Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทบทวนก่อนสอบกลางภาค

ทบทวนก่อนสอบกลางภาค

Published by Teacher Paew, 2022-07-15 13:47:47

Description: ทบทวนก่อนสอบกลางภาค

Search

Read the Text Version

สรปุ เนื้อหาทีใ่ ชส้ อบกลางภาค หน่วยท่ี 1 สังคมชมพูทวปี ชนพน้ื เมอื งเดมิ ที่อาศัยอยใู่ นดนิ แดนชมพทู วีป ไดแ้ ก่ มลิ ักขะ ทสั ยุ ดราวิเดยี น อารยัน คอื ชนชาติท่ีเข้ามาตงั้ ถิน่ ฐานและ มีความเชอื่ วา่ ตนเป็นศูนยก์ ลางของอาณาจักร ซ่งึ ส่วนใหญอ่ าศยั อยูต่ อนกลางของทวีป รปู แบบการปกครอง 1. ราชาธปิ ไตย หรอื ระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย์ 2. สามคั คีธรรม คล้ายกับ ระบอบประชาธปิ ไตย 1

สรุปเนอื้ หาท่ใี ช้สอบกลางภาค ระบบวรรณะ มลู เหตทุ ีท่ าให้เกิดระบบวรรณะ 1. เกดิ จากความเชื่อเร่ืองพระเจ้า 2. การเอาเชื้อชาติเปน็ เกณฑใ์ นการแบง่ 3. การถือเอายุคสมยั เป็นเกณฑ์ในการแบ่ง 4. การเอาสีผิวเปน็ เกณฑใ์ นการแบ่ง วรรณะต่าง ๆ 1. พราหมณ์ 2. กษตั รยิ ์ 3. แพศย์ 4. ศูทร (เปน็ ชนพ้ืนเมืองเดิมในดนิ แดนชมพทู วีป) ไม่สามารถแต่งงานขา้ มวรรณะได้ หากแตง่ งานข้ามวรรณะจะถกู เหยยี บย่า สังคมไม่ยอมรับ เรยี กว่า “จณั ฑาล” และไมส่ ามารถยกระดบั ตนเองไดแ้ ม้จะไดร้ บั การศึกษาสูง เพยี งใดก็ตาม 2

สรุปเนือ้ หาท่ีใช้สอบกลางภาค พธิ ลี า้ งบาป - เป็นพิธีตามความเช่อื ของพราหมณ์ – ฮินดู - อาบ ดื่ม น้าที่แม่นา้ คงคาเพ่ือชาระบาป - นยิ มอย่างมากท่เี มือง พาราณสี ลัทธิต่าง ๆ 1. ปรู ณกสั สป เชอื่ ว่า บญุ บาปไม่มจี รงิ 2. มกั ขลิโคศาล เชอ่ื วา่ การเวียนว่ายตายเกดิ เปน็ เวลานาน ๆ สตั ว์ทงั้ หลายจะบรสิ ุทธ์ไดเ้ อง 3. อชติ เกสกมั พล เชือ่ ในการประชมุ ของ ธาตุท้งั 4 เป็นลทั ธวิ ตั ถนุ ยิ ม 4. ปกทุ ธกัจจายนะ เชอ่ื วา่ สง่ิ ทเ่ี ทยี่ งแท้มีอยู่ 7 อย่าง คอื ดนิ น้า ไฟ ลม สุข ทกุ ขแ์ ละชวี ะ 5. สัญชัยเวลฏั ฐบุตร มีความเห็นไมต่ ายตวั เอาแนเ่ อานอนไม่ได้ 6. นิครนถน์ าฏบุตร เช่อื ในการทรมานร่างกาย **ภายหลังถกู พัฒนาขึน้ เปน็ ศาสนาเชน** 3

สรปุ เน้ือหาทใี่ ช้สอบกลางภาค หน่วยท่ี 2 พุทธประวตั ิ ลุมพนิ วี ัน พทุ ธคยา ปจั จุบันอยู่ประเทศเนปาล ปจั จบุ นั อยู่ประเทศอินเดีย สถานทปี่ ระสตู ิ สถานทต่ี รัสรู้ -ทรงเปลง่ อาสภิวาจา สังเวชนยี สถาน สารนาถ กสุ นิ ารา ปัจจบุ นั อยปู่ ระเทศอนิ เดยี ปจั จุบันอยปู่ ระเทศอนิ เดีย สถานทแี่ สดงปฐมเทศนา สถานท่ีปรินพิ พาน 4

สรุปเนือ้ หาที่ใชส้ อบกลางภาค สาเหตุสาคญั ที่ทาใหเ้ จ้าชายสทิ ธตั ถะออกผนวช คอื ตอ้ งการแสวงหาทางดบั ทกุ ขใ์ หก้ ับมวลมนษุ ยท์ ัง้ หลาย จึงไดฝ้ ึกปฏบิ ัตติ ามข้ันตอนดงั น้ี ข้นั ตอนการตรสั รู้ ขนั้ ท่ี 1 ขนั้ ท่ี 2 ขั้นที่ 3 ข้ันท่ี 4 โยควธิ ี ตบวิธี บาเพ็ญทุกกรกิรยิ า บาเพ็ญเพียร ทางจิต พนื้ ฐานนาไปสู่ อดอาหาร ขบฟนั การตรสั รู้ กลัน้ ลมหายใจ 3 ยามแห่งการรู้แจ้ง - ปพุ เพนวิ าสานสุ ติญาณ ระลกึ ชาตไิ ด้ - จุตปู ปาตญาณ รู้การเกดิ การเปน็ ไปของสรรพสัตวท์ ั้งหลาย - อาสวกั ขยญาณ ตรสั รู้ อรยิ สัจ 4 5

สรุปเนอื้ หาทใ่ี ช้สอบกลางภาค พทุ ธจริยา การบาเพ็ญประโยชน์ของพระพุทธเจา้ 3 ประการ โลกัตถจรยิ า บาเพ็ญประโยชนแ์ กโ่ ลกตามแนวพทุ ธกจิ 5 ประการ ญาตตั ถจรยิ า บาเพ็ญประโยชนแ์ กญ่ าติ เช่น เสด็จโปรดพระญาติ พุทธตั ถจริยา บาเพญ็ ประโยชน์ในฐานะพระพุทธเจา้ เชน่ การวาง ระเบียบควบคมุ หรอื ปกครองสงฆ์ 6

สรุปเน้อื หาที่ใช้สอบกลางภาค พระนามของพระพุทธเจ้า พระศาสดา พระผู้ทรงเป็นครูของชาวโลก พระโลกนาถ พระผูท้ รงเป็นทพ่ี งึ่ ของชาวโลก พระโลกเชษฐ์ พระผทู้ รงเปน็ ผเู้ จริญสุดของชาวโลก พระโลกนายก พระผทู้ รงเปน็ ผ้นู าของชาวโลก พระทีฆทัสสี พระผ้ทู รงมีสายพระเนตรยาวไกล 7

สรปุ เนอื้ หาทีใ่ ชส้ อบกลางภาค บัว 4 เหลา่ อุคฆฏติ ัญญู บัวพน้ นา้ วิปจติ ัญญู บัวเสมอนา้ เนยยะ บัวใตน้ ้า ปทปรมะ บัวใตต้ ม 8

สรปุ เนอื้ หาทใี่ ชส้ อบกลางภาค เยภยุ ยสิกา คือ หลักการตัดสินตามเสียง ข้างมากที่พระพุทธเจ้านามาใช้ในการ บริหาร แต่วิธีนี้ใช้เฉพาะญัตติที่ชอบ ดว้ ยพระวนิ ัยทง้ั 2 ฝา่ ย วธิ กี ารสอนแบบตอบปัญหา ของพระพุทธเจา้ 1. ปัญหาตายตัว คือ ตอบแบบตรงไปตรงมา 2. ปัญหายอกย้อน คอื การย้อนกลบั ไปถามก่อน 3. ปญั หาแยกตอบ คอื ต้องแยกเปน็ ประเดน็ 4. ปัญหาไม่ตอบ คอื ปัญหาทต่ี ้องพกั หรอื เก็บไว้ ไมจ่ าเป็นตอ้ งตอบ เพราะเปน็ ปญั หาที่อาจชวน ทะเลาะได้ 9

สรุปเนอื้ หาทใ่ี ช้สอบกลางภาค หนว่ ยท่ี 3 หลักธรรมในกรอบอรยิ สจั 4 ธรรมท่ีควรรู้ ธรรมที่ควรละ - ขันธ์ 5 - หลักกรรม - โลกธรรม 8 - กรรมนยิ าม - จติ /เจตสกิ - อุปาทาน 4 - วิตก 3 ธรรมทค่ี วรบรรลุ - นยิ าม 5 - ปฏิจจสมปุ บาท - นิวรณ์5 ธรรมที่ควรเจริญ - ภาวนา 4 - พระสทั ธรรม 3 - วมิ ุตติ 5 - พละ 5 - นิพพาน - ภกิ ขุอปริหานยิ ธรรม 7 - โภคอาทยิ ะ 5 - ทศพิธราชธรรม - สาราณียธรรม 6 - วปิ ัสสนาญาณ 9 10

สรุปเนอื้ หาทใี่ ช้สอบกลางภาค ธรรมทค่ี วรเจรญิ (ต่อ) - ทิฏฐธัมมกิ ตั ถะ - อธปิ ไตย 3 - อรยิ วฑั ฒิ 5 - มงคล 38 - ไตรสิกขา - สตปิ ฏั ฐาน - อทิ ธิบาท 4 มาดูหลักธรรมทอ่ี อกขอ้ สอบ กันเลยจา้ 11

สรปุ เนอ้ื หาที่ใชส้ อบกลางภาค ขันธ์ 5 องคป์ ระกอบของชวี ิต - รปู = รา่ งกาย - เวทนา = ความรู้สกึ - สัญญา = ความจาได้ - สงั ขาร = การปรงุ แต่งจิต - วญิ ญาณ = การรบั ร้ทู างประสาทสมั ผสั ทง้ั 6 12

สรุปเน้ือหาที่ใชส้ อบกลางภาค โลกธรรม 8 ธรรมดาของโลกใบน้ีท่ีไม่มอี ะไรแน่นอน มลี าภ เสอ่ื มลาภ มียศ เสอ่ื มยศ มีสรรเสริญ มีนินทา มสี ุข มีทกุ ข์ อธปิ ไตย 3 - อัตตาธปิ ไตย = ถือเอาตนเองเป็นใหญ่ - โลกกาธปิ ไตย = ถอื เอาประชาชนเปน็ ใหญ่ - ธรรมาธปิ ไตย = ถอื เอาความถกู ตอ้ งเป็นใหญ่ นยิ าม 5 13 - อุตนุ ิยาม = ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ - พีชนิยาม = การสบื พนั ธุ์ - จติ นิยาม = พฤติกรรมของจิต - กรรมนิยาม = กฎแหง่ กรรม - ธรรมนยิ าม = ธรรมดาของส่งิ ตา่ ง ๆ

สรุปเน้อื หาท่ใี ช้สอบกลางภาค สาราณียธรรม 6 ทิฏฐธมั มิกตั ถะ การสรา้ งความสามคั คี หัวใจเศรษฐี และสนั ติสุข ขยัน-รักษาทรพั ย์- อุปาทาน 4 คบเพอื่ นด-ี ใชช้ ีวิตเหมาสม อทิ ธบิ าท 4 การยึดมั่น ถอื มัน่ หลกั ธรรม เป็นธรรมที่ควรละ นาความสาเรจ็ ไตรสกิ ขา สมั มาอาชีวะ ศีล – ความประพฤติ ประกอบอาชีพทีส่ ุจริต จติ – สมาธิ ปัญญา - ความรอบรู้ 14

สรุปเนื้อหาทีใ่ ช้สอบกลางภาค มงคล 38 การสงเคราะห์บุตร - หา้ มไมใ่ หล้ ูกทาชัว่ - อบรมคุณธรรม - ให้ไดร้ บั การศึกษา - หาคูค่ รองที่เหมาะสม แตป่ ัจุบนั ไม่ได้เนน้ ขอ้ น้ี - ให้มรดก พทุ ธศาสนสภุ าษติ นตถฺ ิ โลเก อนนิ ฺทโิ ต ปฏิรูปการี ธุรวา อฏุ ฐฺ าตา วนิ ทฺ เต ธน คนไม่ถูกนนิ ทา คนขยนั เอาการเอางาน ไมม่ ีในโลก กระทาการเหมาะสม ยอ่ มหาทรัพย์ได้ สนตฺ ฏุ ฐฺ ี ปรม ธน นตฺถิ สนฺตปิ ร สขุ ความสนั โดษเปน็ สขุ อนื่ ย่ิงกวา่ ทรพั ย์อย่างยิง่ ความสงบไมม่ ี 15

สรุปเน้ือหาทใี่ ช้สอบกลางภาค หนว่ ยท่ี 4 ทางสายกลาง มัชฌมิ าปฏิปทา อริยมรรค 8 ไมต่ งึ ไมห่ ย่อน สมั มาทฏิ ฐิ – เห็นชอบ จนเกนิ ไป สมั มาสงั กปั ปะ – คดิ ชอบ สมั มาวาจา – เจรจาชอบ ไตรสิกขา สมั มากมั มนั ตะ – ประพฤติชอบ สมั มาอาชีวะ – เลย้ี งชพี ชอบ หลักการศึกษาและ สมั มาวายามะ – พยายามชอบ สอดคล้องกับหลักการ สัมมาสติ – ต้ังสตชิ อบ สมั มาสมาธิ - ตงั้ มน่ั ชอบ พฒั นาที่ยัง่ ยนื ปัญญาทร่ี ู้ครบวงจร มตั ตญั ญุตา รู้วธิ ีละความเส่ือม รจู้ ักประมาณตนเอง และ รูว้ ิธีสรา้ งความเจริญ 16


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook