ดา้ นวิศวกรรมทรัพยากรน้ำ� รวมทัง้ ดา้ นวศิ วกรรม โครงสรา้ ง คณุ ชยั วัฒนก์ ลา่ ววา่ “การเดินหนา้ โปรเจค็ ค่อนข้างล�ำ บาก และผมเองก็ไมม่ นี ักลงทนุ สวนน�้ำ ท่ไี ดม้ าจึงเปน็ เพียง 80 เปอร์เซน็ ทีผ่ มตอ้ งการเทา่ นั้น แตม่ นั กลับไดร้ บั ความนิยมอยา่ งรวดเรว็ กลุ่มเป้าหมายของผม คอื คนไทย เพราะผมอยากให้พวกเขาได้สนกุ กับสวนน�้ำ ทม่ี มี าตรฐานระดับโลกดว้ ยราคาท่ีย่อมเยาว์ ต่อมา กลมุ่ ลูกค้าของเราก็ขยายไปสกู่ ลุม่ นักทอ่ งเทย่ี วชาวตา่ งชาติ เช่น ชาวจนี อนิ เดยี ชาวตะวันออกกลาง ชาว รัสเซยี และอ่นื ๆ อีกมากมาย” “ในปจั จบุ นั เรามีผู้มาเท่ียวสวนน้�ำ แลว้ กวา่ 1,200,000 คนต่อปี และส่วนใหญ่จะเป็นผ้ทู ่เี คยเดินทางมา ก่อนแลว้ ” ในเวลาต่อมา สวนสยาม ได้ถูกเปลีย่ นชอื่ เปน็ สยามปาร์คซติ ี้ แสดงให้เหน็ ถงึ การขยับขยายของ สวนสยามเพือ่ รองรบั เครอื่ งเลน่ ใหม่ๆ รวมทั้งนักท่องเทีย่ วชาวตา่ งชาติ “เราไดฝ้ า่ ฝันอุปสรรคมามากมาย และเราภูมใิ จที่จะบอกวา่ ความต้ังใจทแ่ี น่วแน่ในการสรา้ งตำ�นาน (แหง่ สวนสนุกระดับโลกทค่ี นไทยเขา้ ชม ไดใ้ นราคาไมแ่ พง) ไมใ่ ชเ่ รอื่ งทเี่ ปน็ ไปไมไ่ ด”้

แดนเนรมิต เปน็ สวนสนุกทกี่ อ่ ตัง้ ขึ้นในปี พ.ศ. 2519 โดยคุณไมตรี กิตพิ ราภรณ์ ด้วยความต้องการจะมอบ ความสนกุ สนานใหก้ บั เด็กๆ แต่เดมิ น้ันคุณไมตรมี ธี รุ กิจโรงภาพยนตร์หลายแหง่ ต่อมา คณุ ไมตรไี ด้เดินทาง ไปเยยี่ มชมสวนสนกุ ทญี่ ่ีปนุ่ ซ่ึงท�ำ ให้รูว้ ่า “ประเทศไทยยังไมม่ ีสวนสนกุ เลย” เม่ือกลบั มาประเทศไทย คุณ ไมตรีจงึ ได้เริม่ ต้นสรา้ งสวนสนุกแหง่ ใหมข่ องประเทศไทยขน้ึ มา ในขณะนัน้ บริเวณถนนลาดพร้าวยังเปน็ พื้นท่ีแถบชานเมืองของกรุงเทพฯ อยูแ่ ต่ก็อยูไ่ ม่ไกลจากใจกลางเมือง คณุ ไมตรไี ดเ้ ชา่ พ้นื ท่สี ำ�หรบั แดนเนรมิตรมากว่า 25 ปี โดยคณุ พัณณนิ กติ พิ ราภรณ์ ลูกสาวของคุณไมตรี อดีต กรรมการผจู้ ดั การแดนเนรมติ กลา่ วว่า “คุณพ่อซ้ือเครอ่ื งเลน่ หลายเครอ่ื งมาจากญี่ปนุ่ และอิตาลีท่คี ุณพ่อ คิดวา่ จะตอ้ งได้รับความนยิ มมากๆ เคร่ืองเล่นทไี่ ดร้ บั ความนิยมทส่ี ดุ เหน็ จะเปน็ รถไฟเหาะ ล่องซุง ชงิ ช้า สวรรค์ และบ้านผีสิง” “แดนเนรมิตถูกออกแบบมาสำ�หรับนักทอ่ งเที่ยวชาวไทย และชาวตา่ งชาตทิ ่อี าศยั อย่ใู นประเทศไทย โดยเก็บ คา่ เขา้ เพียงคนละ 5 บาท ตอนทีเ่ ปิดคร้งั แรก สวนสนกุ ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก จนท�ำ ให้เกดิ การ จราจรติดขดั บนถนนวภิ าวดีรงั สติ ท�ำ ใหห้ ลายคนเดนิ ทางไปสนามบนิ ดอนเมืองเพอ่ื ไปข้นึ เครอื่ งไม่ทัน ฉัน คดิ ว่าที่ผลตอบรบั ดีขนาดนนั้ นา่ จะเป็นเพราะว่าแดนเนรมิตเปน็ สวนสนุกแห่งแรกของเมืองไทยค่ะ” ตลอดหลายปีทผ่ี า่ นมา แดนเนรมิตต้องเพ่มิ เครือ่ งเล่นใหม่ๆ อย่เู สมอเพ่อื ดงึ ให้ผู้คนกลับมาเทยี่ วอีกครั้ง “เราไดส้ รา้ งปราสาทในแดนเนรมติ ทต่ี อ่ มากลายเปน็ แลนดม์ ารค์ แมว้ า่ สวนสนกุ จะปดิ ใหบ้ รกิ ารไปแลว้ กต็ าม” เมอื่ รู้ว่าสญั ญาเช่าที่ดนิ จะหมดอายลุ งภายในปี พ.ศ. 2543 คุณไมตรีจึงไดต้ ดั สนิ ใจซ้อื ทีด่ นิ บรเิ วณรังสิต และ สรา้ งสวนสนกุ แห่งใหม่ข้ึนมา ในช่ือของ ดรีมเวิลด์ ในปี พ.ศ. 2536 แม้ในวันนแี้ ดนเนรมิตจะไม่ไดก้ ลบั มา เปดิ ให้บรกิ ารอีกคร้งั แตป่ ราสาทแหง่ ความฝันน้ีก็ยังคงตัง้ ตระหงา่ นเพ่อื เป็นสญั ลักษณ์ว่าคร้ังหนง่ึ ปราสาท แห่งนี้เคยมเี ด็กหลายตอ่ หลายคนมาวิ่งเล่นกนั อยา่ งสนกุ สนาน

“แนวคดิ ของการสรา้ งรสี อร์ทเพอื่ สขุ ภาพทีด่ ี เริม่ มาจากการทค่ี ุณพอ่ ของผมต้องการที่จะให้เพอ่ื นๆ และคนที่คณุ พอ่ รกั มสี ขุ ภาพดี” กฤป โรจนสเถยี ร ประธานกรรมการบรหิ ารชวี าศรม บุญชู โรจนเสถียร คณุ บญุ ชู โรจนเสถยี ร (พ.ศ. 2464 - พ.ศ. 2550) อดีตรองนายกรฐั มนตรี อดตี รฐั มนตรีวา่ การกระทรวง การคลงั อดีตสมาชิกวฒุ ิสภา อดตี กรรมการผจู้ ดั การใหญธ่ นาคารกรุงเทพฯ ไดร้ ว่ มมอื กับนักลงทุนทีม่ ี แนวคดิ เดยี วกัน จดั ตั้งรสี อร์ทด้านสุขภาพในระดบั นานาชาตขิ องประเทศไทยบนพ้ืนทอี่ นั เงียบสงบฝั่งอ่าว ไทยในอำ�เภอหวั หนิ จังหวัดประจวบครี ีขนั ธ์ คณุ กฤบ โรจนสเถยี ร ลกู ชายของคุณบญุ ชไู ดเ้ ล่าว่าคณุ พ่อของ เขามคี วามฝันที่อยากจะใหป้ ระเทศไทยกลายเป็นผู้นำ�ของโลกในดา้ นการทอ่ งเทีย่ วที่มีคณุ ภาพ “แนวคิดของการสร้างรสี อร์ทเพอื่ สุขภาพที่ดีเริ่มมาจากการทคี่ ณุ พ่อของผมต้องการท่ีจะใหเ้ พอื่ นๆ และคน ท่คี ณุ พ่อรกั มีสุขภาพดี คุณพ่อจะเชญิ เพอ่ื นฝูงจากกรงุ เทพฯ ให้มาเท่ยี วทุกๆ สัปดาห์ เพ่ือนๆ ของคณุ พอ่ ทานอาหารกนั อย่างเอร็ดอร่อยมาก พวกทา่ นจะสนกุ สนานไปกับการเล่นกฬี า และยงั ไดพ้ กั ผอ่ นกนั ยงั เตม็ ที่ ทำ�ใหร้ ู้สึกมชี ีวติ ชวี ามากขึน้ เมือ่ ตอ้ งเดนิ ทางกลบั ไปทำ�งานทีก่ รงุ เทพฯ ในวันจันทร์” เมอ่ื 30 ปกี อ่ น คุณบญุ ชูไดเ้ ลง็ เหน็ วา่ อกี ไมน่ าน กระแสการรกั สุขภาพจะตอ้ งได้รบั ความนยิ มอย่างมาก ในประเทศไทย และรวู้ ่ามนั จะกลายเปน็ สง่ิ สำ�คญั ในชวี ิตของคนทุกคนในท่ีสดุ ประกอบกบั การท่ีได้ซมึ ซับ ประสบการณ์จากการเดินทางไปเยี่ยมชมฟารม์ สุขภาพหลายๆ แห่ง โดยส่วนใหญ่อยู่ในยโุ รป ซง่ึ แตล่ ะท่ีจะมี วฒั นธรรม เทคนิค และการให้บริการทแี่ ต่งต่างกัน คุณบญุ ชูจงึ ได้กอ่ ตงั้ ชวี าศรม ข้ึนมา ซึง่ แปลว่า แหลง่ ของชวี ิต (Haven of Life) บรเิ วณพน้ื ทช่ี ายหาดเก่าแก่ในอ�ำ เภอหัวหินในปี พ.ศ. 2538 แลว้ ท�ำ ไมตอ้ งเปน็ ประเทศไทย? ประการแรก คนไทยมวี ัฒนธรรมการเยียวยารักษาแบบพ้นื บ้านท่ดี ำ�เนนิ มาอยา่ งยาวนาน นอกจากจะท�ำ ใหร้ สู้ ึกผอ่ นคลายแลว้ การนวดแผนไทยยังชว่ ยรักษาโรค และอาการตา่ งๆ ได้ การให้บรกิ ารของคนไทยเป็นสง่ิ ทีฝ่ ังอยู่ในสายเลือดของคนไทยทุกคน จึงไมน่ า่ แปลกใจว่าท�ำ ไมการทอ่ ง เท่ียวของประเทศไทยจึงประสบความสำ�เร็จจนกลายเป็นจุดหมายปลายทางหลักสำ�หรับนักท่องเท่ียวดังเช่น ในปัจจบุ ัน คณุ บุญชมู แี นวคิดท่ตี อ้ งการจะผสมผสานการให้บริการในแบบไทยๆ เข้ากับการรกั ษาโรคแผนตะวนั ตก และ สนับสนุนใหเ้ ปลี่ยนแปลงวถิ ชี วี ิตแบบเดิมๆ แม้ในปจั จบุ นั การแพทย์แผนตะวนั ตกจะประสบความสำ�เร็จ

อย่างมาก แตส่ ำ�หรับประเทศไทยน้ี เราต้องสร้างสรรคม์ นั ออกมาโดยไม่ละท้งิ วฒั นธรรมด้ังเดมิ ดว้ ยการ ผสมผสานวทิ ยาศาสตรเ์ ข้ากบั การบรกิ ารของเรา ในชว่ งแรก ชีวาศรม มีกลุม่ เปา้ หมายคอื คนไทย คณุ บญุ ชู ไดช้ วนเพื่อนๆ และพรรคพวกให้มาเป็นสมาชิกผูก้ ่อตัง้ และคาดหวังวา่ พวกเขาจะเดนิ ทางมาที่รีสอรท์ อยู่ เสมอ แต่กลายเป็นวา่ เพ่อื นๆ ของคุณบุญชซู อื้ สถานะการเปน็ สมาชกิ แตไ่ ม่ได้ใช้เลย เพราะพวกเขาไม่ เขา้ ใจว่าชวี าศรมมบี รกิ ารอะไรบา้ ง ผมคดิ ว่าอาจเป็นเพราะความเขา้ ใจในสมยั ก่อนว่า หากคุณไปชวี าศรมแลว้ พวกเขาจะใหค้ ณุ ทานอาหารจดื ๆ ในปริมาณนอ้ ยๆ และจะใหค้ ณุ ออกก�ำ ลังกาย ท�ำ ให้คณุ ตอ้ งเหน่อื ย ซ่ึงจรงิ ๆ แลว้ มนั ไม่ใชเ่ ลย โดยสว่ นตัว ผมเคยไปชีวาศรมมาแลว้ แล้วก็ไมค่ ิดวา่ การใช้ชีวิตทีน่ นั่ จะเป็นการยากล�ำ บากอะไร เพราะชวี าศรมจะจดั โปรแกรมตามท่คี ณุ ต้องการ พวกเขาจะไม่บงั คบั ให้คุณคดิ เหมอื นกัน แตจ่ ะชว่ ยให้คุณทำ�ตามเปา้ หมายให้ ส�ำ เรจ็ ได้งา่ ยมากขนึ้ พวกเราเริ่มสร้างความประทับใจให้กับต่างประเทศมากขึ้นโดยเร่ิมหันไปให้ความสนใจประเทศในแถวยุโรป โดยเฉพาะสหราชอาณาจักร ท่ีนั่น องค์รวมของสุขภาพดีของเรา ได้แก่ ใจ กาย และวิญญาณ ได้รับการ ตอบรับทด่ี เี ป็นท่อี ย่างมาก คณุ พ่อและผมไดส้ รา้ งส่งิ ท่เี รยี กว่า “เสาหลัก 10 ต้นแห่งชวี าศรม” ซงึ่ เปน็ หลักการชี้นำ�ของเรา ผมเคยไมเ่ ปลย่ี นไปจากหลกั การทยี่ ดึ ถือมานาน แตไ่ ด้เปล่ยี นแปลงในแง่ของเคร่ืองมือ อุปกรณ์ตา่ งๆ เมือ่ ไม่นานมานี้ ชวี าศรมไดม้ กี ารปรับปรงุ คร้งั ใหญใ่ นทกุ ๆ หอ้ ง แต่ยงั คงรูปแบบที่เปน็ แกน หลัก และบรรยากาศท่เี งียบสงบเอาไว้ เป็นการเนน้ ความสำ�คญั ของสุขภาพดี นอกจากน้ี เรายงั ไดใ้ หค้ วามสนใจไปยังกลุ่มประชากรทม่ี ีผ้สู งู อายุเพมิ่ ขนึ้ เนือ่ งจากแขกของเรามีอายุมากขึ้น เราจงึ ตอ้ งเปลีย่ นแปลงวธิ ีการดูแลใหเ้ ปน็ ไปตามอายุของพวกเขา ซงึ่ โลกกำ�ลงั มจี �ำ นวนผู้สงู อายุเพม่ิ ขึน้ อยา่ ง รวดเร็ว และแนน่ อนวา่ สขุ ภาพที่ดเี ปน็ ส่ิงที่สำ�คญั มาก ๆ ในขณะน้ี ภายในปี 2050 ประชากร 1 ใน 5 ของ จำ�นวนประชากรโลกท้งั หมด จะมอี ายุ 60 ปี หรอื มากกว่านั้น หากคุณไมไ่ ดค้ นกลุ่มน้ใี หด้ แี ลว้ ปลอ่ ยใหพ้ วก เขาเจ็บป่วย มนั จะเกดิ หายนะความวุน่ วายแนน่ อน ตลอดหลายปที ผี่ า่ นมา กล่มุ ลกู คา้ หลักของเราจะเปน็ กลมุ่ ทเี่ คยเดนิ ทางมากอ่ นแลว้ เดนิ ทางกลับมาอีกรอบ คนทม่ี าบอ่ ยทส่ี ุดคิดวา่ น่าจะประมาณ 75 ครง้ั ลกู ค้าของเราส่วนใหญจ่ ะนักทอ่ งเท่ียวทเี่ ดินทางดว้ ยจดุ หมาย ปลายทางเดียว คือไม่ไปแวะเทย่ี วทีไ่ หนเลย ลกู ค้าส่วนใหญจ่ ะพักท่ีรีสอรท์ ประมาณ 7 ถงึ 8 วนั โดยเฉล่ยี “ผมเชอ่ื วา่ ชวี าศรมไดท้ �ำ ใหป้ ระเทศไทยไปอยใู่ นแผนทก่ี ารทอ่ งเทย่ี วเพอ่ื สขุ ภาพทด่ี ี การทอ่ งเทย่ี วเพอ่ื สขุ ภาพ ท่ดี ีมแี นวโน้มว่านา่ จะประสบความสำ�เร็จ และเจริญเตบิ โตเรว็ มากทส่ี ุด ผมมัน่ ใจว่าในอีก 10 ปีต่อจากน้ี มันกจ็ ะยงั คงเป็นเช่นนน้ั ตอ่ ไป”

“เรามีความภาคภูมใิ จในการน�ำ ผา้ ไหมไทยไปสู่ตลาดโลก โดยทีย่ งั คงสร้างสรรคร์ ูปแบบทีแ่ ปลกใหม่ และความเชื่อมโยง ในวฒั นธรรมกบั ชาวบา้ นผูส้ ร้างสรรค์ผา้ ทเ่ี ป็นเอกลักษณ์ มาแต่เดมิ ” คุณหญงิ อรศรี วงั ววิ ฒั น์ จมิ ทอมป์สนั หนง่ึ ในความพงึ พอใจทน่ี ักท่องเท่ียวมีต่อประเทศไทย คือ การจับจ่ายซื้อของ ไมว่ า่ จะเป็นของฝาก ของขวญั งานหตั ถกรรม งานแฟช่นั ซ่งึ สนิ ค้าและผลิตภณั ฑ์แตล่ ะชน้ิ ล้วนมีความหลากหลาย สามารถหาซ้ือได้ ซ่ึง ทำ�ใหป้ ระเทศไทยมีความแตกตา่ งจากประเทศอนื่ และหน่ึงในสินคา้ ท่ไี ด้รบั ความนิยมในหม่นู ักทอ่ งเท่ียว มากที่สดุ ก็คือ ผา้ ไหมไทย เร่ืองราวความเป็นมาท่ีทำ�ให้ผ้าไหมไทยกลายเป็นท่ีรู้จักในระดับโลกเร่ิมต้ังแต่ความช่ืนชอบในผ้าไหมไทย ของผชู้ ายคนหนงึ่ ทีช่ ื่อวา่ เจมส์ หรอื จิม ทอมปส์ ัน ในช่วงสงครามโลกครัง้ ท่ี 2 จมิ ทอมปส์ ัน ท�ำ งาน เป็นเจ้าหน้าท่ีส�ำ นักงานดา้ นยทุ ธศาสตร์ ซง่ึ เป็นหน่วยขา่ วกรองของสหรฐั อเมรกิ าในขณะน้นั จมิ ทอมป์สัน เรยี นจบจากมหาวทิ ยาลัยพรนิ ซท์ นั ในชว่ งหลงั ของสงคราม จมิ ทอมป์สนั ได้ใช้ชีวติ อยใู่ นประเทศศรลี งั กา โดยท�ำ งานร่วมกับขบวนการเสรไี ทยเพอื่ ต่อตา้ นการรกุ รานของทหารญ่ปี นุ่ หลงั จากชว่ งสงคราม เขาไดร้ ับ มอบหมายให้มาจดั การกบั ส�ำ นักงานด้านยุทธศาสตรท์ กี่ รุงเทพฯ หลังจากท่ีปฏบิ ตั หิ นา้ ทส่ี �ำ เรจ็ แลว้ จิม ทอมปส์ ัน ไดม้ ีสว่ นร่วมในการตกแตง่ โรงแรมโอเรยี นเต็ลใหม่ ซ่ึง ท�ำ ให้เขาได้พบกบั รกั แทข้ องเขา ซ่ึงกค็ ือ ผา้ ไหมไทย ในอดตี ผา้ ไหมไทยถกู มองว่าเป็นเพียงผา้ แข็งๆ ท่ีมอง กับการท�ำ เปน็ เบาะหรอื มา่ น จมิ ทอมปส์ นั ไดพ้ ัฒนาชาญฉลาดของจิม ทอมป์สนั นเ้ี อง เขาไดผ้ สมผสาน เสน้ พุ่งเข้ากบั เสน้ ยนื โดยทำ�ให้เสน้ ยืนบางลง ทำ�ให้ผา้ บางขนึ้ และยืดหยนุ่ มากขึ้น ย่งิ ไปกวา่ นัน้ ด้วยการร้อย ด้อยแบบสลับไปสลบั มาทำ�ใหเ้ กิดเปน็ สที โู ทนข้นึ มา ทำ�ให้ผ้าไหมดูหรหู ราดงึ ดดู ผู้พบเห็นไดม้ ากขนึ้ ไปอกี หลังจากท่กี ่อตัง้ บรษิ ทั อตุ สาหกรรมผ้าไหมไทย จำ�กัด ขึน้ ในปี พ.ศ. 2491 จิม ทอมป์สัน ได้ร่วมมอื กับ ช่างทอผา้ ชาวมุสลมิ ทอี่ าศัยอยูใ่ นชุมชนบา้ นครัว ริมคลองแสนแสบ ใจกลางกรงุ เทพฯ โดยใชล้ ายผา้ ทีเ่ ขา พฒั นาข้นึ มาเอง และใชผ้ ้าทถี่ กู น�ำ มาใชใ้ นการตัดเยบ็ เสอ้ื ผ้าในวงการเดนิ แบบและร้านจำ�หนา่ ยเสอ้ื ผ้าของ ต่างประเทศในเวลาต่อมา ผา้ ไหมไทยกา้ วขน้ึ สจู่ ดุ สงู สดุ เมอ่ื พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช และสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ พระบรมราชนิ นี าถ เสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ เยอื นตา่ งประเทศ ทง้ั ในยโุ รป และสหรฐั อเมรกิ า เปน็ เวลากวา่ 7 เดอื น

ในปี พ.ศ. 2503 นาย Pierre Balmain รวมท้งั คนอนื่ ๆ ได้มโี อกาสตัดเยบ็ ฉลองพระองคใ์ หก้ บั สมเดจ็ พระนางเจ้าสริ ิกิต์ พระบรมราชนิ ีนาถ ดว้ ยพระสิรโิ ฉมงดงามหาผู้ใดเปรียบ ฉลองพระองค์ชุดดังกลา่ วจงึ สามารถถา่ ยทอดความงดงามออกมาได้อย่างลงตัว ด้วยการทีเ่ ป็นผผู้ ลิตผ้าไหมชน้ั นำ�ในกรงุ เทพฯ ในสมัยน้ัน จิม ทอมปส์ นั จึงมีชือ่ เสียงอยา่ งมาก และหอ้ งจัดแสดงผา้ ไหมของเขากก็ ลายเป็นแมเ่ หลก็ ท่ดี ึงดูดนักออกแบบ เส้อื ผ้าและผทู้ ่ีชนื่ ชอบในเสือ้ ผ้าช้นั สูงจากตา่ งประเทศมากมาย ผา้ ไหมไทยได้รับความนิยมมากจนผ้ผู ลิต หลายต่อหลายคนได้ก้าวเขา้ ส่ตู ลาดขนาดใหญ่ สนิ คา้ ของพวกเขาไดร้ ับการยอมรับจากทวั่ โลกดว้ ยความ งดงามและลวดลายท่ีมีหลากสีสนั จิม ทอมปส์ ัน ไดใ้ ช้เวลาทั้งชวี ิตของเขาในการยกระดบั ชีวิตของผหู้ ญงิ ไทยทีย่ ากจนดว้ ยการสอนผหู้ ญงิ เหลา่ น้ี ใหร้ ้จู กั วิธีการยอ้ มไหม ทอไหม รวมทงั้ สรา้ งสรรคผ์ ลติ ภัณฑต์ ่างๆ จิม ทอมป์สัน ถอื วา่ สิง่ เหลา่ นเ้ี ป็น อตุ สาหกรรมภายในครัวเรอื น โดยท่ชี า่ งทอผา้ ผหู้ ญิงหลายคนสามารถต้ังเครอื่ งทอผ้าที่บา้ น และทำ�งานจาก บ้านได้ ซงึ่ กลายเปน็ ประเพณที ีป่ ฏบิ ตั กิ นั มารนุ่ สู่รนุ่ ตามชุมชนตา่ งๆ ในต่างจงั หวดั ถงึ แม้วา่ การด�ำ เนิน ธุรกจิ ในปัจจุบันจะต้องอาศยั เครื่องจกั รในโรงงาน แต่ก็ยงั จ�ำ เป็นตอ้ งจา้ งพนกั งานโรงงานทีเ่ ป็นผูห้ ญงิ ท้อง ถ่นิ ในจงั หวดั นครราชสมี าอยู่ ในช่วงปี 1960 จิม ทอมป์สนั ได้ซ้ือบา้ นทรงไทยจ�ำ นวน 3 หลงั จากชาวนาในตา่ งจงั หวดั จากนน้ั จมิ ทอมป์สนั ได้ควบบ้านทั้งสามหลงั เขา้ ไวด้ ว้ ยกัน ซง่ึ ตัง้ อยู่อีกฝงั่ ของคลอง ตรงขา้ มกบั ทน่ี าของชาวบ้าน หลงั จากนนั้ ไม่นาน บ้านของจมิ ทอมปส์ นั กไ็ ดก้ ลายเปน็ สถานที่รวมตวั กันของผ้มู ฐี านะในเวลาตอ่ มา หลังจากทจี่ ิม ทอมปส์ ัน หายสาปสญู ไปในระหวา่ งพกั ผอ่ นอย่ทู ีค่ าเมลอน ไฮแลนด์ ประเทศมาเลเซยี ในปี 1967 บา้ น ของเขาได้กลายเปน็ พพิ ิธภัณฑส์ ำ�หรับศิลปวตั ถุของไทยมากมาย ในวันน้ี บ้านของจมิ ทอมป์สันไดก้ ลายเป็น สถานทีอ่ นั ดบั ต้น ๆ ที่ถือว่านักทอ่ งเทยี่ วทกุ คนต้องมาเมื่อเดินทางมาประเทศไทย หลังจากที่ จมิ ทอมป์สัน หายสาปสูญไป หนา้ ท่ใี นการจัดการและควบคมุ บรษิ ัท อุตสาหกรรมผ้าไหมไทย จึงคาดว่านา่ จะถูกส่งตอ่ ไปใหก้ บั คุณหญงิ อรศรี วงั วิวฒั น์ ซึ่งกลายเป็นประธานบริษัท และวลิ เลยี ม บธู ซึ่ง เคยท�ำ หนา้ ทเ่ี ป็นผูช้ ่วยของ จมิ ทอมปส์ ัน กไ็ ด้กลายมาเปน็ กรรมการผูจ้ ดั การของบริษัท ซึ่งในเวลาต่อมา เอรคิ บธู ลกู ชายของวลิ เลยี ม บูธ ได้กลายเปน็ หัวหนา้ ฝา่ ยการตลาดระหว่างประเทศ ไดเ้ ปล่ยี นภาพ ลกั ษณข์ องบริษทั เพ่ือใหเ้ ขา้ กบั รสนยิ มทที่ ันสมยั และ แบรนดด์ ้งิ

“ด้วยความคดิ ท่วี า่ จะต้องมีวธิ กี ารทำ�น้�ำ สะอาดทีด่ ีกว่าน้ี แม็กซีนได้รว่ มมือกบั ดร. รักษ์ ปัญญารชุน อดีต รองนายกรัฐมนตรี ในการสรรหาผใู้ หค้ �ำ ปรึกษาเก่ียวกับ การใช้เคร่ืองจักรและเทคโนโลยที เ่ี กยี่ วข้อง ในปี 1956 แม็กซนี ไดก้ ่อต้ังบรษิ ทั North Star” แมก็ ซีน นอรธ์ ในอดตี นักท่องเทย่ี วเดนิ ทางมาประเทศไทยกอ่ นปี พ.ศ. 2493 จะได้รับคำ�เตือนวา่ อย่าดม่ื น้�ำ ที่ยงั ไมไ่ ดผ้ ่าน การตม้ ให้เดือดหรือท�ำ ใหส้ ะอาดมากอ่ น เน่อื งจากปัญหาความรอ้ นและความช้นื ของประเทศไทยทำ�ให้เกดิ การปนเปือ้ นในน้�ำ ที่ใชอ้ ปุ โภคบรโิ ภค สง่ ผลใหเ้ กดิ การระบาดอยา่ งรนุ แรงของเชือ้ อหวิ าตกโรคและโรคอืน่ ๆ อีกมากมายทเี่ กิดจากการบรโิ ภคน�้ำ ทีไ่ มส่ ะอาด ในเวลาตอ่ มา แมก็ ซนี นอรธ์ ไดเ้ ดนิ ทางมาประเทศไทย ตลอดชวี ติ ของเธอ เธอพยายามจะท�ำ ใหน้ �ำ้ สะอาด ท�ำ ใหน้ กั ทอ่ งเทย่ี วสามารถพกั ผอ่ นในประเทศไทยโดยไมต่ อ้ งกลวั วา่ จะปว่ ยเปน็ อโรคจากการดม่ื น�ำ้ ปนเปอ้ื นอกี แม็กซีน นอร์ธเดินทางมากรุงเทพมหานคร ในปี 1950 ในฐานะภรรยาของเจ้าหน้าท่ี CIA ท่ไี ดร้ บั มอบ หมายให้มาท�ำ งานทกี่ รุงเทพฯ แมใ้ นอดีตเธอจะเคยท�ำ งานอยู่ทบ่ี ริษัท Columbia Pictures ที่ฮอลลีวู้ด ซง่ึ ทำ�ให้เธอได้พบกบั สามีของเธอ แตเ่ ธอก็ไดใ้ ชช้ ีวติ ในแบบไทยๆ ซึ่งเธออาศยั อยทู่ ป่ี ระเทศไทยตลอดนับตงั้ แต่ ท่สี ามีของเธอเสยี ชีวติ ในปี 1954 ดว้ ยความตง้ั ใจทวี่ า่ จะต้องมีวธิ ีทีด่ ใี นการท�ำ น้�ำ สะอาด แมก็ ซนี จึงได้ร่วมมือกบั ดร. รกั ษ์ ปัญญารชุน อดตี รองนายกรฐั มนตรี ในการสรรหาผใู้ หค้ ำ�ปรกึ ษาเกีย่ วกับการใช้เคร่อื งจกั รและเทคโนโลยีท่ีเกี่ยวข้อง ในปี 1956 แม็กซีนได้ก่อตั้งบริษทั North Star โดยน�ำ เข้าเครอื่ งจกั ร ชา่ งเทคนิค และเทคโนโลยีทท่ี นั สมยั ท่ีสดุ เขา้ มา จากนั้น ทางบริษัทไดเ้ รม่ิ ผลิตขวดแก้วทถี่ กู สุขลกั ษณะ ภายใตย้ ห่ี ้อ Polaris, the North Star กวา่ สองทศวรรษทผ่ี ่านมา บริษัทไดค้ รอบครองตลาดน้�ำ บรรจขุ วดของไทย เพอ่ื ขจัดความกลวั ของนักทอ่ งเที่ยวท่ี ตอ้ งการจะเดนิ ทางมาทอ่ งเทย่ี วท่ปี ระเทศไทย น�ำ้ ดมื่ Polaris ได้รับความนิยมจากโรงแรมหลายแหง่ รวม ทง้ั ผทู้ ี่มาจับจ่ายซื้อของหลายคน เนอื่ งจากทกุ คนทราบดีว่าน้�ำ ดื่ม Polaris นัน้ ได้มาตรฐานและมีคณุ ภาพ ในเวลาตอ่ มา แมก็ ซนี ได้ตดั สินใจเสย่ี งจับธุรกิจใหม่ ในอดีต เครอ่ื งปั้นดินเผาของไทยยังไมเ่ ปน็ ทีร่ ู้จกั นอก เอเชียมากนักอแมจ้ ะถูกสง่ เปน็ เครอื่ งบรรณาการไปใหก้ บั ราชวงศจ์ ีนตงั้ แต่ในช่วงศตวรรษที่ 12 ผ่านทางเรอื เครอ่ื งปน่ั ดินเผาทีเ่ ธอชนื่ ชอบเป็นพิเศษ คือ ศลิ าดล (ศลิ า แปลว่า หิน ในขณะท่ี ดล แปลวา่ สเี ขยี ว) เครื่องป้ันดนิ เผาท่ีมเี อกลักษณน์ ี้จะถูกนำ�ไปเผาด้วยน้�ำ เคลือบสเี ขียวหยกโปร่งแสง ซง่ึ จะท�ำ ให้เกิดรอยแตก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook