Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ท่องเที่ยวไทยaa

ท่องเที่ยวไทยaa

Description: ท่องเที่ยวไทยaa

Search

Read the Text Version

“โดยการเชือ่ มโยงแบรนด์สงิ หเ์ ขา้ กับวฒั นธรรมไทย กีฬา อาหารการกินและศลิ ปะ สญั ลักษณ์สิงห์กลายเป็น สัญลักษณข์ องประเทศไทยท่เี ปน็ ท่รี ้จู กั ทว่ั โลก” ประจวบ ภริ มยภ์ ักดี ชอื่ ของสิงหไ์ ดเ้ ป็นทค่ี นุ้ เคยในฐานะเบยี รท์ เ่ี ป็นทน่ี ิยมท่สี ุดในราชอาณาจักร เปน็ เวลากวา่ 80 ปีต้งั แตก่ ารกลั่น คร้งั แรก จนถึงปัจจบุ นั เบยี ร์สงิ ห์ไดค้ รองใจนักดื่มชาวไทยและนกั ท่องเที่ยวตา่ งชาตแิ ละไดค้ รองตลาดมา หลายทศวรรษเหนอื ค่แู ข่งอืน่ ๆ นอกจากนี้ เป็นเวลารนุ่ สู่รนุ่ ท่ีเบยี รส์ ิงหไ์ ดช้ ูโรงความเป็นไทยในการโฆษณา และเปน็ ผ้สู นับสนุนหลักดา้ นการกฬี าของประเทศไทยอีกดว้ ย เบยี ร์สิงห์กอ่ ตง้ั โดยพระยาภิรมย์ภักดี ผเู้ ร่มิ กอ่ ตง้ั โรงงานเบียรข์ ึ้นรมิ ฝ่งั แมน่ ำ�้ เจา้ พระยาในปี 1933 เพ่ือผลิต เบยี ร์ทมี่ คี ุณภาพดีที่สุด พระยาภริ มย์ภกั ดไี ดเ้ ดินทางไปทเี่ ยอรมนั และยโุ รปเพ่อื เรียนรู้พืน้ ฐานการผลิตเบียร์ และทา่ นยังไดบ้ ริหารบริษทั บุญรอด บริวเวอร่ี จนกระท่งั เสียชีวิตในปี 1950 ซึ่งบตุ รชายของท่าน คุณวทิ ย์ และคุณประจวบไดข้ ้นึ มาด�ำ รงต�ำ แหนง่ ผู้บรหิ ารแทน คณุ วทิ ย์ซงึ่ ทำ�งานรว่ มกบั ผู้เปน็ พ่อในกิจการเดินเรือไดด้ แู ลดา้ นการเงินและการขาย ในขณะท่ีคุณประจวบ ผซู้ งึ่ มากไปด้วยประสบการณไ์ ดเ้ ขา้ มาสานต่อในด้านบรหิ ารธรุ กิจ ภายหลงั จากจบการศกึ ษาทฝี่ รง่ั เศสและเยอรมนั คณุ ประจวบไดเ้ ขา้ มาชว่ ยผเู้ ปน็ พอ่ ทบี่ รษิ ทั บญุ รอดบรวิ เวอรี่ และได้ทำ�งานรว่ มกบั บรวิ มาสเตอร์ชาวเยอรมนั ในการพัฒนาเบยี ร์สิงหใ์ ห้มรี สชาติทย่ี อดเยย่ี ม ทา่ นยงั ได้ชอื่ วา่ เป็นบรวิ มาสเตอรค์ นแรกของเมอื งไทย ในปี 1939 บรษิ ทั ไดร้ ับประทานอนุญาตจากพระบาทสมเด็จ พระปกเกลา้ เจ้าอยู่หัวรชั กาลที่ 7 ในการจัดตง้ั โรงผลิตเบียรซ์ ึ่งถือเปน็ โรงผลติ เบยี ร์แห่งแรกของประเทศไทย ทไ่ี ด้รับเกยี รติเชน่ นี้ ภายหลังจากสงครามโลกครัง้ ท่ี 2 บริษทั ได้ประสบภาวะหน้ีสินมากกว่า 1 ล้านบาท คณุ ประจวบและคุณวิทย์ ไดอ้ อกมาตรการทีจ่ ะลา้ งหนแ้ี ละชำ�ระเงนิ คือแค่เจ้าหนท้ี ัง้ สนิ้ ภายในเวลา 5 ปี แตใ่ นท่ีสดุ ท่านทงั้ สอง สามารถลา้ งหนี้ทง้ั หมดโดยใช้เวลาเพียงแค่ 18 เดือนซง่ึ เป็นการพิสูจนใ์ ห้ผเู้ ปน็ พอ่ เห็นวา่ ทงั้ สองสามารถ ทำ�งานรว่ มกนั เพ่อื บรรลเุ ปา้ หมายได้ พระยาภริ มยภ์ ักดไี ดเ้ สียชีวติ ลงในปี 1950 ภายหลงั จากนน้ั บุตร ชายคนสุดท้อง จ�ำ นงคไ์ ดเ้ ขา้ มาร่วมดแู ลธุรกิจและไดม้ าดแู ลงานด้านบัญชีตอ่ จากคณุ วทิ ย์ จากปี 1970 เปน็ ตน้ มา คณุ ประจวบได้เรม่ิ ขยายธุรกิจโดยการจ้างพนักงานมากขนึ้ และการสรา้ งโรงผลิตใหม่ในปทมุ ธานี เชียงใหมแ่ ละขอนแกน่

เพือ่ ตอ่ สกู้ ับความทา้ ทายจากคู่แข่งหนา้ ใหม่ท่ีเข้ามา คณุ ประจวบไดท้ �ำ การออกสิงห์โกลด์ สงิ ห์ดราฟเบยี ร์ สิงหโ์ ซดาและนำ�้ ดม่ื สิงห์ส่ตู ลาด ก�ำ ลงั การผลิตของเบียรส์ ิงหไ์ ด้เพม่ิ ข้ึนจาก 55,000 ล้านลติ รตอ่ ปีเป็น 400,000 ล้านลติ รต่อปีในปี 1970 และในปี 1970 บญุ รอดได้เรม่ิ ส่งออกเบียร์สิงห์ไปขายยงั ตา่ งประเทศ และในชว่ งปี 1980 ได้เปิดตวั รูปแบบเบยี ร์การ์เดนข้นึ ในเมืองไทยซงึ่ ไดร้ ับความนิยมอย่างยงิ่ โดยเฉพาะอย่าง ยง่ิ ในหมนู่ กั ทอ่ งเท่ียวตา่ งชาติ เบียร์สิงห์เป็นท่ีนิยมและมียอดขายท่ีสูงท่ีสุดในตลาดและเป็นท่ีชื่นชอบในหมู่นักท่องเท่ียวต่างชาติที่มีจำ�นวน เพิ่มขึน้ อย่างรวดเร็วในเมืองไทย โดยการเชื่อมโยงแบรนดส์ ิงห์เข้ากบั วัฒนธรรมไทย กีฬา อาหารการกินและ ศลิ ปะ สญั ลักษณส์ งิ ห์กลายเป็นสญั ลกั ษณข์ องประเทศไทยท่ีเปน็ ที่รู้จักท่วั โลก แคมเปญโฆษณา “เมอื งไทย เบยี รไ์ ทย” เป็นหนึ่งในตวั ผลกั ดันที่ท�ำ ให้ประเทศไทยเปน็ ท่รี จู้ กั ในฐานะจดุ หมายปลายทางของนกั ทอ่ งเทย่ี ว ตลอดช่วงชวี ิตการบรหิ ารทบ่ี รษิ ัท บุญรอด บรวิ เวอร่ี คุณประจวบ ภิรมยภ์ ักดี ได้ใชค้ วามสนใจทางดา้ นศลิ ป วัฒนธรรมและการกฬี าเช่อื มโยงกบั เบียรส์ ิงห์ โดยไดเ้ ปน็ ผสู้ นบั สนุนให้กับหลายกฬี า เช่น กอล์ฟ ล่องเรอื เทนนสิ มวย ฟตุ บอล และการแข่งรถ และไดส้ านตอ่ ปณธื านของผู้เปน็ พอ่ ด้วยการสนับสนนุ กีฬาด้งั เดมิ ของ ไทย อยา่ งเช่น การชักวา่ ว ตะกร้อ การแข่งเรือยาวและการจดั งานกฬี าในภมู ิภาคต่างๆทว่ั ประเทศ ภายหลังที่คุณประจวบได้เสียชีวติ ลงในปี 1993 บตุ รชายของทา่ น คณุ ปิยะและคณุ สันติ ภิรมย์ภกั ดี พรอ้ ม กับสมาชิกในครอบครัวได้สานต่อธุรกิจและได้ขยายแบรนด์สิงห์ทั้งในไทยและในต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง ในปี 2008 บรษิ ัท บุญรอด บริวเวอร่ี ได้กลับมาครองสว่ นแบง่ การตลาดในเมืองไทยอกี คร้ังหนง่ึ หลงั จาก ท่ีเผชิญกับความทา้ ทายครง้ั ใหญจ่ ากคู่แข่งทง้ั ไทยและตา่ งประเทศ ในขณะเดียวกนั ได้ทำ�การขยายธุรกจิ ไปสู่ ด้านอ่นื อาทิ เชน่ ธรุ กจิ เคร่อื งด่มื ธรุ กิจแพคเกจจ้งิ ธรุ กจิ อาหาร ธรุ กจิ อสงั หารมิ ทรพั ย์และธุรกิจพลงั งาน

“ตลาดทอ่ งเที่ยวในสมยั นั้นยังไม่ใหญ่ ในเวลาน้ันคนรวย ท่มี าเท่ยี วเมืองไทยส่วนใหญเ่ ป็นหญิงหมา่ ยชาวอเมรกิ นั ที่ทอ่ งเท่ียวจากเงนิ มรดก” กุสะ ปนั ยารชนุ เป็นเวลานานกอ่ นทีจ่ ะกอ่ ตงั้ บรษิ ัททอ่ งเท่ยี วรายแรกของประเทศไทย ชีวิตของคุณกุสะ ปนั ยารชนุ ไดค้ ลกุ คลี อยู่กับการทอ่ งเที่ยวและผจญภยั คุณกศุ ะเกิดในปี 1918 และในระหวา่ งทศี่ ึกษาดา้ นเศรษฐศาตร์และการคา้ ที่วอรต์ ัน สคูล (Wharton School) สงครามโลกครัง้ ที่ 2 ได้เร่ิมขน้ึ จึงตดั สนิ ใจลาออกและสมัครเข้ารับ ราชการในกรมทหารพลร่มท่ี 101 กองทพั สหรัฐ ก่อนจะเข้าร่วมขบวนการ “เสรีไทย” รุ่นแรก ท่านกลา่ วว่า “ผมโชคดเี ปน็ อย่างมากเพราะภายหลงั ทุกคนในสงั กัดทหารพลรม่ ไดถ้ กู ฆา่ และเสียชีวติ ทงั้ หมด” แทนที่จะกระโดดร่มลงมาทไ่ี ทย เรือทค่ี ณุ กุศะโดยสารมาได้เทียบท่าท่ีเกาะกระดานใกลจ้ ังหวดั ตรังพรอ้ ม อปุ กรณส์ ื่อสารจ�ำ นวน 3 ตัน จากนน้ั ได้เดนิ ทางจากเกาะมาทที่ งุ่ สงและได้ข้นึ รถไฟมายังกรงุ เทพ เนอ่ื ง จากขบวนรถไฟนัน้ เปน็ ขบวนของทหารเชลยศกึ คณุ กุศะ เลยกลายเปน็ หน่งึ ในเชลยศึกด้วยและถกู กกั ที่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ เมอ่ื ธรรมศาสตร์ถูกระเบดิ ลง ท่านได้หลบหนีออกมาทางสนามหลวงและซ่อนตัว อยูใ่ นโรงเรยี นเกา่ ของทา่ น โรงเรียนวชิราวธุ และต้องปลี่ยนที่นอนทุกคนื ภายหลงั รัฐบาลอเมรกิ นั ไดม้ อบ เหรยี ญกล้าหาญข้นั สงู สดุ (Medal of Honour) ในการปฏบิ ตั หิ น้าท่ีแก่กองก�ำ ลงั ฝา่ ยสัมพันธมิตร หลังจากสงครามสงบ ทา่ นไดศ้ กึ ษาต่อและจบการศกึ ษาทวี่ อรต์ นั (Wharton) และกลบั มายังกรุงเทพเพือ่ มารับราชการในกรมการคา้ ตา่ งประเทศ ในปี 1949 พีช่ ายคนโตของท่าน ดร.รักษ์ ไดเ้ ปิดบริษทั ตัวแทนขาย น้ำ�โพลาลิส โคคา-โคลา ได้ขอให้คุณกุศะเข้ามาช่วยธุรกจิ หน่อย โดยกล่าววา่ “ผมเรียนทางเศรษฐศาสตร์ มา ผมเป็นคนเดียวทร่ี เู้ กยี่ วกับเรอ่ื งธุรกจิ ” บรษิ ทั ได้มแี ผนกท่องเทย่ี วและคณุ กุศะได้รับแตง่ ตงั้ ใหด้ �ำ รงตำ�แหน่งรองผู้จัดการ “ถอื ว่าเปน็ เรือ่ งใหม่สำ�หรบั ผม แต่ผมศกึ ษาทกุ อย่างทีจ่ ะหาได้และเรยี นร้ดู ้วยตนเอง” ในป1ี 951 ท่านไดต้ ้ังบริษัท เวลิ ด์ แทรเวล เซอรว์ สิ จำ�กัด World Travel Service (WTS) ซึ่งแยกออก มาจากบรษิ ัทเดิม “ออฟฟิศของเราเป็นหอ้ งเล็กๆภายในโรงแรมยุโรปตรงข้ามโรงแรมโอเรยี ลเตล็ ” ภายใน ไมน่ านจากความพยายามของท่าน เวลิ ด์ แทรเวล เซอร์วิส (WTS) ได้รับการแตง่ ต้ังเป็นตัวแทนขาย (General Sales Agent : GSA) ใหแ้ กส่ ายการบินอลิตาเลยี แอรฟ์ รานซ์ ยไู นเตด็ แอรไ์ ลนส์ แอร์

นิวซแี ลนด์ แคนาเดยี นแอร์ไลน์ส ฟลายอิง้ ไทเกอร์ “ตลาดท่องเที่ยวในสมัยนน้ั ยังไมใ่ หญ่ ในเวลานัน้ คนรวยทีม่ าเท่ยี วเมอื งไทยส่วนใหญ่เปน็ หญิงหมา่ ยชาว อเมริกันท่ที ่องเทีย่ วจากเงนิ มรดก โดยเดินทางมาจากเรอื สำ�ราญ สายการบนิ แพนแอม 1 หรอื สายการบนิ ยูโปเปยี น เราตัดสินใจท่จี ะจัดทำ�เฉพาะเส้นทางภายในประเทศ เพราะเราตอ้ งการนำ�เงนิ เขา้ มาในประเทศ ไม่ใชใ่ ห้เงินออกจากประเทศ” “มนั เป็นธรุ กิจท่ไี ร้คแู่ ข่งทมี่ ีประสิทธิภาพ เมื่อธุรกจิ เราเติบโตข้ึน เราไดท้ ำ�การเช่าเคาน์เตอร์ในโรงแรมหา้ ดาว และในท่สี ดุ ไดม้ ีเคาน์เตอร์บรกิ ารประมาณ 50 แหง่ ” จากนัน้ เวิลด์ แทรเวล เซอรว์ สิ (WTS) ไดเ้ ข้ามาสูธ่ ุรกิจคมนาคม ดว้ ยการสนับสนุนจากรฐั บาล บรษิ ัท ไดน้ ำ�เข้ารถโคช้ ปรับอากาศพร้อมหอ้ งน้�ำ บอดีเ้ คลอื บสแตนเลสอยา่ งดีจ�ำ นวน 12 คันเข้ามา จากน้นั ไดเ้ พ่มิ รถบัสตราเบนซ์ที่ผลิตนประเทศ อกี จำ�นวน 20 คัน เวลิ ด์ แทรเวล เซอรว์ สิ (WTS) ไดผ้ ้ใู ห้บรกิ ารรถลมี ู ซนี รายแรกจากสนามบนิ ดอนเมือง รวมถงึ รถเมอซเิ ดส เบนซ์อกี กวา่ 50 คัน คุณกศุ ะไดม้ ีแผนในการสร้าง โรงแรมแต่ได้ถกู ทกั ท้วงจากเสี่ยเลก็ แห่งเมืองโบราณวา่ “ใหโ้ ฟกสั กับสง่ิ ทเ่ี ราทำ�ไดด้ ”ี คุณกศุ ะกลา่ วเพิม่ เติม ว่า “เสยี่ เลก็ พดู ถูก ธุรกิจโรงแรมจะท�ำ ลายธุรกจิ ท่องเทยี่ วเพราะจะกลายมาเปน็ คู่แขง่ กันเอง” “ในช่วงแรก นักท่องเท่ยี วมากรงุ เทพเพอ่ื สามส่ิง ได้แก่ วัด วงั ตลาดน้�ำ ย่ีสิบปีให้หลงั ชาวยโุ รปเรม่ิ ถาม หากิจกรรมท่ีมากข้ึน เชน่ ทรปิ ภายนอกกรงุ เทพเพือ่ ชมวถิ ีชวี ติ ผู้คน อะไรคือสงิ่ ที่ผคู้ นอเมริกันอยากจะ เหน็ ? คงหนีไม่พ้นอะไรทเ่ี ปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเรว็ ธุรกิจของบริษัททอ่ งเท่ียวเริ่มเปลีย่ นแปลงไปจาก 20 ปที ่ีแล้วเปน็ อย่างมากซึง่ บริษทั ท่องเที่ยวยงั คงจ�ำ เปน็ หรอื ไม่ในปัจจุบนั ? ท้ังคณุ กุศะและเพ่ือนสนิทของทา่ น คณุ ธงชัย เติบอยา่ งรวดเรว็ โดยย้ำ�วา่ “ไมใ่ ช่ เพราะส่งิ ที่เปลย่ี นไปคือลูกค้า ปัจจบุ นั 90% ของนกั ท่อง เทย่ี วไดจ้ ัดการทรปิ เดินทางของพวกเขาเองผา่ นทางออนไลน์ โดยเฉพาะเจเนอเรชนั่ เอก็ ซ์ (Gen-X) และ เจเนอเรชั่นวาย (Gen-Y)” “ปัจจุบนั ลกู ค้าหลักของเราคอื บรษิ ทั เราเชย่ี วชาญในด้านการดแู ลแบบ เฉพาะ เราเข้าไปรบั ลกู ค้าในเทอรม์ นิ อลและน�ำ พาพวกเขาผา่ นดา่ นตรวจคนเขา้ เมอื ง รับกระเปา๋ ใหแ้ ละไป ส่งยงั โรงแรม” “ผมจะไม่เกษียณ ตง้ั แต่วนั แรกของการท�ำ งาน ผมรักธุรกจิ ของผมเป็นอย่างยิง่ ผมยงั เข้ามาออฟฟศิ เกอื บ ทุกวนั ” คุณกุศะไดเ้ ป็นหนึง่ ในสมาชิกผ้กู อ่ ต้งั สมาคมไทยธุรกจิ การท่องเท่ยี ว (ATTA) และด�ำ รงต�ำ แหนง่ ประธานสมาคมถงึ แปดสมยั และยงั เปน็ สมาชกิ ผู้ก่อตงั้ และประธานหลายสมยั ของสมาคมสง่ เสรมิ การทอ่ ง เทีย่ วภูมภิ าคเอเชยี แปซิฟกิ ประจำ�ประเทศไทย (PATA Thailand chapter) และ ในปี 1976 ทา่ นไดร้ ับ การยกยอ่ งให้เปน็ ผ้บู ุกเบิก PATA ในภูมิภาคแปซฟิ ิก

“น่าจะเปน็ เพราะเราด�ำ เนนิ ธรุ กิจอยา่ งซือ่ สัตย์ ม่งุ มนั่ ตอบสนองและยอมรบั ในข้อผิดพลาดของตนเอง เรารจู้ ักขอ้ จ�ำ กดั ของเราดเี พราะฉะนัน้ เราจะไมส่ ญั ญา ในสง่ิ ทเ่ี กนิ ตวั ผมไมไ่ ปกา้ วกา่ ยจกุ จกิ เร่ืองของอ่ืน เพราะผมใหค้ วามเคารพในตัวเขา” โรแบร์โต้ โชตกิ เสถียร คุณโรแบร์โต้ โชติกเสถยี ร เปน็ ทจี่ ดจำ�ในฐานะผูบ้ ุกเบกิ บริษทั ท่องเทย่ี วผ้ซู ึง่ ไมค่ อ่ ยเหน็ดเหน่ือยในการ โปรโมทเมอื งไทยและผู้ที่มสี ่วนผลักดนั ธุรกิจทอ่ งเทย่ี วให้มคี วามเป็นธรรม ก่อใหเ้ กดิ ความกา้ วหน้าทาง อตุ สาหกรรมการท่องเทยี่ วไทยอยา่ งมาก คุณโรแบรโ์ ต้ เกิดในปี 1932 เปน็ บุตรของคุณพ่อคนไทยและคุณแมช่ าวอติ าลี และเตบิ โตมาในประเทศอติ าลี ในขณะท่เี ขาท�ำ งานอยทู่ ี่สายการบนิ เคแอลเอม็ (KLM) เขาได้ร้จู ักเพอื่ นมากมายในวงการทัวร์ ในปี 1969 ความสนใจทีจ่ ะมาทำ�ความรูจ้ ักกับตน้ ตระกลู ทำ�ให้เขาเดนิ ทางมายงั เมอื งไทยซึง่ ในเวลานนั้ ยังถูกมองวา่ เปน็ ประเทศทแ่ี ปลกใหมใ่ นภมู ภิ าค เขาไดร้ ว่ มงานกบั บรษิ ัทเวิลด์ แทรเวล เซอรว์ สิ (World Travel Service) และไดใ้ ชป้ ระโยชนจ์ ากการ ติดตอ่ ท่อี ิตาลรี วมถึงความรเู้ กย่ี วกับประเทศอิตาลีและภาษายโุ รป 3 ภาษาในการนำ�กรุป๊ ทวั รเ์ ข้ามายังเมอื ง ไทย เขาไดล้ าออกจากเวลิ ด์ แทรเวล เซอรว์ ิส ในปี 1976 เพ่อื ก่อตัง้ บริษัททูริสโม ไทย (Turismo Thai) ตง้ั อยทู่ ี่อาคารพาณชิ ยท์ มี่ เี นอ้ื ทเ่ี พยี งพอท่ีจะรองรบั พนกั งานจ�ำ นวน 10 คน ในตอนแรกบริษทั โฟกสั เฉพาะ เส้นทางในประเทศ ซง่ึ เส้นทางต่างประเทศไดเ้ กิดขึ้นภายหลัง ในตอนต้นเรมิ่ จากการดแู ลนกั ท่องเทีย่ วชาว อิตาลแี ละค่อยขยายไปสู่ประเทศอ่ืนๆ จนกระทงั่ บรษิ ัทได้ขยายตวั และมพี นักงานถึง 1,000 คน ในปี 1997 เขาได้กอ่ นต้ังบรษิ ัทลกู ช่อื ทรู สิ โม่ แอร์ เซอรว์ ิส เพอื่ ดูแลเส้นทางทอ่ งเท่ียวตา่ งประเทศและลูกค้ากลุม่ บริษัท ทรู สิ โม (Turismo) เช่ียวชาญในการจัดทริปสำ�หรบั นักทอ่ งเท่ยี วทที่ อ่ งเทยี่ วเป็นระยะเวลาหลายวนั เพอื่ จะสำ�รวจเมืองไทยในทุกๆด้านซง่ึ นอ้ ยบรษิ ทั ทีจ่ ะมบี ริการรองรับ บรกิ ารท่ไี ด้รับความนยิ มของบรษิ ัททูริ สโมค่ ือ ทริป6วันเดนิ ทางด้วยรถโคช้ ซง่ึ เดนิ ทางไปยงั เมืองตา่ งๆในประเทศ ทำ�ให้ภายหลงั เสน้ ทางเหลา่ นี้ กลายเป็นเสน้ ทางท่องเที่ยวมาตรฐาน ซ่งึ ประกอบไปด้วย กรุงเทพ อยธุ ยา ลพบรุ ี นครสวรรค์ พิษณุโลก สโุ ขทยั ลำ�พนู ลำ�ปาง เชยี งใหม่ เชียงราย และใช้เวลาอีก1สปั ดาห์ท่ีชายหาดพทั ยาและภูเก็ต คณุ โรแบรโ์ ต้เปรยี บเสมือนโฆษกใหก้ บั อุตสาหกรรมทอ่ งเที่ยว ด้วยบคุ ลกิ ท่ีเยือกเย็น เขามักมีทางออกให้กับ ทกุ ปญั หา และพยายามหาหนทางใหมๆ่ เขา้ มาจัดการกับปัญหา เขาได้รบั ฉายาวา่ เปน็ ผทู้ ่ีแก้ปญั หาได้ทุกสง่ิ ใจดแี ละชว่ ยเหลือทุกคน ที่ส�ำ คัญท่สี ดุ เขาไดร้ ับการยกย่องในฐานะทีเ่ ปน็ คนซอื่ ตรง ถ้าถามว่าอะไรคอื ส่ิงที่

ทำ�ใหเ้ ขาสามารถรกั ษาฐานลกู คา้ ไดต้ ลอดระยะเวลาหลายปี เขาใหค้ ำ�ตอบวา่ “นา่ จะเปน็ เพราะเราด�ำ เนิน ธุรกิจอยา่ งซอ่ื สัตย์ มุ่งม่ันตอบสนองและยอมรับในขอ้ ผดิ พลาดของตนเอง เราร้จู ักข้อจำ�กดั ของเราดีเพราะ ฉะน้ันเราจะไมส่ ัญญาในสง่ิ ทเ่ี กินตัว ผมไมไ่ ปกา้ วก่ายจุกจกิ เรอ่ื งของอน่ื เพราะผมใหค้ วามเคารพในตัวเขา คณุ สมบัตทิ ่ีโดดเดน่ เหลา่ น้ที �ำ ใหเ้ ขาได้รับต�ำ แหน่งผู้นำ�ในภาคส่วนของอุตสาหกรรมท่องเทยี่ วมากมาย เปน็ เวลาหลายปี ท่เี ขาดำ�รงต�ำ แหน่งผนู้ ำ�ในหลายองคก์ ร อาทิ เช่น สมาคมไทยธุรกจิ การท่องเท่ยี ว(ATTA) สมาพนั ธส์ มาคมบริษทั นําเทย่ี วนานาชาตปิ ระจำ�ภูมิภาค (UFTAA) ซงึ่ ไดน้ ำ�การเปล่ียนแปลงหลายอยา่ ง เข้ามา ดงั เชน่ ทไี่ ดท้ �ำ กับ ASEANTA (สมาคมการท่องเทย่ี วอาเซียน) (ASEAN Tourism Association) และ FATA สหพนั ธ์สมาคมการทอ่ งเท่ียวอาเซียน (Federation of ASEAN Travel Associations) ผนู้ ำ� ในอุตสาหกรรมการท่องเทย่ี วไดป้ ระกาศว่า “หากไม่มีเขา FATA และ ASEANTA คงจะไมป่ ระสบความ สำ�เร็จถงึ เพยี งน้”ี คุณโรแบร์โต้พูดคุยกับทุกคนโดยไม่มีประเดน็ แอบแซงและหาหนทางที่ทกุ ฝา่ ยยอมรบั ร่วมกนั “ถา้ เรารว่ มมอื เปน็ หนงึ่ เดยี วเราจะมีเสียงทส่ี ามารถโน้มนา้ วรัฐบาลใหเ้ ปลีย่ นแปลงได”้ ในปี 80 เปน็ การยากมากทจ่ี ะได้รบั อนุญาตในการสรา้ งโรงแรม แตด่ ้วยความมุ่งม่ันของเขา โรงแรมหลายแห่งไดถ้ กู ก่อสรา้ งในชว่ งเวลานัน้ เขายงั เปน็ ผนู้ �ำ ในการรกั ษาสทิ ธข์ิ องเอเจนทท์ อ่ งเทย่ี ว เขาไดต้ อ่ สอู้ ยา่ งหนกั ในการตอ่ ตา้ นการลดคา่ คอมมชิ ชน่ั ของเอเจนซใ่ี นการจ�ำ หนา่ ยตว๋ั เครอ่ื งบนิ ใหก้ บั สายการบนิ เขารสู้ กึ วา่ ถา้ เอเจนซย่ี นื หยดั รว่ มกนั จะเปน็ อ�ำ นาจ การต่อรองที่แขง็ แกรง่ เพราะทุกวันนเ้ี อเจนซี่เปน็ ตัวกลางในการขายตว๋ั เครอื่ งบนิ แตเ่ พยี งทางเดียว ในการจากไปของคุณโรแบร์โต้ในวนั ที่ 10 มกราคม ปี 2004 วิลเลยี ม รูทส์ (Willem Loots) กรรมการ ผ้จู ัดการบรษิ ทั เอเชียน เทรลส์ อนิ โดนีเซยี (Asian Trails Indonesia) ไดก้ ลา่ วค�ำ อาลัยวา่ “สำ�หรับผมแล้ว เขาเปน็ คนท่ีไมเ่ หมอื นคนทั่วไปตรงที่เขามักจะไม่ค่อยพูดถึงตัวเองเท่าไหร่ อีกท้งั เทา่ ที่ผมจ�ำ ไดเ้ ขาไม่เคยพูด อะไรทีไ่ รส้ าระเลย มันเป็นปกติของเขาทเ่ี ขารบั ฟงั คนอ่นื อย่างจริงใจ ไมพ่ ดู จาโม้ โออ้ วด ไมเ่ สแสร้ง เหนือ ส่งิ อ่ืนใด เขาใหค้ วามสำ�คญั กบั คนอื่นอยา่ งแทจ้ ริง”  

“เราชจู ดุ ขายดา้ นไลฟส์ ไตล์ อาหารการกนิ ทอ่ งเทย่ี วยามค�ำ่ คนื แหล่งท่องเทยี่ วที่เป็นเอกลกั ษณ์ และสภาพอากาศทต่ี ่างไปจาก ทีย่ โุ รป นกั ทอ่ งเท่ียวจะมาในชว่ ง ฤดใู บไม้รว่ งและฤดใู บไมผ้ ลิ เพราะอากาศทน่ี ั่นคอ่ นข้างแย”่ เอเดรียนและอลั วิลล์ เซคกา สองพน่ี อ้ งชาวอนิ โดนเี ซยี ไดม้ สี ว่ นสรา้ งความส�ำ เรจ็ ใหก้ บั อตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี วไทย พช่ี ายคนโต คณุ เอเดรยี น ได้ท�ำ งานในส�ำ หนักพมิ พก์ อ่ นที่จะกลายเป็นนักลงทุนด้านธุรกจิ โรงแรมรายใหญ่ในเอเซีย นอ้ งชายของเขา คณุ อลั วลิ ล์ ได้ร่วมงานกับพช่ี ายในสำ�นกั พิมพช์ อ่ื เอเซยี แมคกาซนี แอนด์ โอเรียลเทชน่ั (Asia Magazine and Orientations) กอ่ นทจี่ ะเขา้ ไปลงทุนดา้ นธรุ กิจทอ่ งเท่ียวในประเทศไทย คุณเอเดรยี น เซคกา ได้เป็นผ้รู ว่ มก่อตง้ั บรษิ ัท รเี จนท์ อินเตอร์เนช่นั แนล โฮเตล็ (Regent International Hotels) ในปี 1972 ซึ่งเป็นหนึง่ ในโรงแรมระดบั หรชู ้ันนำ�ของเอเซีย หลังจากการเปดิ กิจการโรงแรม 12 แห่งทว่ั โลก คุณเอเดรยี นไดข้ ายหนุ้ ของเขาออกไปในปี 1986 ก่อนทจี่ ะต้ังกองทุนรวมซ่งึ ได้ซอ้ื กจิ การโรงแรม รีเจนทใ์ นกรงุ เทพฯและโรงแรม ดอร์เชสเตอร์ (Dorchester) ในลอนดอน เมือ่ ครั้งทเี่ ขามาภเู กต็ เพื่อมองหาบา้ นพักตากอากาศ เขาไดเ้ จอทีส่ วนมะพรา้ วแห่งหนง่ึ บนหาดพันทรซี ง่ึ อยู่ ในทำ�เลที่ดีมาก แผนในการสร้างบา้ นพักตากอากาศจงึ ถกู พัฒนาไปเปน็ รีสอรต์ บตู ิกขนาดเล็กโดยมผี รู้ ว่ ม โครงการคอื คณุ อานิล ธาดาน่ีเพือ่ นของเขาเอง อมนั ปุรี รสี อร์ท ไดเ้ ปดิ ด�ำ เนนิ การในปี 1988 โดยมี จ�ำ นวนหอ้ งพักเพยี ง 40 หอ้ ง หลังจากนน้ั ช่ือเสยี งของรีสอรต์ ได้แพร่กระจายไปทัว่ โลกในฐานะทเ่ี ปน็ รีสอร์ต สุดหรแู ละมที ำ�เลทยี่ อมเยี่ยม ภายในประกอบไปด้วยวิลลา่ ส่วนตวั และห้องพกั ดีไซนแ์ บบศาลาทรงไทยพรอ้ ม สระวา่ ยน�้ำ และห้องอาหารส่วนตวั รีสอร์ตหันหน้าเขา้ หาทะเลอันดามนั และมชี ายหาดสว่ นตัวซ่ึงเปยี่ มไปดว้ ย ทศั นยี ภาพท่งี ดงามอย่างย่งิ ภายในยงั มีบริการรูปแบบใหม่เพอื่ การผ่อนคลายดว้ ยการนวดแบบไทย ซ่งึ ตอ่ มาได้ถกู น�ำ ไปใชใ้ นหลายรีสอร์ตทั่วประเทศ จากความส�ำ เร็จของอมันปุรี คุณเอเดรียน เซคกา ไดส้ รา้ งรสี อร์ทสุดหรใู นเครอื อมันอกี กว่า 30 แห่งใน เอเซีย ภูมภิ าคแปซิฟิก ตะวันออกกลาง ยุโรป และอเมรกิ าภายใตค้ อนเซปต์ของความมรี ะดบั และความเป็น ส่วนตวั ดงั เช่นทเี่ ขาไดส้ ร้างเปน็ ท่แี รกในภูเก็ต คุณอลั วลิ ล์ เซคกา ผู้ซงึ่ อาศัยอย่ใู นกรุงเทพ เป็นเจ้าของบรษิ ทั ทอ่ งเทยี่ วและอดีตประธานสมาคมสง่ เสริม การทอ่ งเทีย่ วแหง่ ภมู ิภาคเอเชยี -แปซิฟิคหรือ พาตา้ (PATA) สองสมยั ในปี 1985-86 และ ป1ี 986-87

ธรุ กิจแรกของเขาไม่ใช่ธุรกจิ ท่องเท่ยี วแต่เป็นธุรกจิ ดา้ นการโฆษณาการท่องเท่ียวร่วมกับพชี่ ายของเขา ในปี 1960 เขาได้ก่อตัง้ เอเซยี แมคกาซนี (Asia Magazine) โอเรียนเทชน่ั ส์ (Orientations) และ อินไซต์ (Insight) ซง่ึ มีเน้อื หาเก่ียวกับธุรกิจและการลงทุน หลงั จากนน้ั เอเซีย แทรเวล เทรด แมคกาซีน (Asia Travel Trade Magazine) ได้เปิดตัวภายในเวลาใกล้เคียงกัน ในชว่ งปี 60 ธุรกิจทอ่ งเทีย่ วทั่วเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ยังอยูใ่ นชว่ งเรมิ่ ตน้ กรุงเทพเปน็ เสมอื นเมืองศนู ย์ กลางในชว่ งเวลานน้ั เรายังไมม่ ีสายการบนิ เสน้ ทางไกล ส่วนใหญ่จะเปน็ สายการบินระยะสั้นซ่งึ บนิ จาก ระหวา่ งเมอื ง เครื่องบนิ แพน แอม รนุ่ แรกไดล้ งจอดบนน�ำ้ เพราะสนามบินยังไมไ่ ดม้ าตรฐาน กรงุ เทพคอื ประตสู ู่เอเซียส�ำ หรับชาวยุโรปท่จี ะเดินทางไปยังเอเซีย ฮ่องกงถอื เปน็ จดุ ลงจอดของเคร่อื งบนิ จากอเมริกา เพราะฉะนัน้ ฮ่องกงจะมีภาคการท่องเทีย่ วทค่ี ่อนข้างพฒั นาในเอเซยี ผมยังมธี ุรกิจดา้ นออกแบบตกแตง่ ภายในโรงแรมและเปน็ ผ้บู ริหารรุ่นแรกของธุรกิจโรงแรมภายใตแ้ บรนด์สากล ในปี 1972 ผมไดเ้ ข้าไปช่วยธุรกิจทอ่ งเทีย่ ว ได้ก่อตัง้ แปซิฟคิ เลเชอร์ มายด์แทรเวล (Pacific Leisure MyTravel) ภายหลงั เปล่ียนเปน็ แปซฟิ กิ เลเชอร์ (Pacific Leisure) เรารูส้ ึกวา่ ตลาดในอาเซยี นแข่งขันอยา่ ง โหดร้ายมากและผลกั ดันด้วยคา่ คอมมชิ ชั่น สายการบิน อาเซียนแห่งหนึ่งบอกกับเราว่า “ให้ราคาที่ต�่ำ กวา่ ต้นทนุ โดยแลกกับคา่ คอมมชิ ชน่ั ของการชอ็ ปปงิ้ และน่นั คือผลกำ�ไรของคณุ ” ด้วยเหตุน้ผี มจึงไมเ่ คยเข้าไป แขง่ ขันในตลาดน้ีแต่ไปทต่ี ลาดยุโรปแทน “อินเดียเป็นประเทศท่องเท่ียวท่ีได้รับความนิยมแต่ชาวยุโรปชอบบรรยากาศสบายๆแบบในเมืองไทย มากกวา่ เราชูจุดขายดา้ นไลฟ์สไตล์ อาหารการกิน ทอ่ งเท่ยี วยามค�่ำ คนื แหล่งทอ่ งเท่ยี วทเี่ ปน็ เอกลกั ษณ์ และสภาพอากาศทตี่ ่างไปจากทย่ี ุโรป นกั ท่องเที่ยวจะมาในชว่ งฤดูใบไมร้ ว่ งและฤดูใบไม้ผลเิ พราะอากาศที่ นั่นค่อนขา้ งแย่” ระหว่างทาง ผมได้เขา้ ร่วมเป็นสมาชกิ สมาคมสง่ เสรมิ การทอ่ งเท่ียวแหง่ ภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟิคหรอื พาตา้ (PATA)ซ่งึ ก่อตัง้ ในปี 1951 โดยกลุ่มสมาชิกในเมืองโฮโนลูลู (Honolulu) โดยเกดิ จากความคิดทจ่ี ะนำ� อุตสาหกรรมการท่องเท่ียวเข้ามาในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกเพื่อเป็นแรงกระตุ้นการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของ ภมู ิภาคหลงั จากสงครามโลกครง้ั ท่สี อง พวกเขาประสบความส�ำ เร็จในปณิธานการกอ่ ตัง้ ทงั้ ภมู ภิ าคและ ประเทศไทยลว้ นไดร้ บั ประโยชนจ์ ากความคดิ รเิ รมิ่ น้ี เพื่อสนับสนุนการดำ�เนนิ งานของการท่องเทีย่ วทอ้ งถ่ืน พาตา้ (PATA) ได้ใช้ความเชย่ี วชาญจากการดำ�เนนิ งานจากประเทศตา่ งๆ โดยมวี ตั ถุประสงคห์ ลกั สามดา้ นดว้ ยกัน ไดแ้ ก่ 1.ใหค้ วามช่วยเหลอื ด้านการสง่ เสริม แผนประชาสัมพนั ธแ์ ละแผนการตลาดแก่สมาชกิ 2. จดั ทำ�แผนการพฒั นาเพ่ือการเตบิ โตของโครงการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภค 3. ให้การฝกึ อบรมผ้บู ริหารท้ังภาครัฐและเอกชน พาต้า(PATA) เป็นส่วนผลักดนั การกอ่ ต้ังสถาบนั บรหิ ารอุตสาหกรรมท่องเที่ยว (Travel Industry Management School) ท่ีมหาวทิ ยาลยั ฮาวาย (University of Hawaii)  

กรุงเทพและรอบทิศถนิ่ ไทย เปน็ เวลากวา่ ครึง่ ศตวรรษทชี่ ื่อเสียงของประเทศไทยไดเ้ ติบโตจากคร้ังหนึ่งทแี่ ทบไม่มใี ครรู้จกั (หรือแย่กว่านั้น คือสับสน กับไตห้ วนั ) จนกลายมาเป็นทร่ี ู้จกั ในระดบั คนทั่วไป ซ่งึ เปน็ ผลมากจากการประชาสมั พันธ์เชงิ รกุ รวมถึงความโด่งดงั ในอาหารไทยและมวยไทย ประเทศไทยได้กลายเป็นแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วที่ไดร้ ับความนิยมเน่อื งจากสภาพอากาศท่แี จ่มใส สาธารณูปโภคท่สี ะดวกสบาย ท่พี ักอาศยั และสง่ิ อ�ำ นวยความสะดวกตา่ งๆที่พฒั นาลำ้�หนา้ ประเทศเพอ่ื นบา้ นข้างเคยี ง ค่าโดยสารท่ีคอ่ นขา้ งถูก ชือ่ เสียงทางด้านการตอ้ นรบั และบรกิ าร กจิ กรรมการทอ่ งเทย่ี วทหี่ ลากหลายรวมทั้งอตั ลกั ษณ์ ทางภูมิศาสตร์และวัฒนธรรมที่โดดเด่นของแตล่ ะภูมภิ าคในประเทศไทย กรุงเทพ ในปี 1950 จำ�นวนนักทอ่ งเท่ียวในไทยมีประมาณ 5,000 – 10,000 คนต่อปี (ซง่ึ เป็นจ�ำ นวนโดยประมาณเน่อื งจาก ยงั ไมม่ กี ารเก็บตัวเลขเชงิ สถิติ) ทริปท่องเทยี่ วในเมืองไทยจะเป็นการพักระยะสน้ั ในกรงุ เทพพรอ้ มกบั ทริปส้ันๆในต่าง จังหวดั ในสถานท่ีท่องเที่ยวทเ่ี ฉพาะเจาะจง เนื่องจากการเดนิ ทางโดยเครือ่ งบนิ จากยโุ รปมายงั เมืองไทยนน้ั ถือว่าเป็น เสน้ ทางท่ีไกลมากและตอ้ งแวะเปล่ียนเคร่อื งหลายรอบ ซึ่งยโุ รปเองเพง่ิ จะฟ้นื ฟูจากสงครามโลกครั้งท่ีสอง ดังนนั้ เงิน ท่ใี ช้จ่ายเพื่อการเดนิ ทางท่องเท่ียวนนั้ ยังไมค่ ่อยมใี นเวลานน้ั เมื่อนักท่องเทยี่ วเดนิ มางมาถึง เขาพบว่ากรุงเทพยังค่อนขา้ งกระจกุ ตวั โดยมสี ถานทโ่ี ดยรอบคอื พระราชวงั และวัดวา อารามท่ีประดับประดาไปดว้ ยสีเหลืองทองอรา่ ม และมีแมน่ ำ้�ที่เต็มไปด้วยเรือหลากหลายชนิดตงั้ แต่เรอื เอี่ยมจนุ๊ ทใ่ี หญ่ โดไปจนถึงเรือแจวที่มีแม่ค้ากบั หมวกทรงสงู แต่อย่างไรกต็ าม ถอื เปน็ เมอื งท่ียากตอ่ การทอ่ งเทย่ี ว เพราะไมไ่ ดส้ รา้ งข้นึ มาเพอื่ รองรบั นักท่องเท่ียว เป็นเพยี งเมอื งส�ำ หรบั คนไทยแตเ่ ปีย่ มดว้ ยเสนห่ ์อยู่ภายใน โรงแรมตามมาตรฐานสากลยงั จำ�กัดอยทู่ ่ีโรงแรมปรินเซสสบ์ นถนนตดั ใหม่ โรงแรมในเมอื งที่มมี าตรฐานระดับโลก ได้แก่ โรงแรมเอราวัณ (สรา้ ง ขนึ้ ในปี 1957) โรงแรมโอเรียนเต็ลริมฝั่งแม่น้ำ� โรงแรมรอยัลท่ีสนามหลวง โรงแรมเดอะ แอตแลนตาบนถนน สุขุมวิท และโรงแรมทรอคาเดโรที่ถนนสรุ วงศ์ซ่ึงเปน็ โรงแรมแหง่ แรกในประเทศไทยมเี ครอื่ งปรบั อากาศ ซ่ึงจดั เป็น โรงแรมที่มคี วามหรูหราและทนั สมัยมากแห่งหนึ่งในสมยั นน้ั ซึ่งมนี ้อยโรงแรมทีต่ ่ำ�กวา่ โรงแรม4 ดาวจะมีและยังรวมถงึ ลฟิ ต์โดยสาร ซ่งึ แทบไมม่ ใี นโรงแรมใดเลย การเนรมิตเมืองไทยให้กลายเปน็ เมืองทอ่ งเทย่ี วน้นั เป็นภารกิจทยี่ ากเป็นอยา่ งยงิ่ แม้กระทงั่ ในปจั จุบนั ทกี่ ารจราจร ติดขดั มาก การเดินทางยงั วุน่ วายเต็มไปดว้ ยการตอ่ รองราคาทงั้ กบั สามลอ้ (ซึ่งถกู ยกเลิกไปในปี 1959) รถราง (ขบวน สดุ ทา้ ยคือในปี 1968) การเดนิ ทางดว้ ยแท๊กซี่ยงั ตอ้ งอาศยั การต่อรองราคากบั คนขบั ซึ่งมีจำ�นวนนอ้ ยท่สี ามารถพูด ภาษาอังกฤษได้และปฏิเสธท่ีจะเปิดมเิ ตอรโ์ ดยสาร (ทำ�ให้ราคาคา่ โดยสารในชว่ งฝนตกมีราคาสูงขนึ้ ) รถแทก๊ ซี่ขนาด เล็ก (โดยเฉพาะรถตุก๊ ตุ๊กเป็นท่ีนยิ มมาก) คอ่ นข้างแออดั และไมม่ แี อร์ อกี ทางเลือกหนง่ึ คอื รถบสั โดยสารซ่งึ ไม่มแี ผนท่ี เปน็ ภาษาองั กฤษจนกระทงั่ ปี 1966 เม่ือนิตยสารซนั เดย์ แบงกค์ อก สแตนดาร์ด (Sunday Bangkok Standard magazine) ไดเ้ ร่ิมจัดทำ� นอกจากนี้ คูม่ อื ทอ่ งเที่ยวที่น่าเชือ่ ถอื ยงั เปน็ สง่ิ ที่หาไดย้ าก

การเดินทางท่องเทีย่ วต่างจังหวัดถือว่าดีกวา่ เล็กน้อย หลังจากปี 1951 สายการบินไทยไดเ้ ปดิ เส้นทางบินไปยงั สนาม บนิ ในประเทศซ่ึงยงั มีจำ�นวนนอ้ ยมาก การเดินทางระหวา่ งเมอื งต่างๆเปน็ การเดนิ ทางโดยรถไฟหรอื ทางถนน เส้นทาง รถไฟเชอ่ื มระหวา่ งกรงุ เทพกับเชียงใหม่ หนองคาย อรญั ประเทศ เสน้ น้�ำ ตก (ใกลก้ บั สะพานขา้ มแม่น�ำ้ แคว) ภาคใต้ และสงิ คโปร์ ซง่ึ ภายในขบวนมหี ้องอาหาร ตู้โดยสารที่มพี ดั ลมปรบั อากาศ โรงแรมส่วนมากในเวลานน้ั จะเป็นโรงแรม ทด่ี �ำ เนนิ การโดยการรถไฟซึง่ มีให้บริการตามสถานีจุดหมาย การเดินทางทางถนนเป็นเหมอื นการผจญภยั ทีค่ ่อนขา้ งเส่ยี งอนั ตราย รถโดยสารสีส้ม (บขส.) ซง่ึ ถอื ว่าค่อนข้างสะดวก สบายแต่มีคนขับรถท่ีเมาและชอบขับแซงบนถนนกับรถบรรทุก10ล้อท่ีมีคนขับพร้อมเหล้าและเคร่ืองด่ืมชูกำ�ลัง สถานการณ์ยิง่ เลวรา้ ยลงไปอกี เม่ือถนนสว่ นใหญ่นั้นมีแค่เลนเดียวพร้อมคนขบั รถโดยสารทคี่ รองความเป็นเจ้าถนนโดย การขับแซงคันอื่นเมือ่ มีโอกาสแม้จะเส่ียงอันตรายก็ตาม เป็นทีแ่ นะนำ�กนั ว่าไม่ควรโดยสารตอนกลางคนื เพราะคอ่ นขา้ ง เสยี่ งอันตรายถึงชีวิตพร้อมโอกาสทจ่ี ะประสบอบุ ตั ิเหตุรนุ แรงเลอื ดกระจายเต็มทอ้ งถนน รถเช่ายงั ไมม่ ีบริการจนกระทั่ง ช่วงปลายปี 1950 ท่โี รงแรมเริ่มให้บริการรถเชา่ ลมิ ซู ีนภายในเมืองและระหว่างเมือง ดังนั้น อยา่ งทกี่ ลา่ วมาในตอนต้น การทอ่ งเท่ียวในเมอื งไทยยังจ�ำ กัดอยแู่ ค่ในกรงุ เทพแม้กระทง่ั ทุกวนั น้ีก็ตาม ทก่ี รุงเทพ เป็นเมืองที่เต็มไปดว้ ยแหลง่ ท่องเทยี่ วส�ำ คัญ สถานทท่ี ท่ี ุกคนต้องไปเยือน คือ สถานทที่ อ่ งเที่ยวที่เป็นดงั เพชรล้�ำ คา่ แห่งเกาะรัตนโกสินทร์ ได้แก่ พระบรมมหาราชวงั วนั พระแกว้ วัดโพธิ์ วัดอรณุ วัดเบญจมบติ ร และโดยเฉพาะอยา่ ง ย่ิงในช่วงเช้าทพี่ ระจะออกบิณฑบาตจากบรรดาฆราวาสผู้ศรทั ธา วัดวาอารามในยา่ นใกล้เคยี งท่ีไดร้ ับความสนใจจากนกั ทอ่ งเทีย่ ว ได้แก่ วดั ราชบพิตร และวัดราชประดษิ ฐซ์ ึ่งอยู่ ใกลก้ นั วดั สทุ ศั น์ วดั อนิ ทรวหิ ารทภ่ี ายในมพี ระพทุ ธรปู ยนื ขนาดใหญร่ วมถงึ วดั บวรนเิ วศทซ่ี งึ่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภูมิพลฯ ได้ทรงผนวชเปน็ พระภิกษุ นักทอ่ งเทยี่ วผ้รู ักการผจญภยั สามารถที่จะเข้าชมพิพิธภณั ฑแ์ หง่ ชาติพร้อมปนี ไปยัง ภเู ขาทองเพ่อื ชมทัศนียภาพทีก่ วา้ งไกลของเมืองกรุงเทพ ในตอนตน้ ของปี 1970 บา้ นทรงไทยริมคลองของจมิ ทอมป์สนั ยงั ได้รบั ความสนใจจากนกั ทอ่ งเทย่ี วในการเรยี นรู้วถิ ชี วี ติ ของชาวไทยยคุ ด้งั เดมิ สถานท่ีชอ็ ปปงิ้ รวมทง้ั รา้ นอาหารช้ันดี ยังมอี ยจู่ �ำ กดั แมน่ ำ้�และลำ�คลอง จากตอนที่แล้วที่เราได้เห็นนักท่องเท่ียวในยุคแรกที่เข้ามาได้มีความต่ืนตาต่ืนใจกับแม่นำ้�และวิถีชีวิตริมนำ้�เมื่อแรกเห็น ซงึ่ ท�ำ ให้หนึ่งในตัวเลือกการทอ่ งเท่ียวสำ�หรับนักทอ่ งเท่ียวยุค 1950 คือ การทอ่ งเทย่ี วทางเรอื ตามเส้นทางแม่น้ำ�และ คลองตา่ งๆ ทริปทอ่ งเที่ยวเกาะรัตนโกสนิ ทร์ ซึง่ ริมแม่น�ำ้ คือทศั นียภาพของพระบรมมหาราชวงั และวดั โบราณที่สำ�คญั จะถูกรวมไว้กบั ทริปทอ่ งเท่ยี วโดยเรือหางยาวตามคลองในแถบธนบรุ ี ทริปทอ่ งเท่ยี วครึ่งวนั สว่ นใหญ่จะมจี ุดพักทีต่ ลาดน้ำ�วัดไทร ทีใ่ นชว่ งเช้าจะมีบรรดาภรรยาของชาวประมงพายเรือส�ำ ปน้ั ขายผกั ผลไมส้ ดจากสวนและพอ่ คา้ แม่ค้าอื่นๆ หลงั จากทถ่ี ูกคน้ พบโดยบริษัททอ่ งเท่ียว ตลาดนำ้�จงึ กลายเป็นแหล่ง ท่องเท่ียวท่ีได้รับความนิยมจากนักท่องเท่ียวที่อยากจะมาสัมผัสกับประสบการณ์แปลกใหม่นอกเหนือจากตัวเมือง กรุงเทพ ในปี 1960 ตลาดยังนำ�กิจกรรมท่ีน่าสนใจมาดึงดดู นักท่องเท่ยี ว เชน่ โชวง์ ู (งจู งอางต่อสู่กับพังพอน) และ โปรแกรมการแสดงรำ�ไทย

ในช่วงปี 1970 ตลาดนำ�้ วดั ไทรได้รับผลกระทบจากการขยายตวั ของชานเมอื งทำ�ใหม้ ีถนนสายใหม่ตดั ผา่ นและมีการ ก่อสร้างบ้านเรือนขึ้นในบริเวณน้นั ท�ำ ใหต้ ลาดน้�ำ วดั ไทรถกู ลดความส�ำ คญั ลง ในขณะเดยี วกัน ตลาดน�้ำ แหง่ ใหม่ (ใน ปจั จุบันมีประมาณ 6 แหง่ ) ทไ่ี ดร้ ับประโยชนจ์ ากการขนส่งทีพ่ ฒั นาขึน้ ไดเ้ กิดข้นึ ท่ดี �ำ เนนิ สะดวก ระยาง 65 กิโลเมตร จากฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ของกรงุ เทพ และไดร้ บั ความสนใจจากนกั ท่องเทย่ี วเป็นอย่างมาก แหลง่ ท่องเทย่ี วทีเ่ ปน็ ทีน่ ยิ มอกี แห่งซ่ึงอยใู่ กลร้ ิมน�ำ้ ของเมอื งปากน�ำ้ คอื ฟารม์ จระเข้ ซ่ึงกอ่ ตง้ั ในปี 1950 จากวสิ ยั ทัศน์ ของดีลเลอร์ค้าหนังจระเข้รายใหญท่ ว่ี ติ กว่าจระเข้จะถูกล่าจนสญู พนั ธ์ไปจากเมอื งไทย ทำ�ใหเ้ ขาได้เริม่ ทจ่ี ะเพาะพันธุ์ และเลีย้ งจระเข้ในสภาพแวดล้อมท่มี กี ารควบคุมและเปดิ ใหน้ กั ทอ่ งเทยี่ วไดเ้ ยย่ี มชม และไดก้ ลายเปน็ แหลง่ ท่องเทย่ี ว ชน้ั นำ�จวบจนถึงปจั จบุ ัน ใกลฟ้ ารม์ จระเขย้ ังมเี มืองโบราณกอ่ สร้างโดยคุณเลก็ วิรยิ ะพนั ธ์ ดลี เลอร์นำ�เข้ารถเมอรซ์ ิเดส เบนซร์ ายใหญข่ อง เมอื งไทยผู้ซึ่งวิตกกังวลใจกับความเสอ่ื มสลายของสถาปัตยกรรมและโบราณสถานของไทย เขาจึงเนรมติ พนื้ ที่ 320 ไร่ ใหเ้ ปน็ เสมอื นเปน็ แผน่ ดินไทยและท�ำ การจำ�ลองสร้างโบราณสถาน ปูชนียสถาน วัดโบราณ พระราชวัง ต่างๆ ท่ีมี ขนาดเลก็ ลง หรือบางแหง่ เทา่ แบบจรงิ ซึ่งได้รบั การยกย่องใหเ้ ป็นพพิ ิธภัณฑก์ ลางแจง้ ที่ใหญ่ทีส่ ดุ ในโลก และเป็นสถาน ที่ส�ำ คัญที่จะอวดโฉมประวัตศิ าสตรแ์ ละศลิ ปะวัฒนธรรมไทยให้กบั นักท่องเทีย่ วต่างชาติไดส้ มั ผัส ในท�ำ นองเดยี วกนั ในปี 1962 อดตี ผ้วู ่าราชการกรุงเทพไดส้ รา้ งโรสการ์เดน (ภายหลงั มชี ่ือเรียกว่าสวนสามพราน รเิ วอรไ์ ซด)์ ทางทศิ ตะวันตกของกรงุ เทพมหานครมลี ักษณะเปน็ บ้านไมส้ ักทรงไทยจ�ำ นวนหลายหลัง ทนี่ ่นี ักทอ่ งเที่ยว สามารถเพลดิ เพลินกบั ดอกไม้ท่ีมีชอื่ เสยี งนานาชนดิ การแสดงศิลปวัฒนธรรมไทย การแสดงฟันดาบ มวยไทย การแสดงชา้ งรวมถึงสถานที่จัดงานแต่งและบ้านเรือนไทย สวนสามพรานเปน็ หนึ่งในแหล่งทอ่ งเท่ยี วหลกั แห่งหนึง่ ทีน่ กั ทอ่ งเท่ียวไดม้ าเยือนภายนอกกรงุ เทพ ทางเหนอื ของกรุงเทพมีเมอื งจ�ำ ลองสยามซึ่งเปิดกลางในช่วงกลางปี 1960 ภายใต้คอนเซป็ ต์คลา้ ยกับเมืองโบราณทีไ่ ด้ รวบรวมสถานท่สี �ำ คัญในประเทศ น�ำ มาย่อส่วนใหเ้ ปน็ แบบจำ�ลอง ซ่ึงนกั ทอ่ งเทยี่ วจะได้เพลิดเพลนิ เสมอื นเปน็ ยกั ษ์มอง ดสู ถานที่ต่างๆในขนาดเลก็ ทรปิ ทอ่ งเทยี่ วระยะส้นั โดยรถไฟใชเ้ วลาประมาณ90นาทขี ้ึนไปทางเหนือของกรุงเทพไปยัง เมอื งอยธุ ยา ราชธานีโบราณไทยในยคุ ก่อน (ป1ี 351-1767) และพระราชวงั ตากอากาศบางปะอนิ ทน่ี ักท่องเท่ียว จะไดส้ มั ผสั กับอดตี อนั รุ่งเรืองของเมืองไทยในบริเวณเมืองโดยรอบทีย่ ังคงมเี ค้าโครงของกำ�แพงอิฐ พระราชวังบางปะอิน เปน็ สถานทซี่ ง่ึ รวบรวมสถาปตั ยกรรมและวตั ถุโบราณทล่ี ำ�้ ล่า นับเป็นอกี หนง่ึ สถานที่ท่องเทยี่ วทนี่ า่ สนใจ ทริปท่องเที่ยวด้วยรถไฟทางตะวันตกของกรุงเทพจะสน้ิ สดุ ท่กี าญจนบุรี ในบริเวณสะพานขา้ มแมน่ ้ำ�แควซึ่งได้รบั ความ สนใจหลงั จากที่ภาพยนตร์ชื่อเดยี วกัน (The Bridge on the River Khwai) ซง่ึ มเี ดวิด ลีน (David Lean) แสดง น�ำ ออกฉายในปี 1957 และประสบความส�ำ เรจ็ อยา่ งมากจนได้รับรางวัลออสการถ์ ึง7รางวลั ดว้ ยกัน สะพานขา้ มแม่น�้ำ แควเป็นสถานทท่ี ่องเท่ียวทสี่ �ำ คัญซ่งึ เปน็ การระลกึ ถึงเหตกุ ารณ์ส�ำ คญั ในประวตั ิศาสตรส์ งครามโลกครง้ั ท่ี 2 ทเี่ ชลยศกึ ฝา่ ย สมั พนั ธมิตรประมาณ 60,000 คน (รวมถงึ แรงงานชาวเอเซียอีกกวา่ 180,000คน) ไดเ้ สยี ชวี ิตลงจากความ ทารุณของสงครามและโรคภัยในการกอ่ สรา้ งทางรถไฟสายมรณะน้ีเพอ่ื ผ่านไปสปู่ ระเทศพมา่ ในสงครามโลกครั้งท2ี่

การช็อปป้งิ ยังเปน็ อกี หน่ึงกจิ กรรมทดี่ งึ ดดู นักท่องเที่ยว ในปี 1957 ห้างสรรพสนิ ค้าเซ็นทรลั ดีพารท์ เมนท์ สโตร์สาขา แรกไดเ้ ปดิ ทว่ี ังบรู พา ในเวลานั้นนักชอ็ ปสามารถทีจ่ ะใชล้ ิฟทโ์ ดยสารแบบไม้ข้นึ ไปยงั ชน้ั บนได้ ศนู ยก์ ารคา้ สยามสแควร์ เป็นศนู ยก์ ารคา้ ในเมอื งแห่งแรก ซงึ่ เปดิ ในปี 1965 นอกจากนี้ยังมเี ยาวราชซึง่ เปน็ ยา่ นการคา้ สองข้างทางของถนนท่ี สามารถจับจา่ ยซอื้ ของทีแ่ ปลกใหมท่ สี่ ามารถต่อรองราคาได้ โดยทว่ั ไป ผู้ชายจะสวมใสเ่ สื้อสทู ส่งั ตดั ในขณะทผ่ี ู้หญงิ จะแตง่ กายดว้ ยชดุ กระโปรงทต่ี ดั ดว้ ยผา้ ไหมหรอื ผา้ คตั ตอนในรา้ นขายของทร่ี ะลกึ จะจ�ำ หนา่ ยชดุ ส�ำ รบั ทองเหลอื งเครอื่ ง ถมลายคราม หยกแกะสลกั และหมวกสานจากใบเตยรูปทรงสูงทแี่ มค่ ้าตามตลาดน�ำ้ สวมใส่ อีกหนง่ึ สินค้าที่ได้รับความสนใจจากบรรดานกั ชอ็ ปชาวยโุ รปและชาวอเมริกันคอื แหวนเจ้าหญงิ (Princess Ring) ใน โบราณประเพณี แหวนเจ้าหญงิ (Princess Ring) จะมตี วั เรอื นเปน็ ทองค�ำ บรสิ ทุ ธ์ิและล้อมรอบด้วยเก้าอญั มณี ดังรปู ทรงคล้ายมงกุฎฉัตรหรอื เหมือนชฎาที่ประดบั อยเู่ หนอื ศรีษะของนางร�ำ ไทย ภายหลงั นักออกแบบจวิ เวลล่ีสมยั ใหม่ ได้เร่มิ ปรับเปลีย่ นดไี ซนข์ องแหวนให้มีความหลากหลายจากแบบด้งั เดิม ปจั จุบนั แหวนเจา้ หญงิ (Princess Ring) กลายเปน็ คำ�ทใี่ ชเ้ รียกแทนแหวนขนาดใหญ่ท่ีมอี ัญมณลี �้ำ ค่าประดับแบบไล่ระดับโดยรอบคลา้ ยกับมงกฎุ สำ�หรับกจิ กรรมการชอ็ ปป้งิ ทีน่ ่าสนใจ คือ ตลาดนัดช่วงสดุ สปั ดาห์ (Weekend Market) ซึง่ จะมีในวนั เสาร์และ อาทติ ย์ เป็นลกั ษณะรา้ นคา้ แผงลอยบรเิ วณรอบสนามหลวงและวัดพระแก้ว นักช็อปสามารถเลอื กซื้อเสื้อผ้า ของ ศิลปะ ผลไมแ้ ละขนมไทยหายาก บริเวณโดยรอบจะมีพวกเดก็ ๆมาเลน่ วา่ วหรอื ปั่นจักรยานเชา่ และยังมีกลุ่มผูช้ ายเตะ ลูกบอลทรงหวายไปมาในอากาศในการแขง่ ขนั กฬี าตะกรอ้ ซ่งึ เป็นอกี แหล่งหน่ึงทีม่ ีความหลากหลายท่ีนา่ สนใจ อาหารยงั เป็นองค์ประกอบทสี่ �ำ คัญของการมาเยอื นประเทศไทย ประสบการณก์ ารรบั ประทานอาหารในเมืองไทยมี ความหลากหลายอย่างมากไล่ตั้งแตภ่ ัตตาคารระดบั หา้ ดาว รา้ นอาหารแผงลอย ศนู ย์อาหารในหา้ งสรรพสนิ คา้ มอื้ อาหารค�ำ่ บนเรอื ล่องแม่น้ำ� อาหารข้างถนนและอาหารมังสวริ ตั ิ รวมไปถึงผักผลไม้อนั อดุ มสมบูรณแ์ ละของกนิ เล่นตา่ งๆ อากาศท่อี บอุ่นของประเทศไทยจึงไมน่ า่ แปลกใจที่การรับประทานอาหารกลางแจ้งจะเป็นที่นิยม ในปัจจุบัน ผหู้ ญงิ ท่ี สวมใส่กระโปรงจะตอ้ งนงั่ และมีกระเปา๋ ปิดขาด้วยเพอ่ื หลกี เล่ยี งการกลายเป็นอาหารของบรรดายุง รา้ นอาหารไทยท่ไี ดร้ ับความนยิ มไดแก่ร้านศรแดงทอี่ นุสาวรียป์ ระชาธปิ ไตย รา้ นจติ โภชนา รา้ นทโี ภชนา รา้ นบา้ นไทย รา้ นไทยพมิ าน ร้านเรือนแพ รา้ นกินรีนาวาภตั ตาคารลอยนำ�้ ในสวนลมุ (มีหวั เรอื เปน็ รูปนางกนิ รีคร่ึงตวั เชิดหน้า เป็นหวั เรอื และย่ืนถนั 2 เตา้ เปลือยเปล่าจนเกิดขอ้ วิจารณ์ถงึ ความไมเ่ หมาะสม) ร้านดชั นี ร้านโชตชิ ดิ รา้ นท่านหญิง รา้ นชาววงั และอนื่ ๆ ในสว่ นร้านอาหารไทยจีนจะมีภตั ตาคารสฟี า้ และภตั ตคารง่วนหลี และร้านพรศิลปเ์ หนอื อนุสาวรีย์ ประชาธิปไตยซึง่ โด่งดังในเมนเู ปด็ ภตั ตาคารจนี จะมีภัตตาคารฮ้อยเทียนเหลาที่ถนนเยาวราชซ่ึงเป็นตกึ แถว9คูหา และเปน็ รา้ นอาหารที่เป็นทน่ี ยิ มในการจดั เลย้ี งและงานแต่ง ใกลเ้ คียงคือภตั ตาคารแชงกรีลา่ สาขาบนถนนพัฒนพ์ งศ์ และสีลม ถดั มาคือรา้ นเลก็ ราชวงศซ์ ึง่ มีไอศกรีมรสกาแฟทดี่ ที ี่สุดในเมอื ง รา้ นทง่ ก่ี รา้ นตง้ั ใจอยู่และร้านกวงเม้ง ร้านอาหารอินเดียที่ข้ึนช่ือที่สุดคือร้านรอยัลอินเดียในพาหุรัดและคาเฟ่อินเดียซึ่งตั้งอยู่ที่ถนนโอเรียลเต็ลซ่ึงโด่งดังใน เมนไู ก่แทนดอรี (Tandoori Chicken)และขนมปังนาน (Nan bread) นักท่องเท่ียวส่วนใหญ่จะนิยมทานอาหารตามร้านอาหารริมถนนหรือภัตตาคารแบบเปิดโล่งซ่ึงไม่ต่างจากนักท่องเที่ยว ในยุคหลังทม่ี ตี ัวเลอื กการรบั ประทานอาหารท่ีหลากหลาย ประเทศไทยโด่งดังด้านอาหารไทยซง่ึ เตม็ ไปด้วยรา้ นอาหาร

ไทยจำ�นวนมากในกรุงเทพ แตร่ ้านอาหารตะวนั ตกในเวลานน้ั ยังมีจ�ำ กัด เช่น ร้านเลอ ชาเลต์ (Le Chalet) รา้ นอาหาร สไตล์สวิสทโ่ี รงแรมเอราวณั (Erawan Hotel) ทมี่ เี มนฟู องดู (fondue)และเชฟคนไทยทใี่ หค้ วามบนั เทงิ แกแ่ ขกโดย แสดงการจดุ ไฟบนจานซง่ึ บางครง้ั ก็ไมป่ ระสบความสำ�เร็จ รา้ นอาหารตะวนั ตกอกี แห่งที่มีชื่อเสยี ง คอื รา้ นนิค นมั เบอร์วนั (Nick’s No 1) เปน็ อาคารรูปทรงยโุ รปซง่ึ ปกคลมุ ด้วยเถาวัลย์ ต้งั อยหู่ วั มมุ ถนนสาทรและถนนพระราม4 เจา้ ของรา้ น คือ นคิ เจโร (Nick Jero) เปน็ ผู้ท่ีถกู เนรเทศ จากฮังการีในข้อหาหลอกขายไวนส์ ัญชาตฮิ งั การีรนุ่ Egeri Bikaver ให้กับแขก และยงั มรี า้ นอาหารเปิดใหม่ทีโ่ รงแรม ฮิลตนั ถนนสลี ม ซง่ึ บริหารโดยผจู้ ัดการโรงแรมริชาร์ด ฮาน (Richard Handl) เป็นรา้ นอาหารสญั ชาติอติ าเลียน และ ยงั มีห้องอาหารนอรม์ งั ดีกรลิ ล์ (Normandie Grill) ในโรงแรมโอเรยี นเตล็ (Oriental) ซ่ึงบรหิ ารโดยเคิรท์ วา้ ชไฟทล์ (Kurt Wachtveitl) นอกจากนย้ี งั มีร้านอาหารฝร่ังเศลจ�ำ นวน 3 แหง่ ไดแ้ ก่ เชซูซาน (Chez Suzanne) เลอ วองโดม (Le Vendome) และเลอ เมโทรโพลติ ัน (Le Metropolitan) ร้านทูไวกงิ้ บริหารโดยชาวเดนมาร์คสองท่านเปน็ หนึ่งในรา้ นอาหารและ ไวนท์ หี่ รทู ี่สดุ ในกรุงเทพ ห้องอาหารไฟรเ์ พลส กรลิ ล์ (Fireplace Grill) ในโรงแรมเพรสซิเดนท์ (President Hotel) ไดร้ ับความสนใจด้วยม้อื อาหารที่ยอดเยี่ยม รา้ นนลี ส์ เทเวริ น์ (Neil’s Tavern) มชี อ่ื เสยี งดา้ นเมนูไข่ท่ีดีที่สุดใน เมือง โชคชยั เรสเตอร์รองคม์ ีบริการสเต็คชั้นเย่ยี มจากววั สายพันธจุ์ ากฟารม์ ใกลอ้ ุทยานแหง่ ชาติเขาใหญ่ ร้านชารล์ ยี ์ (Charly’s) บนถนนสาทรมีชื่อเสียงทางดา้ นฟองดู ร้านทพิ ทอ็ พ ร้านไทย์รูม และร้านดคุ ส์ (Duke) บนนถนนพฒั นพ์ งศ 1 และ 2 เปน็ ร้านอาหารท่ไี ดร้ ับความนิยมมาแสนนานในหมู่นกั กนิ มอื้ ดึก รา้ นลติ เต้ลิ โฮมเบเกอร่ี ซง่ึ เปิดด�ำ เนินการมาเป็นเวลานานและมีหลายสาขา เช่ยี วชาญในอาหารและขนมฟิลปิ ปินส์ ร้านกนษิ ฐ์ตัง้ อยู่ตรงขา้ มวัดอรุณและเสาชงิ ช้ามีช่อื เสยี งเปน็ อยา่ งดีส�ำ หรับมื้อกลางวนั นอกจากน้ยี ังมรี ้านอาหารสดุ แปลก หรอื ทีร่ ู้จกั ในช่อื วา่ ภัตตาคารโนแฮนด์ ต้งั อยหู่ ลังโรงแรมมณเฑยี ร ซึ่งประกอบไปด้วยห้องส่วนตัวท่พี นักงาน เสิรฟ์ หญงิ สาวจะใชป้ ากป้อนอาหารไปในปากของลกู ค้า (ผชู้ าย) ในช่วงปี 70 เปน็ ชว่ งทมี่ ีการเตบิ โตของร้านอาหาร ขนาดใหญท่ ี่มลี ักษณะคลา้ ยกบั ฟ๊ดู คอร์ทในหา้ งสรรพสินคา้ ในปจั จุบนั ร้านอาหารแบบเปิดโลง่ เหล่านี้ใหบ้ ริการอาหาร ไทยและบางรา้ นมีจดุ เดน่ ในการดึงดดู ลูกคา้ ด้วย เชน่ เมนผู กั บิน (เชฟจะหนั หลงั และเสิรฟ์ เมนขู า้ มหวั ลกู คา้ ในร้าน ไปยังพนกั งานเสิรฟ์ ที่จะคอยรับในอีกฝั่งและจะทำ�การเสรฟิ ใ์ ห้ทโี่ ต๊ะลกู ค้าอีกท)ี รา้ นอาหารชื่อดังขนาดใหญใ่ นยา่ น ลาดพรา้ วจะมพี นกั งานเสริ ์ฟใส่รองเท้าสเกต็ เสริ ์ฟอาหาร รา้ นอาหารญีป่ นุ่ แห่งแรกที่เปดิ คอื ร้านมิซสุ (Mizu’s Kitchen) บนถนนพัฒนพ์ งศ์ ในปี 1952 และกลายเปน็ แหลง่ พบปะของนกั ข่าวตา่ งประเทศทีเ่ ดนิ ทางมาเมืองไทยในช่วงสงครามเวียดนาม ยา่ นถนนสขุ ุมวทิ บริเวณส่ีแยกอโศกมรี ้านอาหารซีฟดู๊ พาเลซ (Seafood Palace) ร้านอาหารทะเลขนาดใหญ่ท่ีเต็มไป ดว้ ยปลา ลอ็ บสเตอรแ์ ละหอยท่สี ดใหมภ่ ายใตส้ โลแกน “รา้ นเรามีแตท่ ่ยี ังวา่ ยอย”ู่ ลกู คา้ สามารถเลอื กซ้ือและนำ�ไป ชัง่ กิโลและหลงั จากนั้นจะถกู นำ�ไปปรงุ เป็นเมนทู านพร้อมเบียรไ์ ด้ เหนอื อโศกข้นึ ไปมีรา้ นอาหารไทยเปิดใหม่ในบา้ น และสวนทรงไทย ซึ่งสำ�หรบั นักท่องเทย่ี วท่ีตอ้ งการสมั ผสั อาหารไทย ท่นี ม่ี กั จะเปน็ ทีแ่ รกของพวกเขา และเจ้าของเอง

พิถพี ถิ ันในการปรงุ รสชาตใิ ห้อย่ใู นระดับท่ีเหมาะสมสำ�หรบั นกั ท่องเทีย่ ว รา้ นอาหารที่ใกลเ้ คยี งบรเิ วณนัน้ จะมรี ้านมทิ ช์ และน�้ำ (Mitch and Nam’s) ซง่ึ เป็นร้านอาหารแอฟริกัน ในชว่ งเชา้ นักท่องเท่ียวที่เดนิ ทางไปตลาดนำ�้ คลองสนามชยั ทฝ่ี ั่งธนในช่วงปี 1960 สามารถแวะทานอาหารเช้าและ กาแฟภายในบ้านไมท้ รงไทยขนาดเลก็ ทร่ี ้านเทรเดอร์ คีท (Trader Keith’s) โดยคที โลเรนซ์ (Keith Lorenz) ชาวอเมรกิ นั ซึง่ จบจากมหาวิทยาลยั ฮาวเวิร์ด นักท่องเท่ยี วยงั สามารถเพลดิ เพลนิ กับสตั ว์เล้ยี งของคีทซึง่ อยูภ่ ายในรา้ น ไมว่ า่ จะเปน็ ชะนี ลูกหมีและแมวป่า ในบางครัง้ คีทจะน�ำ หมีของเขาใสร่ ถเข็นและไปน่งั ด่ืมที่บารใ์ นยา่ นพฒั น์พงศ์ ซง่ึ หมี ของเขาโปรดปรานเครือ่ งดื่มทมี่ ีรสหวานซ่งึ ลูกค้าภายในรา้ นคอ่ นขา้ งจะตกใจไมน่ ้อยทีม่ ีหมีอย่ภู ายในรา้ น การท่องเที่ยวยามราตรีในกรุงเทพในสมัยก่อนยังค่อนข้างเงียบเหงารวมไปถึงแหล่งท่องเท่ียวกลางคืนยังค่อนข้าง มีจำ�กัด นกั ทอ่ งเท่ยี วสามารถซอื้ ต๋ัวชมการแข่งขันมวยได้สองสถานที่ ไดแ้ ก่ ได้แกเ่ วทีมวยราชด�ำ เนินและเวที ลุมพนิ ี นอกจากน้ียงั มีศาลพระพรหมเอราวัณท่สี ี่แยกราชประสงคท์ ่ีนกั ท่องเที่ยวสามารถซือ้ ธปุ เทยี นดอกไม้เพื่อบชู า พระหรหมและปลอ่ ยนกเพอ่ื ความเปน็ สริ ิมงคล นอกจากน้ียังสามารถรบั ชมการร�ำ แกบ้ นของผู้ทข่ี อพรและสมหวัง ซึ่ง จะมคี ณะนางร�ำ แตง่ กายดว้ ยชดุ ไทยท่ีสวยงามรำ�โชวบ์ รเิ วณหน้าพระพรหมและมเี คร่ืองดนตรีไทยรว่ มบรรเลงดว้ ย การสังสรรค์ยามค่ำ�คืนของไทยในสมัยก่อนจะเป็นในรูปแบบนั่งบนเสื่อรับชมการแสดงหรือฟังเพลงไทยพร้อมรับ ประทานอาหารไทยและจบิ เบยี ร์สงิ หห์ รอื เบยี ร์อัมฤทธิซ์ ่งึ ในสมยั กอ่ นจะมแี คเ่ บียรย์ ห่ี อ้ ไทย บาร์จะมีจ�ำ นวนน้อยและ ตง้ั อยู่ห่างกนั ในส่วนของไนท์คลบั ท่มี ีนกั ร้องจะตัง้ อย่แู ถวบริเวณถนนราชดำ�เนิน ทโี่ ดง่ ดังในสมัยก่อนจะมมี แู ลงรจู (Moulin Rouge) คาเธ่ย์ (Cathay)และอเล็กซานเดอร์ (Alexander) ลกู ค้าหลักของยา่ นนจี้ ะเปน็ คนไทยซึ่งผ่อน คลายกบั บรรยากาศในรา้ นท่ีค่อนขา้ งมืดและมีบรกิ ารจากพนักงานต้อนรบั สาวซ่ึงจะมคี ่าบริการพิเศษ คาดวา่ น่าจะมี สถานเริงรมยแ์ บบนเ้ี ปดิ อยปู่ ระมาณ 85 แหง่ ทว่ั กรุงเทพ แตท่ ี่เปน็ รูปแบบเปดิ โลง่ และมบี รกิ ารพนักงานสาวต้อนรับจะ มลี ูกค้าส่วนใหญเ่ ปน็ ผูช้ ายไทย ท่ีมชี อื่ เสยี งในสมยั น้ัน จะมีเดอะ เกรทเวิลด์ (the Great World) แฮปปี้เวลิ ด์ (Happy World) นิวเวลิ ด์ (New World) วนี สั คลับ (Venus Club) และ เดอะ กรีนแลนเทริ ์น (the Green Lantern) นอกจากนี้ยังมีบาร์ของพวกกะลาสเี รือ ชื่อ มอสกิโตบ้ าร์ (Mosquito Bar) ซึง่ อยูแ่ ถวท่าเรอื คลองเตย แตแ่ ทบไมม่ ีนกั ทอ่ งเท่ยี วตา่ งชาตแิ ละคนไทยไปใชบ้ ริการ ในส่วนของชาวต่างชาติท่ีอาศัยในเมืองไทยหรือคนไทยท่ีเรียนในต่างประเทศมักจะสังสรรค์ท่ีบ้านหรือท่ีคลับที่เป็น สมาชกิ อยู่ อยา่ งเช่น ราชกรีฑาสโมสร (Royal Bangkok Sports Club) คลับเยอรมนั (German Club) และคลบั อังกฤษ (British Club) และมีจำ�นวนหนึ่งทไี่ ปตามรา้ นอาหารและบาร์ในโรงแรม เชน่ เอราวณั และโอเรยี นเต็ล ในส่วนของสถานบนั เทิงที่มดี นตรตี ะวันตกจะมอี ย่ใู นโรงแรมที่มนี ักดนตรปี ระจำ�ร้าน (house bands) และในเลาจน์ และมวี งดนตรีรอ็ กแอนดโ์ รลอยบู่ า้ ง (สว่ นใหญอ่ ยใู่ นโรงแรม) ไนทค์ ลบั สไตลต์ ะวันตกแหง่ แรกทีเ่ ปดิ บริการในกรงุ เทพ ช่วงหลงั สงครามโลกครงั้ ทสี่ อง คอื ซลิ เวอร์ ปาล์ม (Silver Palms) ต้งั อยบู่ นถนนสุริวงศ์ เปดิ ด�ำ เนินการในปี 1948 โดยกลมุ่ ของเจ้าของชาวอเมริกนั ซิลเวอร์ ปาล์ม (Silver Palms) ยังมบี รกิ ารคู่เตน้ และมชี อื่ เสยี งในดา้ นคอ็ กเทลสูตร แปลกใหม่ และเป็นนิยมในหมู่ชาวตา่ งประชาตทิ อี่ าศัยในเมืองไทย และตามมาดว้ ยร้านเช อฟี (Chez Eve) ท่เี ปิด ในปี 1952 และมกี ารแสดงดนตรสี ด

นอกจากนใี้ นปี 1950 ลโิ ด ไนท์คลับ (the Lido) เปดิ บริการทด่ี ้านหลงั ของโรงแรมเอราวณั ซ่ึงมีเจอราลด์ สแปรโรว์ (Gerald Sparrow) อดีตผู้พิพากษาศาลสงู ชาวองั กฤษวัยเกษียณและนกั เขยี นเปน็ เจา้ ของอยู่ชว่ งเวลาหนึง่ นอกจากนี้ ยงั มีโซนดา้ นนอกเปิดบรกิ ารและมีการจุดยากันยุงวางไว้ใตโ้ ต๊ะเพือ่ ขับไลฝ่ งู ยุง ในชว่ งเวลาถดั จากนนั้ ไมน่ านไดม้ รี า้ นอาหารตดิ แอรซ์ ง่ึ มเี จา้ ของเปน็ ชาวญป่ี นุ่ เปดิ บรกิ ารในยา่ นศนู ยก์ ารคา้ เกษรพลาซา่ ตรงขา้ มโรงแรมเอราวัณ ช่ือร้าน ซานิ ชาโตร์ (Sani Chateau) ในชว่ งกอ่ นท่จี ะกลายเป็นแหล่งบนั เทิงยามราตรี ในบรเิ วณถนนพฒั น์พงศท์ ่ตี ดั ใหมน่ นั้ มบี ารจ์ ำ�นวนมากเปดิ ใหบ้ รกิ ารซง่ึ มลี กู คา้ สว่ นใหญเ่ ป็นตา่ งชาติแต่โดยหลักเป็น เหมอื นสถานทเี่ ท่ยี วกลางคืนสำ�หรบั ผู้ชาย ในยา่ นน้ันจะมคี ลับชอื่ ดงั ทีม่ ีการแสดงเปยี โนโดยนาร์ซงิ อะกรลิ า่ ร์ (Narcing Aquilar) นักเปียโนชาวฟลิ ิปปินส์ ซง่ึ คลับน้ีจะต่างกับคลบั อนื่ เพราะไม่มีบรกิ ารคู่เต้น แตจ่ ะมีเฉพาะดนตรีและ แอลกอฮอล์ใหบ้ รกิ าร ในท�ำ นองเดียวกนั ในยุคทีน่ ักดนตรชี าวฟลิ ปิ ปินส์ค่อนข้างมีบทบาทในตลาดดนตรี น้องชายของ เขาโทน่ี อะกริลา่ ร์ (Tony Aguilar) ได้แสดงอย่ทู แี่ คท อายส์ บาร์ (Cat’s Eye Bar) ในโรงแรมเพรสซเิ ดนท์ (President Hotel) เช่นกัน ในชว่ งเหนือของถนนสรุ วงศ์ จะมีร้านลซู ี่ ไทเกอร์ เดน (Lucy’s Tiger Den) ซ่งึ มลี กู คา้ ส่วนใหญ่เป็นอดตี ทหารแต่ ยังคงต้อนรับลูกคา้ ต่างชาตทิ ี่เป็นผูห้ ญงิ เชน่ กัน ย่านถนนสรุ วงศต์ ดั ใหม่จะมีสตารไ์ ลท์ (Starlight) และคาเฟ่ เดอ ปารสี (Café de Paris) เปิดให้บรกิ ารเชน่ กนั แบมบู บาร์ (Bamboo Bar) ในโรงแรมโอเรยี นเต็ลเปดิ บรกิ ารในปี 1946 ซึง่ มชี อื่ เสยี งดา้ นวงดนตรแี จ๊สชั้นนำ� โดย เฉพาะนักร้องน�ำ ทสี่ ง่ ตรงมาจากคลบั ชื่อดงั ในอเมรกิ า ในย่านใกล้เคียงกันบนนถนนสลี ม มีคลับ 99 (Club 99) ซง่ึ มี ดนตรแี จส๊ เล่นสดและพนกั งานตอ้ นรบั ทค่ี อยใหบ้ ริการ (บางคนยงั คงให้บริการลกู คา้ อีก30ปีใหห้ ลัง) โรงแรมแกรนด์ โฮเตล็ (Grand Hotel) บนถนนพระราม 1 ตรงขา้ มสนามกีฬาแห่งชาติมีบรกิ ารเพลงในคลับช้นั ใตด้ นิ บนถนนสุขมุ วทิ มีร้านโคพาคาบานา (Copacabana) เปดิ บริการในปี 1957 ซงึ่ มโี ชว์คาบาเรตต์ ่างชาตแิ ห่งแรกใน กรงุ เทพคนดงั จากตา่ งประเทศในชว่ งยุคปลาย 60 อย่างบงิ ครอสบี้ (Bing Crosby) และบ็อบ โฮพ (Bob Hope) เคยแวะมานง่ั ดื่มท่ีนดี่ ว้ ย นกั ดนตรอี ย่างเช่น แซมมี่ ฮาการ์ (Sammy Hagar) มกิ ค์ แจกการ์ (Mick Jagger) เฟรดด้ี เมอรค์ วิ รี (Freddie Mercury)เดบ็ บี้ แฮรรี่ (Debbie Harry) และ เดวดิ โบว่ี (David Bowie) ได้มารว่ มเลน่ ดนตรี กบั นักดนตรที อ้ งถิ่น ต่อมาภายหลังไดเ้ ปลย่ี นช่ือร้านเปน็ เชค็ อนิ (Check In) และเชค็ อนิ 99 (Check Inn 99) ร้านน้ี ถือเป็นบาร์ทเ่ี ปดิ ใหบ้ รกิ ารยาวนานท่ีสุดจนกระทัง่ เพ่ิงปิดตัวไปเมอ่ื เดอื นกรกฎาคม ปี 2016 ในขณะท่ีกรุงเทพได้ขยายออกไปทางฝง่ั ตะวนั ออกจากต�ำ แหนง่ เดิมรอบรมิ ฝัง่ แมน่ ้ำ�เจ้าพระยา พน้ื ท่ีท่ีเรยี กวา่ เขต บางกะปไิ ด้พัฒนาขน้ึ พรอ้ มท้งั สองดา้ นของถนนสขุ มุ วทิ จากเดิมทเี่ ป็นทางสัญจรสองเลนและมีคลองขนาบอยสู่ องดา้ น มีถนนเสน้ เลก็ ที่เชอื่ มด้วยสะพานไมไ้ ด้พัฒนาขนึ้ กลายเปน็ บา้ นเดย่ี วหรอื บ้านสองช้นั ซ่งึ บางหลังไดป้ ลอ่ ยให้คนต่างชาติ เชา่ อาศยั บนถนนสขุ มุ วิท บารข์ นาดเลก็ และร้านอาหารไดเ้ ริม่ ปรากฎข้ึน หนง่ึ ในน้ันคอื รา้ นนิภาฮทั (Nipa Hut) ร้านอาหารสไตล์เม็กซิกันบริหารโดยชาวฟิลิปปินส์มีจุดเด่นท่ีคนแคระมีหนวดสวมหมวกปีกกว้างซึ่งนั่งอยู่นอกร้าน คอยโบกมือให้กับผคู้ นที่ผ่านไปมา

ทางดา้ นเหนือขนานกบั ถนนสขุ ุมวทิ คอื ถนนเพชรบุรตี ัดใหม่ซงึ่ ในชว่ งปี 1960 ไดก้ ลายเปน็ ยา่ นความบันเทงิ ของทหาร จีไอชาวอเมรกิ ัน (American GIs) ซึ่งทะลกั เขา้ มาในกรงุ เทพในชว่ ง 5 วนั ของการพกั และการฟืน้ ฟู (Rest and Recuperation) จากสงครามเวียดนาม จากวนั นน้ั จนถึงวันน้ี นกั ทอ่ งเที่ยวได้วางแผนการทอ่ งเทยี่ วเพอ่ื ให้ไดส้ มั ผสั กบั สองเทศกาลที่โด่งดงั และสวยงามทส่ี ดุ ใน เอเซยี คือเทศกาลสงกรานต์และเทศกาลลอยกระทง เทศกาลสงกรานตค์ ือเทศกาลข้นึ ปีใหม่ของไทยดง้ั เดมิ ซึ่งตรงกับ วันท่1ี 3 เมษายนซง่ึ ถอื เปน็ วนั ทีร่ ้อนที่สุดวนั หน่ึงในไทย ตามธรรมเนียมโบราณจะมีการให้ศลี ให้พรกนั ในวนั น้ี โดยที่ จะเปน็ การรดนำ้�ขอพรญาตผิ ู้ใหญห่ รอื เพื่อนฝงู เม่ือเวลาผ่านไปได้กลายเปน็ เทศกาลเล่นสาดน้ำ�ซ่งึ ในชว่ งฤดทู ี่ร้อนจดั เชน่ นี้ นักท่องเที่ยวจงึ ไม่รีรอทจ่ี ะรว่ มสนกุ แบบเปยี กๆดังเช่นท่ีปรากฏให้เหน็ จนถึงทกุ วนั นี้ เทศกาลลอยกระทง (ในทางเหนือเรียกยีเ่ ป็ง)เปน็ เทศกาลทค่ี ึกคักน้อยกว่า ซ่ึงเป็นประเพณีทม่ี ีมาต้งั แตค่ รง้ั ยงั เปน็ สยาม (ยุคเริ่มตน้ ของราชอาณาจกั รไทย) ในสมยั ราชอาณาจกั รสโุ ขทยั ในศตวรรษท่ี 13 จะจัดขน้ึ ในคืนพระจันทรเ์ ตม็ ดวงในเดอื นพฤศจกิ ายน มกี ารปล่อยกระทง(ท�ำ จากใบตอง)พร้อมธปู เทยี นลงในแมน่ ้�ำ ลำ�คลองเปน็ ภาพระยบิ ระยบั คลา้ ยหม่ดู าวปรากฏอยบู่ นผวิ น�ำ้ โดยเชื่อว่าเปน็ การปลดปลอ่ ยส่ิงไม่ดหี รือโชครา้ ยของปีก่อนเพ่อื เรม่ิ ต้นส่งิ ดๆี ในปใี หม่ เทศกาลน้ียังเป็นที่นิยมสำ�หรับคู่รักหนุ่มสาวที่ร่วมกันลอยกระทงอันเดียวกันลงยังแม่นำ้�ซึ่งเป็นวิธีการแสดงออกทาง ความรักทโ่ี รแมนติกต่อกนั สำ�หรบั นักท่องเทย่ี ว เทศกาลนี้ถือเปน็ หนึ่งในเทศกาลท่เี กา่ แก่และมเี สนห่ ์เทศกาลหน่งึ ในเอเซีย หัวหิน เป็นเวลาหลายทศวรรษท่คี นไทยนยิ มนัง่ รถไฟไปทางทศิ ใต้ตามขอบอ่าวไทยไปยังเมอื งหวั หนิ สถานท่ตี ากอากาศของ ราชวงศ์ เพือ่ ลิม้ รสกบั อาหารทะเลท่สี ดใหม่ ข่มี า้ เลยี บชายหาด ว่ายน�ำ้ ทะเลที่อบอนุ่ ในบรรยากาศท่ีสงบหรือออกรอบ ตีกอลฟ์ ส้ันๆทีส่ นามกอลฟ์ แหง่ แรกในประเทศซ่งึ ถูกสร้างข้ึนในสมยั รชั กาลท่ี 6 (ครองราชย์ปี 1910 - 1925) ซงึ่ ได้ ทรงวา่ จา้ งนาย เอ โอ โรบนิ ส์ (A. O. Robins) วิศวกรบำ�รุงรกั ษาทางถนนให้สรา้ งสนามกอลฟ์ หลวงหัวหิน (Royal Hua Hin Golf Course) ขน้ึ เป็นสนาม 9 หลมุ ระยะรวมประมาณ 3,000 หลาและสนามเทนนิสตรงขา้ มสถานรี ถไฟ หวั หนิ ซง่ึ สร้างแล้วเสร็จทันเวลากับการต้อนรบั แขกทา่ นแรกของโรงแรมในวนั ที่ 26 ตุลาคม 1922 หลังจากทีถ่ นนเส้นทางลงใตแ้ ลว้ เสร็จ ชาวกรงุ เทพนยิ มเดินทางลงใต้ไปยังเมอื งหัวหินและเมืองชะอ�ำ เพ่ือเที่ยวชม ตวั เมอื ง พระราชนเิ วศนม์ ฤคทายวนั ปา่ ชะอำ� เขาตะเกียบ น้�ำ ตกป่าละอแู ละอุทยานแห่งชาตเิ ขาสามรอ้ ยยอด และ ช็อปปง้ิ ระหวา่ งทางทสี่ ตดู โิ อเซรามิค เมืองราชบุรแี ละพระนครคีรี เขาวงั ทีเ่ มอื งเพชรบรุ ี พัทยา รีสอร์ตตากอากาศทีเ่ ป็นทีน่ ยิ มทสี่ ดุ ในประเทศตงั้ อยู่บรเิ วณอีกด้านของอ่าวไทยที่บางแสน ทแี่ ห่งน้ี ททท.ไดส้ รา้ ง โรงแรมขึน้ ซ่ึงเปน็ ที่นิยมอย่างมากในหมูค่ นไทย ถดั ลงมาจากหาดบางแสนคือหมู่บา้ นชาวประมงซ่งึ เงยี บสงบในเมอื ง พทั ยาซึง่ เตม็ ไปด้วยหาดทรายที่ออ่ นน่มุ บรรยากาศเงียบสงบสวยงามไปด้วยสีฟ้าของอ่าวไทยซงึ่ เป็นสถานท่ที ส่ี มบูรณ์ แบบแกก่ ารพักผ่อน ล้อมรอบไปดว้ ยต้นปาล์มที่ตั้งเรียงราย คือรา้ นอาหารขนาดเล็กท่ีให้บริการอาหารไทยใน บรรยากาศแบบสบายๆ

ชาวกรงุ เทพสามารถขบั รถไปโดยใช้เส้นผ่านเสน้ ทางดว่ นสขุ ุมวทิ ทั้งหมดใช้เวลาประมาณ6ชวั่ โมงซ่งึ ตอ้ งขา้ มเรอื จาก แมน่ �้ำ บางปะกง อีก60กโิ ลเมตรทีเ่ หลอื จะวิ่งผ่านจังหวัดชลบุรซี งึ่ นกั ทอ่ งเทย่ี วสามารถแวะพกั ไดท้ โ่ี รงแรมริมทะเลและ รับประทานอาหารทะเลท่ยี อดเยีย่ ม หรือสามารถว่ายน�ำ้ หรอื ถา้ เปน็ สมาชกิ สามารถทีจ่ ะล่องเรือใบท่ีสโมสรเรอื ใบ ราชวรุณ Royal Varuna Yacht Club (RVYC)ซึ่งสรา้ งข้ึนในปี 1957 เมอ่ื คร้ังทพี่ ัทยาสมยั น้ัน จากค�ำ กลา่ ว ของนกั ธรุ กิจวอลเทอร์ มเี ยอร์ (Walter Meyer) ทีไ่ ด้นกึ ยอ้ นกลบั ไปวา่ “เป็นหมบู ้านที่มชี าวประมงประมาณ20คน อาศัยอยู”่ เร่มิ ตน้ โดยหม่อมเจ้าภีศเดช รชั นี (Prince Bhisadej Rajani)และมร.มเี ยอร์ สมาคมเรอื ใบราชวรณุ ได้ รบั การสนับสนุนจากพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ภูมิพลฯ ผู้ซงึ่ โปรดปรานกีฬาเรือใบและพระองคย์ ังทรงออกแบบและ ประดษิ ฐเ์ รอื ใบรุ่นของตนเองซ่ึงพระราชทานนามเรอื ใบประเภทมอ็ ธ (Moth) ทที่ รงสร้างขน้ึ ว่าเรือใบมด นอกจากนี้ พระองคย์ ังทรงร่วมแขง่ ขนั กีฬาเรอื ใบกบั สมเด็จพระเจา้ ลกู เธอเจ้าฟา้ อบุ ลรตั นราชกัญญาฯ และทรงไดร้ บั เหรยี ญทอง ในกฬี าซีเกมส์ (Southeast Asian Games) ในปี 1967 ในช่วงปี 1960 พทั ยาไดถ้ ูกคน้ พบโดยทหารจีไอ หมบู่ า้ นชาวประมงทีต่ ้งั อยู่เรยี งรายบนชายหาดจงึ ถกู แทนที่ดว้ ย บงั กะโล โรงแรมและรสี อร์ท หลงั จากนน้ั พทั ยาได้กลายเปน็ ดนิ แดนท่ไี ม่เคยหลบั ใหลอีกเลย โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ใน ยามราตรีทีค่ วามเงียบสงบถกู กลบดว้ ยแสงสีจากสถานบนั เทิงทีส่ าดส่องตงั้ แตพ่ ลบค่ำ�จวบจนร่งุ อรณุ ในชว่ งเวลากลาง วัน นกั ท่องเท่ยี วสามารถสนกุ กบั กีฬาทางน�ำ้ เชน่ สกูตเตอรน์ ้ำ� สกีนำ�้ เจต็ สกี วินเซริ ฟ์ และเท่ียมชมเกาะลา้ น (อีกชือ่ หน่งี คือเกาะปะการัง) ทอี่ ยู่ใกลเ้ คยี งซง่ึ สามารถเดินเล่นบรเิ วณชายหาดหรอื ทานอาหารทะเลสดใหม่ การเติบโตทางการท่องเท่ียวเป็นผลมาจากการสร้างสะพานและถนนทางหลวงหมายเลข3จากกรุงเทพไปชลบุรีซ่ึง สามารถย่นระยะทางได้ 27กโิ ลเมตร นักทอ่ งเท่ยี วชาวไทยและต่างประเทศสามารถทจี่ ะลงเรอื ตกปลาน้�ำ ลกึ ไดท้ ที่ ่า เทยี บเรอื บางเสร่ทางตอนใต้ของพัทยาหรอื สามารถลงเรียนคอรส์ ด�ำ น�้ำ ลกึ นอกจากนีย้ ังสามารถตกี อล์ฟไดท้ สี่ นาม กอล์ฟสยาม คนั ทรคี ลบั สนามกอลฟ์ ระดับโลก สถานที่ที่มชี ือ่ เสยี งอีกแห่งคอื สวนนงนุช สวนขนาด 600 เอเคอร์ท่ี เปิดในปี 1954 ทางตอนใต้ของพัทยาทีเ่ ต็มไปด้วยพฤกษาและดอกไมน้ านาพรรณรวมถงึ กลว้ ยไม้หลากหลายสายพันธ์ุ ซึ่งดงึ ดดู ทั้งนักท่องเที่ยวทม่ี าในวนั หยดุ และผชู้ น่ื ชอบดอกไม้ การก่อสร้างถนนทางหลวงในปี 1970 ซ่ึงเปน็ เสน้ ทางไป ฝ่งั ชายแดนกัมพชู ายงั ทำ�ให้การเดนิ ทางไปยังระยอง เกาะเสมด็ จันทบุรแี ละเกาะชา้ งใช้เวลาเดินทางเพยี งคร่ึงวัน ตอ่ มาภายหลังช่วงปี 1960 พทั ยาได้เปน็ ท่ีนยิ มในหมู่นกั ท่องเทย่ี วทั่วเอเซยี โรงแรมทเ่ี รยี บง่ายอยา่ งนิภา ลอดจ์ (Nipa Lodge) ไดถ้ ูกแทนทดี่ ้วยโรงแรมสมยั ใหม่ เช่น โรงแรมรอยลั คลฟิ ฟ์ บชี (Royal Cliff Beach Hotel) โรงแรมออคดิ ลอดจ์ (Orchid Lodge) โรงแรมดุสิตรีสอรท์ (Dusit Resort) โรงแรมทรอปิคานา (Tropicana) โรงแรมวงศ์ อมาตย์ (Wong Amat) โรงแรมเอเซยี พัทยา (Asia Pattaya) โรงแรมสยาม เบยช์ อร(์ Siam Bayshore) โรงแรม สยาม เบย์วิว (Siam Bayview) และโรงแรมรีเจนท์ พทั ยา (Regent Pattaya) และอื่นๆซึ่งตอบสนองตอ่ จำ�นวนนกั ท่องเท่ียวท่เี พ่ิมมากขน้ึ พัทยาเป็นเมืองตากอากาศเพียงเมืองเดียวในแถบเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ท่ีเต็มไปด้วยรีสอร์ตพร้อมส่ิงอำ�นวยความ สะดวกท่คี รบครัน พัทยาจึงกลายเปน็ เมอื งตากอากาศชัน้ นำ�ของภมู ภิ าค แต่ภายหลงั ไดส้ ูญเสยี แชมป์ให้กับทะเลทาง ฝั่งภาคใต้ เช่น ภเู ก็ต สมยุ กระบ่แี ละเกาะพพี ี พัทยาได้กลายเปน็ แหล่งทอ่ งเท่ยี วยอดนิยมของนกั ทอ่ งเทย่ี วยโุ รปตะวัน ออกและเอเซียตะวันออกเนอ่ื งจากราคาทคี่ ่อนขา้ งถกู ในเวลาเดียวกนั ชายหาดจอมเทยี นทางตอนใต้ของพัทยาได้

กลายเป็นแหล่งที่รองรบั นักทอ่ งเท่ียวจ�ำ นวนมากซึ่งมโี รงแรมขนาดใหญแ่ ละคอนโดเกดิ ขึน้ มากมาย ในปี 1991 พทั ยา ไดท้ �ำ รายไดถ้ งึ 15% ใหก้ ับการทอ่ งเที่ยวไทยซ่ึงมากทส่ี ดุ ในประเทศ ภูเกต็ ในชว่ งปี 1950 และป1ี 960 ภเู ก็ตในทะเลอนั ดามันซงึ่ ใช้เวลาบนิ ทางจากตะวันตกเฉียงใต้ของกรงุ เทพประมาณหน่ึง ชัว่ โมงแทบจะไมป่ รากฎอย่ใู นแผนทที่ อ่ งเท่ียวเลยในเวลานัน้ เมืองภูเก็ตมีพน้ื ท่ีตั้งอยู่บนเกาะซง่ึ มขี นาดเล็กกว่าเกาะ สงิ คโปร์เพยี งเล็กนอ้ ยและมีโรงแรมอาคารตำ่� (low-rise)อยูเ่ พียงไมก่ ่ีโรงแรม โรงแรม เดอะ เพริ ์ล (The Pearl) โรงแรม อาคารสูง (high-rise) (12 ชนั้ ) แห่งแรกในตวั เมืองภเู กต็ ยงั ไมเ่ ปดิ ดำ�เนินการจนกระทัง่ ปี 1976 เกาะแห่งนเี้ คย เปน็ ท่าเรือเกา่ แกส่ �ำ หรบั เรือทล่ี ่องมาจากอ่าวเบงกอลบริเวณระหวา่ งกลั กัตตา (Calcutta)และสิงคโปร์ พ้นื ท่สี ว่ นใหญ่ เปียกและมชี า้ งตระเวนหากนิ หญงิ ชาวองั กฤษคนหน่ึงซง่ึ ไดแ้ ตง่ งานกบั ชายไทยและใช้ชีวิตอย่ทู ่เี กาะภเู ก็ตในปี 1930 ได้เขยี นบันทึกไว้ในเช้าวนั หนึ่ง เธอไดล้ งไปว่ายนำ�้ บรเิ วณชายหาดและบนหาดทราย เธอได้พบกบั รอยเท้าเสอื ภายใน เกาะยังค้นพบหลกั ฐานของแรดโบราณ (rhinoceros) ซง่ึ เชอ่ื ว่ามชี วี ิตอยใู่ นยุคก่อนประวัตศิ าสตร์ (pre-history) เกาะแห่งนมี้ ีประวตั ศิ าสตรย์ าวนาน ปโตเลมี (Ptolemy) นักปรัชญาชาวกรีกผโู้ ด่งดงั ซง่ึ จากบันทึกในปี 157 ทวี่ า่ การ เดนิ ทางมายังคาบสมทุ รมลายโู ดยทางเรือนั้น นกั เดนิ เรือจะล่องผ่านแหลมที่เรยี กวา่ “จงั ซีลอน” (Junk Ceylon) ซงึ่ เพ้ยี นมาจากค�ำ วา่ จ็อง (Jong) และสาลัง (Salang) ในภาษามาเลย์ ต่อมาไดถ้ ูกใช้เปน็ ทเี่ รือสำ�หรบั เรอื ทเ่ี ดินทาง จากอนิ เดยี มายังเอเซยี ตะวันออกเฉยี งใตผ้ ่านช่องแคบมะละกา เมือ่ ดบี กุ ถูกค้นพบในศตวรรษท่ี 19 ไดเ้ กิดการหล่งั ไหลของบรรดาแรงงานทำ�เหมืองซงึ่ ส่วนใหญม่ าจากประเทศจนี หลักฐานของการทำ�เหมอื งยังคงปรากฏเปน็ มรดก ในยคุ นัน้ บรรดาเจ้าสัวเจ้าของเหมืองผู้ร่ำ�รวยในยุคนั้นได้ก่อสร้างอาคารท่ีงดงามสร้างในสถาปัตยกรรมแบบชิโนโปรตุกีสตาม ถนนสายหลักและอาคารภายรอบตัวเมืองซ่ึงยังคงปรากฎจนถึงทุกวันน้ีและในแต่ละวันได้มีผู้คนมาถ่ายรูปเก็บภาพ ในย่านเหล่าน้ี ในยคุ ถัดมาของการปฏวิ ตั ิ คอื การเป็นศนู ย์กลางของอุตสาหกรรมยางพาราซ่ึงมีการทำ�สวนยางทัว่ เกาะ จนกระท่ังในช่วงปี 1980 นกั ทอ่ งเท่ียวเดนิ เล่นในสวนยางในชว่ งรุง่ อรุณเพื่อรบั ชมการกรีดน้ำ�ยางซ่งึ จะถูกสงั เคราะห์ ไปเป็นยางรถยนตแ์ ละผลิตภณั ฑต์ า่ งๆทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั ยาง อตุ สาหกรรมอื่นในภเู ก็ตจะอยทู่ างทศิ ตะวันออกเฉยี งเหนอื ของปลายเกาะ ซ่ึงทนี่ ัน้ เตม็ ไปดว้ ยฟารม์ จำ�นวนมากต้ังอยู่ ในทะเล และมีการเพาะเลี้ยงหอยเพื่อผลิตหอยมุกหรอื ทเ่ี รยี กวา่ ไข่มุก ไขม่ ุกคุณภาพชัน้ เย่ยี มไดถ้ ูกส่งออกไปยังญ่ีป่นุ และทตี่ ่างๆ ท�ำ ใหภ้ เู ก็ตเป็นทร่ี ้จู ักในเอเซียในอีกช่อื หนง่ึ ว่าไข่มกุ แหง่ อันดามนั สินคา้ ที่เป็นที่รู้จักอยา่ งดีของภูเก็ต ได้แก่ ดบี ุก ยางพารา ไข่มกุ เม็ดมะมว่ งหิมพานตแ์ ละสปั ปะรด ไมใ่ ชเ่ พราะหาดสวยงามทางธรรมชาตเิ พยี งอย่างเดียว ภูเกต็ ตัง้ อยู่ระหวา่ งทะเลอันดามนั ทงั้ ชายฝงั่ ทางด้านตะวนั ออก และตะวันตก ตามอา่ วมีลักษณะทางธรณีวทิ ยาเป็นภูเขาหินปูนซึง่ มีหินงอก หนิ ยอ้ ยตามธรรมชาติซึง่ งดงามดังภาพวาด ของพกู่ นั จีน ภาพยนตร์ชุดบอนด์เดอะซีรีส์ (The James Bond movie) ตอน “เพชฌฆาตปนื ทอง” (The Man with the Golden Gun) ได้ถ่ายท�ำ ทส่ี ถานท่ีแหง่ น้ีเชน่ กัน ตามเกาะต่างๆบนทะเลมคี วามอดุ มสมบรู ณด์ ้วยสเี ขยี ว ของป่าไม้ ภเู ขาสงู ซ่งึ ความสวยงามเช่นน้ีควรจะเป็นมนตเ์ สนห่ ท์ างธรรมชาตทิ ด่ี งึ ดูดผู้คนได้เปน็ อย่างดี

อย่างไรก็ตาม ปญั หาคอื การเรือ่ งการเดินทางเนอื่ งจากภเู กต็ มลี ักษณะภมู ปิ ระเทศเปน็ เกาะท�ำ ใหถ้ กู ตัดขาดออกจาก โลกภายนอก จนกระทัง่ มกี ารก่อสรา้ งสะพานสารสนิ ซง่ึ เช่ือมระหวา่ งเกาะภเู ก็ตและแผ่นดินทางตอนเหนือและมถี นน เส้นเลก็ จากสะพานลงไปทางทศิ ใต้ผา่ นตวั เมอื งภูเกต็ และสน้ิ สดุ ที่หาดราไวย์ทางใตข้ องเกาะ ดังนั้นรีสอร์ตแห่งแรกของภูเก็ตจึงตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเกาะใกล้หาดราไวย์ซ่ึงเป็นหมู่บ้านชาวประมงและผู้เพาะ เล้ียงหอย ในแตล่ ะวนั กระแสนำ�้ จากคลนื่ ได้กัดเซาะอย่ตู ามแนวโขดหนิ ซ่งึ ชาวบ้านจะออกไปพร้อมกบั ตะขอเหลก็ เพื่อไปเก็บหอยมุกทแ่ี สนสวยงามส่งขายไปยงั นกั สะสมทว่ั โลก ในช่วงปี 1970 ถนนของชายหาดทเ่ี ปน็ ทนี่ ยิ มท่ีสุดในปจั จบุ นั คอื หาดปา่ ตอง เป็นเส้นทางสูงช้นั ข้ึนไปยังยอดเขาและ มีเส้นทางคดเค้ียวซึ่งมีเพียงคนขับท่ีกล้าหาญเท่านั้นที่ไม่สนใจว่าจะเกิดอะไรขึ้นกับรถของเขาท่ีจะผ่านไปยังเส้นทางนี้ ได้ สุดทางตะวันตกซึ่งปะทะกับทะเลอันดามนั คอื ชายหาดสวยงามซงึ่ โอบลอ้ มระหวา่ งแหลมหนิ สองดา้ นที่ย่นื ออกไปใน ทะเล ชายหาดนี้มีเม็ดทรายทีอ่ ่อนน่มุ ซึ่งเชญิ ชวนให้ผคู้ นไดม้ าสมั ผสั เสียแตว่ ่าไม่มใี ครอยากยา่ งกรายมาสัมผัส จนกระท่ังในปี 1970 ทีนักท่องเทย่ี งบางรายไดแ้ นะน�ำ พวกชาวประมงผวิ คล�้ำ แถบน้ันว่า แถวน้ีเปน็ สงิ่ ท่นี กั ทอ่ งเทย่ี วจะหลงรกั เหล่าชาวประมงกลับยอ้ นถามวา่ พวกนกั ทอ่ งเทย่ี วจะมาท่ีนี่ ท�ำ ไม แต่หลงั จากน้ันไมน่ าน ก็พบว่ามีการสรา้ งถนนเพือ่ เชื่อมตอ่ เสน้ ทางรอบชายหาดตอ่ เนื่อง และท่ีพักเริ่มตน้ ใน บรเิ วณนีค้ อื บงั กาโลราคาถกู สำ�หรับนักเที่ยวแบกเปท้ ้ังหลาย วนั ท่ีภูเกต็ ไดร้ บั ความนิยมเร่มิ ต้นในปี 1980 ซึง่ สายการบินแรกได้ลงจอดทส่ี นามบนิ แหง่ แรกในภูเกต็ จากเสน้ ทางบนิ ทีใ่ ห้บริการในประเทศในชว่ งแรกได้ขยายออกไปสเู่ ส้นทางตา่ งประเทศในปี 1983 เร่ิมตน้ จากสายการบนิ แอร์เลาด้า (Air Lauda) ซึง่ เปน็ สายการบนิ ยโุ รปท่ีได้บินผา่ นกรงุ เทพมาลงจอดท่สี นามบินภเู กต็ ในชว่ งปลายศตวรรษ สนาม บนิ ภูเก็ตถกู จัดให้เป็นสนามบนิ ทย่ี ุง่ ทสี่ ดุ เปน็ ลำ�ดบั สามรองจากสนามบนิ สวุ รรณภูมแิ ละสนามบนิ ดอนเมือง ตัวเลขนกั ทอ่ งเท่ียวขาเข้าในช่วงปลายปี 1970 เพ่ิมขนึ้ อยา่ งตอ่ เน่อื งเปน็ 1.3 ล้านคนในปี 1991 และในปี 2015 เพิ่มเป็น 13 ลา้ นคน เชน่ เดยี วกบั พัทยา ภูเกต็ ได้สร้างสถานที่ท่องเทย่ี วหลากหลายเพ่อื ตอบสนองต่อประสบการณข์ องนักทอ่ งเทีย่ ว แต่ส่งิ ทภ่ี เู ก็ตมีเหนือกวา่ พทั ยาคือสถานท่ีดำ�น้�ำ ทสี่ วยงามในฝ่งั ทะเลอนั ดามนั (ซ่ึงจัดอยู่ในแหล่งดำ�น้�ำ ที่สวยงามที่สุด แห่งหนงึ่ ของโลก)และยังสามารถท่องเท่ียวตามเสน้ ทางตอนเหนอื ของทะเลอันดามนั ส่มู หาสมุทรพมา่ นักท่องเทยี่ ว ยงั สามารถเป็นนักดำ�นำ�้ มือใหม่ไดโ้ ดยการสมคั รเรียนและได้รับใบรบั รองจากสถาบนั พาด้ี PADI (Professional Association of Diving Instructors) หรือสถาบัน NAUI (National Association Underwater Instructor) ภูเก็ตยังได้พลิกโฉมประวัติศาสตร์จากการเปล่ียนเรือสำ�เภาจีนที่ขนส่งถ่านหินผ่านช่องแคบมะละกาไปสู่เรือสำ�ราญ ลอ่ งจากอ�ำ เภอถลางทางตะวันออกของเกาะภูเกต็ โดยมตี ัง้ แต่ทรปิ 1 วันไปจนถึงทรปิ 4 วนั ล่องผา่ นภเู ขาหนิ ทสี่ วยงาม ของอ่าวพงั งา การท่องเที่ยวของภูเกต็ ได้เตบิ โตอยา่ งไม่มีทส่ี ิน้ สุด ในช่วงปี 1979 มจี ำ�นวนห้องพกั ของโรงแรมประมาณ 1,300 ห้อง (กว่าครง่ึ หนึ่งอยใู่ นตัวเมอื งภเู ก็ต) และมีการกอ่ สร้างเพมิ่ เตมิ อีกหลายพนั หอ้ งในชว่ งหลังจากนั้นและในปี 1994 อุตสาหกรรมการท่องเท่ียวได้แซงหน้าอุตสาหกรรมยางพาราในตัวเลขการจ้างงานซ่ึงมีจำ�นวนการจ้างงานในภาคการ ท่องเท่ียวถึง 15,968 คนหรือมีสดั ส่วนประมาณ 20% ของตลาดแรงงานท้ังหมดในเกาะภูเก็ต

สมยุ ในช่วงปี 1980 และปี 90 เป็นช่วงการเติบโตของสองสถานทที่ อ่ งเท่ยี วตากอากาศซึ่งอยทู่ างฝั่งอ่าวไทยทางตอนใต้ ของจงั หวัดสุราษฎรธ์ านี ซ่ึงมชี ่อื เรยี กว่าเกาะสมยุ ซ่งึ มีรายไดห้ ลกั จากการปลกู มะพรา้ ว ในสมัยก่อนการเดินทางไป เกาะสมุยสามารถเดินทางดว้ ยเรอื เฟอรรีข่ า้ มคืนเท่านนั้ ถนนบนเกาะมรี ะยะทางประมาณ 50 กิโลเมตรซง่ึ ว่งิ ระหวา่ ง ชายหาดต่างๆ นักทอ่ งเทยี่ วยคุ แรกเป็นพวกแบค๊ แพค (backpackers) ซ่ึงพกั ตามกระทอ่ มขนาดเล็กและทานอาหาร ทะเลท่ซี ้ือจากชาวประมงและดมื่ นำ้�มะพรา้ วจากตน้ มะพรา้ ว หาดเฉวงเปน็ หาดแรกทม่ี กี ารกอ่ สรา้ งโรงแรมและรสี อรต์ และตอ่ มาไมน่ านไดข้ ยายไปสหู่ าดอน่ื ๆตวั เลขของนกั ทอ่ งเทยี่ ว เพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็วซึ่งเป็นผลมาจากบริการเรือด่วนที่มาทดแทนเรือเฟอรรี่ข้ามคืนซึ่งย่นระยะเวลาการเดินทางได้ อย่างมาก ในปี 1989 สนามบินขนาดเลก็ ได้เปดิ บรกิ ารส�ำ หรับเทยี่ วบินระยะส้นั ในชว่ งปลายปี 1990 การทอ่ งเทย่ี ว ได้สรา้ งรายได้เป็นสดั สว่ นถงึ 30% ให้กับเกาะสมยุ เม่ือเกาะสมุยเริม่ หนาแน่นไปด้วยผ้คู น นกั ทอ่ งเที่ยวจึงย้ายไปยังเกาะพงนั ซ่งึ อยู่ใกล้กนั เกาะพงันได้เติบโตข้นึ เน่ืองจาก ชาวบ้านได้สรา้ งบงั กะโลทพี่ กั ราคาถูกจ�ำ นวนมากซึ่งสรา้ งจากตน้ ปาล์มและไมใ้ ผ่ แตอ่ ย่างไรก็ตามยงั ไดร้ บั ความนิยม สู้สมุยไม่ได้เนื่องจากการเดินทางทคี่ อ่ นขา้ งล�ำ บาก อยา่ งไรก็ตามเกาะพงนั มีช่อื เสียงในดา้ นฟลู มูนปาร์ต้ี (Full Moon Parties) และเมื่อเรอื สปีดโบท๊ ถูกนำ�มาใหบ้ ริการและมีรีสอรต์ ระดบั หรเู ปดิ ใหบ้ รกิ ารบนเกาะ ท�ำ ใหเ้ กาะพงนั ไดก้ ลาย เปน็ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วส�ำ หรบั นกั ทอ่ งเทยี่ วทม่ี รี ะดบั มากขน้ึ นอกจากนเ้ี รอื ยงั เปดิ บรกิ ารเสน้ ทางไปทางเหนอื ไปยงั เกาะเตา่ (หรือจากทางฝั่งของตวั เมืองชุมพร) ซง่ึ ได้กลายเปน็ สวรรคข์ องนกั ดำ�น้ำ� กระบี่ กระบี่อย่ทู างฝง่ั ตะวันตกของอา่ วพังงา มภี ูมิประเทศเปน็ ภูเขาหินปนู กระบีแ่ ละเกาะพพี ีเป็นสถานทีต่ ากอากาศท่ี สวยงามทสี่ ดุ ในเอเซยี เทย่ี วบนิ รายวนั ทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศเพมิ่ ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ เพอ่ื รองรบั จ�ำ นวนนกั ทอ่ งเทยี่ ว ที่เพมิ่ มากขนึ้ กระบม่ี ชี ื่อเสียงโด่งดังเมอื่ นกั ปีนผาไดค้ ้นพบผาหนิ ปูนที่หาดไร่เลยซ์ ่ึงกลายเปน็ กจิ กรรมปนี ผาที่ทา้ ทาย และมชี ื่อเสยี งระดบั โลกเกาะพีพไี ดโ้ ดง่ ดังอยา่ งมากเพราะเปน็ สถานทีถ่ า่ ยท�ำ ของฉากหลักในภาพยนตร์เรื่อง“เดอะบชี ” (The Beach) แสดงน�ำ โดยลิโอนาร์ฌด ดคิ ารป์ ิโอ (Leonardo DiCaprio) หาดใหญ่ หาดใหญ่ ตง้ั อยทู่ สี่ ดุ ปลายทางของเส้นทางรถไฟสายใตซ้ ่งึ มจี ดุ เชอ่ื มตอ่ ของรถไฟสองขบวนทใี่ ห้บรกิ ารรบั ส่งผ้โู ดยสาร ไปทางฝ่ังตะวนั ตกและตะวนั ออกของประเทศมาเลเซยี ในระยะแรก หาดใหญ่มีชอื่ เสียงในหมนู่ ักท่องเทย่ี วชายซึ่งมา เท่ียวตามสถานบันเทิงแต่เม่ือเวลาผ่านไปได้กลายเป็นเมืองท่ีมีชื่อเสียงสำ�หรับชาวมาเลเซียในด้านการช็อปป้ิงสินค้า ราคาถูก นักท่องเที่ยวต่างชาตยิ งั ไดม้ าเยอื นหาดใหญใ่ นฐานะเป็นจดุ แวะพกั ระหว่างทางไปเมอื งชายหาดทเี่ ก่าแก่ของ จงั หวัดสงขลา ภายในปี 1980 หาดใหญม่ โี รงแรม5ดาวเกดิ ขึ้นเปน็ จ�ำ นวนมาก เช่น โรงแรมเพรสซเิ ดนท์ (President) โรงแรมเมโทร (Metro) โรงแรมแหลมทอง (Laemthong) โรงแรมยงดี (Yongdee) โรงแรมรถไฟ (Train) โรงแรม คิงส์ (King) และโรงแรมสมิหลา (Samila)

เชยี งใหม่ ในขณะทอ่ี ยธุ ยามีระยะทางทใ่ี กลจ้ ากการเดินทางจากกรงุ เทพ ส่วนสโุ ขทัยจะมีการเดนิ ทางทใ่ี ชเ้ วลานานกวา่ โดยทาง รถไฟผ่านทางจงั หวดั พิษณโุ ลกขนึ้ เหนือไปจนสุดแม่นำ�้ เจ้าพระยา เม่ือการสรา้ งถนนเสร็จสน้ิ สโุ ขทัยและเมอื ง ศรสี ัชนาลยั ได้กลายเป็นแหล่งท่องเทยี่ ว การกอ่ สร้างเส้นทางรถไฟไปเชยี งใหมไ่ ด้แลว้ เสรจ็ ในปี 1922 ซงึ่ สามารถขนส่งผโู้ ดยสารมาสเู่ มอื งทางเหนอื แต่มคี นไทย จ�ำ นวนน้อยที่เดินทางมาท่องเทีย่ ว ส่วนใหญ่แล้วพวกเขาจะเดนิ ทางมาทางเหนอื เพ่อื มาสกั การะสถานทีส่ ำ�คญั ของ เมอื งซ่งึ มีช่อื เสยี ง จนกระท่งั ปี 1961 ได้มีการก่อสรา้ งสถานท่ตี ากอากาศของราชวงศ์ขนึ้ ทตี่ �ำ หนักภูพงิ ศร์ าชนเิ วศน์ บนดอยสุเทพ ซึ่งเปน็ สถานทห่ี ลกั ในการพฒั นาโครงการพระราชดำ�รหิ ลากหลายโครงการให้กับกลมุ่ ชาวเขาและคน ไทยตามหมบู่ า้ นต่างๆ นักเดินทางคนแรกทบ่ี นั ทึกการเดินทางมาทเี่ ชยี งใหม่คอื ราล์ฟ ฟติ ช์ (Ralph Fitch) ในปี 1587 ซงึ่ ในจดหมายเหตุ การเดินทางของราล์ฟ ฟติ ช์ ตอนที่2 ปี 1625 บรรยายเชยี งใหมว่ ่า “ เชียงใหม่เปน็ เมอื งท่ีสวยงามและย่ิงใหญม่ าก มีเรอื นที่งดงามสรา้ งด้วยหนิ ชาวเมอื งมคี วามเปน็ อยู่ดี ถนนกว้างขวางมาก ผู้ชายรูปร่างกำ�ยำ� แลดูแข็งแรง มีเครอื่ ง นุ่งห่ม แตไ่ ม่สวมหมวกและเดินเท้าเปลา่ เพราะชาวเมอื งนี้ไมส่ วมรองเทา้ กนั ส่วนผหู้ ญิงก็งดงาม ผวิ ขาวละเอียดกวา่ หญิงชาวเมืองพะโค (พมา่ ) มากทเี ดียว” มบี นั ทึกการเดินทางต่อมาๆท่กี ล่าวถงึ เมอื งเชียงใหม่จนกระทง่ั การเขา้ มาของรอย ฮดั สนั (Roy Hudson)ในปี 1945 ซง่ึ ไดเ้ ขยี นคมู่ ือท่องเท่ยี วเชียงใหมฉ่ บับแรกไมน่ านหลังจากท่เี ขาไดป้ กั หลักถาวรทเ่ี ชยี งใหมใ่ นปี 1959 ในปี 1960 นักเดินทางได้เริม่ เข้ามาทีป่ ระตูเมืองและคเู มืองเชียงใหม่ ในปี 1970 การเดินทางโดยเครื่องบินได้ ท�ำ ให้เชยี งใหม่เปดิ สูโ่ ลกภายนอกมากขนึ้ “กุหลาบเมอื งเหนือ” คอื สมญานามแห่งเชียงใหม่ เมอื งแหง่ ส่วนหนึ่งของ เทือกเขาหมิ าลยั ซึ่งอากาศเยน็ สบายพรอ้ มต้อนรบั นกั ทอ่ งเที่ยวให้ไดพ้ กั ผ่อนคลายร้อนจากกรงุ เทพ นกั ทอ่ งเที่ยวยังได้ เพลินเพลนิ กับสถานทที่ อ่ งเท่ยี วหลากหลายท่มี ใี หเ้ ลือกสรร กว่า800ปี ทเ่ี มอื งเชยี งใหม่ถือเป็นหนึ่งราชอาณาจกั รทีแ่ ยกออกจากราชอาณาจกั รไทยและเพิ่งเขา้ มารวมเปน็ สว่ นหน่ึง ของราชอาณาจกั รไทยเมอ่ื ปี 1938 เชยี งใหม่ตง้ั อยู่ในเขตเทือกเขาสงู มีภมู ิอากาศที่เยน็ สบายซึ่งเป็นจดุ ดงึ ดดู สำ�คัญ นอกจากนีย้ งั เป็นเมอื งท่เี กา่ แก่ทางประวัตศิ าสตร์ ภายในตวั เมอื งมีก�ำ แพงอฐิ โบราณยาวหนง่ึ กิโลเมตรลอ้ มรอบคูน�้ำ ซึ่งภายในบรเิ วณคเู มืองนค้ี อื วดั วาอารามเกา่ แกท่ ีง่ ดงามและมีเอกลักษณ์ ถนนภายในตวั เมืองเป็นถนนเสน้ เล็กๆซง่ึ มชี ้างเดนิ ไปมาอยภู่ ายใน วัดพระธาตุดอยสุเทพทีส่ วยงามซ่ึงตงั้ อยบู่ นเนินเขาทางทิศตะวันตกของแมร่ มิ เป็นสถานท่ี ท่สี ามารถชมววิ ทวิ ทัศนข์ องตวั เมอื งได้อยา่ งสวยงาม ในปี 1965 ฮดั สนั ไดบ้ ันทึกไว้ว่า “ท่าแพเปน็ ศนู ยก์ ลางของจังหวดั เชยี งใหม่ นกั ท่องเท่ยี วสามารถเพลิดเพลนิ กบั การ เท่ยี วชมวดั วาอารามซ่งึ มีความหลากหลายทางสถาปัตยกรรมที่ผสมผสานของทัง้ ลาวและพมา่ เชน่ วัดช้างมั่น วัดพระ สงิ ห์วัดเจดยี ์หลวง วดั สวนดอก วัดเจดยี เ์ หล่ียม และอนื่ ๆ อีกมากมายท่ีงดงามอีกมากมาย

ททท. ไดเ้ ห็นศักยภาพของเชียงใหมใ่ นการเป็นเมืองท่องเที่ยวอนั ดบั สองรองจากกรงุ เทพ ในปี 1960 โรงแรมสามถงึ หา้ ดาวหลายแห่งได้ถูกสร้างขึ้นในเชยี งใหม่ เช่น โรงแรมรถไฟ โรงแรมสุริวงศ์ ททท.ยังได้เปิดส�ำ นกั งานท่ีเชยี งใหม่ข้ึน ในปี 1968 เพอื่ สนบั สนุนการเตบิ โตของการทอ่ งเท่ียวในเชียงใหม่ ในปี 1970 เชียงใหม่ได้เป็นเจ้าภาพจดั งานประชมุ พาตา้ (PATA conference) ความนยิ มของเมอื งเชียงใหม่ยงั ได้เปิดประตูไปสเู่ มอื งอน่ื ๆในภาคเหนือ เชน่ เชยี งราย ล�ำ ปาง ลำ�พนู และแม่ฮ่องสอน เชยี งใหม่ถูกยกย่องให้เปน็ ศนู ย์กลางทางวัฒนธรรมของประเทศไทย เมืองท่ีมชี า่ งฝมี อื มากมายผแู้ กะสลกั รูปปั้นและ พระพทุ ธรูปทง่ี ดงาม และยงั มผี ลติ ภัณฑเ์ ครอื่ งเงิน เคร่ืองเขนิ ท่มี ีชื่อเสยี งทถ่ี นนวัวลาย เคร่ืองถมโบราณรวมถึงเคร่อื ง ผลิตภัณฑ์พอร์ตสเลน (porcelain)และเซรามคิ ในเชยี งใหม่ลว้ นดงึ ดดู บรรดาผู้ซอื้ และนักสะสม ผลิตภณั ฑ์ผ้าไหมไทย ผา้ ฝ้ายและชุดตดั เยบ็ สำ�เร็จยังไดร้ บั ความสนใจจากบรรดานักช็อปปิง้ เชน่ กนั นกั ท่องเทีย่ วยังสามารถแวะเวยี นไปซอ้ื ผลิตภัณฑ์หัตถกรรมอย่างร่มที่ทำ�จากกระดาษสาที่สามารถเพนท์ลวดลายลงไปได้และพัดไม้ไผ่ที่อำ�เภอบ่อสร้างห่าง จากตัวเมือง 12 กโิ ลเมตร ทรปิ ไปดอยสเุ ทพถอื วา่ เปน็ ทรปิ ทเี่ หมาะกบั นกั ทอ่ งเทย่ี วขาลยุ วดั พระธาตดุ อยสเุ ทพทอ่ี ยบู่ นยอดเขาเปดิ ใหน้ กั ทอ่ งเทย่ี ว เย่ยี มชมและด่ืมด่ำ�กับทวิ ทัศน์ทสี่ วยงามของตัวเมืองด้านลา่ ง ภายในบริเวณน้นั นกั ท่องเท่ียวสามารถรับฟงั เสียงสวด มนตจ์ ากพระสงฒส์ ลบั กบั เสยี งระฆงั ทดี่ งั กอ้ งกงั วานทว่ั บรเิ วณ นกั ทอ่ งเทย่ี วหลายคนยงั เดนิ ทางตอ่ ไปยงั หมบู่ า้ นชาวเขา และสวนดอกฮอลลี่ฮอ็ ค (hollyhocks)ท่ีดอยปุย พร้อมแวะเทีย่ วทพี่ ระตำ�หนักฤดรู ้อนภพู งิ คราชนิเวศน์ สองสง่ิ ท่พี ลาดไมไ่ ด้ส�ำ หรบั การทอ่ งเท่ียวทางเหนอื คือหมู่บ้านชาวเขาและการขีช่ า้ ง นักท่องเท่ยี วสามารถถ่ายรูปในชดุ เครอ่ื งแตง่ กายชาวเขาและในปี 1970 สามารถท่ีจะพักค้างคนื และชมิ อาหารพน้ื บ้านของชาวเขาทางเหนอื ของแมน่ ้ำ�กก ซ่ึงมจี ำ�นวน6ชนเผ่า เปน็ ระยะเวลากวา่ 80 ปที ่ีชา้ งได้ถกู ใชเ้ ปน็ พาหนะขนสนิ คา้ จากทางปา่ ทางภาคเหนอื จนมาสู่ กรุงเทพ ผปู้ ระกอบการทอ่ งเที่ยวเล็งเหน็ แลว้ วา่ นกั ท่องเทีย่ วจะตอ้ งเพลิดเพลนิ กบั การน่งั บนหลงั ชา้ งเพือ่ รับชมววิ หรอื รบั ชมการแสดงทักษะความสามารถตา่ งๆ เช่น การลากซูง ในบรเิ วณป่าทางเหนอื ในปี 1978 มบี ริษทั ท่องเทีย่ วเดินป่าทจี่ ดทะเบยี นถึง 14 แห่งและอกี จ�ำ นวนหนง่ึ ท่ีไมไ่ ดจ้ ดทะเบยี น ในปี 1993 ตวั เลขนเี้ พิ่มขึน้ ไปถงึ 120 แห่งและคาดวา่ จะแตะ 200 แหง่ ในปี 2015 ในปี 1990 อำ�เภอแมส่ ะเรียงและจังหวัด แม่ฮ่องสอนทางตะวันตกและอำ�เภอปายซ่ึงอยู่ระหว่างกลางและเชียงใหม่ได้กลายเป็นสถานทีท่องเท่ียวท่ีได้รับความ นิยมในหมูน่ กั ทอ่ งเที่ยวแบ๊คแพค (backpackers.) ในปี 1990 มกี ารเปิดเสน้ ทางบินไปแมฮ่ อ่ งสอนและอ�ำ เภอปาย รวมถึงการกอ่ สรา้ งโรงแรมและบงั กะโลหรูเพ่ือรองรับนกั ท่องเทีย่ วระดับบน ดว้ ยเอกลกั ษณ์ทางวัฒนธรรมทโ่ี ดดเดน่ ทางภาคเหนอื ในด้านอาหารและศิลปวฒั นธรรม นักทอ่ งเที่ยวสามารถรบั ประทานอาหารในแบบขันโตกพรอ้ มรบั ชม การแสดงฟ้อนเล็บและฟอ้ นเทยี น แม่ฮ่องสอนและปาย ในชว่ งต้นศตวรรษท่ี 20 จงั หวัดแม่ฮ่องสอนซ่ึงอยู่ตดิ ชายแดนพมา่ เปน็ จังหวดั หนึง่ ทีถ่ ือวา่ ทรุ กนั ดารและอยูห่ ่างไกล ที่สดุ แหงห่ นึ่งในประเทศ ในสมัยกอ่ นได้รับการขนานนามว่าเปน็ ไซบเี รียของเมอื งไทยซึ่งข้าราชการผู้กระท�ำ ผิดจะถูกส่ง ไปประจำ�การทนั่ ี่เป็นระยะเวลานาน การก่อสรา้ งถนนและการเปดิ เส้นทางบนิ ท�ำ ใหแ้ ม่ฮ่องสอนกลายเปน็ หนึ่งในเมอื ง

ทอ่ งเทยี่ วทภี่ มู ิทัศน์ทส่ี วยงามและวดั สไตลพ์ มา่ ซ่งึ เหมาะแกก่ ารทอ่ งเที่ยวทางวฒั นธรรม นักทอ่ งเทีย่ ววัยรนุ่ สามารถ ทอ่ งเท่ยี วเดนิ ปา่ ในบรเิ วณเทือกเขาแถบนี้ ระหวา่ งทางไปแม่ฮอ่ งสอนคืออ�ำ เภอปายซงึ่ เรม่ิ เป็นที่ร้จู ักในปี 1980 ในปี 1986 ทพี่ ักรองรับแขกไดป้ ระมาณ 30 คน (มีหอ้ งพักทง้ั หมดแค่ 260 ห้องทัว่ ทง้ั จังหวดั ) แตภ่ ายหลังไมน่ านไดม้ ี โรงแรมบตู ิกและบงั กะโลผุดข้นึ มากมาย ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื คืออดตี ฐานทพั ของเหล่าทหารจไี อ (GIs) ทมี่ าตงั้ ฐานทัพอากาศอย่ทู ่จี งั หวัดอดุ รธานี โคราช นครปฐมและอุบลราชธานีรวมท้งั สนามบนิ อู่ตะเภาทางตอนใต้ของพทั ยา หลังจากสิ้นสุดสงครามเวียดนาม ใน ปี 1975 จำ�นวนผูม้ าเยอื นได้ลดนอ้ ยลง แต่ทหารจไี อท่ีถอนทพั ออกไปในไม่ช้าไดถ้ กู แทนท่ดี ้วยนักทอ่ งเทย่ี วชาวไทย และนักทอ่ งเที่ยวตา่ งชาติในเวลาตอ่ มา การพฒั นาเส้นทางถนนได้ขบั เคลื่อนการพัฒนาอย่างรวดเรว็ อยา่ งไรกต็ าม การเตบิ โตของภมู ภิ าคน้ยี ังเป็นไปอยา่ งช้าๆหากเทยี บกับภมู ิภาคอน่ื ในประเทศไทย แตแ่ หล่งทอ่ งเทีย่ วทีม่ เี อกลักษณ์ ของภาคนไี้ ด้เปน็ อกี หนึง่ ตวั เลือกท่ีน่าสนใจไมแ่ พภ้ าคอ่นื ถึงแม้ทส่ี ุรนิ ทร์จะเริ่มมคี วามนิยมในการทอ่ งเทีย่ วขชี่ า้ ง แต่การพัฒนาดา้ นการท่องเท่ยี วยงั คงเป็นไปอยา่ งช้าเป็นเวลา หลายปี เปน็ เวลาหลายทศวรรษกวา่ นกั ท่องเท่ียวจะร้จู ักประเพณีบุญบั้งไฟในจงั หวดั ยโสธรซงึ่ ใช้บอ้ งไม้ไผ่ผสมดนิ ปนื และจดุ ไฟเพ่ือใหพ้ งุ่ ขึน้ ส่อู ากาศเพ่อื บชู าพระเจา้ ใหด้ ลบนั ดาลให้ฝนตกในฤดกู ารเพาะปลกู อีกประเพณีซ่ึงไมค่ ่อยเปน็ ทร่ี จู้ ัก คอื ประเพณีวิ่งควายในจังหวดั ชลบรุ ซี ึง่ ชาวบา้ นผขู้ ี่ควายจะทำ�การบงั คับควายให้วิง่ เขา้ เส้นชยั และบ่อยคร้งั ท่ีเลย เส้นชัยหรอื เขา้ ไปยังบ้านที่อยู่ถดั ไป นอกจากนี้ยังมีประเพณผี ตี าโขนซึง่ จัดข้ึนในจงั หวดั เลยโดยมกี ารแต่งกายและใส่ หน้ากากทมี่ ีสสี ันเพ่ือบชู าวิญญาณบรรพชน แม้กระทัง่ ประเพณแี ข่งขนั เรือยาวท่จี ังหวัดนา่ นและจังหวัดพจิ ติ รยงั ไม่ สามารถดึงดดู นักท่องเทย่ี วไดจ้ นกระทั่งปลายปี 1970 ภายหลังประเพณีน้ีไดม้ กี ารจัดแขง่ ขันขึ้นในหลายจงั หวัดดว้ ยกนั แหลง่ มรดกโลกทางวัฒนธรรมหลายแหง่ ในประเทศไทยได้กลายเป็นที่รจู้ ักในเวลาต่อมา ปญั หาของการพฒั นาในช่วง แรกคือการเข้าถึงซงึ่ สถานทเี่ หลา่ น้ลี ว้ นมีอุปสรรคทางด้านการเดนิ ทาง ประเทศไทยมีแหล่งมรดกโลกท่ีไดร้ ับการข้ึน ทะเบยี นจากยเู นสโก (UNESCO) ถึง 5 แห่ง ไดแ้ ก่ นครประวัติศาสตร์พระนครศรอี ยธุ ยา เมอื งประวัติศาสตรส์ ุโขทยั แหลง่ โบราณคดบี ้านเชียงและสองแหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ (ผนื ป่าดงพญาเย็น-เขาใหญแ่ ละเขตรักษาพันธ์สุ ัตว์ ปา่ ท่งุ ใหญ่-หว้ ยขาแข้ง) บ้านเชียงแหล่งโบราณคดีในยุคสำ�ริดซึ่งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยซึ่งค่อนข้างเดินทางง่ายแต่ยังขาดสิ่ง อำ�นวยความสะดวกพน้ื ฐาน นอกจากน้ียังมีปราสาทหนิ ในสถาปัตยกรรมเขมร คอื ปราสาทหนิ พิมายและปราสาทหนิ พนมรุ้ง (ได้รบั การเสนอช่อื จากองคก์ รยูเนสโก้)และอกี หลายแห่ง ในปัจจบุ นั สถานทเี่ หล่าน้สี ามารถเดนิ ทางได้อยา่ ง สะดวกจากตวั เมืองและมีที่พกั พรอ้ มสง่ิ อ�ำ นวยความสะดวก ในชว่ งหลายปีทผ่ี ่านมา ความเจริญ การศกึ ษาและทักษะดา้ นการสือ่ สารภาษาอังกฤษได้ขยายตัวขน้ึ ในประเทศแถบ อาเซียนและประเทศไทยซ่ึงเป็นประเทศเจ้าบ้านที่เปิดรับกลุ่มนักท่องเท่ียวซึ่งอาจจะไม่เคยท่องเท่ียวต่างประเทศมา ก่อน พวกเขาเดนิ ทางมาไมใ่ ช่เฉพาะอาหาร การตอ้ นรับท่อี บอุ่นหรือวิถีชีวติ ของผคู้ นแต่ยังถูกดงึ ดูดด้วยแหลง่ มรดกโลก ดว้ ยความรสู้ กึ ทอ่ี ยากซมึ ซบั ทางวฒั นธรรม ในชว่ งปลายศตวรรษนกั ทอ่ งเทย่ี วกลมุ่ นเ้ี ปน็ กลมุ่ ทม่ี จี �ำ นวนเพม่ิ ขน้ึ อยา่ งมาก

การทอ่ งเทย่ี วภายในประเทศ ควบคูก่ ับจำ�นวนนักท่องเทีย่ วตา่ งชาติที่เพิม่ ข้ึน นกั ท่องเท่ียวชาวไทยไดเ้ ร่ิมที่จะสมั ผสั กับความสวยงามทางธรรมชาติ และวัฒนธรรมในประเทศของตน กลุ่มนี้ไดเ้ พ่ิมจ�ำ นวนอยา่ งชา้ แต่ในเวลาเพียงไมน่ านไดก้ ลายเป็นกลมุ่ สำ�คญั ท่สี ร้าง รายไดห้ ลักให้กับการท่องเท่ียว ทั้งน้ีความชอบและเหตผุ ลของการทอ่ งเทยี่ วแตกต่างกันอย่างมาก ชาวไทยในกรุงเทพและชาวต่างชาตทิ เ่ี ดนิ ทางทอ่ งเทีย่ วในเมืองอื่นได้มีประวตั ิศาสตรอ์ ยา่ งยาวนานในประเทศไทย ใน ยุคแรกโอกาสการทอ่ งเท่ียวจะจำ�กัดเฉพาะคนไทยทีอ่ ยู่ในราชวงศ์ ในศตวรรษที่ 17 สมัยอยธุ ยาไดม้ ีการลอ่ งเรือ เพื่อแปรพระราชฐานและประทับท่ีพระราชวังในจงั หวัดลพบรุ ี ในช่วงปลายศตวรรษท่ี 19 ชาวกรุงเทพไดล้ ่องเรอื และหลังจากการกอ่ สร้างทางรถไฟเสร็จสน้ิ ในปี 1894 ได้น่ังรถไฟไปท่ีพระราชวังบางปะอนิ ซง่ึ มคี วามผสมผสานของ สถาปัตยกรรมจนี ยโุ รปและไทย ในชว่ งการเปล่ยี นผา่ นเข้าสูศ่ ตวรรษท่ี 20 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอย่หู วั (ครองราชย์ปี 1868-1910) โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้างพระทนี่ ั่งวมิ านเมฆเพ่ือเป็นสถานท่ปี ระทบั ในบรเิ วณถนนราชด�ำ เนนิ นอกทางเหนอื ของกรุงเทพ พระองค์ยงั ทรงโปรดเกลา้ ฯให้สร้างสถานทปี่ ระทบั อีกแหง่ ทีบ่ ริเวณอ่าวไทยในเกาะสีชงั ในชว่ งศตวรรษที่ 19 เกาะแห่ง น้ยี งั ถูกใชใ้ ห้เปน็ ท่าเรือศุลกากรและแหล่งท่องเทยี่ ว ในสว่ นของพระราชวังยังคงอยู่ พธิ เี ปดิ เส้นทางรถไฟระยะทาง 21.3 กิโลเมตรในวันที่ 11 เมษายน 1893 เส้นทางจากสถานหี ัวลำ�โพงกรงุ เทพไปยงั ปากน้ำ�ทางตอนบนของอา่ วไทย ทำ�ใหค้ นไทยท่ีไม่ไดอ้ ย่ใู นราชวงศส์ ามารถเรมิ่ เดินทางทอ่ งเทยี่ วพกั ผ่อนหลบร้อนใน ช่วงฤดูร้อนได้ หลายคนไดล้ อ่ งเรอื ไปยงั เกาะศรรี าชาหรือเกาะสชี งั อา่ งศลิ า และเกาะอ่ืนๆเพ่ือเพลิดเพลินกับลมทะเล นักท่องเท่ียวบางกลุ่มยังได้ล่องเรือต่อไปทางตะวันออกเฉียงใต้ไปยังชายฝ่ังด้านกัมพูชาในบริเวณเมืองจันทบูร (จนั ทบุร)ี ในปี 1900 บริษัทสยามสตรีมแพคเกท (Siam Steam Packet Company) ได้ใหบ้ ริการเรอื กลไฟสดุ หรูจ�ำ นวน 42 ลำ�ท่ีรับสง่ ผูโ้ ดยสารระหว่างเมอื งและจังหวัดตา่ งๆตามเสน้ ทางแมน่ �ำ้ เจ้าพระยา แมน่ �้ำ แมก่ ลองและแม่น�ำ้ โขง ใน ปี 1906 เรือยนตข์ องบรษิ ัทแม่นำ�้ มอเตอรโ์ บ๊ท (Menam Motorboatฉ จำ�นวน 12 ล�ำ ได้รบั ส่งผู้โดยสารในเส้น ทางแม่นำ้�สามสายหลกั และคลองต่างๆ และทที่ ่าเรือไดม้ สี ถานีเช่ือมตอ่ กับรถราง การสรา้ งถนนไดท้ ำ�ให้บรษิ ัทได้ปิด กิจการลงไปในปี 1940 หลงั จากบางแสน พระราชวงั ตากอากาศชายทะเลท่เี ป็นที่ประทบั ถัดมาคอื พระราชวังไกลกงั วลในหัวหนิ ซง่ึ สร้างเสรจ็ ในปี 1927 เปน็ สถานท่ีในการแปรพระราชฐานของพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยู่หัว (ครองราชย์ปี 1925- 1935) ในชว่ งการปฏิวัติการปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสิทธริ าชย์มาเปน็ ระบอบราชาธิปไตยภายใตร้ ัฐธรรมนญู ระหวา่ งทาง รถไฟได้จอดท่ีสถานเี พชรบุรีซงึ่ ชาวไทยและชาวต่างชาตสิ ามารถเดนิ ข้ึนไปบนเนินเขาสูงของเขาวงั สถาน ที่แห่งน้คี ือพระราชวงั ฤดูรอ้ นของพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอย่หู ัว (ครองราชยป์ ี 1851-1868) ซึง่ มีตน้ ลลี าวดี กล่นิ หอมปลูกเรียงราย สดุ ปลายผาคอื สถานทด่ี ูดาวซึ่งสามารถมองเหน็ ทัศนียภาพทส่ี วยงามของตน้ ปาลม์ นาข้าวและ อ่าวทางทิศตะวนั ตก

หลงั จากทท่ี างหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 - สว่ นต่อขยายของถนนสขุ ุมวิท – ได้สร้างเสร็จในปี 1950 ไดม้ ีบริการรถบัส จากสถานีขนสง่ ภาคตะวนั ออกทซี่ อยเอกมยั ในกรุงเทพมาที่หาดบางแสน ทน่ี ่นั ททท.ได้สร้างโรงแรมชายทะเลข้นึ ช่ือ บางแสน บีช รสี อรท์ (Bang Saen Beach Resort) ซึง่ ตอ่ มาไดก้ ลายเปน็ บางแสน เฮอรเิ ทจ โฮเต็ล (Bangsaen Heritage Hotel) ซง่ึ คนไทยนยิ มไปพกั ผอ่ นเล่นน้ำ�ที่ชายทะเลอ่าวไทยและใช้ผ้าคลมุ ปอ้ งกันความรอ้ นจากแสงแดดท่ี เผาผวิ หนงั สำ�หรบั คนไทยส่วนใหญใ่ นช่วง 1960 การทอ่ งเทีย่ วในตา่ งจงั หวดั คอื การเชา่ รถบัสไปกบั กลมุ่ เพ่อื นเพ่ือไปทอ่ งเท่ยี ว ตามน้ำ�ตกหรือวัดใกล้เคยี งในจังหวดั นครนายกทางตอนใตข้ องอทุ ยานแห่งชาตเิ ขาใหญ่ ในศตวรรษที่ 21 วันหยุด สำ�หรบั คนไทยคือ การออกไปเผชญิ กบั การจราจรในชว่ งสงกรานต์ วนั ปใี หม่ วนั ตรุษจีนเพอ่ื กลบั ไปเย่ยี มเยียนบา้ น เกิดในช่วงเวลาส้ันๆ ตัง้ แตส่ มัยโบราณ เหตุผลด้านการท่องเทยี่ วในตา่ งเมอื ง หมายถึง (และยังคงเปน็ จนถงึ ทกุ วันน)้ี การสกั การะทาง ศาสนาและการทำ�บญุ ในวัดไทยทม่ี ชี ือ่ เสยี ง ซง่ึ มกี ารค้างคนื วดั หรอื ท่ีบา้ นเพ่อื นหรอื ญาติพีน่ อ้ ง โรงแรมในชว่ งกลางยคุ 60 ยังถูกมองในดา้ นลบและเปน็ สถานทีท่ ไี่ มเ่ หมาะสมต่อการค้างคืน ภาพลักษณ์โรงแรมราคาถกู ยงั คงเชือ่ มโยงไปกบั สถานทซ่ี ึง่ มีบริการโสเภณีเข้ามาเกีย่ วขอ้ ง ในปี 1980 ถนนและทางเลอื กในการเดนิ ทางไดพ้ ัฒนาขน้ึ เปน็ อยา่ งมาก คนไทยชนช้นั กลางมีจ�ำ นวนเพิ่มมากขน้ึ จาก 310,000 คนในปี 1985 มาเป็น 710,000 คนในปี 1994 ซึง่ 61% ของกลมุ่ คนจำ�นวนนมี้ ีรายไดม้ ากกว่า 20,000 บาทตอ่ เดือน ดว้ ยการเพ่ิมขึน้ ทางดา้ นรายได้ คนไทยในเมอื งสามารถทจี่ ะซ้ือรถยนต์มาในครอบครองได้ การพัฒนา ถนน น�้ำ ประปา ไฟฟ้าและโทรคมนาคมทำ�ใหเ้ กิดการกระตนุ้ ทางการทอ่ งเที่ยว ในปี 1996 คนไทย 42.5 ลา้ นคนได้ เดินทางทอ่ งเทีย่ วในต่างจังหวัด จุดหมายปลายทางและความต้องการของพวกเขาไดเ้ ปล่ยี นแปลงไป จดุ หมายปลายทางการท่องเท่ยี วภายในประเทศ ท่ีพวกเขาชนื่ ชอบคอื เกาะพพี ี (ธรรมชาตแิ ละอากาศทีด่ )ี อุทยานแหง่ ชาติเขาใหญ่ (เหมาะแก่การพักผอ่ น การเดนิ เลน่ อากาศเยน็ สบาย วิวทวิ ทัศนท์ ่สี วยงาม; ภายในสองทศวรรษพวกเขาไดซ้ ื้อบ้านตากอากาศบนเขาใหญ)่ และแม่ฮอ่ งสอน (บรรยากาศแบบชนบท ความวุน่ วายนอ้ ย) นอกจากนี้ยงั มีพทั ยา ภูเกต็ ประจวบครี ีขันธ์ ชลบรุ ีแล ระยอง การเกิดข้ึนของกลุ่มนกั ทอ่ งเท่ียวชนชน้ั กลางมผี ลกระทบท่สี ำ�คัญตอ่ อตุ สาหกรรมโรงแรม ในขณะที่บางกลมุ่ ชอบพัก ในโรงแรมนานาชาติสไตล์ตะวันตก แต่มนี กั ทอ่ งเทยี่ วจ�ำ นวนเพ่ิมข้ึนท่ีชอบพักในแบบท่พี กั ขนาดเล็ก มีลกั ษณะแบบ “ไทย” ภายใต้ดีไซนแ์ บบพนื้ เมืองและมเี อกลกั ษณ์การตกแต่งทเ่ี ฉพาะไมซ่ ้ำ�แบบใคร โรงแรมแต่ละแหง่ ได้พยายาม สร้างความแตกต่างจากการบริหารในรปู แบบของสาขาแบบอินเตอร์ไปเปน็ ลักษณะเฉพาะแบบไทยแท้ นกั ทอ่ งเทย่ี วไทยไดม้ ีความต้องการมากขึน้ ความต้องการท่ีส�ำ คญั ของพวกเขาคือบริการท่รี วดเรว็ ในการเชค็ อิน ร้าน อาหารท่ดี ี สงิ่ อำ�นวยความสะดวกที่สะอาด สถานทตี่ ้งั ดี – อยใู่ นยา่ นตวั เมอื งหรือใกลก้ บั สถานทที่ ่องเท่ียวท่มี ชี อื่ เสียง (หรอื ง่ายต่อการเดินทางไปยงั จุดสำ�คัญ) การเดนิ ทางท่สี ะดวก มบี รกิ ารท่ีเก่ยี วกับวัฒนธรรมภายในโรงแรม พนักงาน บริการท่ใี หข้ อ้ มูลทีถ่ กู ต้องและมีกิจกรรมภายในโรงแรม

การท่องเทีย่ วต่างประเทศของคนไทยในยคุ แรกแทบจะเกย่ี วขอ้ งกับการช็อปป้ิงทงั้ หมด ภายหลงั เปน็ เรือ่ งทางศาสนา และการเยอื นสถานทสี่ ำ�คญั ทางพุทธศาสนาในประเทศอินเดยี มีเพยี งทศวรรษทีแ่ ลว้ ทแี่ หล่งทอ่ งเที่ยวทางวฒั นธรรม ในตา่ งประเทศได้รบั ความนยิ มมากขึ้น ในช่วงไมก่ ี่ปที ี่ผา่ นมา คนไทยโดยเฉพาะวยั รุ่นได้เร่ิมออกมาสัมผัสกับความงามตามธรรมชาติของประเทศตนเอง ในปี 1990 พวกเขาไดเ้ ดนิ ทางไปยังอทุ ยานแห่งชาตเิ พื่อเดินป่าและตัง้ แคมป์ อุทยานแหง่ ชาตทิ ี่ไดร้ ับความนิยมสามแห่ง คือ อทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาใหญ่ อทุ ยานแหง่ ชาตภิ กู ระดึง อุทยานแหง่ ชาตหิ ว้ ยนำ�้ ดงั และแกง่ กระจาน ปรากฎการณใ์ หมค่ ือ การเกดิ ขึน้ ของกฬี าผจญภัย เช่น การลอ่ งแพ การปนี เขา หนึง่ ในกิจกรรมทไี่ ดร้ บั ความสนใจจากทุกกลมุ่ และไมใ่ ช่ เฉพาะผชู้ าย คอื การปน่ั จักรยานทางไกลและการว่ิงมาราธอน ในกลุม่ ของชนชัน้ กลางในเมืองและชนชนั้ สงู การทอ่ งเทย่ี วในประเทศไดข้ ยายตัวข้ึนอยา่ งมากดว้ ยการแพร่หลายของ รถมอเตอร์ไซด์ การซื้อบา้ นหลังท่ีสองในชนบทที่ห่างไกลและการทอ่ งเท่ียวต่างประเทศเป็นแนวโน้มของการท่องเทีย่ ว สมยั ใหมข่ องกล่มุ คนเหล่าน้ี ในเวลาเดยี วกันในปี 2014 ตัวเลขนักทอ่ งเที่ยวไทยท่เี ดนิ ทางออกไปท่องเท่ยี วตา่ งประเทศ มีจำ�นวนถงึ 6.61 ลา้ นคน มวยไทย เปน็ เวลายาวนานท่ีมวยไทย ศิลปะการต่อสู้ของไทย ไดเ้ ปน็ ท่ีรจู้ กั เฉพาะในเมืองไทย ในปี 1960 คณะทวั ร์ เรม่ิ ที่จะพาลูกคา้ มาชมการแขง่ ขนั มวยในกรุงเทพและพบว่าลกู คา้ ใหค้ วามสนใจเปน็ อย่างมาก ความนิยมใน หมนู่ กั ท่องเทย่ี วเปน็ จดุ เร่ิมต้นทท่ี �ำ ใหม้ วยไทยเปน็ ทีร่ ้จู ักในตา่ งประเทศ ในปี 1970 มวยไทยได้เดนิ ทางไป แขง่ ขันทีส่ นามแข่งขนั ในประเทศญีป่ ุ่น ซงึ่ ทำ�ใหน้ กั ทอ่ งเทยี่ วญีป่ นุ่ ไดเ้ ดินทางเข้ามาในไทยเพือ่ มาสมั ผัสกับ การแขง่ ขนั มวยไทยจากประเทศตน้ กำ�เนดิ หลงั จากนนั้ เร่ิมขยายไปสูป่ ระเทศอืน่ ๆและภายในปี 1990 ไดเ้ ปน็ ท่ีร้จู กั แพร่หลายทั่วโลก ในช่วงของปลายศตวรรษ ชาวตา่ งชาตทิ ี่เดนิ ทางเขา้ มาในประเทศไทยและอยเู่ วลา นานไดล้ งเรยี นวชิ ามวยไทย หลายคนไดล้ งแข่งขนั ทสี่ นามมวยในประเทศไทยและในต่างประเทศ ความนยิ ม ของมวยไทยในสายตาของนกั ทอ่ งเท่ยี วมาจากความสวยงามของการเคล่อื นไหวทางรา่ งกาย จงั หวะดนตรี ที่บรรเลงพร้อมกับการต่อสู้และพิธีไหว้ครูตามโบราณประเพณีก่อนเริ่มแข่ง การพนันมวยเป็นเรื่องที่ถูก กฎหมายและบอ่ ยครัง้ การกอ่ สรา้ งสนามมวยแห่งแรก คอื สนามมวยราชด�ำ เนนิ ซ่ึงเริม่ การก่อสร้างในปี 1941 แตไ่ ดห้ ยุดชะงักไปจนกระท่ังชว่ งหลังสงครามในปี 1945 อย่างไรกต็ าม สนามมวยแบบกลางแจง้ น้ี ไมค่ อ่ ยไดร้ ับความนยิ มเท่าไหร่เน่ืองจากผชู้ มตอ้ งนง่ั ตากแดดโดยไม่มีทีก่ ำ�บงั การดำ�เนนิ งานไดต้ ิดขัดตลอด ระยะเวลาหลายปีจนกระทัง่ นายเฉลมิ พงษ์ เชยี่ วสกลุ ไดเ้ ขา้ มาบริหารและทำ�หลงั คาคลุม ซึ่งเพมิ่ ความนิยม อย่างรวดเร็วจนนำ�ไปสู่การสร้างสนามที่สอง คือ สนามมวยลุมพนิ ีซง่ึ เปดิ ในปี 1956 โดยอย่ใู นความดูแล ของกรมสวัสดิการทหารบก กองทพั บก ในปี 1969 อดีตแชมป์โลกรนุ่ เฮฟวเ่ี วท ร็อคกี้ มาร์เซียโน่ (Rocky Marciano) ได้เดินทางมาเวทรี าชด�ำ เนิน ในฐานะแขกพเิ ศษของการแขง่ ขันมวยสากลระหว่างรากสกั วายุภคั และศักด์ิน้อย ส.โกสุม หลงั จากน้นั กลายเปน็ ธรรมเนยี มปฏิบตั ทิ ีก่ ารแข่งขนั รอบสุดทา้ ยของคนื จะเป็นการ แขง่ ขันมวยสากลตามกฎของมาร์ควสิ แห่งควนี สเบอรี (Marquis of Queensbury Rules)

“ไม่มีสายการบนิ ใหบ้ รกิ ารและจะมนี กั ท่องเท่ยี ว จะมาพกั ไดอ้ ย่างไร ผมจึงไดถ้ ามการบินไทยกลับไปวา่ ท�ำ ไมไม่มีเทยี่ วบนิ มาทีน่ ี่ และไดร้ ับคำ�ตอบวา่ เพราะไมม่ ีโรงแรมท่ีพกั ” หมอ่ มหลวงตรีทศยุทธ เทวกลุ หม่อมหลวงตรีทศยุทธ เทวกุล หรือหม่อมตรี สถาปนคิ จากมหาวทิ ยาลัยฮารเ์ วิร์ด (Harvard University) ในสหรัฐอเมรกิ าและได้ทำ�งานทีน่ ัน่ เปน็ เวลาถงึ 20 ปีซึง่ ไดก้ ลับมาทีก่ รุงเทพในปี 1972 และได้เปดิ ออฟฟศิ รับออกแบบซ่งึ ไดอ้ อกแบบใหก้ บั สถานทตู ออสเตรเลยี “ถงึ แม้ผมจะไดร้ ับคำ�ยกย่องจากการบกุ เบิกภเู กต็ ในปี 1972 แต่คนทคี่ วรคา่ แก่การยกย่องแทจ้ รงิ แลว้ คือ หมอ่ มเจา้ สนทิ รังสติ ซงึ่ ไดซ้ ้อื ทด่ี นิ แปลงหนึ่งบริเวณทางเหนอื ของสดุ หาดกะตะและไดส้ รา้ งบงั กะโลขน้ึ จำ�นวนหน่ึง ท่านยงั ทรงมีแขกมาพักอยา่ งเช่น โรมนั โพลนั สกี (Roman Polanski) และไมเคลิ ครชิ ตัน (Michael Crichton) หมอ่ มเจ้าสนทิ ไดข้ อให้หมอ่ มตรีท�ำ การออกแบบโรงแรมบนเนื้อที่ 70 เอเคอร์ ซง่ึ หมอ่ มตรไี ดร้ า่ งแบบของ โรงแรมเอม็ เมอรัลด์ ซี (Emerald Sea Hotel) ออกมา “โรงแรมไมไ่ ดถ้ กู สร้างออกมาเพราะเม่ือหม่อมเจา้ สนทิ ไปขอเงนิ กูจ้ ากธนาคารและไม่ผา่ น โดยปฏเิ สธว่า ‘ไม่มีสายการบนิ ใหบ้ รกิ ารและจะมนี ักทอ่ งเทย่ี วจะมา พกั ได้อย่างไร’ ผมจงึ ได้ถามการบนิ ไทยกลับไปวา่ ท�ำ ไมไม่มีเทยี่ วบินมาทน่ี ี่ และได้รบั คำ�ตอบว่า ‘เพราะไมม่ ี โรงแรมท่พี ัก’” โรงแรมแหง่ เดยี วทเ่ี ปิดใหบ้ ริการในช่วงนน้ั คอื โรงแรมถาวรในตวั เมืองภเู กต็ “มนั จึงเปน็ ดีลท่ี ใหญ่มากเมื่อคุณวจิ ิต ณ ระนอง เปิดโรงแรมเดอะ เพิร์ล (the Pearl) ขนึ้ ผมจงึ เร่ิมเปิดออฟฟิศเลก็ ๆท่ีนัน่ ในบ้านแบบจีนคล้ายบา้ นผสี ิง และระหวา่ งหาดกะตะนอ้ ยและกะตะใหญ่ ผมได้สรา้ งกระทอ่ มหลงั คามุงจาก เศษไม้ทีเ่ ก็บมาได้จากชายหาด” “ผมได้ชวนชาวบา้ นข้นึ มาดู ชาวบ้านผู้สูงอายุบางคนกล่าววา่ ไมเ่ คยขึ้นมาจุดน้ีเลย ผมถามกลบั ไปวา่ “ท�ำ ไม ไม่เคย” พวกเขาตอบว่า ‘แถวน้ีมเี สือชุกชมุ เรากลวั ’ นอกจากนี้ยังมีหมีปา่ ทีข่ ุดไข่เต่าตามชายหาดและชะนี ตามต้นไม้ และนั่นคอื สภาพในปี 1972!” ในปี 1980 นายกรฐั มนตรีพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ไดแ้ ต่งตั้งหมอ่ มตรีเป็นสมาชกิ วฒุ ิสภาซ่งึ เขาได้ด�ำ รง ตำ�แหน่งถึง 16 ปี พลเอกเปรมไดป้ รึกษาว่ารัฐบาลก�ำ ลังประสบปญั หาทางการเงินแตก่ ารทอ่ งเทย่ี วจะเป็น หน่งึ ในอุตสาหกรรมทีส่ รา้ งรายไดใ้ ห้กบั ประเทศ ผมตอบวา่ ‘ภูเก็ตมีท่ีทส่ี วยงามมาก มาทีป่ า่ ตองกับผมและ

มาสัมผัสด้วยตัวท่านเองว่ามนั งดงามขนาดไหน’ ทา่ นตกลง ผมไดบ้ อกทา่ นไปว่าในบริเวณเสน้ ชายฝง่ั และ ลึกเข้าไป 200-300 เมตรจากฝ่ัง คือเหมืองดบี กุ เพื่อรกั ษาความงามทางธรรมชาตขิ องเกาะ ทา่ นจ�ำ เปน็ ต้องยกเลกิ สมั ปทานการท�ำ เหมืองดีบุก ทา่ นตกลงและได้ยกเลิกการทำ�สมั ปทานเหมืองดบี ุก” หมอ่ มตรไี ด้พบกบั กิลเบริ ด์ ทริกาโน (Gilbert Trigano) ผูก้ ่อต้งั คลับเมด (Club Med) “ทำ�ไมคุณถงึ ไม่สร้างโรงแรมในภเู ก็ต” ผมถามเขา ‘ผมอยากสร้างแตท่ ีน่ ไ่ี ม่มีสายการบินลงจอดเลย’ ผมจงึ กลับไปที่ การบนิ ไทยอีกคร้งั และถามเขาวา่ ‘ถ้าทีน่ มี่ ีโรงแรมสร้างขน้ึ ทางการบินไทยจะเปดิ เส้นทางบนิ มาหรอื ไม่?’ ‘เราบินไปแน่นอน’” “เราไดท้ ำ�การซื้อท่ีดินและดวู า่ จะทำ�อะไรกบั มนั ไดบ้ ้าง หลังจากนัน้ ได้มีการประชมุ สมาชกิ รฐั สสภาอาเซยี น ข้ึนทก่ี รงุ เทพซึง่ ผมได้เขา้ ร่วมในฐานะสมาชกิ วุฒสิ ภา หนึง่ ในผ้เู ข้ารว่ มประชมุ คอื คุณเดนนิส (Denis) พีช่ าย ของนายกรัฐมนตรลี ีกวนยู (Lee Kwan Yew) ผมไดเ้ ชญิ เขาลงมาที่ภเู กต็ มายงั ร้านอาหารท่มี ีหลังคามงุ ซง่ึ ภายหลังผมไดท้ ำ�เปน็ โรงแรมโบ๊ทส์ เฮาส์ อินน์ (Boathouse Inn) ระหว่างทเ่ี รานัง่ ดมื่ เราได้มองชาว ประมงเดนิ ลงไปในทะเลเพื่อเหวี่ยงแหจบั ปลา ในครงั้ แรกทีไ่ ด้เหว่ียงแห ชายคนน้ันไดด้ งึ ปลาหลายตัวขึน้ มา ซึ่งมขี นาดยาวกวา่ 1 เมตร ‘เราสามารถลงทนุ ในภเู ก็ตไดห้ รอื ไม่?’ คุณเดนนสิ (Denis) ถามข้ึนมา ‘ถ้าทำ�ได้ เราสามารถรว่ มกนั ลงทนุ คณุ หาทด่ี นิ รา่ งแผน กอ่ สรา้ งและบรหิ าร สว่ นผมจะจดั หาเงนิ ลงทนุ ทค่ี ณุ ตอ้ งการ’” “ผมไดซ้ ื้อทด่ี ินจ�ำ นวนหนึ่งบนหาดในหาน ททท.มแี ผนแม่บทออกมาแต่มันค่อนขา้ งคลมุ เครอื ซึ่งระบุว่าไม่ ควรมโี รงแรมบนหาดในหาน เราจงึ สร้างคลบั เรอื ยอรช์ ท่ีมีห้องพักขน้ึ มา และเปน็ สปอนเซอร์จัดงานภเู ก็ตรี กตั ตา้ (Phuket Regatta)ประจำ�ปีขน้ึ “แต่เราได้เหน็ ชดั เลยว่าการพัฒนาทีป่ ราศจากการควบคุมจะนำ�ไปสู่ความว่นุ วายยงั ไง ผมได้เสนอให้มีการ จัดทำ�แผนแมบ่ ทส�ำ หรับภูเกต็ เพ่อื รกั ษาความงามตามธรรมชาตไิ ว้ แตว่ ฒุ ิสภาอกี ท่านหนึ่งไมเ่ ห็นดว้ ย โดย กลา่ วว่า ‘จะกังวลทำ�ไม ในเมือ่ มนั ยงั เป็นเกาะท่ยี งั ไม่มีใครรู้จกั อยู่?’” ในชว่ งเวลาเดยี วกัน เราไดซ้ ้อื ท่ดี นิ บริเวณหาดปา่ ตองและหาดกะรน ท่นี ัน่ เราได้สรา้ งโรงแรมเมอริเดียน (Meridian Hotel) ขนาด 500 หอ้ งพัก ร่วมกบั ดร.ชยั ยทุ ธ กรรณสูต แหง่ บรษิ ทั อิตาเลยี นไทย ซึ่งไดต้ ง้ั โรงงานผสมซเี มนตท์ ่ีนั่นและกอ่ สร้างโรงแรมเสร็จภายใน 12 เดอื น เจา้ ของเหมืองดีบุกยืนยนั วา่ เราสามารถ ดึงคนมาเข้าพกั ได้แค่ชว่ งไม่ก่เี ดือนในชว่ งฤดทู อ่ งเท่ยี ว (high season) ผมบอกว่า ผมจะหาแขกเข้าพกั ให้ได้ 2 ใน 3 ของช่วงฤดูปกติ (low season) และเต็มในช่วงฤดูท่องเที่ยว (high season) “ไมม่ คี วามทา้ ทายในการทำ�งานท่ภี เู ก็ตเลย พวกเขามองมาท่ีผมในขณะทผี่ มกำ�ลังท�ำ การซอื้ ที่ พวกเขาสา่ ย หัวและคิดวา่ ผมบา้ ท่จี ่ายเงินจำ�นวนมาก (10,000 บาท/ไร่) กบั การซือ้ ท่ีดนิ ที่ไรค้ า่ “ตามธรรมเนียมแล้ว ลกู ชายคนโตจะไดท้ ี่ดนิ บริเวณเหมอื งดบี ุกและสวนยาง ลูกชายคนรองจะไดบ้ รเิ วณท่ปี ลกู ข้าว สว่ นลูกชายคน

ท่ีสามจะไดบ้ รเิ วณชายหาดซ่ึงไร้ประโยชนอ์ ย่างยงิ่ พวกเขาคดิ ว่าที่ตรงนนั้ ไมส่ ามารถท�ำ ประโยชนอ์ ะไรได้ จึงคดิ วา่ ผมเสยี สติทซ่ี ื้อทบ่ี ริเวณนนั้ และต่อมาผมได้รับการยอมรับจากคนท้องถนิ่ ซง่ึ ภายหลงั ท้ังเจา้ ของ เหมืองดบี ุกได้เหน็ การเติบโตอยา่ งรวดเรว็ ของโรงแรมเมอรเิ ดียนและภายหลงั ไดเ้ ขา้ รว่ มกับผม” มีความเปลี่ยนแปลงเกดิ ขนึ้ มากมายในชว่ งหลายปีทีผ่ า่ นมา ในช่วงระยะหลายปี ยังไม่คอ่ ยดีเท่าไหร่ ในชว่ ง แรกมเี พียงถนนเส้นเดยี วทีล่ าดยางตัดผ่านช่วงตอนกลางของเกาะ เพื่อไปทางตะวันตกของหาด คณุ จำ�เปน็ ตอ้ งขับรถบนถนนทแ่ี ย่ข้ามภูเขา และไมม่ วี ันเห็นดวงอาทิตยเ์ ลยเพราะตน้ มะพร้าวขึน้ บดบังเต็มสองข้างทาง แตภ่ ายหลงั ไดม้ ีไฟฟ้าเขา้ มาและมีการตดั ตน้ มะพร้าวเพื่อตง้ั เสาไฟฟ้า ในตอนนนั้ ยงั ไม่มีการจัดระเบยี บพืน้ ที่ แตภ่ ายหลงั ท่ีมีโรงแรมถาวรและโรงแรมเพริ ล์ ข้ึนมา จึงห้ามให้มีการ กอ่ สรา้ งตกึ ทเ่ี กินสามช้นั ข้ึนในเขตเทศบาลภเู ก็ต แตส่ ามารถก่อสรา้ งได้ในบรเิ วณชายหาด ซ่งึ ควรเปน็ สง่ิ ที่ กลับกัน ในตอนนั้น ผมไดท้ �ำ การคดั คา้ นอยา่ งจรงิ จงั และตอนน้ีรัฐบาลได้รบั ฟงั แต่ไดส้ ายเกินไปแลว้ คือ ไดอ้ นุญาตใหม้ กี ารสรา้ งอาคารสูงในเขตเมอื งและอาคารขนาดเตี้ยในบรเิ วณชายหาด บรษิ ัทสามารถที่จะมา ต้ังออฟฟิศในยา่ นตวั เมอื ง หรอื จัดประชมุ และหลงั จากน้นั มาชายหาดเพ่ือมาพกั ผ่อน ตอนนีร้ ฐั บาลไดร้ บั ฟัง ภายใต้วัตถปุ ระสงค์แบบคขู่ นาน คอื ประชมุ ในเมอื ง พักผอ่ นหยอ่ นใจบนชายหาด ถงึ แม้ในตอนน้ี ผมยัง คงมีความเช่อื มน่ั ในภูเก็ต

“ความต้ังใจเดมิ ของคุณพอ่ คือการปลูกบ้านพักสว่ นตวั ส�ำ หรบั วันหยุดของครอบครวั แต่เป็นทางคุณแม่ คณุ หญิงวลี ท่ไี ด้เปลีย่ นทแี่ หง่ นี้เป็นสถานที่ท่องเท่ียว” สุชาดา ยวุ บูรณ์ คณุ ชำ�นาญ - คุณหญิงวลี ยวุ บูรณ์ สวนกหุ ลาบแห่งน้ีสร้างข้นึ ในปี 1962 ซ่ึงเป็นสถานท่ที อ่ งเที่ยวแห่งแรกของไทยทไ่ี ด้นำ�เสนอวัฒนธรรมไทย ในพน้ื ท่ธี รรมชาติ ซึง่ เริ่มต้นจากคณุ ช�ำ นาญ ยวุ บูรณซ์ ่ึงท่านเป็นคนไทยที่ส�ำ เร็จการศึกษาระดับปรญิ ญาเอก คนแรกของมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ทา่ นยงั เคยด�ำ รงต�ำ แหนง่ เปน็ เอกอคั ราชทตู ประจ�ำ สาธารณรฐั อารเ์ จนตนิ า และอดีตผู้วา่ ราชการกรุงเทพมหานครระหว่างปี 1968 – 1973 แต่คุณหญงิ วลี ผ้เู ป็นภรรยาของท่านได้ เปลี่ยนสวนกุหลาบแหง่ น้ใี ห้เปน็ สถานที่ท่องเทย่ี วช้นั นำ�ของเมอื งไทย “คณุ พอ่ มีบา้ นท่ีอ�ำ เภอนครชัยศรี (ตะวันตกของกรงุ เทพ) ซึง่ ความตงั้ ใจทจ่ี ะรกั ษาตน้ พกิ ลุ อันเกา่ แกเ่ อาไว้ จงึ เปน็ จดุ เร่มิ ต้นของสวนสามพราน” คุณสชุ าดา ลูกสาวของคุณชำ�นาญไดก้ ล่าวไว้ ในปี 1962 ระหว่าง การล่องเรือกับเพ่อื นของท่านซึง่ ด�ำ รงตำ�แหนง่ รฐั มนตรกี ระทรวงมหาดไทย ทา่ นสงั เกตเุ หน็ ต้นพิกลุ กำ�ลัง จะโคน่ ลงเพราะตล่ิงพงั เพ่ือรักษาตน้ พกิ ุลเอาไวท้ า่ นจงึ ตัดสินใจซ้ือที่ดนิ แปลงนไ้ี ว้ ตน้ พกิ ลุ ซึ่งมีช่อื ว่า “คณุ ยา่ ” ยังคงอยูจ่ นถงึ ทุกวนั น้ี “ความตงั้ ใจเดิมของคุณพ่อคือการปลกู บา้ นพกั สว่ นตวั ส�ำ หรับวนั หยุดของครอบครวั แตเ่ ปน็ ทางคณุ แม่ คุณ หญิงวลีทไี่ ด้เปลย่ี นทแี่ หง่ น้เี ปน็ สถานท่ีทอ่ งเทีย่ ว โดยเบือ้ งต้นแลว้ คุณพอ่ คอื ผสู้ ร้างและคุณแมเ่ ปน็ ผู้ดูแล” กลา่ วโดยคณุ สชุ าดา คุณแม่เป็นผูท้ ีช่ ่นื ชอบดอกกุหลาบเป็นอย่างย่งิ และทมุ่ เทแรงกายแรงใจในการปลูกสวน กหุ ลาบ เพ่อื ยกที่ดนิ ใหส้ ูงเพื่อปอ้ งกนั น้ำ�ท่วม ทา่ นจงึ ใชเ้ ทคนิคทีใ่ ช้ในกรุงเทพ นน่ั คอื การขดุ สระขนาดใหญ่ และใชด้ ินทขี่ ุดมาถมบริเวณโดยรอบ “ในตอนนัน้ ยงั ไมม่ ใี ครปลูกกหุ ลาบเลย และมีรา้ นดอกแห่งหนงึ่ ในกรงุ เทพชอื่ ร้านไวทโ์ รส (White Rose) ซึ่งได้ติดตอ่ ขอซื้อกหุ ลาบจากทส่ี วน เราตอ้ งต่ืนตงั้ แต่ตี 3 เพื่อส่งกุหลาบไปยงั กรงุ เทพเพอ่ื ให้ทนั กบั ตลาดเชา้ ซึง่ รายไดจ้ ากการขายกุหลาบมเี พียงพอท่จี ะเปน็ ค่าบำ�รุงรกั ษาสวน” นอกจากนีท้ ่านยงั ไดเ้ ปดิ รา้ นอาหารขนาดเลก็ เสริ ์ฟเมนูผัดไทย และไอศกรีมมะพรา้ วซ่งึ เป็นทนี่ ิยมอยา่ งมาก ในปี 1967 ด้วยความคดิ ท่วี ่าลกู คา้ ทม่ี ารบั ประทานอาหารอาจจะตอ้ งการสถานท่ใี นการพกั ผ่อนดว้ ย ทา่ น จงึ ได้สร้างบ้านทรงไทยรอบทะเลสาบจ�ำ นวน 7 หลงั และเปดิ ใหค้ นเช่าพัก “เราต้งั ช่อื วา่ โรสการเ์ ดนเพราะ

ชาวตา่ งชาตทิ ่ีมาเทย่ี วได้เรียกเช่นนน้ั ” หลังจากท่จี บการศึกษา คุณสชุ าดาไดก้ ลบั มายังประเทศไทยและ ได้ท�ำ งานกับสายการบนิ เคแอลเอ็ม (KLM) ในฝ่ายดแู ลตั๋วและได้ลาออกในปี 1968 เพ่ือช่วยกจิ การของ คุณแมข่ องเธอ ช่วงปี 1970 ผเู้ ข้าพกั ประจ�ำ อย่าง มร.ซกิ เลอร์ (Mr. Ziegler) ผจู้ ัดการ บริษทั คโู อนี ประเทศไทยซึง่ พฒั นา ตลาดนำ้�ด�ำ เนนิ สะดวกให้กลายเปน็ แหล่งท่องเที่ยว เน่ืองจากขบั รถค่อนข้างไกลจากตัวเมือง เขาตอ้ งการหา สถานทีท่ ่จี ะหยุดพักเขา้ ห้องนำ้�และรบั ประทานอาหารและโรสการ์เดน (Rose Garden) เป็นสถานทท่ี ่ี เหมาะสมที่สดุ คณุ สุชาดาไดร้ ับแรงบนั ดาลใจจากศูนยว์ ฒั นธรรมโพลนี ีเชียน (Polynesian Cultural Center) ในเมอื งฮาวาย เธอจงึ ได้สร้างหมู่บ้านวฒั นธรรมไทยซึ่งมีการแสดงศิลปวฒั นธรรมไทย มร.ซิกเลอร์ (Mr. Ziegler) ท่กี ำ�ลงั แสวงหาส่ิงแปลกใหม่ให้กับลูกคา้ ของเขาไดพ้ บว่าการแสดงเหลา่ น้ตี รงกบั ความต้องการของ เขาได้เปน็ อยา่ งดี การแสดงแรกเร่ิมขึน้ ในปี1972 มที ง้ั มวยไมย โชวฟ์ นั ดาบและการแสดงร�ำ ไทยนำ�โดยสภุ าพสตรผี ้หู นง่ึ ซึ่งใน ปัจจบุ ันเป็นศลิ ปินแห่งชาติ เธอไดฝ้ กึ สอนการแสดงให้แก่เดก็ ชายและเดก็ หญงิ จำ�นวนกลมุ่ ละ15คน “เรา จดั รอบการแสดงให้ตรงกับคณะทวั รข์ องมร.ซกิ เลอร์ (Mr. Ziegler) ซง่ึ ลกู ค้าของเขาได้เท่ียวชมตลาดนำ�้ และกลับมารับประทานอาหารกลางวันท่ีสวนของเรา มร.ซิกเลอร์ (Mr. Ziegler) ได้ออกแบบเมนูอาหาร (หมูผัดเปรี้ยวหวาน ไข่เจียว ขนมปงั สอดไสก้ ุง้ แกงจืด (ซปุ แตงกวา) และมีผลไม้สดซ่งึ ราคาเซ็ท ละ45บาท หลงั จากนั้นลกู ค้าจะชมการแสดงในเวลาบ่ายสามโมงและกลับส่กู รงุ เทพ สวนของเราถูกบรรจุ เป็นหน่ึงในโปรแกรมทัวร”์ ดว้ ยความรว่ มมือจาก ททท. และสายการบนิ ไทยทำ�ให้ในชว่ งระหวา่ งปี 1974- 2012 โรสการ์เดน (Rose Garden) ได้นำ�คณะการแสดงศิลปวัฒนธรรมของตนไปโปรโมทท่วั โลกรวมทงั้ ส้ิน ถึง 79 ทริปด้วยกัน คุณสุชาดาไดป้ ระชาสมั พันธ์โรสการเ์ ดน (Rose Garden) ด้วยตัวเธอเอง “ในตอนน้นั มีเคานเ์ ตอรท์ ัวรอ์ ยู่ เพียง 7 แหง่ ทว่ั กรุงเทพซงึ่ พวกเขาไมบ่ รรจโุ รสการเ์ ดนลงในโปรแกรมของเขาเพราะเขาคิดวา่ เขาไมไ่ ดอ้ ะไร จากการจองของลูกคา้ เขา ดิฉนั จงึ ได้น�ำ แจกนั พร้อมกุหลาบไปใหใ้ นแตล่ ะที่ และทุกอาทิตยด์ ิฉันจะไปหา และพบปะพดู คยุ พร้อมทง้ั เปลยี่ นกุหลาบให้ใหม่ หลงั จากหนึง่ ปผี า่ นไปหลงั จากท่เี อเจนทเ์ หน็ ถึงความต้ังใจ ของเรา เขาจึงบรรจเุ ราเข้าไปในโปรแกรมทัวร”์ “โปรแกรมของเราคอ่ นขา้ งสรา้ งความพอใจใหก้ บั บรษิ ทั ทอ่ งเทย่ี วในสองดา้ นดว้ ยกนั เพราะหนง่ึ เปน็ โปรแกรม ทอ่ี ย่นู อกกรงุ เทพและสอง เขาสามารถจัดเปน็ ทัวรเ์ ตม็ วันแทนทีจ่ ะเป็นทัวร์ครึ่งวนั ซึง่ ทำ�ให้ได้เงินมากขนึ้ บางคร้ังเราลูกคา้ ประมาณ 10-15 คนตอ่ วนั แต่ 4 เดอื นตอ่ มาเรามีลูกค้าเพ่ิมขนึ้ ถึง70คนและยงั คงมีอยา่ ง ตอ่ เนอ่ื ง”

นอกจากนย้ี งั มกี ารสร้างสนามกอล์ฟซึง่ ออกแบบโดยสถาปนกิ วสิ ทุ ธิ์ จุนนานนท์ สถาปนกิ สนามกอลฟ์ คนแรกของเมอื งไทย สนามแหง่ นยี้ งั ได้รับการจดั อันดบั ใหอ้ ยใู่ น 25 สนามกอลฟ์ ท่ดี ีทส่ี ดุ ในโลกโดยนิตยสาร กอลฟ์ ของประเทศองั กฤษ สนามกอลฟ์ แหง่ นี้ได้ถูกทำ�ลายจากน้ำ�ท่วมในปี 2011 ทางครอบครวั จึงได้ขาย ออกไป เมอื่ เวลาผ่านไป โปรไ์ ฟลข์ องลูกค้าไดเ้ ปลย่ี นแปลง การแสดงโชว์เพอ่ื การรบั ชมได้เปลย่ี นแปลงไปเปน็ การ มีสว่ นรว่ ม “จากสมัยกอ่ นที่เป็นลกั ษณะน่ังเอนหลังรับชม ปจั จุบนั เปลยี่ นเป็นลงมอื ท�ำ และเรยี นร้จู ากมัน” คุณสชุ าดากล่าว “เราได้ลดการแสดงโชวล์ งไปแต่เพมิ่ กจิ กรรมให้ลกู คา้ มีสว่ นร่วม เชน่ การปลกู ผักผลไม้ ปลอดสารพษิ การปลกู ขา้ ว การทอผ้า การทำ�เคร่ืองป้ันดนิ เผาและการทำ�อาหาร ลกู ชายของดฉิ นั อรุษ นวราช ได้ปรับเปลีย่ นโมเดลธรุ กิจโดยได้นำ�สปาแบบไทย การปลกู ผักผลไมป้ ลอดสารพิษ การผลิตสินค้า และผลิตภณั ฑ์ทางธรรมชาตแิ ละสมนุ ไพรเข้ามาในโรสการ์เดน และในท่สี ดุ เราได้เปลย่ี นชอ่ื ลูกชายของดฉิ ัน (ซ่ึงปัจจบุ ันเขา้ มาบริหารต่อ) ได้เหน่ือยกับการตอบคำ�ถามลูกค้าท่เี ข้ามาท่โี รสการเ์ ดนและถามหาว่า “สวนกุหลาบอยู่ที่ไหน” จึงท�ำ ใหเ้ น่ืองในวันครบรอบ50ปขี องเราในปี 2012 เราได้เปลี่ยนชอ่ื ไปเป็นสวน สามพรานรเิ วอร์ไซด”์

“คร้ังหนงึ่ ในการประชาสมั พันธ์ซ่ึงไม่มผี ใู้ ดมาทดแทนได้ เขาได้ข่ชี า้ งเข้ามาในหอ้ งแกรนดบ์ อลรูมภายในโรงแรม อิมพีเรยี ล โฮเต็ล (Imperial Hotel) ที่โตเกียวเพ่ือโปรโมท พทั ยาสู่ตลาดญปี่ ุน่ ” มร. อะลอยส์ ฟาสบนิ ด์ มร.อะลอยส์ เอ็กซ์ ฟาสบนิ ด์ (Alois X. Fassbind) หรือท่เี รียกกนั ว่า มิสเตอร์พัทยา (Mr. Pattaya) ผ้ทู เ่ี ปน็ ทงั้ นักบริหารการโรงแรม ผ้มู คี วามสภุ าพและนกั ตอ้ นรบั ตลอดท้งั ชวี ิตของเขา แต่ทสี่ ำ�คญั ทีส่ ดุ ผูซ้ ึ่ง ไมเ่ คยเหนด็ เหน่ือยต่อการปลกุ ป้นั รีสอรต์ ทเ่ี ขารกั ทีส่ ดุ ภายใต้ท่าทางท่สี นุกสนานร่าเริงของเขา คือ ผชู้ ายท่ี ทำ�งานหนกั และมงุ่ มัน่ ในบริหารโรงแรมของเขา และท่มี ากกว่านัน้ เมอื งท่กี ลายเสมือนบ้านหลังทส่ี องของเขา ฟาสบนิ ดเ์ กดิ ในปี 1935 ในแถบภเู ขารกิ ิ (Mt. Rigi) ประเทศสวติ เซอรแ์ ลนด์ เขาไดจ้ บการศึกษาจาก โรงเรยี นการโรงแรมโลซานน์ (Hotel School of Lausanne) และหลงั จากน้ันไดเ้ รมิ่ ท�ำ งานไตร่ ะดบั ความ ก้าวหน้าในโรงแรมชน้ั น�ำ ของยโุ รป และไดม้ ายงั เมอื งไทยในต้นปี 1960 ในปี 1971 ภายหลังจากการดำ�รง ตำ�แหน่งสำ�คญั ในหลายแหง่ เขาไดพ้ บกบั ต�ำ แหนง่ ทรี่ อคอย คอื ผจู้ ัดการโรงแรมท่เี พง่ิ กอ่ ต้งั ใหม่ โรงแรม รอยัล คลฟิ บชี (Royal Cliff Beach) ซึง่ เขาไดบ้ ริหารเป็นเวลาถงึ 27 ปีตอ่ มาจนกระทง่ั เขาเสียชีวติ ลง ในเดือนสิงหาคม 1998 ภายใตก้ ารนำ�ของเขา รอยัล คลิฟ กลายเป็นโรงแรมแห่งแรกท่ีรองรบั ลูกค้าแบบไมซ์ (MICE) (การจดั ประชมุ ขององคก์ ร (Meetings) การท่องเทย่ี วเพือ่ เป็นรางวลั (Incentives) การจัดประชุมนานาชาติ (Conventions) และการจัดงานแสดงสนิ คา้ (Exhibitions) โดยมลี กู ค้ากลุ่มหลกั คอื องั กฤษและอิตาลี เขาได้ ตระหนักเปน็ อย่างดวี า่ การจะสรา้ งความส�ำ เรจ็ ใหเ้ กดิ ขน้ึ แก่โรงแรมได้ ขนั้ แรกที่ตอ้ งคำ�คอื ทำ�ให้ “พทั ยา” ไดก้ ลายเปน็ ทร่ี ู้จกั โดยท่ัวไป ในช่วงทย่ี ังรีสอร์ทยังไมเ่ ปน็ ท่ีร้จู ัก เขาได้โหมโรงทำ�การตลาดและประชาสมั พนั ธ์ อย่างหนัก คร้ังหนึง่ ในการประชาสมั พันธซ์ ง่ึ ไม่มผี ้ใู ดมาทดแทนได้ เขาได้ขี่ช้างเข้ามาในหอ้ งแกรนดบ์ อลรมู ภายในโรงแรมอมิ พีเรียล โฮเต็ล (Imperial Hotel) ท่ีโตเกยี วเพือ่ โปรโมทพัทยาส่ตู ลาดญีป่ ุน่ ผู้ทร่ี จู้ กั เขาจะประทับใจในจติ วญิ ญาณของการเปน็ ผู้ประกอบการ และความมงุ่ มั่นทไี่ ดน้ �ำ พัทยาปรากฎอยู่ บนแผนทกี่ ารท่องเที่ยว ความท่มุ เทของเขาได้รับการยกย่องดว้ ยรางวัลมากมาย อาทเิ ชน่ รางวลั เกียรติยศ (Award of Merit) ในงานประชมุ พาตา้ (PATA Congress) ในกรุงปกั กิ่งและในปี 1998 ได้รบั ยกย่อง ให้เป็นบุคคลด้านโรงแรมแห่งปี (Hotelier of the Year) ท่ีงานประชุมไอทบี ี (ITB conference) ทก่ี รุง เบอร์ลิน

เขายงั เปน็ ผสู้ นบั สนนุ หลกั แหง่ เมืองพัทยา ในปี 1985 เขาได้ก่อตงั้ และใหท้ ุนแกฟ่ าสบนิ ด์ เมดคิ อล โฮม (Fassbind Medical Home) ท่อี �ำ เภอบางละมงุ ซ่งึ เปน็ สถานทใ่ี ห้ความช่วยเหลือและดแู ลสขุ ภาพสำ�หรบั ผสู้ งู อายุ เขาไดใ้ ห้ทนุ สนบั สนนุ การดำ�เนนิ งานตลอดช่วงชีวติ ของเขา นอกจากน้ียังไดใ้ ห้ทุนสนับสนุนการ ศึกษาแก่นักศกึ ษาท่เี ข้ามาศึกษาดา้ นการโรงแรม ในการจากไปของเขาในปี 1998 ปเี ตอร์ มาลโฮทรา (Peter Malhotra) อดีตนายกสโมสรโรตารี จอมเทยี น- พัทยา (ทซี่ ่ึงฟาสบินด์ได้เปน็ สมาชิกผู้ร่วมก่อตงั้ ) ได้กล่าวคำ�สรรเสริญต่อเขาใจความส�ำ คญั ตอนหนงึ่ ว่า “หากปราศจากเขา พัทยาคงไม่ได้เป็นเมืองท่ียงิ่ ใหญอ่ ย่างท่ีเป็นในทุกวนั นี้และพวกเราหลายคนคงไม่มธี ุรกิจ ท่ีสำ�เรจ็ อยา่ งเช่นทพ่ี วกเรามใี นวนั น้”ี

สร้างพ้นื ฐานรองรบั การเตบิ โต ในชว่ งตน้ ปี 1960 การขาดแคลนโครงสร้างพน้ื ฐานของเมอื งไทยสง่ ผลให้ตวั เลขทางการทอ่ งเท่ยี วตามหลงั ประเทศ เพ่ือนบา้ นซ่งึ คิดเป็นเพยี ง 30% และ 70% ของตวั เลขการทอ่ งเที่ยวในมาเลเซียและสงิ คโปร์ การมีโรงแรมทด่ี ี ทำ�ให้ ประเทศเพ่ือนบ้านทางฝ่ังใต้ของไทยดึงดูดนักท่องเท่ียวจำ�นวนมากซึ่งในจำ�นวนน้ีรวมถึงอดีตพลเมืองท่ีเคยอยู่ภายใต้ อาณานคิ มได้กลับไปเยยี่ มเยียนครอบครัวของพวกเขา การก่อสร้างโครงสร้างพ้ืนฐานทางการท่องเท่ียวที่รวดเร็วส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลของรัฐบาลไทย ทีล่ งทุนอยา่ งมากในการสรา้ งเครอื ข่ายการคมนาคม เมอื่ การคมนาคมเสร็จสมบูรณ์ บรรดาผู้ประกอบการดา้ นรถทัวร์ รถตแู้ ละลีมูซีนตา่ งเล็งเหน็ ถงึ แนวโน้มด้านการทอ่ งเทยี่ วท่ีก�ำ ลงั จะเติบโตและได้ลงทุนอย่างหนกั ในดา้ นยานพาหนะ ในช่วงปี 1960 ในรถทวั รม์ เี พยี งลมธรรมชาตทิ ชี่ ว่ ยเพิ่มความเยน็ ในปี 1970 เร่มิ มกี ารนำ�รถทัวรท์ ่มี เี คร่ืองปรับ อากาศเข้ามาใช้และภายในชว่ งปี 1980 และ 90 บนท้องถนนเต็มไปด้วยรถทัวร์รับส่งกลมุ่ นกั ทอ่ งเที่ยวไปตามสถาน ที่ทอ่ งเทยี่ วต่างๆ เชน่ เดียวกับบรษิ ทั ทใ่ี ห้บริการรถตรู้ ับส่งนักท่องเที่ยวกลุ่มเลก็ รวมถงึ รถลมี ูซีน รถบริการรบั ส่งของ โรงแรมและแทก๊ ซ่ี เงินทุนสำ�หรับการขยายตัวดังกล่าวและการก่อสร้างโรงแรมและร้านอาหารมาจากธนาคารท้องถ่ืนในประเทศไทย เชน่ ธนาคารกรงุ เทพ ซ่งึ เลง็ เห็นถงึ ศักยภาพของรายได้และเงินกู้ยมื ระยะยาวให้กับผปู้ ระกอบการ ในขณะเดยี วกัน ธนาคารไดอ้ ำ�นวยความสะดวกแก่นกั ท่องเทย่ี วที่ใชเ้ ชค็ เดินทาง ธนาคารยงั ได้ตงั้ เคาน์เตอร์แลกเปลยี่ นเงินตราต่าง ประเทศซึ่งเฟ่ืองฟูอย่างยิ่งโดยได้รับความช่วยเหลือจากกฎระเบียบด้านการแลกเปลี่ยนเงินตราที่เคร่งครัดของรัฐบาลที่ ปราบปรามตลาดแลกเงนิ เถอื่ นทด่ี ำ�เนินการอย่ทู ่วั ไป ธนาคารยงั เปน็ กลมุ่ แรกทม่ี กี ารน�ำ เครอื่ งมอื ดา้ นสนิ เชอ่ื ตา่ งประเทศมาใหบ้ รกิ ารภายในปี2000ธนาคารไดโ้ ฆษณาการ รับบัตรเครดิตในเครื่องเอทีเอ็มทำ�ให้การถอนเงินสดหรือการซ้ือของสำ�หรับกลุ่มนักท่องเที่ยวต่างชาติมีความสะดวก มากข้นึ ซ่ึงบางครงั้ กระตุน้ ใหพ้ วกเขาใชจ้ า่ ยมากข้ึนอกี ด้วย นโยบายของรฐั บาลในการคนื ภาษีมลู ค่าเพม่ิ ของสินค้ายงั กระตนุ้ ใหบ้ รรดานกั ชอ็ ปปง้ิ ใชจ้ า่ ยมากขน้ึ กระบวนการการคนื ภาษ7ี %นส้ี ะดวกสบายอยา่ งยง่ิ ซง่ึ สามารถขอคนื ไดภ้ ายใน วนั เดยี วกนั ทรี่ า้ นคา้ หรือทสี่ นามบิน เมื่อการวางระบบโครงสร้างพนื้ ฐาน (ฮาร์ดแวร)์ เสรจ็ ส้ินจึงมคี วามจำ�เปน็ ทจี่ ะตอ้ งพฒั นาดา้ นซอฟตแ์ วรค์ วบคกู่ นั ไป ภารกจิ ของรัฐบาลไดร้ บั การสนบั สนุนจากสมาคมการทอ่ งเท่ียวหลากหลาย เช่น สมาคมส่งเสริมการทอ่ งเที่ยวแหง่ ภมู ิภาคเอเชยี -แปซิฟิค (Pacific Asia Travel Association) สมาคมโรงแรมไทย (the Thai Hotel Association) สมาคมไทยบริการทอ่ งเท่ยี ว (Association of Thai Travel Agents) สมาคมธรุ กจิ การบนิ (Airlines Association) (สมาคมมคั คเุ ทศนอ์ าชพี ) Guides Association และหน่วยงานอนื่ ๆทจี่ ดทะเบยี นเหล่านไี้ ดส้ ร้างขั้นตอนการด�ำ เนนิ งานทีเ่ ปน็ มาตรฐาน ตรวจสอบการปฏิบัตติ ามกฎระเบยี บข้อบังคับ ระงบั และไกลเ่ กลียขอ้ พิพาท และดำ�เนนิ การ โปรแกรมการฝกึ อบรมพนักงาน

การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย (ททท.)ไดจ้ ัดพมิ พ์โปรชัวรเ์ พื่อชว่ ยเหลอื และให้ข้อมลู แก่นักท่องเทยี่ ว ตอ่ มาได้บรรจุ ข้อมลู เหลา่ น้ีไวบ้ นเว็บไซต์ เอกสารท่มี ีการจัดพิมพเ์ หลา่ นีไ้ ด้ถกู แจกจา่ ยไปยังส�ำ นกั งานของททท.ตามจังหวดั ตา่ งๆ ท่วั ประเทศ เจา้ หนา้ ท่ี ททท. มีบทบาทในการใหค้ �ำ แนะน�ำ ตอบค�ำ ตอบและให้คำ�ปรกึ ษา นอกจากน้หี นว่ ยงานของ กรุงเทพมหานครซึ่งนำ�โดยผู้ว่าราชการกรุงเทพฯได้เปิดศูนย์บริการการท่องเที่ยวหลายแห่งเพ่ือช่วยเหลือนักท่องเที่ยว เจา้ หนา้ ทซ่ี ง่ึ มคี วามเชย่ี วชาญดา้ นภาษาตา่ งประเทศไดถ้ กู คดั เลอื กใหม้ ารว่ มงาน นอกจากนต้ี ามตวั เมอื งแตล่ ะทย่ี งั ไดต้ ง้ั ศูนย์บรกิ ารนกั ท่องเทยี่ วเพอื่ ให้ค�ำ แนะนำ�ดา้ นสถานท่ที อ่ งเที่ยวและกจิ กรรมการทอ่ งเที่ยวในภูมิภาคของตน ธนาคาร เช่น ธนาคารกรงุ เทพไดเ้ ปดิ ศนู ยข์ อ้ มลู นักทอ่ งเทยี่ วเพือ่ ให้บรกิ ารนกั ทอ่ งเทีย่ วโดยเฉพาะ ในปี 1976 หนว่ ยงานพเิ ศษของต�ำ รวจไทยทเ่ี รยี กว่าต�ำ รวจทอ่ งเที่ยวไดร้ ับการจดั ต้ังข้ึนเพอ่ื ใหค้ วามชว่ ยเหลอื แกน่ ัก ทอ่ งเท่ียวซ่ึงมีสำ�นักงานและเคาน์เตอร์บริการตง้ั อยทู่ ว่ั ประเทศและสามารถโทรติดต่อได้ฟรีจากโทรศัพท์ธรรมดา หลายปที ี่ผ่านมา กระบวนการตรวจคนเขา้ เมอื งได้รบั การปรับปรงุ และลดขนั้ ตอนลง ในปี 1960 และ 1970 นักท่องเทยี่ ว จำ�เปน็ ตอ้ งสมัครวซี า่ ทอ่ งเท่ียวแบบ 30 วัน หรือวีซ่าแบบเดนิ ทางผ่าน 15 วนั ท่ีสถานทตู หรอื สถานกงสลุ ในประเทศ ของตนและแสดงต๋วั เดนิ ทางเทย่ี วกลบั เป็นหลกั ฐานยนื ยนั การออกจากเมืองไทยหลังจากการท่องเท่ยี ว ในปี 1979 เร่มิ มีการอนญุ าตบางสญั ชาติใหเ้ ขา้ ประเทศไทยได้โดยไมต่ ้องมวี ีซา่ แตภ่ ายหลงั วันที่ 16 กนั ยายน 1987 นักทอ่ งเท่ียว เกอื บทุกประเทศสามารถขอรบั วีซา่ (VISA ON ARRIVAL) ได้ทสี่ นามบินหลกั ในแต่ละแหง่ ของเมอื งไทยโดย ไม่จำ�เป็นตอ้ งสมคั รก่อนการเดินทางหรอื แสดงหลกั ฐานการเดนิ ทาง เช่น ตั๋วเคร่ืองบินหรือตวั๋ รถไฟ ดา่ นตรวจคนเขา้ เมืองบรเิ วณชายแดนไดถ้ กู ปิดก้ันอยา่ งดีจนกระท่ังถงึ ปี 1980 ซ่งึ ภายในหนึง่ ทศวรรษ มีการเปดิ ดา่ น ตรวจคนเขา้ เมอื งตามชายแดนถงึ 42 แห่งแก่นกั ท่องเทีย่ วซึง่ สามารถขอรับวีซา่ ฟรีได้ นอกจากนี้ นกั ท่องเทย่ี วท่ี ประสงคจ์ ะยืดอายุวีซ่าออกไปอกี ยงั สามารถกระทำ�ไดโ้ ดยไมย่ ากเยน็ เทา่ ไหร่ นักท่องเทย่ี วท่อี ยู่เกนิ ก�ำ หนดวีซ่ามบี ท ลงโทษเปน็ ค่าปรบั จำ�นวนเล็กน้อยซึ่งปรบั ทด่ี ่านตรวจคนเขา้ เมอื งและได้รอยยิ้มกลับไป ในปี 1960 คมู่ อื น�ำ เทีย่ วคอ่ นขา้ งมจี �ำ กัดและเมอื่ นักท่องเท่ยี วไดเ้ ข้ามายังสถานที่ท่องเทย่ี วท่สี ำ�คญั พวกเขาจะถูก ห้อมลอ้ มโดยบรรดามัคคุเทศก์น�ำ เทยี่ วท่เี สนอบรกิ ารท่องเทยี่ วซงึ่ มีคณุ ภาพและราคาทีต่ ่างกนั ออกไป ในเวลาไมน่ าน ททท. ไดเ้ ข้ามาควบคมุ อาชพี มัคคเุ ทศก์และเปดิ ใหม้ กี ารลงทะเบียนมคั คเุ ทศก์เฉพาะผทู้ จี่ บการศึกษาจากหลกั สูตร ที่เขม้ งวดที่ออกแบบมาเพือ่ พฒั นาความรูค้ วามเช่ียวชาญของพวกเขา เชน่ เดียวกบั พนกั งานโรงแรมทต่ี อ้ งผ่านการฝึก อบรมทค่ี ล้ายกนั เพ่อื ใหแ้ นใ่ จวา่ พวกเขาจะบริการลกู คา้ ดว้ ยบรกิ ารตามมาตรฐานสากล ด้วยความตระหนักถงึ ความจ�ำ เปน็ ในการใหบ้ ริการที่เปน็ มาตรฐาน ในปี 1966 ททท. ได้จดั ตัง้ หลกั สูตรฝกึ อบรม ส�ำ หรับพนักงานโรงแรมและรา้ นอาหารแหง่ แรกของประเทศไทยข้ึน และในปี 1970 สถาบันหลายแหง่ ได้เปดิ หลักสตู ร ประกาศนยี บตั รดา้ นการโรงแรม และมตคิ ณะรฐั มนตรไี ดด้ �ำ เนนิ การจดั ตง้ั สถาบนั ฝกึ อบรมการโรงแรมและการทอ่ งเทย่ี ว ในบางแสน และจากการเปดิ หลกั สตู รการฝกึ อบรมทค่ี ลา้ ยคลงึ กนั ในหลายทท่ี �ำ ใหส้ ถาบนั แหง่ นป้ี ดิ ตวั ลงไป เมอ่ื ปี 2002 และได้สร้างบุคลากรมืออาชีพหลายพันคนที่ผ่านการฝึกอบรมเพื่อการทำ�งานที่มีมาตรฐานนอกจากนี้ยังมี หลักสตู รฝึกอบรม เชน่ โปรแกรมฝึกอบรมพนักงานโรงแรมของพาต้า (PATA) ซง่ึ จัดร่วมกบั โรงแรมต่างๆ ในปี 1987 โรงเรยี นการจดั การโรงแรมและการท่องเทีย่ วนานาชาติ (International Hotel and Tourism Industry Man-

agement School) (ITIM) ได้กอ่ ต้งั ขนึ้ ในเขตบางกะปิซงึ่ เป็นสถาบันการศึกษาระดับวิชาชีพดา้ นการโรงแรมและการ ทอ่ งเทย่ี วแห่งแรกที่สอนเปน็ ภาษาอังกฤษ การคมนาคม ในช่วงต้นศตวรรษทผ่ี ่านมา นักทอ่ งเทยี่ ว (ซง่ึ มจี ำ�นวนน้อย) เดนิ ทางเขา้ มาในกรุงเทพโดยทางเรือ ซึง่ โดยท่วั ไปจากสงิ คโปร์และฮ่องกง เรือได้จอดสง่ ผู้โดยสารทบี่ างคอแหลมในย่านท่เี รยี กวา่ ถนนตก ทางตอนใตข้ อง ถนนเส้นตัดใหม่ ในขณะทีน่ กั ทอ่ งเทีย่ วในวนั น้ีได้รบั การตอ้ นรับดว้ ยมาลยั กล่นิ หอม แต่กล่ินท่ีต้อนรับนักท่องเที่ยวใน สมยั แรกคอื กลนิ่ ของโรงฆ่าสัตว์หลักของเมอื งซงึ่ อยู่ติดกับท่าเรอื การเดินทางเขา้ ตัวเมอื งคอ่ นขา้ งง่าย เพราะบริเวณนั้น คือสถานขี องรถรางซ่งึ ว่งิ ไปตามถนนสายหลักภายในตัวเมอื ง เม่อื เวลาผา่ นไปและเมือ่ ระบบการเดินรถไฟแห่งชาติได้เสร็จสมบูรณ์ การเดนิ ทางโดยทางเรือได้เสอ่ื มความนยิ มลง ใน ปี 1930 มจี ำ�นวนเดินเรอื เพยี ง 5 เท่ียวต่อปซี ึง่ บรรทุกผู้โดยสารประมาณ 500 คนท่ีทา่ เรือกรงุ เทพ ในหนงึ่ ศตวรรษ ถัดมาความนยิ มในการล่องเรือได้ฟื้นตวั กลบั มา ในปี 2016 ได้มีเรอื ให้บริการถึง 59 ล�ำ ซง่ึ ไม่ใชท่ ก่ี รงุ เทพ แต่เปน็ ทางตอนใต้ในแถบภูเก็ต กระบแี่ ละเกาะสมุย การพัฒนาที่รวดเร็วของระบบการขนส่งภาครัฐและเอกชนและระบบโครงสร้างพื้นฐานที่ตอบสนองความต้องการของ นักท่องเทย่ี วคอื ปจั จัยหลักของการเตบิ โตทางการท่องเทียวไทย การบินระหวา่ งประเทศเร่มิ ขึน้ เม่ือปี 1947 แตเ่ มื่อ นกั ท่องเท่ยี วได้อยู่ในกรงุ เทพ การเดนิ ทางออกไปนอกเมืองค่อนขา้ งประสบกบั ปญั หา เน่ืองจากไม่มถี นนและยาน พาหนะที่รบั ส่งนักทอ่ งเท่ียวภายในประเทศ มเี พยี งสายการบนิ จ�ำ นวนหนง่ึ ท่ลี งจอดในสนามบินต่างจงั หวดั ซง่ึ มเี พียง ไม่กี่แหง่ ในขณะที่แม่นำ้�คือเสน้ ทางการเดินทางหลักทเี่ ชือ่ มระหว่างภาคกลางและภาคเหนอื การจราจลทีจ่ ังหวัดแพร่ในปี 1906 ไดเ้ รียกรอ้ งรฐั บาลใหพ้ ฒั นาการคมนาคมเพราะหากต้องการความรวดเร็ว เรือโดยสารในแม่นำ�้ ทใี่ ชอ้ ยูน่ น้ั ไมต่ อบโจทย์ เริ่มตน้ ในปี 1890 เสน้ ทางรถไฟเร่มิ ลัดเลาะผ่านสถานทีป่ ่าและเมอื งต่างๆ ไดแ้ ก่ อยธุ ยาในปี 1894 โคราชทางทิศ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ในปี 1901 เพชรบรุ ีทางตอนใตใ้ นปี 1904 ฉะเชิงเทราทางภาคตะวนั ออกในปี 1906 อตุ รดิตถ์ ทางเหนือในปี 1910 และเชยี งใหม่ในปี 1922 เป็นครงั้ แรกท่ีเมอื งหลวงได้ถูกเชือ่ มระหว่างภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื และภาคใต้ เสน้ ทางสายใตย้ ังไมค่ ่อยเหมาะสมตอ่ การคมนาคมเสน้ ทางไกล สายธนบุรี-เพชรบรุ ีได้เปดิ เม่ือปี 1903 เส้นทางต่อ ขยายไปหาดใหญม่ าในชว่ งปี 1914 แต่เสน้ ทางดว่ นระหวา่ งประเทศจากธนบรุ ไี ปยังแหลมมลายูยงั ไม่เปดิ ดำ�เนินการ จนกระทง่ั วนั ท่ี 2 มกราคม 1919 ในช่วงปลายปี 1920 การเดินทางไปยงั สถานทป่ี ระทับตากอากาศของพระบาท สมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว (1925-1935) หรอื วังไกลกังวลสามารถเดนิ ทางด้วยเรือกลไฟหรือรถไฟเท่าน้นั ยังไม่ สามารถเดินทางโดยรถยนต์ได้ เมอ่ื การท่องเทยี่ วได้ขยายตัวข้ึนในปี 1960 รถไฟเปน็ เส้นทางหลกั ของการเดินทางภายในประเทศ ในปี 2010 มีเส้น ทางรถไฟถึง 4,428.789 กิโลเมตรซ่ึงมที ง้ั เปน็ รางคู่และสามรางทีค่ รอบคลมุ ทั่วประเทศ

ถนนทางหลวงเรมิ่ พฒั นาอย่างช้าๆ การกอ่ สร้างถนนมอี ปุ สรรคจากพ้นื ดนิ ท่ีคอ่ นขา้ งแฉะและยิ่งกว่านนั้ คอื ลำ�คลอง หลายเสน้ ทตี่ ้องใชเ้ รือหรือสะพานในการข้าม หลายเสน้ ทางไม่สามารถผ่านได้ในชว่ งฤดนู ำ�้ ท่วมตงั้ แต่เดอื นกรกฎาคม ถึงเดือนพฤศจกิ ายน กรงุ เทพเป็นเมืองที่ถนนเต็มไปดว้ ยฝุ่นละอองและดนิ โคลนในช่วงมรสมุ มร.จอรจ์ ฟนิ เลยซ์ ัน (George Finlayson) ซง่ึ ไดม้ าเยอื นในปี 1821 ไดบ้ ่นถงึ สิ่งท่ีเขาและเพื่อนของเขาได้เห็นระหว่างการทวั ร์ชมพระราชวงั “ถนน (ภายใน พระราชวัง) สกปรกอยา่ งไม่นา่ เชอ่ื ทางส่วนใหญท่ พ่ี วกเราต้องเดินผ่านเต็มไปด้วยขี้โคลนและน้ำ�ที่เฉอะแฉะ อยา่ งไร กต็ าม ไม่มีการนำ�เสนอแนวทางใดท่ีจะช่วยปอ้ งกันรองเท้าพวกเราจนกวา่ เราจะเสร็จส้นิ พิธกี ารเดินชมส่ิงแปลกอย่าง ในถนนของพระราชวงั แห่งน”้ี ถนนลาดยางเส้นแรกภายในราชอาณาจักรสรา้ งขึน้ เมือ่ ปี 1863 แตจ่ นกระทั่งปี 1890 ถนนได้มีเสน้ ทางเพียงแค่ 9 ไมล์ ทัว่ ประเทศซ่ึงอยู่ในกรงุ เทพท้ังหมด ในปี 1917 มเี ส้นทางถนนทั้งหมด 775 กิโลเมตรแตไ่ ม่ได้ลาดยางและออกแบบ สำ�หรับรถม้าเทา่ นัน้ และได้ขยายออกไปเปน็ 1,046 กิโลเมตรในปี 1934 และเช่นเดิม เกือบทัง้ หมดไม่ได้เป็นถนน ลาดยาง ในปี 1933 ถนนเยาวราชเปน็ เส้นทางแรกท่ีทดสอบการลาดถนนดว้ ยยางมะตอยและในปี 1937 ถนนจาก กรุงเทพไปนครปฐมไดป้ ูดว้ ยคอนกรตี แตม่ คี วามยาวเพยี งแค่ 1.8 กโิ ลเมตรเท่าน้ัน บนั ทกึ จากชว่ งเวลาเดยี วกนั ไดใ้ หร้ ายละเอยี ดเกย่ี วกบั ถนนไวว้ า่ “เสน้ ทางถนนในเมอื งไทยอยแู่ คเ่ พยี งในกรงุ เทพเทา่ นน้ั การเดนิ ทางเข้าและออกจากเมอื งคอื ทางเรอื หรือทางรถไฟ 15 ปี ทแ่ี ลว้ (1960) “ถนนทางหลวงไดถ้ กู อธิบายว่าเปน็ ถนนทีเ่ ต็มไปด้วยคลื่นลกู ระนาดและเกวียน มีเส้นทางท่ีแคบและผุพัง” การเปลีย่ นแปลงเร่ิมเกิดขนึ้ ในปี 1955 เมอ่ื มีถนนมติ รภาพซง่ึ เปน็ ทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 2 เป็นหนึ่งในทางหลวง สายประธานท้ังส่ีของประเทศไทยซ่ึงได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกาในด้านงบประมาณการก่อสร้าง แต่สรา้ งโดยบริษัทผรู้ ับเหมาไทย ถนนมิตรภาพเริ่มต้นจากกรงุ เทพไปยงั โคราช เปน็ ถนนสายแรกของประเทศไทย ที่มผี ิวจราจรลาดยางแบบแอสฟอลตค์ อนกรีตและถูกตอ้ งตามแบบมาตรฐานการกอ่ สรา้ งสากล การเดินทางทางถนนไม่ค่อยเอื้ออำ�นวยต่อนักท่องเที่ยวยกเว้นแต่นักท่องเที่ยวประเภทที่ทรหดซึ่งมีจำ�นวนน้อย การ เปลีย่ นแปลงคร้งั สำ�คัญมาในช่วงปี 1960 เม่อื กองทัพอเมรกิ นั ได้ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในดา้ นงบประมาณการกอ่ สรา้ ง ถนนทางไกลภายในประเทศ ภายในปี 1971 ไดม้ ีถนนทางหลวงแผน่ ดิน 4 สายหลกั เกดิ ขึ้นซ่งึ ครอบคลุมระยะทาง ประมาณ 17,100 กิโลเมตร ลงทนุ และบ�ำ รงุ รกั ษาโดยกรมทางหลวงแห่งประเทศไทย ภายในปี 2006 มถี นนทั้งหมด 180,053 กิโลเมตร 98% ไดเ้ ปน็ ถนนลาดยางและบางเสน้ มถี นนมี6เลนสซ์ ่งึ ทัว่ ถงึ ท้ังประเทศ ภายในปี 1970 ประเทศไทยได้เข้าสู่ชว่ งการพัฒนาทางเศรษฐกจิ อย่างรวดเร็วทำ�ใหม้ ีความจำ�เป็นในการก่อสร้างถนน ลาดยางเพื่อการขนส่งสินคา้ และผู้คนภายในประเทศ นอกจากนย้ี ังมกี ารก่อสรา้ งสนามบนิ ทางรถไฟ เข่อื นผลติ ไฟฟา้ รวมถงึ การก่อสรา้ งโรงแรมต่างๆท่อี ยใู่ นช่วงการด�ำ เนินการ ธนาคารทอ้ งถ่ินยงั มบี ทบาทในการให้บริการการเงนิ เพอื่ รองรับตอ่ การเตบิ โตของอุตสาหกรรมการทอ่ งเทย่ี ว

ประเทศไทยเป็นประเทศแรกในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ท่ีตระหนักถึงศักยภาพของการท่องเท่ียวและได้พัฒนา ส่งิ อ�ำ นวยความสะดวกเพือ่ รองรบั นกั ท่องเท่ียวที่หลัง่ ไหลเขา้ มา ภายในเวลาไมก่ ่ปี ี ประเทศไทยกลายเปน็ ประเทศท่อง เที่ยวชั้นนำ�ของเอเชียท่ีพร้อมด้วยสิ่งอำ�นวยความสะดวกและความบันเทิงท่ีทำ�ให้ม่ันใจได้ว่านักท่องเที่ยวจะได้พบกับ ส่ิงท่ีเขาปรารถนาในราคาที่เอ้ือมถงึ นอกจากนีป้ ระเทศไทยยงั มรี ะบบการคมนาคมทก่ี ้าวหน้าในภูมิภาค รวมถึง โรงแรม สิง่ อ�ำ นวยความสะดวก ห้องอาหารและความบนั เทงิ ชั้นน�ำ การเดินทางภายในกรุงเทพเปน็ เร่ืองท่ีงา่ ยอยา่ งมาก ในปี 1887 มีรถมา้ ลากวง่ิ ตามทอ้ งถนนภายในเขตกำ�แพงวังไป จนถึงสุดถนนเส้นตดั ใหม่ 6.7 กโิ ลเมตรจากแมน่ ำ�้ ซึง่ มีเส้นทางทเี่ ช่ือมต่อกนั หลายจดุ เสน้ หนึง่ วิ่งจากท่าเรือราชวงศ์ ซ่ึงผสู้ ัญจรสามารถโดยสารเรอื ไปมาจากบริเวณเหนือและใต้ของแมน่ �ำ้ ในปี 1893 กรงุ เทพเปน็ เมอื งแรกในเอเซียท่ีมี รถรางไฟฟา้ การเดินทางภายในกรงุ เทพ สามารถใช้บรกิ ารทัง้ รถม้าลากหรือสามลอ้ ทีล่ ากโดยคนซง่ึ ภายหลงั ถกู แทนทดี่ ว้ ยสามลอ้ ถบี และปจั จบุ ันกลายเป็นรถตุก๊ ตุก๊ การขนส่งมวลชนซงึ่ บรรทกุ โดยสารประมาณ 8-10 คนบนรถโดยสารท่ีลากโดยม้า 8 ตวั ผบู้ ุกเบกิ ระบบขนส่งมวลชน คนแรกคือเลิศ เศรษฐบตุ ร (หรอื นายเลศิ ) ผู้ซ่งึ เช่ือมโยงการเดนิ ทางโดยเรือและโดยรสบสั นักท่องเทย่ี วยคุ แรก ได้โดยสารรถบสั ของเขาเพอื่ เทีย่ วชมเมือง ในปี 1907 ทา่ นได้กอ่ ต้ังบริษัทรถเมล์ขาว จำ�กัด ซ่งึ ให้บริการรถโดยสารประจำ�ทางรายแรก โดยใชเ้ ครอื่ งยนต์ท่สี ั่งซ้ือ มาจากประเทศองั กฤษ ทา่ นและทีมงานช่างไมไ้ ด้ประกอบตัวรถและเขยี นแบบด้วยชอล์กบนพื้นปนู ในปี 1908 ทา่ นไดก้ อ่ ตงั้ บรษิ ัทเดนิ เรือเมล์ ชอ่ื บรษิ ทั เรือขาว รบั สง่ ผู้คนตามคลองแสนแสบและไปทางตะวนั ออก จนถงึ จงั หวดั ฉะเชงิ เทราทแ่ี ม่นำ�้ บางปะกง มีระยะทางรวมประมาณ 60 กโิ ลเมตรจากตัวเมือง เช่นเดียวกับรสโดยสาร ประจำ�ทางทมี่ สี ญั ลักษณเ์ ป็นกากบาทสีแดงลอ้ มรอบดว้ ยวงกลมสแี ดง ผโู้ ดยสารเรือเมล์ขาวสามารถทจี่ ะใช้ตั๋วเดยี วกบั รถเมล์ขาวได้ เรอื เมล์ไดห้ ยดุ การให้บริการในปี 1959 เน่ืองจากมกี ารพสิ จู นแ์ ล้ววา่ การบรกิ ารรถโดยสารประจ�ำ ทาง อยา่ งเดยี วใหค้ วามคุ้มคา่ ทางเศรษฐกิจมากกว่า ตอ่ มาภายหลงั นายเลศิ ไดด้ �ำ เนินกจิ การเรอื ส�ำ ราญและเรอื เดนิ ทะเล เพอื่ รบั ส่งนักทอ่ งเท่ียวและสนิ ค้าระหวา่ งภูมภิ าค จำ�นวนรถโดยสารประจำ�ทางและเส้นทางเดินรถไดเ้ พ่มิ มากขึ้นเร่ือยๆ ซึ่งภายในปี 1960 มบี รษิ ทั เดินรถมากกว่า 12 บรษิ ัทซ่งึ มีสญั สกั ษณส์ ที ่ตี า่ งกัน ครอบคลุมเสน้ ทางมากกว่า 100 เสน้ ทาง รถโดยสารประจำ�ทางปรบั อากาศได้ ถกู นำ�เข้ามาใชใ้ นปี 1970 ซึ่งท�ำ ให้การเดนิ ทางระยะไกลสะดวกสบายมากข้ึน การเพิ่มขน้ึ ของยานพาหนะต่างๆบน ท้องถนนได้สง่ ผลให้เกดิ ปัญหาการจราจรตดิ ขดั ประชากรในกรงุ เทพเรมิ่ ยา้ ยทีอ่ ยู่ออกไปยงั ชานเมอื ง แต่ถงึ แมจ้ ะ มีถนนวงแหวนและทางด่วนเข่ือมระหว่างเสน้ ทางตา่ งๆในเมอื งแตย่ ังไมส่ ามารถบรรเทาปญั หาการจราจรได้ ผโู้ ดยสาร ท่ตี อ้ งเดินทางไกลประสบปัญหาความลา่ ช้าของการเดินรถ จึงได้มีความจำ�เปน็ ทีต่ ้องด�ำ เนินการแกไ้ ข ในปี 1975 รฐั บาลไดอ้ อกนโยบายรวมกจิ การรถเมล์ทุกสายในกรุงเทพมหานครมาอยู่ในความดูแลขององค์กรเดยี ว คอื องคก์ าร ขนส่งมวลชนกรงุ เทพ

ระบบท่ตี อบโจทย์การเดนิ ทางอย่างมากมาในรปู แบบของระบบขนสง่ มวลชนทีร่ วดเร็วซึง่ เรื่มในปี 1999 ในรูปแบบของ รถไฟฟ้าท่เี ปดิ ใหบ้ รกิ ารสองเส้นทางแรก (รถไฟฟ้าบีทเี อส ;บีทีเอส) ซึง่ เปน็ เส้นทางเหนือถงึ ใต้ และจากตะวนั ตกถงึ ตะวนั ออกในปี2004ระบบขนสง่ มวลชนทางราง-รถไฟฟา้ มหานคร(MRT)ไดเ้ ปดิ ด�ำ เนนิ การโดยมเี สน้ ทางครอบคลมุ สามในสขี่ องตวั เมืองและมีสถานีเช่อื มตอ่ กับรถไฟฟา้ บีทีเอสและรถไฟแหง่ ประเทศไทย ในปี 2010 รถโดยสารประจ�ำ ทางด่วนพเิ ศษ หรือบอี ารท์ ี (BRT) ไดเ้ ปิดใหบ้ รกิ ารซ่งึ เดินรถบนช่องทางพเิ ศษ ในปีเดียวกัน รถไฟฟ้าแอร์พอร์ตลงิ ค์ไดเ้ ปดิ ใหบ้ ริการรับสง่ ผูโ้ ดยสารและนักทอ่ งเทย่ี วระหวา่ งรถไฟฟ้าบีทเี อสและสถานี สนามบินสวุ รรณภมู ิ นอกจากนี้ยงั มสี ่วนต่อขยายของรถไฟฟ้าบที ีเอสทก่ี �ำ ลังด�ำ เนนิ การก่อสรา้ งเช่นเดียวกบั ส่วนต่อ ขยายของรถไฟฟา้ มหานคร ซงึ่ ทงั้ หมดจะมเี ส้นทางท่ีขยายตัวถึงสี่เท่าภายในอีก2ทศวรรษหนา้ แมน่ ้�ำ ไดก้ ลับมาเปน็ เส้นทางท่ีได้รบั ความนยิ มในการเดนิ ทางภายในตัวเมือง ในปี 1940 เรอื โดยสารข้ามฟากได้ให้ บรกิ ารรบั ส่งตง้ั แต่ 6 โมงเช้าถึงเทีย่ งคนื ในปี 1960 บริษัทเรือดว่ นเจ้าพระยาไดก้ ่อต้งั ขน้ึ ซง่ึ มีเรอื ลำ�ยาวสขี าวและมธี ง แดงใหบ้ ริการในเสน้ ทางถนนตกและนนทบุรีระยะทางประมาณ 14 กโิ ลเมตร ในคลองฝัง่ ธนบรุ ี เรอื หางยาวตามบ้าน ได้บรรทุกคนไปยงั สวนมะพร้าว สวนกล้วยไมแ้ ละตลาดซ่ึงไดข้ นสง่ สนิ ค้าและของสดไปยงั ตลาด ไมน่ านเรือหางยาว ได้กลายเปน็ หน่ึงในการเดนิ ทางในโปรแกรมการทอ่ งเที่ยวซ่งึ มีทเี่ ดยี วในภมู ิภาค ในปี 1990 ความฝนั ของการใหบ้ ริการเรือเมลว์ ิง่ ตามคลองไดก้ ลบั คืนมาอกี ครั้งแต่ภายใตก้ ารดำ�เนินงานของรัฐบาล เช่นเดยี วกับบรษิ ทั เรือเมลข์ องนายเลศิ เส้นทางให้บริการคือคลองแสนแสบระหว่างสะพานผา่ นฟ้าใกลก้ ับภเู ขาทอง และวิง่ ไปเขตบางกะปิ ระยะทาง 12 กโิ ลเมตรออกไปนอกเมอื ง ซ่ึงเปน็ การเดนิ ทางทไี่ ด้รับความนิยมในหมู่นักทอ่ งเทีย่ ว เช่นกนั นอกกรงุ เทพ มบี ริการเรือดว่ นโดยบรษิ ทั ส่งเสริมซึ่งว่ิงจากแมน่ ำ้�ในกรงุ เทพไปยงั ปากน�ำ้ และมบี รกิ ารเรือส�ำ ราญไปยงั เกาะสีชงั พัทยา และต่อมาท่ีภเู กต็ ในปี 1980 นักทอ่ งเทีย่ วไดโ้ ดยสารเรือข้ามคนื ซ่ึงเป็นเรือไมส้ ักแบบบรรทุกขา้ ว จากกรุงเทพไปยังบางปะอนิ และอยธุ ยา บรษิ ัทหลายแหง่ ได้ใหบ้ ริการเรือหรสู ำ�หรับทริปไปบางปะอนิ มีบริการอาหาร บุฟเฟต์บนเรอื และขากลับเดนิ ทางด้วยรถบัสกลบั มาท่ีกรุงเทพ นอกจากนยี้ งั มบี รกิ ารเรือในภาคใตท้ ร่ี บั สง่ นกั ท่องเท่ียว ระหว่างฝ่ังสุราษฎร์ธานีและเกาะสมยุ

รถต๊กุ ตุ๊ก ในเวลาครึง่ ศตวรรษเรม่ิ ตง้ั แตป่ ี 1871 รถสองลอ้ ซึ่งลากดว้ ยคนได้บริการรบั สง่ ผู้โดยสารตามทอ้ งถนนซ่งึ เป็นท่ีพบเหน็ ไดท้ วั่ ไปส�ำ หรบั นกั ท่องเทย่ี วตา่ งชาติ โดยคน ในช่วงประมาณปี 1930 รถสามลอ้ ได้ถกู น�ำ เข้า มาใช้ ซึง่ บา้ งบอกว่าเร่มิ ทโ่ี คราช ทางตะวันออกเฉยี งเหนอื ของกรุงเทพ ซง่ึ รูปแบบของสามล้อไทยจะตา่ งจาก ของเวียดนามซ่งึ คนขับจะถบี จักรยานอย่หู ลังผโู้ ดยสาร ส่วนผูโ้ ดยสารจะนงั่ อยู่ดา้ นหน้า (ซ่งึ จะเปน็ ทีก่ ำ�บัง ระหวา่ งคนขับและยานพาหนะคนั อ่ืน) ในประเทศไทยคนขบั จะนัง่ อยจู่ ุดที่มีผลกระทบท่สี ุด ในวนั ท่ี 31 ธันวาคม 1959 รัฐบาลจอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต์ได้มีค�ำ สัง่ ใหป้ ระกาศห้ามใช้รถสามล้อวงิ่ ในถนน สายต่างๆเนือ่ งจากปัญหาการจราจร ผูป้ ระกอบการสามลอ้ จึงย้ายไปให้บริการยงั เมอื งอ่นื ๆโดยเฉพาะอย่าง ยิง่ ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื และภาคใตซ้ ึ่งมีราคาคอ่ นขา้ งถกู รถสามล้อหลายคันได้ดดั แปลงโดยได้พว่ ง กับรถมอเตอร์ไซสแ์ ละเพม่ิ สีสันให้กบั ตวั รถซงึ่ มีชื่อเรยี กว่ารถสามล้อ ในกรงุ เทพ ไดม้ ีความต้องการรถโดยสารแบบอน่ื ทม่ี ีราคาถกู กว่าแทก๊ ซี่จงึ นำ�มาสู่ตวั เลือกคือรถตุก๊ ตุ๊กซึ่ง เปน็ รถสามลอ้ เครอื่ ง ถกู ประดิษฐค์ ร้ังแรกในปี 1948 ท่ปี ระเทศอิตาลโี ดยชาวอติ าเลียนชื่อ ปอิ าจโจ อาเป (Piaggio Ape) ซง่ึ เป็นผูล้ ติ รถเวสปา้ หลงั จากนนั้ ไดแ้ พรก่ ระจายมาสญู่ ปี่ นุ่ ในปี 1957 และในปี 1960 หนง่ึ ปหี ลงั จากการแบนรถสามล้อถีบ บรษิ ทั ไทยไดน้ ำ�เข้ารถสามลอ้ ยี่หอ้ ไดฮัทสุ (Daihatsu) รนุ่ มดิ เจ็ท ดีเค (Midget DK)จำ�นวน 30คนั และการเดนิ ทางรูปแบบใหม่จงึ เรมิ่ ขึ้น ในปี 1965 รฐั บาลไทยพยายาม ยกเลกิ รถตุก๊ ตุ๊ก เนอ่ื งจากเห็นว่าเป็นรถทม่ี กี �ำ ลงั แรงมา้ ต�ำ่ แลน่ ช้า เกะกะกีดขวางทางจราจร แต่ภายหลงั จากการประท้วง รฐั บาลยอมจำ�นนและได้ออกใบอนญุ าตให้ ในชว่ งปี 1980 รถตกุ๊ ต๊กุ ท่ีเสียงดงั เครอื่ งยนต์ สองจังหวะท่ีมีเขม่าควันได้ถูกแทนที่ด้วยเคร่ืองยนต์ท่ีมีเสียงเงียบกว่าและปล่อยมลพิษน้อยเพราะขับเคล่ือน ด้วยกา๊ ซธรรมชาติ ในปี 1972 ญี่ปุ่นหยดุ ผลติ รถตุก๊ ตุ๊กสง่ ผลใหอ้ ะไหล่ของรถขาดตลาด หลังจากน้ันเจ้าของอู่ คุณจำ�รสั โวอ่อนศรี ได้ต้ังโรงงานโดยเริ่มจากผลิตชิ้นส่วนและอะไหล่รถและต่อมาได้ผลิตรถออกจำ�หน่ายและได้ทำ�การเปลี่ยน ปา้ ยชื่อยี่ห้อทา้ ยรถตกุ๊ ตุ๊กจาก “ไดฮทั สุ” (Daihatsu) เปน็ คำ�ว่า “THAILAND” ปัจจบุ ันได้ใชอ้ ยา่ งแพร่ หลายในเมืองไทยและไดส้ ง่ ออกจ�ำ หนา่ ยในหลายประเทศ รถต๊กุ ตุก๊ โดยทั่วไปจะทาสีรถเป็นสฟี ้าและสเี หลอื งซ่ึงเห็นได้ท่วั ไปในกรงุ เทพและเชยี งใหม่ ในเชยี งใหม่ ผูข้ บั รถ หลายคนได้เพิ่มเบาะน่ังแบบแนวยาวเข้าไปในห้องโดยสารซ่ึงต่างจากในกรุงเทพที่จะเป็นที่นั่งแบบโซฟาและ เป็นทน่ี ิยมในบรรดานักท่องเที่ยวแบค๊ แพคมาก สำ�หรบั นกั ท่องเท่ียวท่ัวไป การโดยสารรถตกุ๊ ตกุ๊ ถือเปน็ หนึ่ง กิจกรรมท่ตี ้องบรรจใุ นโปรแกรมการท่องเทย่ี วซึ่งบ่อยครัง้ เพือ่ จุดประสงค์ในการไดเ้ ซลฟี่ รถตุก๊ ต๊กุ ถอื เปน็ หนง่ึ พาหนะการเดนิ ทางที่คอ่ นขา้ งมเี อกลักษณ์ แมจ้ ะไมใ่ ช่วิธีที่ปลอดภัยที่สดุ แตค่ อ่ นขา้ งสะดวกในการ เดนิ ทางภายในตัวเมอื ง

เรือหางยาว วธิ กี ารแกป้ ญั หาอนั ชาญฉลาดของคลองทม่ี ขี นาดตน้ื คอื เรอื หางยาวซง่ึ สง่ิ ประดษิ ฐอ์ นั เปน็ เอกลกั ษณข์ องไทย ซงึ่ คดิ คน้ ในจังหวดั สิงหบ์ ุรใี นแมน่ �้ำ เจ้าพระยาในปี 1933 โดยสนอง ฐิตะปรุ ะ ซง่ึ เป็นผู้ขบั เรอื หลวงของ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั สนองและผพู้ ฒั นาอกี 4 คนไดร้ บั รางวลั จากสถาบนั วจิ ยั ไทยเพอ่ื เปน็ การ ยกยอ่ งความชาญฉลาดของพวกเขา เรือไม้ท่ีมคี วามยาว30เมตรพรอ้ มกันสาดเรือวง่ิ บนนำ้�จากแรงของเครื่องยนตท์ ม่ี ปี ลายเปน็ ใบพัด ซง่ึ ใบพดั จะ เปน็ ตวั บังคับทิศทางการหมุนของเรอื ได้ภายในรศั มี 180 องศาในคลองท่มี ขี นาดแคบ ใบพดั ทมี่ ขี นาดยาว 2 เมตรจะรองรับการขบั เคลือ่ นในคลองท่ีมคี วามลกึ 2เมตร เรือหางยาวหลายลำ�ไดม้ ีระบบการขบั เคล่อื น ถอยหลงั อกี ดว้ ย เรือหางยาวได้กลายเป็นที่นิยมเพราะใช้เครื่องยนต์จากรถยนต์และรถบรรทุกมือสองซึ่งมีราคาถูกและง่ายต่อ การดแู ลรักษา และยังสะดวกสบายตอ่ การลอ่ งในแมน่ ำ้�ท่ีเต็มไปด้วยผักตบชวาท่ขี ึ้นตามผวิ น้ำ�ซึง่ ปิดทางน�้ำ ในปี 1960 เรอื หางยาวได้เป็นทโ่ี ปรดปรานของนกั ท่องเทย่ี วท่ตี อ้ งการเทยี่ วชมตลาดนำ้�และล�ำ คลองตามยา่ น ธนบรุ ี นอกจากนี้ยังมีเรอื หางยาวที่ล่องในทะเลซง่ึ มขี นาดกว้างใหญ่กว่า นอกจากนีย้ งั ถูกใช้เปน็ เรือประมง ตามชายฝง่ั อ่าวไทยและแถบภูเกต็ และกระบี่อีกดว้ ย

“ในช่วงที่การท่องเทีย่ วเฟ่ืองฟอู ย่างมากระหว่างปี 1960 และ ปี 1970 ธนาคารกรงุ เทพมีบทบาทสำ�คัญในการ ให้เงนิ ลงทุนสำ�หรบั การ่อสรา้ งโรงแรม รสี อร์ท สวนสนุก และสงิ่ อ�ำ นวยความสะดวกพนื้ ฐาน” ชนิ และชาตรี โสภณพนิช ชิน โสภณพนชิ เกดิ ในฝง่ั ธนบรุ ใี นปี 1910 เป็นนักธรุ กจิ ผ้ซู ่ึงชวี ิตจากเสอ่ื ผนื หมอนใบกลายมาเปน็ มหาเศรษฐี ท่านเป็นผู้ก่อตั้งธนาคารกรุงเทพซึ่งเริ่มต้นจากร้านขนาดเล็กในบ้านบนถนนราชวงศ์ท่ีให้เงินกู้ที่พ่อค้าแม่ค้า และไดก้ ลายเปน็ หน่งึ ในธนาคารยกั ษใ์ หญข่ องภูมภิ าคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ในประวัติศาสตร์ 72 ปี ธนาคารกรงุ เทพไดเ้ ปน็ ผสู้ นบั สนนุ สถานทท่ี อ่ งเทย่ี วส�ำ คญั มากมายในภมู ภิ าคไมว่ า่ จะเปน็ โรงแรมชน้ั น�ำ สปา หรือรีสอรต์ ทีด่ งึ ดูดนักท่องเที่ยวจากทว่ั โลก มบี ิดาเปน็ ชาวจีนผู้อพยพและมารดาคนไทยอยู่ทฝ่ี ั่งธนบุรี เมอ่ื อายุได้ 5 ขวบคณุ ชินได้ถูกสง่ กลบั ไปอยู่ กบั ยา่ ท่ีประเทศจีนและไดก้ ลับมาทีก่ รงุ เทพเมื่ออายุได้ 12 ปีโดยท�ำ งานเปน็ เสมียนในโรงเลอื่ ยไมแ้ หง่ หนึ่ง เมอ่ื อาย2ุ 9 ปี ทักษะด้านการท�ำ ธุรกิจของท่านเริม่ ปรากฎอยา่ งชดั เจน คุณชนิ ได้กอ่ ตัง้ บรษิ ัทจำ�หนา่ ยวสั ดุ อปุ กรณ์กอ่ สร้างของตนเองบนถนนเจริญกรุงโดยจดทะเบยี นในชอื่ บริษัท เอเซีย จำ�กดั และได้เรม่ิ กิจการค้า ทองคำ�ซงึ่ ประสบความสำ�เร็จและรำ�่ รวยอย่างมาก เมอื่ ราคาทองคำ�และไม้พงุ่ สูงข้นึ ในชว่ งหลงั สงครามโลก ครงั้ ที่ 2 ส่งผลใหก้ จิ การประสบความสำ�เร็จอยา่ งมากและไดต้ ่อยอดไปสกู่ จิ การอน่ื ๆ ภายหลงั สงคราม ธนาคารต่างประเทศได้ถอนตัวออกจากประเทศไทยทำ�ให้ขาดธนาคารท่ีมีความสามารถท่ีจะให้บริการ ผูป้ ระกอบการไทย ด้วยเล็งเหน็ ในโอกาสดังกลา่ ว คุณชนิ และเพือ่ นไดร้ ว่ มลงทนุ กอ่ ตง้ ธนาคารในวันที่ 1 ธนั วาคม 1944 และตงั้ ช่ือวา่ ธนาคารกรุงเทพซง่ึ ไดเ้ ปิดท�ำ การข้นึ โดยมีเปา้ หมายในการให้บรกิ ารทาง ธนาคารแก่คนไทย โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ผู้ประกอบการขนาดเล็ก และเป็นแหล่งบริการเงินทุนให้กบั การก่อต้ัง ธรุ กิจใหม่ เช่น ธรุ กจิ น�ำ เขา้ การคา้ ทองค�ำ โรงภาพยนตร์และการผลติ ในปี 1952 คณุ ชนิ ไดร้ ับการแต่งตัง้ ให้ด�ำ รงตำ�แหน่งประธานธนาคารกรงุ เทพและภายใต้ของการบริหารของ ทา่ น ธนาคารกรงุ เทพได้มบี ทบาทสำ�คัญในการขบั เคล่ือนการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย ซึ่งเป็นระยะเดยี วกับ ทีก่ ารทอ่ งเที่ยวกลายเปน็ ภาคส่วนส�ำ คัญในการเตบิ โตทางเศรษฐกิจ ธนาคารกรงุ เทพไดใ้ หบ้ ริการเงนิ ลงทนุ เพือ่ การก่อสรา้ งโรงแรมและเงินทนุ หมุนเวยี นส�ำ หรับธรุ กิจทอ่ งเทย่ี วขนาดเล็ก ด้วยพ้นื หลังทางด้านธรุ กิจ กอ่ สร้างท�ำ ใหท้ ่านสามารถประเมินความตอ้ งการตลาดและให้ความช่วยเหลอื ลูกคา้ ในการดำ�เนนิ ธุรกิจ

ในช่วงท่กี ารท่องเที่ยวเฟือ่ งฟูอยา่ งมากระหวา่ งปี 1960 และ ปี 1970 ธนาคารกรงุ เทพมบี ทบาทส�ำ คญั ใน การใหเ้ งนิ ลงทนุ สำ�หรบั การกอ่ สรา้ งโรงแรม รสี อร์ท สวนสนกุ และสิ่งอ�ำ นวยความสะดวกพืน้ ฐาน ภายใต้ การน�ำ ของคณุ ชิน ธนาคารกรุงเทพไดส้ ร้างประเทศไทยใหเ้ ปน็ มติ รกับนกั ท่องเท่ียวและมีสว่ นส�ำ คญั ในการ พัฒนาอตุ สาหกรรมซึ่งภายหลงั ไดก้ ลายเป็นผรู้ ับแลกเปลยี่ นเงนิ ตราต่างประเทศรายใหญใ่ นตลาด คุณชินไดเ้ กษียณในปี 1977 และไดม้ อบตำ�แหน่งประธานบริหารต่อใหแ้ ก่ลูกชาย คือคณุ ชาตรี โสภณพนชิ ภายใต้ของนำ�ของคณุ ชาตรี ธนาคารไดเ้ ติบโตจนกลายเป็นธนาคารท่ใี หญท่ ีส่ ดุ ในประเทศไทยซ่ึงมีผลกำ�ไร เติบโตถงึ 12 เท่า นอกจากการสรา้ งความแข็งแกรง่ ทางดา้ นการเงนิ ใหก้ บั บรษิ ัท คณุ ชาตรยี ังไดป้ รบั ระบบ ให้มีความทันสมัยซงึ่ เป็นธนาคารแรกในประเทศไทยท่นี ำ�บรกิ ารฝากถอนเงนิ ออนไลนม์ าใชแ้ ละเปน็ ธนาคาร แรกทใี่ ช้ซอฟทแ์ วรเ์ ปน็ ภาษาไทย ระหว่างปี 1980 และ 1990 สง่ิ ทีธ่ นาคารไดม้ ุ่งเน้นเปน็ เร่อื งหลกั คือการอ�ำ นวยความสะดวกลกู คา้ ในปี 1984 ธนาคารกรุงเทพได้เริ่มให้บรกิ ารเคร่ืองเอทีเอม็ และในป1ี 988ไดเ้ ร่ิมให้บริการเครดิตการด์ ในชว่ งต้นปี1990 ตูเ้ อทีเอ็มของธนาคารกรงุ เทพได้ใหบ้ ริการถอนเงนิ และบริการอืน่ ๆตลอด 24 ช่วั โมง ในขณะทีล่ กู ค้าทถ่ี อื บตั ร เอทีเอ็มของธนาคารกรุงเทพสามารถที่จะถอนเงินจากตู้เอทีเอ็มอ่ืนท่ัวประเทศและทั่วโลกและตามมาด้วย บริการอน่ื ๆ เชน่ บัตรเดบิต บัตรพเิ ศษส�ำ หรบั นักท่องเท่ยี ว เคานเ์ ตอรแ์ ลกเปล่ียนเงินตราในย่านทอ่ งเท่ยี ว และบริการแลกเปล่ียนเงินสกุลต่างประเทศซึ่งช่วยให้นักท่องเท่ียวสามารถจ่ายค่าสินค้าและบริการต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นคา่ ทพี่ ัก คา่ เดนิ ทางและสนิ คา้ ไทยซง่ึ ช่วยกระตนุ้ ธรุ กิจในประเทศ ปจั จุบันภายใตก้ ารบริหารของคุณชาติศิริ – ลูกชายคณุ ชาตรแี ละหลานคุณชิน รากฐานทีแ่ ขง็ แกรง่ ของ ธนาคารกรุงเทพในดา้ นการบริการ ความมีประสทิ ธภิ าพและความแข็งแกร่งทางการเงนิ ยังคงตอบสนอง ความต้องการของลกู ค้าในประเทศและท่วั โลกอยา่ งตอ่ เนื่อง ในฐานะธนาคารชั้นนำ�ของภูมิภาพดว้ ยสาขา ทัว่ โลก 32 สาขา (16 สาขาในเอเซยี ตะวนั ออกเฉียงใต้) ธนาคารกรงุ เทพจะไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการรวม กลุ่มประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (AEC) ท่ีประเทศไทยและประเทศเพ่ือนบ้านรวมกลุม่ กนั เพอ่ื ส่งเสริม อตุ สาหกรรมและการลงทุน รวมทั้งด้านการทอ่ งเท่ียว ปจั จุบนั ภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้จะกลายเป็น แหล่งการพัฒนาเศรษฐกจิ ทส่ี ำ�คัญและจุดหมายปลายทางของการท่องเทีย่ วที่น่าสนใจในระดับโลก

“พวกเขาจะรีบเขา้ และออกจากท่าเรอื ก่อใหเ้ กิดอันตราย ต่อผ้โู ดยสารเรอื ขา้ มฝาก และเมอื่ เรือทดี่ ำ�เนนิ การโดยรฐั บาล ได้ลม้ ละลาย ทำ�ใหค้ ุณหญิงฯ ไดข้ อซ้ือกจิ การต่อ” คณุ หญงิ สภุ ทั รา สิงหลกะ คณุ หญงิ สภุ ทั รา สิงหลกะ เปน็ นกั ธรุ กิจผู้บกุ เบิกกิจการเดินเรือข้ามแมน่ ้ำ�เจ้าพระยาผ้เู หน็ วิวฒั นาการของ ธุรกิจท่ีเติบโตจากจุดเร่ิมต้นท่ีมีเรือเพียงไม่กี่ลำ�จนกลายเป็นเครือข่ายเดินเรือท่ีให้บริการรายวันท้ังชาวไทย และชาวตา่ งประเทศ ทา่ นยังเปน็ เป็นนกั ธุรกจิ สตรหี วั ก้าวหน้าคนหนง่ึ ทีย่ นื หยัดตอ่ สเู้ กี่ยวกบั สิทธสิ ตรแี ละ ได้รบั การเลือกต้งั เปน็ สมาชกิ วฒุ ิสภา แมน่ �ำ้ เสน้ ทางการเดนิ ทางหลกั ทไ่ี ดร้ บั ความนยิ มในเอเซยี ซง่ึ เปน็ กจิ การของครอบครวั ภายใตช้ อ่ื บรษิ ทั เรอื ดว่ น เจา้ พระยา ภายหลังจากการน�ำ บรกิ ารเรอื ด่วนเจ้าพระยาเขา้ มาในปี 1971 การเดินทางโดยเรือได้กลายเปน็ การเดนิ ทางหลกั ทง้ั ในดา้ นประสบการณท์ แ่ี ปลกใหมแ่ ละความคมุ้ คา่ ทไ่ี ดร้ บั ซง่ึ เปน็ ทช่ี น่ื ชอบของนกั ทอ่ งเทย่ี ว ในการเที่ยวชมทัศนียภาพรอบเมืองเพราะจะมีวิธีไหนท่ีจะสามารถรับชมความยิ่งใหญ่ของสถานท่ีสำ�คัญ ในกรงุ เทพผ่านการเดินทางที่รวดเร็วและยังไดเ้ พลดิ เพลนิ กบั สายน�้ำ ไดอ้ กี ไม่มเี มืองอน่ื ในเอเซียที่จะมอบ ประสบการณก์ ารทอ่ งเทยี่ วทล่ี �ำ่ ค่าเชน่ น้อี กี แลว้ ผู้ก่อตั้งคุณหญิงสภุ ทั รา สิงหลกะ (1910-1993) ได้เกิดบนบ้านเรือนแพริมแมน่ ้�ำ เจ้าพระยา เมื่ออายุ 12 ปี ท่านไดถ้ วายตวั รับใช้ในราชส�ำ นักในสมัยของพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฏเกล้าเจ้ายู่หัว (ครองราชยป์ ี 1910- 1925) ทำ�ให้ทา่ นไม่มโี อกาสได้เรียนหนังสอื และเมอ่ื ไดร้ บั อสิ รภาพ ท่านได้ออกจากวังเมอ่ื อายไุ ด้ 16 ปี และไดเ้ รม่ิ ท�ำ งานกับแม่ซ่ึงเป็นเจา้ ของเรือไมจ้ �ำ นวน 2 ลำ�และให้หน้าทีแ่ ก่ทา่ นในการพายเรือรบั ส่งผโู้ ดยสาร ระหว่างฝั่งกรงุ เทพและฝั่งธนบุรี ดว้ ยความมงุ่ ม่ันในการศกึ ษาถงึ แม้ท่านจะไมไ่ ดจ้ บการศกึ ษาระดบั มัธยมปลายกต็ าม ทา่ นได้สมัครเข้าเรยี น ท่มี หาวทิ ยาลยั ช้นั น�ำ ของไทย มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ (ซง่ึ อยู่ริมนำ้�) จ่ายคา่ เทอมดว้ ยตนเองจากเงินท่ไี ด้ จากกิจการเดินเรือ ในท่ีสุดท่านไดร้ ับปรญิ ญาด้านกฏหมายและเป็นผ้หู ญงิ หนงี่ ในห้าคนในชั้นเรียน แทนที่ จะทำ�งานในด้านกฎหมาย ทา่ นได้กลบั ไปช่วยกิจการเดนิ เรอื หลงั จากสงครามโลกครงั้ ท่ี 2 ท่านไดเ้ รมิ่ ตน้ น�ำ เครือ่ งยนตด์ เี ซลมาใช้แทนเรอื แจว และไดซ้ อ้ื เรือจ�ำ นวนหลายล�ำ เนื่องจากมีรายได้เขา้ มามากขนึ้ เพยี งพอ ท่ีจะซ้ือไดแ้ ละยังกอ่ ตงั้ บริษัทเดนิ เรือท่ีกลายเปน็ บริษัทยกั ษ์ใหญ่

เรอื ขา้ มฟากเปน็ วธิ กี ารหลกั ส�ำ หรบั การสญั จร แตย่ งั มคี วามจ�ำ เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งมเี รอื โดยสารทว่ี ง่ิ ระหวา่ งทางเหนอื ไปจนทางใต้ของแมน่ �ำ้ ท่ที ำ�หนา้ ที่เหมอื นรถโดยสารซ่งึ จอดรบั ส่งผโู้ ดยสารระหวา่ งจดุ จอดตา่ งๆ รัฐบาลไทย ได้ดำ�เนินการให้บริการเรือท่ีว่ิงตามความยาวของแม่น้ำ�จากถนนตกทางตอนใต้สุดของถนนสายใหม่ไปยัง จงั หวดั นนทบรุ ี 10 กม. ทางตอนเหนือของกรุงเทพ สอดคล้องกบั ความเหน็ ของลกู สาวคุณหญิงสภุ ัทรา คณุ สุภาพรรณ พิชัยรณรงค์สงคราม ซงึ่ ปจั จบุ ันเป็นผู้จัดการบริษัท ไดใ้ ห้ความเห็นวา่ คุณหญงิ ไมช่ อบบรกิ าร เรือด่วนเนอ่ื งจากพฤติกรรมของคนขับทีเ่ ป็นอันตรายแกผ่ ูโ้ ดยสาร “พวกเขาจะรีบเข้าและออกจากท่าเรือก่อ ให้เกดิ อนั ตรายต่อผโู้ ดยสารเรือข้ามฝาก และเมื่อเรอื ทีด่ �ำ เนนิ การโดยรฐั บาลไดล้ ้มละลาย ท�ำ ให้คณุ หญิงฯ ไดข้ อซ้ือกิจการต่อ” ท่านไม่ได้คิดว่ากิจการน้ีจะเป็นกิจการที่ทำ�เงินซ่ึงในระยะแรกท่านคิดถูกเพราะเรือด่วนได้สร้างภาระด้าน รายไดแ้ ต่ยงั มรี ายได้จากเรอื ข้ามฟากเขา้ มาชว่ ยจนุ เจอื จดุ เปล่ยี นมาในปี 1987 “การจราจรทางถนนนนั้ เลวรา้ ยอยา่ งมากในกรงุ เทพจนผูค้ นต้องหนั มาใช้บรกิ ารเรอื ด่วน และเพียงไมน่ านเรอื ด่วนได้ถูกจดั ให้เปน็ การเดนิ ทางที่ยอดเยย่ี มทีเ่ ดินทางจากสถานท่ีหนึ่งไปอกี สถานท่ีหน่งึ ” คณุ สภุ าพรรณได้กล่าวไว้ เวลาผ่านไป เรือได้ขยายใหญเ่ พ่อื รอรับจ�ำ นวนผโู้ ดยสารทเ่ี พ่มิ มากขนึ้ ทา่ เรือยงั ได้ถูกกอ่ สรา้ งใหม่เพอ่ื เพิ่มความปลอดภยั มากข้ึน และมบี รกิ ารด้านการท่องเท่ียวเกิดขึน้ นักท่องเที่ยวที่ข้ึนเรือจากท่าเรือสะพานตากสินจะได้รับคำ�บรรยายเก่ียวกับสถานที่สำ�คัญที่พวกเขาได้ผ่าน นอกจากนพ้ี วกเขายงั สามารถทจ่ี ะลงตามจดุ สำ�คญั เพอ่ื เทีย่ วชมบรเิ วณโดยรอบ และรอขึน้ เรอื เทย่ี วใหม่ บรกิ ารนไ้ี ดร้ บั ความนยิ มอยา่ งยง่ิ เรอื ขา้ มฟากล�ำ เกา่ จ�ำ นวนหลายล�ำ ไดถ้ กู ท�ำ สใี หมแ่ ละไดป้ ลอ่ ยเชา่ ใหโ้ รงแรม ทำ�เป็นเรือรบั สง่ ผู้โดยสารเป็นการฟ้ืนฟูความโรแมนตกิ ในแบบเกา่ ๆ อกี ทัง้ ยงั มบี รรยากาศท่ผี ่อนคลาย จากการลอ่ งแม่น้ำ� มนต์เสนห่ ข์ องแม่น�ำ้ สำ�หรับคณุ และนักท่องเที่ยวคืออะไร? “เช่นเดยี วกบั คณุ แม่ของดิฉนั ดฉิ ันได้อยกู่ ับแมน่ �้ำ มาทง้ั ชีวติ มันมคี วามน่าค้นหา ดฉิ นั ไมเ่ คยเบ่ือกบั การน่งั มองแม่น้�ำ เลยและยังเป็นวธิ ีการทด่ี ีในการฝึกทำ� สมาธิ ดฉิ ันคิดวา่ นักทอ่ งเที่ยวตะวนั ตกคงจะเห็นไม่ต่างกับดิฉนั ”

การเปิดบ้านต้อนรับโลก ถ้าหากการพัฒนาการบริการสายการบิน และโครงสร้างพื้นฐานเป็นพลวัตขับเคลื่อนในการเริ่มต้นส่งเสริมการ ทอ่ งเทย่ี วในประเทศไทย โรงแรมอาจถกู ร่างอยูต่ รงจุดต�ำ แหน่งท่สี ามของสามเหลีย่ มธุรกจิ องคป์ ระกอบที่ขาดหายไป ในสมการการทอ่ งเทย่ี วคือ ห้องพักโรงแรมทมี่ คี ณุ ภาพในจ�ำ นวนทเ่ี พยี งพอ ทั้งในกรุงเทพมหานครฯและตา่ งจงั หวัด เพ่อื รองรบั นักท่องเท่ยี วจ�ำ นวนมาก ประเดน็ นี้เปน็ ประเดน็ สำ�คญั ทีไ่ ด้นำ�มาหารอื หลงั จากที่จอมพลสฤษด์ิ ธนะรชั ต์ ประกาศจดั ต้ังองค์การสง่ เสรมิ การทอ่ งเท่ยี วแหง่ ประเทศไทย (The Tourism Organization/Authority of Thailand) ในปี 1960 ความเฟื่องฟูในการลงทนุ ด้านการโรงแรมและการกอ่ สร้างเกิดข้ึนในช่วงปี 1960 – 1969 โดยมกี ารจดั สรรหอ้ งพักมากมายสำ�หรบั นักทอ่ งเทย่ี วและรายไดท้ ห่ี ลั่งไหลดงั่ สายธารเข้าสู่ประเทศ รวมท้ังการบริการเสริมต่างๆ ของโรงแรมท่พี ร่ังพรูออกมา โรงแรมและร้านอาหารตา่ งๆ สรา้ งรายได้ 4.9% ของรายได้ท้งั ประเทศในตอนท้ายของ ศตวรรษ และการสรา้ งโรงแรมและบรกิ ารตา่ งๆในต่างจงั หวดั จะท�ำ ใหม้ ีความเปน็ ไปได้ท่ีนกั ท่องเที่ยวจะเคลื่อนไหว เข้ามาในจังหวัดต่างๆ อยา่ งไรกต็ าม ส่ิงตา่ งๆมักจะไม่เปน็ เช่นนั้นเสมอไป ช่วงกอ่ นปี 1960 กรงุ เทพมหานครครอบครองผกู ขาดโรงแรมไว้ ในกำ�มอื และพบว่ามีการรอ้ งเรยี นมากมาย เมอ่ื ย้อนกลบั ไปมากกวา่ หน่งึ ศตวรรษ แสดงใหเ้ หน็ วา่ โอกาสของการหา สถานทีพ่ กั ที่ดนี ัน้ คอ่ นขา้ งมืดมัว ดอกเตอร์ ด.ี บ.ี แบรดลยี ์ (Dr. D.B. Bradley) ผูพ้ ิมพ์จำ�หนา่ ยหนงั สือพมิ พ์ “เดอะ บางกอก เรคคอร์ด-เดอร์ (The Bangkok Recorder)” ซง่ึ เป็นหนังสือพมิ พฉ์ บับแรกของกรงุ เทพมหานคร ไดบ้ ันทกึ ไวใ้ น “ปฏทิ นิ กรุงเทพมหานคร (Bangkok Calendar)” ประจ�ำ ปขี องเขา (ปรทิ ัศน์ ปี 1864) ว่า กรงุ เทพมหานคร มโี รงแรมท่เี หมาะสมต่อการเข้าพกั เพียง 3 แห่งเท่านน้ั ได้แก่ โรงแรมเดอะยเู นียน (The Union) โรงแรมฟิชเชอร์ (Fisher’s) และโรงแรมดิโอเรียนทอล (the Oriental) ซง่ึ เปน็ ท่ีพกั สำ�หรับนักเดินเรอื ทีเ่ ขา้ มาอยบู่ นพ้นื ท่กี อ่ สรา้ งของ ส�ำ นักงานใหญบ่ รษิ ัทอีสต์ เอเชยี ติค (East Asiatic Company) ในอนาคต ซึ่งอย่ตู รงขา้ มโรงแรม ดิโอเรียนทอลปจั จุบนั อยา่ งไรก็ดี ถงึ แมจ้ ะปรากฎว่ามีความหลากหลายของโรงแรมจีนและไทยขนาดเลก็ ต่างๆ แต่นักท่องเท่ียวชาวยโุ รป นอ้ ยมากท่จี ะตัดสินใจเข้าพกั ในโรงแรมเหล่านี้ ยุคนไี้ ม่ได้เปน็ ยุคที่ชาวต่างชาติมแี นวโน้มม่งุ เนน้ การใชบ้ รกิ ารโรงแรมขนาดเลก็ ในปี 1865 โรงแรมตา่ งๆลดจำ�นวนลง จาก 3 แหง่ เหลอื เพยี ง 2 แหง่ ได้แก่ โรงแรมเดอะยูเนยี น (The Union) และโรงแรมดิโอเรยี น-ทอล (the Oriental) ในปีต่อมา เกิดเหตุเพลงิ ไหม้ จึงเหลอื เพียงโรงแรมเดอะยเู นยี น (The Union) เพียงแห่งเดียวเท่านั้น อยา่ งไรกต็ าม ในปี 1867 โรงแรมแฟลคส์ (Falck’s Hotel) ไดเ้ พมิ่ สมทบข้ึนมา แตก่ ารด�ำ เนินธุรกิจก็สะดุดลงในปีต่อมา เหลือเพียง โรงแรมเดอะยเู นยี นเท่านั้น ที่ใหก้ ารต้อนรบั บริการนกั ทอ่ งเทีย่ วและชาวต่างชาติ หลงั จากนนั้ แฟลคส์ (Falck’s) ไดฟ้ ้ืนตวั ขน้ึ มาอกี คร้งั และเปน็ ทีร่ ู้จักอยา่ งดีในนาม “แฟลคส์ โบว์ลิง่ อลั เลย์ แอนด์ บลิ บอรด์ ฮอลล์ (Falck’s Bowling Alley and Billiard Hall)” ซง่ึ เป็นคฤหาสน์บนั เทิง รวมเข้าไว้ดว้ ยร้าน อาหารและที่พกั และเป็นสญั ญาณของกลมุ่ โรงแรมท่มี สี ง่ิ อำ�นวยความสะดวกและบรกิ ารท่ีขยายมากขึน้ ในยคุ กลาง ของศตวรรษที่ 20 ชว่ งกลางฤดฝู น แฟลคสต์ ้องประสบภาวะนำ�้ ทว่ มจากแมน่ ำ�้ ทอ่ี ยู่ใกลเ้ คียง เน่ืองจาก ตวั อาคารเป็น อาคารแถวยาวชนั้ เดยี ว ซง่ึ ยกระดับสูงขึ้นมาจากพ้นื ดนิ เพยี ง 1.2 เมตร เท่าน้ัน

ในปี 1870 “ปฏทิ นิ ”ประจ�ำ ปีของดอกเตอร์ แบรดลยี ์ มีโรงแรมทั้งหมด 6 แหง่ ปรากฎอยใู่ นรายการ ได้แก่ โรงแรม เดอะยเู นียน (The Union) โรงแรมแฟลคส์ (Falck’s Hotel) โรงแรมเยอรมนั (German Hotel) โรงแรมฮมั เบริ ก์ (Hamburg Hotel) โรงแรมมารีน (Marine Hotel) และโรงแรมสยาม (Siam Hotel) โรงแรมบางแห่งมีบริการ โต๊ะบิลเลียดและลานโบว์ลงิ่ เพ่อื คลายความเบอื่ หน่ายให้กบั แขกผู้เขา้ พกั เนอ่ื งจากไมม่ สี ถานบันเทิงผ่อนคลายอื่นๆ ในละแวกนน้ั เลย อย่างไรก็ดี โรงแรมไดจ้ ดั ให้มีงานอดิเรกที่เหมาะสมสำ�หรบั ลูกค้า ซึ่งสว่ นใหญ่เป็นผูช้ ายเกอื บทงั้ หมด โรงแรมดโิ อเรียนทอล (The Oriental) ซ่ึงเป็นทร่ี ู้จักดี จากปี 1876 ถงึ ปจั จบุ ัน โรงแรมน้สี ร้างข้ึนโดยพระวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ ปฤษฎางค์ (พระราชโอรสในรชั กาลที่ 3 ทรงดำ�รงฐานะในตำ�แหนง่ นกั การทตู และผู้ร่วมก่อต้งั ที่ทำ�การ ไปรษณยี ์สยาม) โดยทพ่ี ระบดิ าทรงคดั คา้ นตอ่ การกอ่ สรา้ ง แฟลคส์ โบวล์ ิ่ง อลั เลย์ (Falck’s bowling alley) พระวรวงศ์เธอพระองคเ์ จา้ ปฤษฎางคท์ รงชี้แจงเหตผุ ลวา่ พลทหารเรอื จ�ำ เป็นต้องมีสถานท่ีพักท่ีเหมาะสม เม่อื พวกเขา ถูกเรยี กตัวมาทำ�งานทกี่ รุงเทพฯ ในปี 1888 แฟลคส์ (Falck’s) กลายมาเป็นศนู ย์กลางของยา่ นโรงแรมใหม่ พร้อมทงั้ โรงแรมขนาดเลก็ ส่วนใหญท่ ี่ กระจกุ ตัวอยู่บนถนนสายใหม่ (New Road) ระหวา่ งสพ่ี ระยาและถนนสีลม เราทราบว่าโรงแรมครอส (Kross Hotel) ขยายออกไปในปีน้นั เพราะโฆษณาบนหนา้ หนังสือพมิ พ์ทกี่ ลา่ ววา่ “ อาคารของโรงแรมไม่ไดถ้ ูกสร้างขน้ึ มาเพ่ือโออ้ วด ความยิง่ ใหญ่... แตผ่ ูค้ นท่ีชอบธรรมชาติและความสงบจะไดร้ บั ความสะดวกสบาย ความสะอาดและการบรกิ ารทสี่ ภุ าพ ณ โรงแรมครอส ซ่งึ สร้างขน้ึ โดยนายครอส (Kross)” จากบญั ชรี ว่ มสมัย ปรากฏวา่ โรงแรมครอสและโรงแรมอน่ื ๆ อกี สองสามแหง่ ไดร้ บั ขอ้ ยกเวน้ จากกฎเกณฑท์ ม่ี อี ยู่ เปน็ ทท่ี ราบโดยทว่ั ไปวา่ โรงแรมตา่ งๆนน้ั มคี ณุ ภาพต�ำ่ กวา่ มาตรฐาน และมจี ำ�นวน ไม่เพยี งพอ ลูกคา้ ทอ้ งถิน่ ส่วนใหญร่ บั ประทานอาหารในรา้ นอาหารของโรงแรมเหลา่ นี้ แตเ่ ลอื กทจี่ ะไม่ พกั อาศัยในโรงแรม ทกุ ส่ิงทกุ อย่างเปลี่ยนแปลงไปอยา่ งช้าๆ หนังสือพมิ พ์บางกอก ไทมส์ (Bangkok Times) รายงานวา่ โรงแรม ดโิ อเรียนทอล (The Oriental Hotel) “มีไฟฟา้ สวา่ งทกุ หอ้ งเม่อื วนั พุธทผ่ี า่ นมา” “โรงแรมอืน่ ๆ นอกจากมไี ฟฟ้าใชแ้ ลว้ ยงั มกี ารบกุ เบกิ การใช้โทรศัพท์อกี ด้วย” ในชว่ งปลายปี 1891 หนังสือพิมพไ์ ด้มีการบนั ทกึ ไวว้ า่ “เบอรโ์ ทรศพั ท์ของ โรงแรมเดอะบางกอก (The Bangkok) ทีอ่ ยูบ่ นถนนสายใหม่ (The New Road) คอื 48” การไดร้ ับความนิยมของสายทางรถไฟปากน�ำ้ (สร้างเสรจ็ สมบรู ณ์เมอ่ื ปี 1893) และตามมาดว้ ยเสน้ ทางเดินเรือกลไฟ ทลี่ อ่ งไปสชู่ ายฝง่ั ทะเลอา่ งหนิ (อา่ งศลิ า)เปน็ ชว่ งเวลากอ่ นทจ่ี ะมผี สู้ รา้ งโรงแรมส�ำ หรบั ชาวตา่ งชาตแิ ละชาวไทยชนชนั้ สงู เป็นที่นา่ สนใจว่าพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าฯ ทรงรบั ส่ัง ให้กอ่ สร้างท่าเรือ และโรงแรมรมิ ชายหาดท่ี อ.ศรีราชา ซึ่งเป็นอาคารแฝดจ�ำ นวนสองชนั้ บรรจุด้วยเตยี ง จำ�นวน 44 เตียง และทรงประทานนามว่า มหาราชาและมหาราชนิ ี และเป็นเวลาหลายปที ีพ่ วกเขา มคี วามสุขมากสำ�หรบั การทอ่ งเท่ียวตา่ งจังหวัด ทกุ ส่งิ ทกุ อย่างไดป้ รบั ปรงุ ดีข้ึนเป็นอย่างมากในชว่ งปี 1900 ดว้ ยการทโี่ รงแรมหลายแหง่ ไดร้ ับ ช่ือเสียง เปน็ ท่ีนยิ มใน หมนู่ ักเดินทาง โดยโรงแรมทไี่ ด้รับความนิยมตามล�ำ ดบั ได้แก่ โรงแรมดิโอเรยี นทอล (The Oriental) โรงแรมโฮเตล็ ดิ ยโุ รป (Hotel d’Europe) โรงแรมโฮเต็ล เดอ ลา เพซ์ (Hotel de la Paix) โรงแรมเดอะบรสิ ทอล (the Bristol) และ โรงแรมเดอะพาเลซ (the Palace) ซ่ึงโรงแรมทง้ั หมดน้ีด�ำ เนนิ การได้เปน็ อยา่ งดี จนกลายมาเป็นสถานประกอบ การทพี่ ักอาศยั และสถานทีจ่ ดั งานสังคมชัน้ น�ำ ของเมอื งไทย

อย่างไรกต็ าม สมเด็จเจา้ ฟ้ามหาวชิราวุธฯ ทรงได้รับการสถาปนาเป็นพระมหากษตั ริย์ใน ปี 1910 (r. 1910 - 1925) ทรงนิพนธ์พระราชหตั ถเลขาถึงพระสหายชาวอังกฤษท่านหนงึ่ ที่กรงุ ลอนดอนว่า “ข้าพเจ้าขอเตือนท่านว่า โรงแรมของ เรามคี วามนา่ ขยะแขยงจรงิ ๆ ซ่ึงไมม่ ีค�ำ ใดจะกลา่ วแทนได้อีกแลว้ ขา้ พเจ้าได้ยินมาวา่ กรมพระคลงั ขา้ งท่ี (Privy Purse) กำ�ลังด�ำ เนินการรว่ มกบั ซี.จ.ี เอ็ดเวิรดส์ (C.G. Edwards) นกั ธุรกจิ ชาวอเมรกิ ัน ซง่ึ เปน็ ทีท่ ราบกนั ดวี า่ เขาก�ำ ลังจะ สร้างโรงแรมทท่ี นั สมยั ทส่ี ดุ (ไมม่ ีบนั ทึกทีก่ ลา่ วถงึ โรงแรม) อยา่ งไรกด็ ี ข้าพเจา้ ไมแ่ นะน�ำ ท่านใหไ้ ว้วางใจตวั ทา่ นเอง ต่อการเขา้ พกั โรงแรมใดๆ ในกรงุ เทพฯ จนกวา่ โรงแรมดงั กล่าวจะสรา้ งแลว้ เสร็จ” ในปี 1914 หลวงจิตรจ์ ำ�นงวานิชย์ สรา้ งสิ่งทเี่ ป็นทร่ี จู้ ักในเวลาตอ่ มา คอื บ้านหลวงสาทร (Luang Sathorn Mansion) ซง่ึ ตง้ั อยบู่ นถนนสาทร ในปี 1927 คฤหาสน์ดงั กล่าวไดเ้ ปล่ียนมาเป็น โฮเต็ล รอยัล (Hotel Royal) ซ่งึ ต่อมาไดก้ ลาย มาเปน็ โรงแรมทีห่ รหู ราทส่ี ดุ ในกรุงเทพฯ ส่อื โฆษณาในปี 1928 ท�ำ ใหแ้ ขกผู้เข้าพกั มนั่ ใจได้วา่ “โรงแรมเพียบพรอ้ ม ท้งั พนกั งานและรถที่จะให้บริการท่านเชื่อมต่อกบั รถไฟและเรอื กลไฟทงั้ หมด นอกจากนย้ี ังมบี รกิ ารจัดการการเดนิ ทาง และสัมภาระให้กับทา่ นอีกดว้ ย” โรงแรมดำ�เนนิ ธรุ กิจอยู่รอดมาจนถึงปี 1948 จนกระท่งั สหภาพโซเวียต (ต่อมาคือ สหพันธรัฐรัสเซีย) รบั ชว่ งซื้อต่อสำ�หรับเป็นสถานทตู ของสหภาพโซเวยี ต ในปี 1926 รัชกาลท่ี 7 (ร. 1925-1935) ทรงเปล่ียนพระราชวังพญาไท (Phyathai Palace) บนถนนราชวถิ ีให้เป็น โรงแรมหรูหรา เพื่อต้อนรบั พระราชอาคันตุกะชาวต่างชาติ ซ่งึ ถือเปน็ โรงแรมหรูหราแหง่ แรกในประเทศไทย และเป็น โรงแรมทด่ี ที ่สี ดุ ในเอเชยี โรงแรมถกู บรู ณะใหมด่ ว้ ยการตกแต่งทท่ี ันสมยั ทสี่ ุด ภายในโรงแรมมีทั้งร้านอาหาร ไนท์ คลบั บาร์ ห้องรบั รองทกี่ ว้างขวาง ห้องสมดุ / ห้องท�ำ งาน และ หอ้ งบอลรูม (ballroom) ห้องพักมาตรฐานและห้อง แบบดีลักซ์ จ�ำ นวน 60 ห้อง หอ้ งพักท่รี าคาแพงท่ีสุดคอื “120 บาท/ คืน” ต่อการพักหนึง่ ครงั้ ในขณะที่หอ้ งพักสว่ น ใหญ่ท่อี น่ื ๆ ราคาเพียง 1/10 สว่ นของราคาดังกล่าว นอกจากทีโ่ รงแรมจะมีหอ้ งพกั ท่ีกว้างขวางและราคาแพงสงู ล่ิว แลว้ โรงแรมยังจดั ใหม้ ีสวนขนาดใหญป่ ระกอบดว้ ยสระบัว ต้นไมแ้ ละดอกไมท้ ส่ี วยงามแปลกใหม่ สวนญ่ปี ุ่น นำ�้ ตกและ น�ำ้ พุ อกี ดว้ ย ปจั จุบนั โรงแรมนีไ้ ดก้ ลายเปน็ สว่ นหนง่ึ ของโรงพยาบาลพระมงกฎุ เกลา้ (Phra Mongkut Hospital) ในช่วงเปลีย่ นผ่านศตวรรษ ยังไมม่ คี วามกา้ วหนา้ ดา้ นการพัฒนาโรงแรมในต่างจังหวัดมากนัก ในปี 1992 เจ.จ.ี ดี. แคมปเ์ บล (J.G.D. Campbell) เขยี นไว้ในหนงั สือ “สยามในศตวรรษที่ 20 (Siam in the Twentieth Century)” วา่ “อุปสรรคของกรุงเทพฯท่ีสำ�คัญ คอื ขอ้ เท็จจรงิ ที่วา่ ไมม่ สี ถานท่ีหยอ่ นใจใดๆเลยส�ำ หรับชาวยุโรปทีร่ ู้สกึ เบือ่ เมื่อต้อง ไปพักเป็นเวลาไม่ก่ีวัน ไม่มีสถานที่ท่องเท่ียวตามภูเขาในต่างจงั หวดั รสี อร์ทเพยี งแหง่ เดยี วคือ เกาะสชี ัง ในอ่าวไทย (Gulf of Siam) และอ่างหิน และศรรี าชาทางฝัง่ ตะวันออก แตถ่ ้าไมม่ รี สี อร์ทเหลา่ น้ี กแ็ ทบจะหาโรงแรมดีๆ ไมไ่ ด้เลย และถา้ หากผ้ใู ดตอ้ งการที่จะสมั ผัสลมทะเลสามารถท�ำ ไดเ้ พยี งนำ�เสบียงอาหารและสง่ิ ของของพวกเขาไปเอง ด้วยความ ยากลำ�บาก และไมต่ ้องพดู ถึงคนรับใชเ้ ลย” ในปี 1917 กรมรถไฟหลวง (the Royal State Railways) มคี วามสนใจทด่ี นิ ติดชายทะเลทม่ี คี วาม สวยงามเปน็ อย่างมากใน อ.หัวหิน ดงั นน้ั กรมรถไฟหลวงจึงได้ท�ำ การซ้ือท่ดี ินและปลูกสร้างบังกะโลส�ำ หรับใหน้ กั ทอ่ งเทยี่ วเชา่ หลังจากน้ัน 4 ปีต่อมา สถาปนกิ ชาวอติ าเลยี นนามว่า เอ. รกิ าซาอิ (A. Rigazai) ผู้ทอ่ี ยูป่ ระจำ�กรมทางรถไฟ ไดท้ ำ�การออกแบบโรงแรมรีสอร์ทจ�ำ นวนสองช้นั ท่สี รา้ งด้วยอิฐและไมห้ รูหราสไตล์ยโุ รปตามพระราชอัธยาศยั รสี อร์ท

สรา้ งเสร็จสมบูรณใ์ นปี 1922 และเปดิ อยา่ งเป็นทางการ เมือ่ วันท่ี 1 มกราคม ปี 1923 โดยมีช่ือวา่ “หัวหนิ โฮเต็ล (Hua Hin Hotel)” ซงึ่ เปน็ โรงแรมรมิ ชายหาดแหง่ แรกของประเทศไทย โรงแรมประกอบด้วยเตียงจำ�นวน 28 เตยี ง สวนไม้ตดั แต่ง เก้าอี้หวายบนระเบียงท่กี ว้างขวาง สนามกอลฟ์ และสนามเทนนสิ ในเวลา 6 ปตี อ่ มา หอ้ งพักด้านตัว ปีกของอาคารจำ�นวน 13 หอ้ ง ถูกสรา้ งข้ึน โดยออกแบบเช่นเดยี วกับตัวอาคารเดิม ในปี 1988 โรงแรมเปลยี่ นชอ่ื เปน็ “เดอะ เรียลเวย์ โฮเตล็ (The Railway Hotel)” ซึ่งเซ็นทรัลกรปุ๊ (Central group) เขา้ ไปถือครองและบริหาร จดั การ และโรงแรมแหง่ นีย้ ังใชเ้ ป็นสถานท่ถี า่ ยท�ำ ภาพยนตรเ์ ร่อื ง “เดอะ คลิ ลง่ิ ฟีลดส์ (The Killing Fields) และ มชี ่อื ในภาพยนตร์ว่า “เดอะ พนมเปญ โฮเตล็ (The Phnom Penh Hotel)” จากปี 1960 – 1969 โรงแรมเชยี งใหม่ เรลเวย์ โฮเต็ล (Chiang Mai Railway Hotel) เป็นโรงแรมท่มี ชี อื่ เสียง เปน็ ทร่ี ู้จกั กันดี อย่างไรก็ตาม โรงแรมทม่ี ีชอื่ เสียงทส่ี ุดคือ โรงแรมสุรวิ งศ์ (Suriwongse Hotel) ซ่ึงเปดิ ตวั ในปี 1962 นอกจากนี้ ยังมีโรงแรมอ่ืนๆอีก ไดแ้ ก่ โรงแรมรนิ คัม (Rincome) โรงแรมมนตรี (Montri) โรงแรมปร๊ินซ์ (Prince) และโรงแรมเดอะเชยี งใหม่ (The Chiang Mai) โรงแรมเชยี งใหม่ เรลเวย์ โฮเต็ล เป็นหน่ึงในโรงแรมท่พี ักหลายแหง่ ทีส่ รา้ งขนึ้ โดยกรมรถไฟหลวง ซง่ึ โรงแรมตา่ งๆ มอี ย่ทู ี่เพชรบรุ ี ชมุ พร หาดใหญ่ ทงุ่ สงและสงขลา กรมรถไฟหลวงมีสว่ นเกย่ี วขอ้ งในโครงการสรา้ งโรงแรมอื่นๆ ณ ชว่ ง เวลานี้ ในกรุงเทพมหานครฯ ในวันที่ 25 มิถนุ ายน ปี 1916 สถานีรถไฟ หวั ล�ำ โพง (Hualampong Railway station) สรา้ งเสรจ็ สมบรู ณ์ หลงั จากนนั้ อกี 10 ปีต่อมา องคช์ ายแห่งเมืองกำ�แพงเพชร ทรงขอประทานอนุญาตจาก กษัตรยิ ส์ รา้ งโรงแรมในสถานรี ถไฟ โรงแรมราชธานี (Ratchathani Hotel) เปิดตวั ในปี 1927 ประกอบดว้ ยห้องพัก จำ�นวน 14 หอ้ ง ห้องโถงเตน้ ร�ำ รา้ นอาหารและห้องครัว นอกจากนี้ โรงแรมยังไดร้ บั การยอมรบั ว่าเป็นหนึ่งในสถาน ที่จดั งานชั้นนำ�ของกรุงเทพฯ โรงแรมด�ำ เนนิ ธุรกจิ ต่อมาได้อีก 40 ปี และปิดกิจการในปี 1968 นอกจากนี้ ยังมโี รงแรมอน่ื ๆอีกในกรุงเทพฯ โรงแรมทรอคาเดโร (Trocadero) ถูกสรา้ งข้ึนในปี 1922 เป็นโรงแรม 4 ช้ัน ประกอบดว้ ยหอ้ งพกั จ�ำ นวน 45 ห้อง ซ่ึงเปน็ โรงแรมแหง่ แรกในประเทศไทยทีม่ ีเคร่อื งปรบั อากาศ และลิฟต์ โดยสาร ในปี 1950 – 1959 โรงแรมไดท้ �ำ การต้อนรบั ลกู เรือของสายการบินต่างๆ นอกจากนใี้ นชว่ งปี 1960 – 1969 โรงแรมไดก้ ลายเปน็ ที่พกั รวมตวั ของผสู้ อ่ื ขา่ วตา่ งประเทศท่ีเข้ามาทำ�งานในกรุงเทพมหานคร หรือออกมาจากสงคราม เวยี ดนาม ส่วนหนึ่งของความดึงดูดใจทีม่ ตี อ่ โรงแรมนี้ คอื บุคลิกภาพทมี่ ีสสี ันของคุณโจ บนุ นาค (Joe Bunnag) ผเู้ ปน็ เจ้า ของโรงแรม เขาหลงรกั ในเสียงดนตรีแจส๊ และรถความเรว็ สูง อกี หลายสบิ ปีตอ่ มา การก่อสรา้ งโรงแรมต่างๆ เกิดสภาวะชะงกั งัน ซึง่ มีสาเหตุมาจากภาวะเศรษฐกจิ ตกต�ำ่ คร้งั ใหญ่ (Great Depression) อย่างไรกต็ าม ในปี 1942 ส�ำ นักงานทรัพย์สนิ สว่ นพระมหากษัตรยิ ์ (The Crown Property Bureau) ไดส้ ร้างโรงแรมรัตนโกสินทร์ (ซ่ึงตอ่ มาคือ โรงแรม เดอะรอยลั : The Royal) และโรงแรมสุรยิ านนท์ (ต่อ มาเปลยี่ นชอื่ เปน็ เดอะ มาเจสติก: The Majestic) ซึ่งตง้ั อย่บู นถนนราชดำ�เนินกลาง ในปี 1949 ท่านผหู้ ญงิ ชนตั ถ์ ปยิ ะอุย (Thanphuying Chanut Piya-oui) สรา้ งโรงแรมปรนิ๊ เซส (The Princess Hotel) บนถนนสายใหม่ (New Road) และในปี 1957 รัฐบาลได้สร้างโรงแรมเอราวณั (The Erawan Hotel) ณ แยกราชประสงค์ โดยมพี ลโท เฉลมิ ชัย จารุวสั ตร์ เป็นผู้มสี ่วนเก่ยี วข้องในการกำ�เนิดโรงแรมแหง่ นี้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook