Unit 3 : ระบบตอ่ มไรท้ ่อ (ENDOCRINE SYSTEM) ชีววทิ ยำ ช้ันมธั ยมศกึ ษำปที ่ี 6 จัดทำโดย 1 ครูสุกฤตำ โสมล โรงเรยี นเบญจมรำชูทศิ จังหวัดจนั ทบรุ ี
**ระบบประสานงาน (Coordination system) จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 2
เรื่องนำ่ รู้ กลไกกำรออกฤทธขิ์ องฮอรโ์ มน เกี่ยวกบั -ออกฤทธิไ์ ด้โดยการจบั กบั ตวั รับสัญญาณ(receptor) ตอ่ ม 3 *ต่อมไร้ท่อ (endocrine * ต่ อ ม มี ท่ อ (exocrine gland) ต่อมท่ีหล่ังสารท่ี gland) ต่ อ ม ที่ ห ล่ั ง ส า ร เป็ น hormone และไปมี แ ล ะ ไ ป มี ผ ล ต่ อ อ วั ย ว ะ ผลต่ออวัยวะเป้ าหมาย เป้ าหมายโดยผ่ านท่อ (target organ) โดยผ่าน ลาเลียงของตนเอง ไม่ extracellular fluid เช่น ต้องผ่านกระแสเลอื ด กระแสเลอื ด *Endocrinology* จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
COMPARISON ประเภทของฮอรโ์ มน แบง่ ตำมโครงสรำ้ งทำงเคมี 1. ฮอรโ์ มนเปปไทดห์ รือโปรตนี (Polypeptide hormone) 2. ฮอรโ์ มนเอมนี (Amine hormone) 3. ฮอรโ์ มนสเตยี รอยด์ (Steroid hormone) 4.ฮอรโ์ มนกรดไขมนั (Fatty acid hormone) แหลง่ สรำ้ งฮอรโ์ มน 1.ฮอรโ์ มนจำกตอ่ ม/ฮอร์โมนทแ่ี ท้จรงิ (glandular hormone / true hormone) 2.ฮอร์โมนจำกเนอ้ื เย่ือ (tissue hormone) 3.ฮอรโ์ มนประสำท (neurohormone) จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 4
: ต่อมไรท้ อ่ เปลยี่ นแปลงมำจำกเนอื้ เยอ่ื 3 ชั้น ดังน้ี 1. เปลย่ี นแปลงมำจำกเนอ้ื เยอ่ื ชน้ั กลำง * สร้ำงสำรพวก Steroid - adrenal cortex - ovary - testis 2. เปลย่ี นแปลงมำจำกเนอื้ เยอ่ื ชนั้ นอกและเนอ้ื เยอื่ ชนั้ ใน * สรำ้ งสำรพวก Peptide - thyroid gland - hypophysis /pituitary - adrenal medulla กำรจำแนกตอ่ มไร้ทอ่ ตำมควำมสำคญั ตอ่ ชีวติ 1.Essential endocrine gland เป็นตอ่ มไร้ทอ่ ทจี่ ำเปน็ มำกและ 5 มีควำมสำคญั ถำ้ ขำดแล้วทำใหต้ ำยได้ ไดแ้ ก่ * parathyroid * adrenal cortex * islets of Langerhans 2.Non - Essential endocrine gland เปน็ ต่อมทไี่ ม่จำเปน็ หรือจำเป็นนอ้ ยมำกต่อรำ่ งกำย ถำ้ ผิดปกตอิ ำจทำใหเ้ กิด ควำมผิดปกตขิ องรำ่ งกำยหรือของระบบตำ่ งๆ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
First endocrinology experiment - กำรทดลองโดยอำรโ์ นล เอ เบอรโ์ ทลด์ ทดลองตดั อณั ฑะของลกู ไก่ Normal Rooster Normal Rooster Capon จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 6
1. ตอ่ มไพเนียล (pineal gland) อยู่บรเิ วณกึง่ กลำงสมองส่วนเซรบี รมั พูซำ้ ยและพขู วำ - สรำ้ งเมลำโทนิน (melatonin) * ในคน (เด็ก) : ยบั ย้งั กำรเจริญเตบิ ของอวัยวะสืบพนั ธุ์ ถำ้ ขำด : จะทำให้หนุ่มสำวเร็วกว่ำปกติ/ ถ้ำมมี ำก : จะยบั ยง้ั ควำมเปน็ หน่มุ สำว *ในกบ : สง่ ผลใหม้ ีผิวซดี จำง (ทำหน้ำทค่ี วบคมุ พฤติกรรม Biological clock/กำรปรบั ตวั ) 2. ตอ่ มใต้สมอง (pituitary gland) 77 ตอ่ มใต้สมองอยบู่ รเิ วณตรงกลำงสมอง แบ่งได้ เปน็ 3 สว่ น ดงั ภำพ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
2.1ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (anterior pituitary gland / adenohypophysis) สร้ำงฮอรโ์ มน ได้ 6 ชนิด • ฮอรโ์ มนกระตนุ้ กำรหลงั่ GH (GH releasing hormone,GHRH) • ฮอร์โมนยับย้ังกำรหล่งั GH (GH inhibiting hormone,GHIH) • ฮอร์โมนกระตนุ้ กำรหลง่ั โพรแลกตนิ (prolactin releasing hormone,PRH) • ฮอร์โมนกระตนุ้ กำรหลง่ั ของตอ่ มไทรอยด์ (thyroid releasing hormone,TRH)กระตนุ้ กำรหลัง่ TSH • ฮอรโ์ มนกระตนุ้ กำรหลงั่ Gn (gonadotrophin releasing hormone,GnRH)กระตุ้นกำรหลั่ง FSH และ LH จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 8
1.Gonadotrophic hormones (Gn) Hypothalamus Anterior pituitary Gonads - Gn ประกอบด้วยฮอรโ์ มน 2 ชนิด คือ LH และ FSH Hormonal control of reproduction จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 9
แผนผงั แสดงระยะวงรอบเดอื นในเพศหญงิ LH FSH MENS Proliferative phase Secretory phase 28 0 7 14 21 จดั ทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล Days 10
2. ฮอร์โมนโพรแลกตนิ 3. ฮอร์โมนอะดรโี นคอรต์ โิ คโทรฟิน (adrenocorticotrophin hormone : ACTH) (prolactin : PRL) - ทำหนำ้ ทีก่ ระต้นุ อะดรีนลั คอรเ์ ทกของ - ทำหนำ้ ท่กี ระต้นุ กำรสรำ้ งนำ้ นม ตอ่ มหมวกไตใหส้ รำ้ งฮอรโ์ มนตำมปกติ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 11
4. ฮอร์โมนกระตนุ้ ตอ่ มไทรอยด์ 5. ฮอร์โมนเอนดอร์ฟิน (endorphin) (thyroid stimulating hormone : TSH) - ทำหน้ำทรี่ ะงบั ควำมเจ็บปวด - ทำหนำ้ ที่กระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้สรำ้ ง ฮอรโ์ มนตำมปกติ *Just 20 minutes of exercise for three days a week will 12 increase your happiness by around 10-20 % จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
6. ฮอรโ์ มนโกรท (Growth hormone = GH ; Somatotrophin hormone=STH) - เป็นสำรพวกโปรตนี ควบคมุ กำรเจรญิ เตบิ โตของรำ่ งกำย Growth hormone (GH or hGH) • Promotes mitosis, cell division • Elongation of long bones, etc. • Healing of wounds Lack of hGH retards growth • Hypersecretion in youth produces giantism • Hyposecretion in childhood produces pituitary dwarfism Dwarfism Gigantism COMPARISON • Hypersecretion in adult produces มีมากไป 13 acromegaly มีนอ้ ยไป เดก็ Dwarfism Gigantism ผใู้ หญ่ Simmon’s Acromegaly disease จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
❑ Simmon’s disease เน่ืองจำกในผู้ใหญ่ทม่ี ี GH น้อยมักไม่แสดงลักษณะอำกำร ให้เห็นแตพ่ บวำ่ นำ้ ตำลในเลอื ดต่ำจงึ ทนต่อควำมเครียด ทำงอำรมณไ์ ด้น้อยกวำ่ คนปกติ และมักจะเปน็ ลมหนำ้ มดื ง่ำย อำจเป็นโรคผอมแห้ง ❑ Acromegaly กระตุ้นกำรเจรญิ ของกระดูกในด้ำนกวำ้ งเนอ่ื งจำกกระดูก ทำงด้ำนยำวบดิ ไปแลว้ ยำวอกี ไมไ่ ด้ และยบั ย้ังเนอื้ เยอื่ เกย่ี วพนั ดว้ ย ทำให้กระดูกทีค่ ำงขยำยขนำดกว้ำงขน้ึ ฟัน ห่ำงใบหน้ำเปน็ รปู สีเ่ หลีย่ มคำงหมู นิว้ มอื นิ้วเท้ำมีขนำด ใหญ่ข้ึน ผิวหนังหนำและหยำบ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 14
2.2 ต่อมใต้สมองส่วนกลาง (pars intermedia หรอื Intermediate lobe) ส่วนใหญใ่ นมนษุ ยต์ ่อมนไ้ี ม่ทำงำน ฝอ่ ไปแลว้ แตใ่ นสตั วบ์ ำงชนดิ เช่น กบ จะยังคงมบี ทบำทอยู่ - ในกบจะสรำ้ งฮอรโ์ มน Melanocyte stimulating สร้ำงฮอรโ์ มน hormone (MSH) ทำใหส้ ีผวิ เข้มขึน้ เป็นกำรปรบั ตวั ได้ 1 ชนดิ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 15
2.3 ต่อมใต้สมองสว่ นหลัง (Posterior pituitary gland /neurohypophysis) **ไมไ่ ด้สร้างฮอรโ์ มนเอง แตฮ่ อรโ์ มนถกู สร้างมาจาก neurosecretory cell ของ Hypothalamus โดย กลุ่มเซลลเ์ หล่านีจ้ ะมี axon มาสนิ้ สุดอยู่ภายในต่อมใต้สมองส่วนหลัง และเข้าสู่กระแสเลอื ด สร้ำงฮอร์โมน ได้ 2 ชนิด จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 16
1. ออกซีโทซิน (Oxytocin) 2. วำโซเพรสซนิ (Vasopressin/ADH) • มีผลใหม้ กี ำรดดู น้ำกลบั ทีท่ ่อหนว่ ยไต • หลงั่ ออกมำเมื่อกระหำยนำ้ ขำดน้ำ ควำมเครยี ดสงู ควำมดันเลอื ดสูง • ยำที่มีผลตอ่ กำรกระตุ้นประสำทสว่ นกลำง ฝิ่น เฮโรอนี จะมีผลในกำรกระตุ้นกำรหล่งั ฮอรโ์ มนดว้ ย - ฮอรโ์ มนนีจ้ ะหล่ังออกมามากตอนคลอด เพอื่ ช่วยใหก้ ล้ามเนือ้ มดลูก 17 บบี ตัวขณะคลอด - กระตุน้ กล้ามเนือ้ เรียบและอวัยวะภายในกล้ามเนือ้ รอบๆ ต่อมนา้ นม ใหข้ ับนา้ นม **ถ้ำมี ADH น้อยมำกๆจะทำใหเ้ กดิ โรคเบำจืด (diabetes insipidus) มปี ัสสำวะออกมำมำกถงึ วนั ละ 20 ลติ รต่อวนั จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
3. ตอ่ มไทรอยด์ (Thyroid gland) เป็นต่อมที่มีขนำดใหญ่ที่สุด มีลักษณะเป็นกลีบ 2 กลีบ คล้ำยปีกผีเสื้อ ยำวประมำณ 5 เซนติเมตร หนักประมำณ 30 กรัม อยู่ด้ำนหน้ำของ หลอดลม บริเวณใต้ลูกกระเดือกเล็กน้อย เคลื่อนไหวข้ึนลงได้ตำมกำร กลนื ของหลอดอำหำร สรำ้ งฮอร์โมน thyroxin และ calcitonin สร้ำงฮอร์โมนได้ 2 ชนิด 1.สร้ำงฮอรโ์ มน triiodothyronine (T3) และ thyroxine(T4) -ทำหน้ำท่คี วบคุมกระบวนกำร metabolism -ควบคมุ กำรสร้ำงโดย TSH 2.สรำ้ งฮอรโ์ มน calcitonin จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 18
1. ฮอรโ์ มน Thyroxine (ผใู้ หญ่) ▪ กรณีภาวะ Hypothyroidism ❑ Myxedema (ในเดก็ ) - พบในผู้ทีม่ ีไทรอยดฮ์ อรโ์ มนต่ำ - สำรประกอบที่ประเภทวุ้น เชน่ hyaluronic acid ❑ Cretinism /โรคเออ๋ และ chondroitin sulfate จะจบั กบั โปรตีนใต้ ผิวหนังมำกข้นึ ทำให้ผิวหนงั บวมน้ำ หน้ำบวม - ในทำรกแรกเกิด มีควำมสำคัญต่อกำรเจริญเติบโตมำก อ้วน นำ้ หนกั เพิม่ ผมและผิวแหง้ สมองทำงำนชำ้ โดยเฉพำะทำงสมอง (กำรขำดฮอร์โมนในช่วงปีแรกจะทำ ลง ปฏิกริ ิยำโต้ตอบชำ้ ประจำเดอื นผิดปกติ ใหส้ มองถกู ทำลำยอย่ำงถำวร) - นอกจำกนเ้ี สยี งยงั แหบและต่ำ จนมีผูก้ ลำ่ ววำ่ เป็น - ถ้ำขำด : พัฒนำกำรทำงด้ำนสติปัญญำด้อยมำก ปัญญำ โรคทว่ี นิ ิจฉยั ได้ทำงโทรศัพท์ (myxedema is the ออ่ น อำจหหู นวกและเปน็ ใบ้ one disease that can be diagnosed over the รูปร่ำงเตี้ยแคระ แขนขำส้ันหน้ำและมือบวม ผิวหยำบแห้ง telephone) ผมบำง (ต่ำงจำกกำรขำด GH) - จิตประสำทไม่ดี (myxedema madness) และมี -ถำ้ สำมำรถคน้ พบปญั หำนไ้ี ด้อยำ่ งรวดเร็วและให้ไทรอยด์ ผลตอ่ ประสำทหูทำใหห้ ูหนวกและเปน็ ใบ้ได้ ฮอร์โมนทดแทนได้อย่ำงรวดเร็วต้ังแต่แรกเกิด พัฒนำกำร (deaf-mutism) ก็สำมำรถเปน็ ปกติได้ 19 จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
❑ Simple goiter/คอพอกแบบธรรมดำ ❑ Toxic goiter/คอพอกเปน็ พษิ :thyrotoxicosis,hyperthyroidism : เกดิ จำกภำวะขำดไอโอดีนทำใหค้ อโต - เกิดจากต่อมไทรอยดส์ ร้าง thyroxine ออกมามากเกิน - เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย ใจสนั่ ข้ีร้อน เหง่ือออกมาก น้าหนกั ตวั ลดลง กำรรกั ษำ ฉดี ������������ , รบั ประทำนอำหำรทะเล , ผ่ำตดั รวดเร็วท้งั ๆ ที่กินไดป้ กติ หรืออาจกินจุกว่าปกติเน่ืองจากร่างกายมี การเผาผลาญมาก หงุดหงิดโมโหง่าย นอนไม่หลบั อารมณ์ซึมเศรา้ กำรแบง่ ระดบั คอพอก ผหู้ ญิงอาจมีประจาเดือนไม่ปกติ ชีพจรเตน้ เร็ว 120-140 คร้ังต่อนาที และอาจมีอาการตาโปน -ระดบั 0 ไม่พบคอพอก คลำต่อมไทรอยดไ์ ดป้ กติ ขนำดเท่ำหวั แม่มือของแต่ละคน - โรคน้ีหากปล่อยไว้ ไม่รักษา อาจมีภาวะแทรกซอ้ น ร้ายแรงได้ -ระดบั 1A คลำไดก้ อ้ นโตกวำ่ หวั แม่มือของผเู้ ขำ้ รับกำรตรวจ หำกแหงนคอจะมอง - พบในผหู้ ญิงมากกว่าผูช้ าย 5-10 เท่า อายทุ ี่เร่ิมเป็ นส่วนมากอยู่ ไม่เห็น แต่หำกกลืนน้ำไดจ้ ึงสำมำรถมองเห็น -ระดบั 1B คลำพบคอพอก มองเห็นขณะแหงนคอ และตรวจในท่ำตะแคงขำ้ งจะ ในช่วง 20-40 ปี เห็นชดั เจน ระยะน้ีต่อมไทรอยดจ์ ะโตขนำด 2-3 เท่ำ ของหวั แม่มือ -ระดบั 2 เห็นคอพอกชดั เจนในท่ำธรรมดำโดยไม่ตอ้ งคลำ 20 -ระดบั 3 คอพอกโตมำก มองเห็นชดั เจนในระยะมำกกวำ่ 5 เมตร จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
❑ Graves' disease/ ❑ ผลของฮอรโ์ มนไทรอกซนิ ทมี่ ตี อ่ กบ ต่อมไทรอยดเ์ ปน็ พษิ 2. ฮอรโ์ มน Calcitonin - น้ำหนักลด เนื่องจำกฮอร์โมน - ลดปริมำณ ������������2+ ในเลือด จ ะ เ ร่ ง ก ำ ร เ ผ ำ ผ ล ำ ญ พ ลั ง ง ำ น เมื่อมีปรมิ ำณมำกเกนิ ไป แม้จะรับประทำนอำหำรเก่งแต่ น้ ำ ห นั ก ล ด ห งุ ด ห งิ ด ง่ ำ ย อำรมณ์แปรปรวน ข้ีร้อน เหง่ือ ออกมำก มือสั่น กล้ำมเนื้ออ่อน แรง ผิวจะมีเหง่ือซึมและนุ่ม ตำ จะโปน ถ่ำยเหลว มีกอ้ นทคี่ อโต จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 21
4. ตอ่ มพาราไทรอยด์ (Parathyroid gland) สรำ้ งฮอร์โมนได้ 1 ชนิด ▪ ฮอรโ์ มน Parathormone : PTH - มหี น้ำที่เพ่มิ ปรมิ ำณ ������������2+ ในเลือดเมอ่ื มีปรมิ ำณนอ้ ยเกินไป จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 22
5. Islets of Langerhans *ตบั ออ่ น (Pancreases) ประกอบดว้ ย สร้ำงฮอร์โมนได้ 2 ชนดิ 1. Endocrine gland (islets of Langerhans) 2. Exocrine gland (หล่งั เอนไซม์) • -cells พบมำกทีส่ ุด ผลติ และหล่งั ฮอรโ์ มนInsulin • -cells ผลิตและหลง่ั ฮอร์โมน glucagon **ทง้ั คเู่ กี่ยวขอ้ งกับกำรรกั ษำระดับกลโู คสในเลอื ด** จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 23
Insulin : ลดระดบั นำ้ ตำลในเลอื ดใหเ้ ข้ำสภู่ ำวะปกติ ❑ Diabetes mellitus (โรคเบำหวำน) : สภำวะทร่ี ะดบั นำ้ ตำลในเลือดสูงกว่ำปกติ (คนปกติ = 90-100 mg/เลือด 100ml) อำจเกดิ เนื่องจำกรำ่ งกำยขำด insulin หรอื เซลล์เปำ้ หมำยไมต่ อบสนองต่อ insulin จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 24
Healthy Life with Diabetes mellitus จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 25
Glucagon : เพม่ิ ระดบั นำ้ ตำลในเลอื ดใหเ้ ขำ้ สภู่ ำวะปกติ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 26
6. ต่อมหมวกไต (Adrenal gland) จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล Adrenal Cortex 1.Mineralcorticoids •Aldosterone , Deoxycorticosterone → regulate salt and water balance 2.Glucocorticoids (ใช้ทายาลดอกั เสบ,ภมู ิแพ้) ถูกควบคุมโดย ACTH จากตอ่ มใต้สมองส่วนหน้า •Cortisol,Cortisone,Corticosterone →regulate glucose metabolism and the immune system. 3.Gonadocorticoids *Androgens *Estrogens 27
❑ Cushing syndrome ร่ำงกำยมรี ะดับฮอรโ์ มน cortisol ในเลือดสงู (hypercortisolism) อำจเกิดจำกกำรได้รบั ยำ steroid หรอื จำกเนือ้ งอกท่ีหล่ัง cortisol หรือฮอรโ์ มน adrenocorticotropic (ACTH) ปรมิ ำณมำกออกมำทำใหม้ กี ำรสร้ำง cortisol มำก โรคน้สี ำมำรถรกั ษำไดด้ ว้ ยกำรผ่ำตดั จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 28
Adrenal Medulla 29 -Epinephrine (Adrenaline) -Norepinephrine (Noradrenaline) จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
7. ต่อมเพศ/อวยั วะสบื พนั ธ์ุ (Gonads) Female 1.อสี โทรเจน (Estrogen) สรำ้ งจำก follicle cell ในรังไข่ ฮอร์โมนนี้จะต่ำในขณะมปี ระจำเดือน 2. โปรเจสเทอโรน (Progesterone) สรำ้ งจำก corpus luteum Ovary ควบคมุ ลักษณะเกีย่ วกับกำรเปลี่ยนแปลงของรำ่ งกำยในช่วงวัยรนุ่ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 30
Male 1. แอนโดรเจน (Androgens) ประกอบไปดว้ ย testosterone Testis มหี นำ้ ท่ีควบคมุ ลกั ษณะ เกย่ี วกับกำรเปล่ยี นแปลงของ เพศชำยในชว่ งวยั รนุ่ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 31
8. รก (Placenta) 1.สรำ้ ง Human chorionic gonadotropin : H.C.G. (ใชต้ รวจสอบกำรตงั้ ครรภ์) 2.สรำ้ ง Estrogen 3.สรำ้ ง Progesterone (ทำใหช้ ่วงตัง้ ครรภ์มีระดบั ฮอรโ์ มน Progesterone สงู มำกขึ้นอกี ทำงหนง่ึ ) จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล ในระยะแรกของกำรตั้งครรภ์ ระดบั ของ HCG ซึ่งสร้ำงจำกรกจะสงู มำกและฮอร์โมน estrogen และ progesterone ท่ีสร้ำงจำก corpus luteum ยงั คงสงู อยู่ ซึง่ ทำใหไ้ มม่ ี ประจำเดือนและทำให้เยื่อบุมดลกู เจริญ เมื่อรกทำหนำ้ ท่ีผลิตฮอรโ์ มน estrogen และ progesterone ไดม้ ำกขน้ึ (ภำพกลำง) corpus luteum จะทำหนำ้ ทผี่ ลิตฮอร์โมนนอ้ ยลง และหมดหนำ้ ท่ีไป (ภำพสุดทำ้ ย) และระดับของ HCG จะลดลง เม่ือระยะเวลำกำรต้ังครรภ์ มำกข้นึ รกจะผลิตฮอร์โมน estrogen และ progesterone ได้มำกข้ึน 32
9.ตอ่ มไทมสั (Thymus gland) สรำ้ งฮอร์โมนได้ 1 ชนดิ เปน็ พู 2 พู อยู่บริเวณทรวงอกรอบเส้นเลอื ดใหญข่ องหัวใจ (ใต้ กระดกู ลิ้นปี่) ต่อมไทมสั จะเจริญเตม็ ที่ตง้ั แต่เปน็ ทำรกอย่ใู นครรภ์ มำรดำและมีขนำดใหญม่ ำกเม่อื ยงั มอี ำยนุ อ้ ย เมอ่ื เข้ำสวู่ ัยรุ่นขนำด ของตอ่ มจะเลก็ ลง เมอื่ เข้ำสู่วยั ผู้ใหญ่ ต่อมนจ้ี ะเห่ยี วไป และเม่ือ เขำ้ สูว่ ยั ชรำจะเล็กลงและฝอ่ ไปกลำยเป็นพังผดื (ถกู แทนที่ดว้ ย เนอื้ เย่อื ไขมนั (fat tissue)ตำ่ งๆ จนไมส่ ำมำรถมองเหน็ ไดอ้ กี ) ❑ ฮอรโ์ มนไทโมซนิ (Thymosin) กระตุ้นเนอื้ เยอื่ ต่อม ไทมัสเองซ่งึ เปน็ อวยั วะนำ้ เหลอื ง ใหส้ ร้ำงเซลล์เม็ดเลอื ด ขำวประเภทลมิ โฟไซท์ (T-lymphocyte หรือ T-cell) ถ้ำต่อมน้ีติดเช้ือหรือฝ่อต้ังแต่แรก เกิด ร่ำง กำยจะผลิตไทโมซิน ไม่ได้ ทำให้ทำรกแรกเกิดติดเชื้อ ถงึ แกช่ วี ติ ได้ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 33
10. กระเพำะอำหำร (Stomach) เซลลใ์ นกระเพำะอำหำร 1) ชีฟเซลล์ (Chief cell) สร้ำง เอนไซมร์ ูป proenzyme ช่อื pepsinogenและ prorennin 2) Parietal cell สร้ำงกรดเกลือ (HCl) ท่ชี ว่ ยในกำรเปล่ียน proenzyme ไปเป็น enzyme 3) Mucus cell ทำหนำ้ ที่สร้ำงเมือก มีฤทธ์เิ ปน็ เบส 4) Enteroendocrine cells หลั่ง ฮอร์โมน Gastrin จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 34
11. ลำไสเ้ ลก็ (Small intestine) 12. Kidney ลำไสเ้ ลก็ 1) Secretin กระตนุ้ ตับออ่ นให้หลงั่ เอนไซม์และ ������������������������������3− เข้ำสู่ลำไสเ้ ล็กสว่ นต้น , ไตมีหน้ำท่ีขับของเสีย , ควบคุมควำม กระตุ้นท่อน้ำดใี ห้บีบตวั หลง่ั นำ้ ดีเข้ำสู่ Duodenum ดันโลหิต (คนไข้ไตไม่ดีจะมีควำมดัน 2) Cholecystokinin ; CCK ไปท่ีถงุ นำ้ ดี เพือ่ กระตุน้ กำรหดตัวของถุงนำ้ ดี โ ล หิ ต สู ง ) แ ล ะ ผ ลิ ต ฮ อ ร์ โ ม น 3) Pancreozymin ไปทต่ี บั ออ่ น เพอื่ กระตุ้นเอนไซมท์ ่ีใชใ้ นกำรย่อยอำหำร ควบคมุ Erythropoietin ไ ป ท่ี ไ ข ก ร ะ ดู ก เ พื่ อ กำรทำงำนของตับออ่ น กระตุ้นกำรสร้ำงเม็ดเลือดแดง (คนไข้ โรคไตวำยจะมเี ลอื ดจำง เลือดนอ้ ย ) จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 35
จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 36
จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 37
กำรรกั ษำดลุ ยภำพของรำ่ งกำยดว้ ยฮอรโ์ มน 1. กำรควบคุมกำรหล่งั ฮอรโ์ มนแบบยบั ย้งั ยอ้ นกลบั (Negative feedback) 2. กำรควบคมุ กำรหลัง่ ฮอรโ์ มนแบบกระตุน้ ย้อนกลับ (Positive feedback) Positive feedback จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 38
Feedback Control 39 จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
ฮอรโ์ มนแมลง (Insect Hormone) •จูวีไนล์ฮอรโ์ มน (Juvenile hormone :JH) Insect hormone ส่วนใหญ่เปน็ สำรเคมพี วก •โมลตงิ ฮอรโ์ มน (Molting hormone : MH /Ecdysone) •ฮอรโ์ มนสมอง (Brain hormone : BH) กรดไขมัน มีโครงสรำ้ งโมเลกุลสนั้ ๆ (ผลติ ขึน้ จำกต่อมมที อ่ ในตำแหนง่ ต่ำงกัน) มีคุณสมบตั ิระเหยได้ดใี นอำกำศ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 40
Beetle Leaf Insect Annam walking stick Cedar beetle จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 41
Experiment (1) ฟีโรโมน (Pheromone) Experiment (2) ▪ ฟีโรโมน (Pheromone) หมำยถงึ สำรเคมที ่สี ตั ว์ขับออกมำนอก 42 รำ่ งกำยโดยต่อมมีท่อ(exocrine gland) ซงึ่ ไม่มีผลต่อตัวเอง แต่ จะไปมีผลต่อสตั วต์ วั อ่นื ที่เป็นชนดิ หรือสปีชสี ์เดยี วกนั ทำให้เกดิ กำรเปลย่ี นแปลงทำงพฤติกรรมและสรรี วทิ ยำเฉพำะอยำ่ งได้ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
กลุ่มฟโี รโมน 1.3 สำรเตอื นภยั (Alarm pheromone) 1.4 สำรทำให้รวมกลมุ่ (Aggregation pheromone) 1. Releaser pheromone -กระตุน้ ใหส้ ตั วแ์ สดงพฤตกิ รรมทนั ทหี ลงั จำกไดร้ บั 1.1 สำรดงึ ดูดเพศตรงขำ้ ม (Sex attractant) 1.2 ฟโี รโมนตำมรอย (trail pheromone) 1.5 สำรขับไล่ศัตรู (Enemy repellant) จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 43
2. Primer pheromone 3. Imprinting pheromone -ทำใหเ้ กิดกำรเปลย่ี นแปลงระยะยำว -มผี ลตอ่ กำรฝังใจในชว่ งวกิ ฤติ เชน่ แมลงสำบ กบั กระบวนกำรทำงสรรี วทิ ยำของผ้รู ับ ระยะตัวอ่อนได้รบั ฟีโรโมนจำกตัวเต็มวยั ตัวผู้ (แมลงสังคม เช่น มด ปลวก ผึ้ง) ทำใหเ้ กดิ กำรเจรญิ เตบิ โตและจำเพำะตอ่ สัตว์ Species เดยี วกันในกำรผสมพนั ธุ์ ▪ ผึ้งงำนกนิ Queen Substance จำกผึ้ง 44 รำชนิ ี ทำใหผ้ ้งึ งำนเป็นหมนั เพรำะสำร นี้จะไปยบั ย้งั กำรเจรญิ เติบโตของรังไข่ และกำรสรำ้ งไข่ ▪ Bruce effect ในหนู จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
วธิ รี บั ฟีโรโมน ประโยชนข์ องฟีโรโมน 1.ทำงกลิน่ -ใช้ในกำรจบั แมลงเพอื่ ศึกษำ -ใชใ้ นกำรเกษตร จับแมลงศตั รูพชื (ทำกับดกั แมลง) 2.กำรกนิ 45 - เชน่ ผ้ึงงำนท่กี นิ Queen Substance จำกผ้ึงรำชินี 3.กำรดดู ซมึ - พบในสตั ว์ไมม่ กี ระดกู สนั หลัง เชน่ แมงมมุ บำงชนดิ แมลงสำบ และต๊กั แตน จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
ข้อแตกตำ่ งระหวำ่ งฟีโรโมน & ฮอรโ์ มน Pheromone Hormone 1.พวกกรดไขมนั สัน้ ๆ 1.พวกโปรตีน เอมนี กรดไขมนั steroid 2.จำกตอ่ มมที อ่ 2.จำกตอ่ มไร้ทอ่ 3.หลั่งนอกร่ำงกำย 3.หมุนเวียนในรำ่ งกำย 4.ไมม่ ีผลต่อตวั เอง 4.มีผลต่อตวั เองและตวั อืน่ 5.สัตวส์ ปีชสี ์เดียวกัน 5.สัตวส์ ปชี ีส์เดียวกนั และต่ำงสปชี ีส์ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 46
Search
Read the Text Version
- 1 - 46
Pages: