Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการเรียนรู้ บทที่ 2 ระบบนิเวศและประชากร สื่อการสอนโดยครูสุกฤตา โสมล

เอกสารประกอบการเรียนรู้ บทที่ 2 ระบบนิเวศและประชากร สื่อการสอนโดยครูสุกฤตา โสมล

Published by suklittha24, 2021-01-30 07:20:47

Description: เอกสารประกอบการเรียนรู้ บทที่ 2 ระบบนิเวศและประชากร
สื่อการเรียนการสอนออนไลน์ โดยครูสุกฤตา โสมล วิชาชีววิทยา ระดับชั้น ม.6 โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี

Search

Read the Text Version

1 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ าชีววทิ ยา ระดบั ช้นั ม.6 เรอ่ื ง ระบบนเิ วศและประชากร จดั ทาโดย ครสู กุ ฤตา โสมล ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ในโลกของสิง่ มีชีวิตมีความหลากหลายของระบบนิเวศท่ีกระจายอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ต่างๆ ระบบนเิ วศ ท่ีมีองค์ประกอบของปัจจัยทางกายภาพและปัจจัยทางชีวภาพท่ีคล้ายคลึงกันก็จะกระจายอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ เดียวกนั นอกจากนี้ในระบบนิเวศแตล่ ะแหง่ กม็ ีความสมั พันธเ์ กดิ ขน้ึ ภายในระบบ ความสัมพนั ธ์อาจเกิดระหว่าง ส่ิงมชี ีวติ กบั สิง่ มชี ีวิต หรอื อาจเกดิ ระหว่างส่ิงมีชีวิตกบั ส่งิ ไม่มีชีวติ  ระดบั ของการจัดระบบทางนเิ วศวิทยา ส่ิงมีชีวิต (organism) ประชากร (population) กลุ่มสิ่งมีชีวิต (community) ระบบนิเวศ (ecosystem) โลกของสง่ิ มชี ีวิตหรือชีวาลยั (biosphere) การศึกษาทางนิเวศวิทยา เป็นการศึกษาต้ังแต่ระดับส่ิงมีชีวิตจนถึงระดับไบโอสเฟียร์ โดยในระดับ ส่ิงมีชีวิตเน้นเร่ืองการดารงชีวิตของส่ิงมีชีวิตในแง่ของรูปร่างลักษณะ พฤติกรรม และสรีระ ท่ีสัมพันธ์กับ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งปัจจัยซึ่งส่งผลให้ส่ิงมีชีวติ สามารถดารงชวี ิตอยู่ในสภาพแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม ส่วนใน ระดับไบโอสเฟียรเ์ ปน็ การศึกษาโลกของสิ่งมีชีวิตที่แสดงความเชื่อมโยงของระบบนิเวศต่างๆ ที่กระจายอยู่ตาม เขตภมู ศิ าสตรต์ า่ งๆ บนพื้นผิวโลก 1. ระบบนิเวศ (ecosystem) ระบบนิเวศเป็นระบบที่ประกอบด้วยกลุ่มของส่ิงมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตในบริเวณใดบริเวณหนึ่งซึ่งมี ความสัมพันธ์กัน มีการถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารในระบบ ซ่ึงหมายรวมท้ังส่วนที่เป็นโครงสร้าง และส่วนท่เี ปน็ กระบวนการ ชีววทิ ยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

2 ในส่วนของโครงสร้างประกอบด้วยองค์ประกอบทางกายภาพ เช่น แสง อุณหภูมิ ปริมาณน้าฝน และ องค์ประกอบทางชีวภาพ ได้แก่สิ่งมีชีวิตชนิดตา่ งๆ ท่ีอาศัยอยู่ในระบบนิเวศนั้น โดยองค์ประกอบทั้งสองส่วนนี้ ต่างก็มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ส่วนกระบวนการน้ัน หมายถึงกระบวนการท้ังหมดท่ีเกิดขึ้นในระบบนิเวศ แต่ที่มีความสาคัญมากคือ กระบวนการถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารภายในระบบนิเวศ ทั้ง โครงสรา้ งและกระบวนการนี้มีความสาคัญทีจ่ ะทาให้ระบบนเิ วศดารงอยู่ได้อยา่ งมเี สถยี รภาพ (stability)  องคป์ ระกอบของระบบนิเวศ 1. กลมุ่ ส่ิงทไี่ ม่มชี วี ิต (abiotic component) เชน่ ดนิ น้า อากาศ 2. กลุ่มส่งิ มีชีวิต (biotic component) - ผผู้ ลิต (producer) เช่น พชื - ผู้บริโภค (consumer) แบ่งเป็น ผู้บริโภคพืช (herbivore) ผู้บรโิ ภคสตั ว์ (carnivore) ผู้บรโิ ภคพชื และสตั ว์ (omnivore) ผ้บู รโิ ภคซากพชื และสตั ว์ (detritivore) - ผ้สู ลายสารอนิ ทรยี ์ (decomposer) เชน่ แบคทีเรยี เห็ด รา  ความสัมพนั ธใ์ นระบบนเิ วศ ส่ิงมชี วี ิตทีอ่ าศยั อยู่ในระบบนเิ วศหนึ่งๆ ย่อมมคี วามสัมพันธ์ซ่ึงกันและกันระหว่างสิ่งมีชวี ิตกับส่ิงมีชีวิต ดว้ ยกนั เอง และระหว่างสิ่งมชี ีวิตกับสภาพแวดลอ้ มทีส่ ิ่งมชี วี ติ อาศัยอยู่ ความสมั พนั ธ์ระหว่างสง่ิ มีชวี ติ กบั ปัจจัยทางกายภาพ 1. อณุ หภูมิ มผี ลตอ่ สิ่งมชี ีวติ มากมาย เช่น - มีผลต่ออัตราเมแทบอลิซึมของสิ่งมีชีวิต มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 10oC ส่งผลให้ตัวอ่อนสามารถ เจรญิ เติบโตไดภ้ ายในระยะเวลาอันสน้ั - มีผลต่อการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิต พบว่าส่ิงมีชีวิตที่มีขีดจากัดความอดทนต่ออุณหภูมิในช่วงท่ี กว้างจะสามารถแพรก่ ระจายได้มาก - มีผลต่อปริมาณแก๊ส O2 ที่ละลายในน้า เม่ืออุณหภูมิสูงขึ้น ปริมาณแก๊ส O2 ท่ีละลายในน้าจะลดลง ซ่งึ อาจส่งผลใหส้ งิ่ มีชีวิตขาด O2 ท่ใี ชใ้ นกระบวนการหายใจ - ทาให้สิ่งมีชีวิตมีการปรับตัวทางด้านโครงสร้าง เช่น การปรับตัวของหมีข้ัวโลกหรือสัตว์ในเขตหนาว มีขนยาวปกคลุม มชี ั้นไขมนั ใต้ผวิ หนงั หนา - ทาให้สิ่งมีชีวิตปรับตัวทางด้านพฤติกรรม เช่น การอพยพของนกปากห่างจากสภาพอุณหภูมิต่าทาง ตอนเหนอื ของทวีปเอเชียลงมาอยูท่ างตอนใต้ของทวปี เอเชียเปน็ การชั่วคราว 2. แสง มีผลต่อสิ่งมชี วี ิตมากมาย เช่น - เป็นปัจจัยสาคัญในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ถ้าแสงมีความเข้มข้นมากเกินไปจะส่งผลให้กร ทางานของเอนไซม์ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงลดลง ทาใหพ้ ชื สรา้ งอาหารได้น้อยลง ชีววิทยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

3 - มีผลตอ่ การเคลือ่ นไหวของพชื เช่น การหุบ การบาน การผลิดอก การออกหากนิ ของสัตว์ - มีผลต่อการงอกของเมล็ดพืชบางชนิด เช่น เมล็ดสน เมล็ดผักสลัด สามารถงอกและเจริญได้ดีเม่ือ ได้รับแสงท่ีมชี ว่ งความยาวคลน่ื ของแสงสแี ดง - มีผลต่อการสืบพันธ์ุของสัตว์บางชนิดโดยระบบสืบพันธ์ุของสัตว์จะข้ึนกับช่วงเวลาที่ได้รับแสงในแต่ ละฤดู เช่น สัตว์เล้ียงลูกด้วยน้านมและนกในเขตอบอุ่นได้รับแสงในช่วงฤดูหนาวโดยเม่ือปริมาณแสงที่มีต่อวัน ลดลง ทาให้สตั วเ์ ลือดอุน่ มีการผลิตฮอร์โมนทเี่ ก่ียวข้องกับการสบื พันธ์เุ พ่ิมข้นึ - มผี ลต่อการเจรญิ ของพชื โดยพชื ท่ีอาศยั ในระบบนเิ วศป่าผลดั ใบมีความต้องการความเข้มของแสงสูง กว่าพชื ท่อี าศัยในระบบนิเวศป่าดบิ ชนื้ ทาให้พืชในบรเิ วณป่าดบิ ชื้นสามารถเจรญิ เตบิ โตและสบื พนั ธ์ุได้ดีกว่าป่า ผลัดใบ 3. ความชื้น มีผลตอ่ สงิ่ มีชีวิตมากมาย เช่น - ปริมาณน้าท่ีมีอยู่ในสภาพแวดล้อมมีความสาคัญต่อระบบนิเวศ เน่ืองจากเป็นปัจจัยกาหนด สภาพแวดลอ้ ม ความอุดมสมบรู ณ์ ลักษณะชนดิ ของระบบนเิ วศ - พ้ืนดินที่มีความชื้นสูง ทาให้พืชเจริญงอกงามได้ดีและมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่มากกว่าพื้นดินที่มีความชนื้ นอ้ ย อากาศแห้งแล้ง - มีผลต่อการปรบั ตัวของส่ิงมีชวี ิต เช่น พชื ที่ขึ้นในทะเลทรายมลี าต้นและใบอวบน้า มีควิ ทนิ เคลือบใบ เพ่ือลดการระเหยของน้า หรือมีการลดรูปใบเป็นหนาม สัตว์ท่ีอาศัยในทะเลทรายมีการปรับตัวทางด้าน พฤติกรรมและทางด้านสรีรวทิ ยา เชน่ ออกหาอาหารในช่วงกลางคนื มีการกาจดั ของเสียในรปู ของกรดยูริก 4. แก๊ส มผี ลต่อสง่ิ มชี ีวิตมากมาย เช่น - แก๊ส O2 เป็นปัจจัยที่มีความสาคัญต่อส่ิงมีชีวิต ส่ิงมีชีวิตที่อยู่บนบกจะได้แก๊ส O2 อย่างพอเพียง แต่ ส่ิงมีชีวิตท่ีอยู่ในน้าจะได้ปริมาณแก๊ส O2 ค่อนข้างจากัด (น้า 1 ลิตร มีแก๊ส O2 5 cm3 ในอากาศปริมาณ 1 ลติ ร มีแก๊ส O2 210 cm3) - ในแหลง่ นา้ ที่มีสารอนิ ทรยี ม์ าก จุลนิ ทรยี ์ในน้าตอ้ งการใช้แก๊ส O2 ในการสลายสารอินทรีย์ จึงอาจทา ใหเ้ กดิ การขาดแคลนแกส๊ O2 ได้ - แก๊ส CO2 และแก๊ส O2 มบี ทบาทในกระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสงและกระบวนการหายใจ - ในบรรยากาศมีแก๊ส N2 ร้อยละ 78 แต่ส่ิงมีชีวิตส่วนใหญ่ไม่สามารถใช้ได้โดยตรง เมื่ออยู่ในรูป สารประกอบแอมโมเนียไนไตรต์และไนเตรต สิง่ มีชวี ิตจึงจะสามารถนามาใชป้ ระโยชน์ได้ 5. ดนิ มีผลตอ่ สงิ่ มชี ีวติ มากมาย เช่น - เป็นแหลง่ ทอ่ี ย่อู าศยั และแหลง่ แรธ่ าตุแก่พชื และสัตว์ - พชื ไดร้ บั ธาตุอาหารทางรากโดยการดูดธาตุอาหารที่มีอยูใ่ นดินเข้าสู่รากผ่านระบบท่อลาเลยี งไปตาม ส่วนต่างๆ ของลาต้นและทางปากใบ โดยการผสมป๋ยุ กบั นา้ แลว้ ฉดี พน่ ทใี่ บพืช - สัตว์ได้รับแร่ธาตุจากการบริโภคพืชหรือแร่ธาตุจากดินโดยตรง เช่น สัตว์ป่าได้รับแร่ธาตุจากการกิน ดินโป่ง ชีววิทยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

4 6. ความเป็นกรด-เบสของดินและน้า มผี ลตอ่ ส่ิงมีชีวติ มากมาย เชน่ - เปน็ ปจั จัยจากัดตอ่ พชื ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง พบวา่ พืชมกี ารแพร่กระจายไดด้ ีในบริเวณ ท่ีมีค่า pH ค่อนข้างสูงเพราะสามารถนา CO2 ท่ีมีปริมาณน้อยจากบรรยากาศมาใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสงได้ ส่งผลใหพ้ ืชสามารถเจรญิ เติบโตได้ดีกว่าพชื ท่ีอยู่บรเิ วณทม่ี คี ่า pH ที่ค่อนข้างต่า - คา่ pH สูง มีผลตอ่ เฮโมโกลบินของปลาทาใหร้ ับ O2 ได้น้อยลง ส่งผลให้ปลาแซลมอนอพยพไปอาศัย บริเวณที่มคี ่า pH ทีต่ า่ กวา่ ในสัตว์ไมม่ ีกระดกู สนั หลงั ส่งผลใหเ้ ม็ดสีลดนอ้ ยลง และเมแทบอลซิ มึ ลดลง - ค่า pH ทีแ่ ตกตา่ งกันในระบบนิเวศ ส่งผลใหม้ ีการแพรก่ ระจายของสงิ่ มชี ีวิตแตกต่างกัน ตารางแสดงความเป็นกรด-เบสที่เหมาะสมต่อการดารงชีพของสิง่ มชี ีวิต ชนดิ ของสง่ิ มชี ีวิต ความเปน็ กรด-เบส สตั วใ์ นดิน 2.2-9.0 สิ่งมีชีวิตในน้าจดื 3.2-10.5 สิง่ มชี วี ติ ในนา้ เค็ม 8.0-8.4 ส่ิงมชี ีวิตในทะเลสาบ/ลาธาร 6.5-8.0 ปะการงั 7.6-8.45 มอส 3.0-10.5 พชื ท่ัวไป 6.6-7.0 ความสมั พันธร์ ะหวา่ งสงิ่ มีชวี ิตกบั ปจั จัยทางชีวภาพ ระบบนิเวศแต่ละระบบประกอบด้วยส่ิงมีชีวิตหลากหลายชนิดอยู่ร่วมกันในสังคมส่ิงมีชีวิต ซ่ึง ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวติ แต่ละชนดิ (interspecific interaction) มหี ลากหลายรูปแบบ ตารางแสดงรูปแบบความสัมพนั ธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตตา่ งชนดิ กาหนดใหส้ ญั ลักษณ์ (+) แทนการไดป้ ระโยชน์ (-) แทนการเสียประโยชน์ (0) แทนการไมไ่ ด้และไม่เสยี ประโยชน์ รูปแบบความสัมพนั ธ์ สญั ลักษณ์ ตัวอย่าง 1. ภาวะพง่ึ พากัน (mutualism) + ,+ -โพรโทซวั ในลาไสป้ ลวกกับปลวก -ไรโซเบียมในปรากถั่ว : ทงั้ 2 ฝา่ ยอยู่ร่วมกันขาดใครไปไมไ่ ด้ ต่าง -รากับสาหร่าย (ไลเคนส)์ -ปะการังกับสาหรา่ ยซูแซนเทลลี ได้ประโยชน์กันทง้ั คู่ -ต้นไทรกับต่อไทร -ราไมคอร์ไรซาในรากสนหรอื รากปรง 2. ภาวะการได้รับประโยชน์รว่ มกนั + , + -ดอกไมก้ ับแมลง -นกเอยี้ งกับควาย -มดดากบั เพลยี้ (protocoorperation) -ซแี อนีโมนีกับปเู สฉวน -ปลาการต์ ูนกบั ดอกไม้ทะเล :ทัง้ 2 ฝา่ ยไม่จาเป็นตอ้ งอยรู่ ว่ มกนั เสมอไป -สาหรา่ ยคลอเรลลากับไฮดรา 3. ภาวะองิ อาศยั (commensalism) + , 0 -เหาฉลามกับปลาฉลาม -นกทารังบนต้นไม้ -เพรียงหนิ บนกระดองเตา่ -ปเู สฉวนกับเปลือกหอย -เฟินบนตน้ ไมใ้ หญ่ -ตะไคร่น้าบนเปลอื กไม้ -แอนาบนี า(สาหร่ายสเี ขยี วแกมน้าเงนิ ) ในแหนแดง 4. ภาวะการล่าเหย่ือ (predation) + , - -นกกนิ หนอน -เสอื ลา่ กวาง -งูกินกบ -จระเข้กินงู : ผไู้ ด้ คอื ผู้ล่า (predator) / : ผ้เู สีย คอื เหยอ่ื (prey) ชีววิทยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

5 5. ภาวะปรสติ (parasitism) + , - -พยาธกิ บั สัตว์ -ไวรัสกับสัตว์ 6. ภาวะแก่งแยง่ แขง่ ขนั (competition) : ผไู้ ด้ คอื ปรสิต (parasite) / : ผู้เสีย คือ ผถู้ กู อาศยั (host) - , - -การแย่งธาตุอาหารและแสงสว่างของพืช เช่น ผักตบชวาในบงึ บัวในสระ -การแยง่ เปน็ จ่าฝงู ในสัตวบ์ างชนิด เช่น เสือ สงิ โต -ปลาในบอ่ เล้ยี งทแี่ ยง่ อาหารกนิ เช่น ปลาสวาย ปลาดกุ -การแย่งกนั ครอบครองอาณาเขต เชน่ ลงิ เสือ สงิ โต 1.1 ความหลากหลายของระบบนิเวศ ในระบบนิเวศ สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะอาศัยอยู่ในแหล่งท่ีอยู่ (habitat) ที่มีสภาพแวดล้อมเหมาะสม ต่อการดารงชวี ติ เฉพาะตวั เชน่ หมขี วั้ โลกอาศัยอยใู่ นบริเวณขัว้ โลกเหนอื ต้นโกงกางและแสมขน้ึ ในป่าชายเลน เน่ืองจากในแต่ละบริเวณของโลกมีสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน ท้ังองค์ประกอบทางกายภาพและ องค์ประกอบทางชีวภาพ จึงก่อให้เกิดระบบนิเวศท่ีหลากหลาย ซ่ึงโดยทั่วไปสามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มคือ ระบบนิเวศบนบกและระบบนิเวศแหลง่ นา้  ระบบนเิ วศบนบก (terrestrial ecosystem) เป็นระบบนิเวศที่ปรากฏอยู่บนพ้ืนดินซึ่งแตกต่างกันไปโดยใช้ลักษณะเด่นของพืชเป็นหลัก โดยความ แตกตา่ งของระบบนเิ วศขนึ้ อยกู่ ับอุณหภมู ิและปริมาณนา้ ฝน ตวั อย่างระบบนิเวศบนบกในประเทศไทย ได้แบ่งป่าไม้ออกเป็น 2 ประเภทคือ ป่าไม่ผลัดใบ (evergreen forest) และป่าผลัดใบ (deciduous forest) ซ่งึ แบ่งตามสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและชนดิ ของพชื เดน่ ทสี่ าคญั มีดังนี้ o ป่าไมผ่ ลดั ใบ (Evergreen Forest) ได้แก่ ประเภท รายละเอยี ดของป่า 1. ปา่ ดิบชืน้ มีอยู่ทั่วไปในทุกภาคของประเทศ และมากท่ีสุดแถบชายฝ่ังภาคตะวันออก เช่น ระยอง (Tropical Rain Forest) จันทบุรี และที่ภาคใต้ กระจัดกระจาย ตามความสูงตงั้ แต่ 0 – 100 เมตรจากระดับน้าทะเล ซ่ึงมปี รมิ าณน้าฝนตกมากกว่าภาคอน่ื ๆ ลักษณะทั่วไปมกั เปน็ ป่ารกทึบ ประกอบดว้ ยพันธ์ุไม้ 2. ป่าดิบเขา มากมายหลายร้อยชนิด ไม้ยืนต้นชั้นบน (ความสูง 25-40 เมตร) ส่วนใหญ่เป็นวงศ์ยาง เช่น (Hill Evergreen Forest, ยางกล่อง ตะเคียน สะยา ไม้ชั้นกลาง (ความสูง 10-20 เมตร) เช่น ตีนเป็ดแดง จิกเขา ส่วน Montane Forest) ท่ีเป็นไม้ชั้นล่าง (ความสูงไมเ่ กิน 7 เมตร) จะเป็นพวกปาลม์ ไม้พุ่ม ไผ่ ระกา หวาย บุกขอน กลว้ ยไมป้ า่ เฟริ น์ มอส และเถาวัลยช์ นดิ ตา่ งๆ เป็นป่าท่ีอยู่สูงจากระดับน้าทะเล ตั้งแต่ 1,000 เมตรขึ้นไป ส่วนใหญ่อยู่บนเทือกเขาสูงทาง ภาคเหนอื และบางแห่งในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่นท่ี อช.ทุ่งแสลงหลวง และ อช.น้าหนาว เป็นต้น มีปริมาณน้าฝนระหว่าง 1,000 ถึง2,000 ม. พืชที่สาคัญได้แกไ่ ม้ ชีววิทยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

6 3. ปา่ ดบิ แลง้ วงศ์ก่อ เช่น ก่อสีเสียด ก่อตาหมูน้อย ก่อตลับอบเชย มะขาม ป้อมดงนางพญาเสือโคร่ง (Dry Evergreen Forest) อบเชย กายาน มีป่าเบญจพรรณด้วย เป็นต้น บางทีก็มีสนเขาขึ้นปะปนอยู่ด้วย ส่วนไม้พ้ืน ล่างเป็นพวกเฟิรน์ กหุ ลาบปา่ กลว้ ยไมด้ ิน มอส ป่าชนดิ นี้มกั อยู่บริเวณต้นน้าลาธาร 4. ปา่ พรุ มีอยู่ทั่วไปตามภาคต่างๆ ของประเทศ ตามท่ีราบเรียบหรือตามหุบเขาเช่นภาคเหนือ และ (Swamp Forest, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือในบริเวณค่อนข้างเรียบ มีความสูงจากระดับน้าทะเลประมาณ Peat Swamp Forest) 500 เมตร และมีปริมาณน้าฝนระหว่าง 1,000-1,500 ม.ม. มีช่วงท่ีแห้งแล้งอย่างน้อย 3-4 เดือน เป็นป่าโปร่ง พื้นท่ีป่าชั้นล่างจะไมห่ นาแน่นและค่อนข้างโล่งเตียนพันธ์ุไมท้ ี่สาคัญ เช่น 5. ปา่ สนเขา ยางแดง มะค่าโมง เค่ยี ม กะบาก ตะเคยี นหนิ พลอง กระเบาเล็ก (Coniferous Forest) เปน็ สังคมป่าแน่นทึบทอ่ี ยู่ถัดจากบริเวณสงั คมป่าชายเลน โดยอาจจะเป็นพน้ื ที่ล่มุ ทมี่ กี ารทับ ถมของซากพืชและอินทรียวัตถุท่ีไม่สลายตัว สภาพดินเป็นดินอินทรีย์ซ่ึงเกิดจากการย่อย 6. ป่าชายเลน สลายของสารอินทรีย์ น้ามีความเป็นกรดสูง พบตามบริเวณท่ีมีน้าจืดท่วมขังหรือช้ืนแฉะ (Mangrove Swamp ตลอดปี พบในภาคใต้ของประเทศไทยเปน็ ส่วนใหญ่ เช่น จังหวัดนราธวิ าส นครศรธี รรมราช Forest) ชุมพร สงขลา พัทลุง ปัตตานี รวมท้ังตราด ส่วนจังหวัดท่ีพบเล็กน้อย ได้แก่ สุราษฎร์ธานี ตรัง กระบี่ สตูล ระยอง จันทบุรี เชียงใหม่ (อ.พร้าว) และจังหวัดชายทะเลอ่ืนๆ อย่างไรก็ ตาม พ้ืนท่ีส่วนใหญ่ถูกบุกรุกทาลายระบายน้าออกเปล่ียนแปลงสภาพเป็นสวนมะพร้าว นา ข้าว และบอ่ เลย้ี งก้งุ เลยี้ งปลา คงเหลอื เป็นพืน้ ทกี่ วา้ งใหญใ่ นจังหวัดนราธิวาสเท่าน้นั คอื พรุ โต๊ะแดง ซึ่งยังคงเป็นป่าพรุสมบูรณ์ และพรุบาเจาะ ซ่ึงเป็นพรุเสื่อมสภาพแล้ว มีพรรณไม้ ขนาดใหญ่ขึน้ ปะปนกับไมข้ นาดเล็ก เชน่ ชา้ งไห้ หวาย หมากแดง หลมุ พี มีกระจายอยู่เปน็ หย่อมๆ ตามภาคเหนือ เช่น ดอยอนิ ทนนท์ จ.เชยี งใหม่ แมฮ่ ่องสอน ลาปาง น้าหนาว จ.เพชรบูรณ์ และท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือท่ีภูกระดึง ภูหลวง จ.เลย ศรีสะเกษ สุรินทร์ และอุบลราชธานี อยู่ตามเขาและท่ีราบบางแหง่ ที่มีระดบั สูงจากน้าทะเลต้งั แต่ 200 เมตรขน้ึ ไป บางคร้ังพบขึ้นปนอยู่กบั ปา่ แดงและป่าดบิ เขาหรือตามสนั เขาที่คอ่ นข้างแห้งแล้ง ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ มีความเป็นกรดและขาดธาตุอาหารเน่ืองจากอัตราการชะล้าง ประเทศไทยมีไม้สนเขาเพียง 2 ชนิดเท่าน้ัน คือสนสองใบและสนสามใบ และพวกไม้ก่อขึ้น ปะปนอยู่ ส่วนพืชช้นั ล่างเปน็ พวกหญา้ ตา่ งๆ ปา่ ชนิดนจ้ี ะข้ึนอยตู่ ามชายฝั่งทะเลที่มีดนิ โคลนและน้าทะเลท่วมถึง เชน่ ตามชายฝั่งตะวนั ตก ต้ังแต่ระนองถงึ สตูลแถบอา่ วไทยต้ังแตส่ มทุ รสงครามถึงตราด และจากประจวบครี ีขันธ์ลงไป ถึงนราธิวาส มีความสาคัญโดยเป็นแหล่งอนุบาลตัวอ่อนของสัตว์น้า พ้ืนดินมักเป็นดินเลนที่ เกิดจากการตกตะกอนทาให้พืชท่ีอาศัยอยู่ต้องมีการปรับตัวเพื่อทนต่อสภาพน้าเค็ม เช่น มี รากที่สามารถแลกเปล่ียนอากาศได้เรียกว่า รากหายใจ ใบมีลักษณะหนา มัน เพ่ืออุ้มน้าได้ มาก พันธุ์ไมใ้ นปา่ ชายเลนมกี ารแบ่งเขตแนวขึน้ อยา่ งชดั เจน เรยี งลาดบั จากเขตนอกสดุ ที่ติด ริมฝ่ังนา้ ไมท้ ่ีสาคัญเชน่ ไมโ้ กงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ แสม ลาพู ลาแพน โพทะเล ตะบูน โปรง ฝาด ถั่ว และเขตสุดท้ายเป็นแนวต่อระหว่างป่าชายเลนกับป่าบกจะมีกลุ่มไม้เสม็ด ขน้ึ อยู่ ชีววทิ ยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

7 o ป่าผลดั ใบ (Deciduous Forest) ไดแ้ ก่ ประเภท รายละเอียดของปา่ 1. ปา่ เบญจพรรณ เป็นป่าโปร่ง พบทั่วประเทศตามท่ีราบและเนินเขาจึงพบได้ทุกภาคยกเว้นภาคใต้ มัก (Mixed Deciduous Forest) เป็นดินรว่ นปนทราย ฝนตกไม่มากนัก มฤี ดูแล้งยาวนาน พรรณไมท้ พี่ บมีวงปีเด่นชัด ท่ี มีพรรณไม้หลัก 5 ชนิดคือ สัก มะค่าโมง แดง ประดู่ ชิงชัน และยังมีพยงุ พ้ีจ่ัน พืชชั้น ล่าง คือ ไผห่ ลายชนิด 2. ปา่ เต็งรงั /ปา่ แดง/ป่าแพะ พบท่ัวไปเช่นเดียวกบั ปา่ เบญจพรรณ แตแ่ หง้ แลง้ กว่าเนื่องจากดนิ อุ้มนา้ นอ้ ย โดยท่วั ไป (Dry Dipterocarp Forest) พบในพ้ืนที่แห้งแล้งโดยเฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ยกเว้นภาคใต้และภาค ตะวันออกแถบ จ.จันทบุรีและ จ.ตราด เป็นป่าโปร่งและผลัดใบในช่วงฤดูแล้งท่ีขาด แคลนน้า พรรณไม้มักทนแล้งและทนไฟ เช่น เต็ง รัง พะยอม ประดู่แดง เหียง พลวง ยางกราด มะขามป้อม มะกอก ผักหวาน พืชชั้นล่างเป็นหญ้า ไผ่เพ็ก ปรง กระเจียว เปราะ มักเกดิ ไฟปา่ ในฤดูแล้ง 3. ป่าหญ้า ( Grassland Forest) ป่าหญ้าเกิดภายหลังเม่ือป่าธรรมชาตอิ ่ืนๆถูกทาลาย ดินมีสภาพเสื่อมโทรม หญ้าทีพ่ บ มหี ญา้ คา แฝก อ้อ แขม มไี ม้ตน้ บา้ ง เช่น ติว้ แต้ สเี สียดแก่น ซ่งึ ทนแล้งและทนไฟ  ระบบนิเวศแหล่งน้า (aquatic ecosystem) เป็นระบบนิเวศในแหล่งน้าต่างๆ เช่น บึง แม่น้า ทะเลสาบ ทะเล สามารถแบ่งได้โดยใช้ค่าความเค็ม หรือใช้ความเข้มข้นของเกลือที่ละลายในน้าเป็นตัวกาหนด โดยแหล่งน้าเค็มจะมีค่าความเค็มมากกว่า 35 ppt (past per thousand) และแหล่งน้าจืดจะมีค่าความเค็มน้อยกว่าร้อยละ 0.1 หรือ 0.01 ppt ส่วนแหล่งน้า กรอ่ ย (brackish water) หรอื ชะวากทะเล (estuaries) มคี ่าความเคม็ ระหว่าง 1-35 ppt o ระบบนิเวศแหล่งนา้ เคม็ (marine ecosystem) มีพื้นท่ีประมาณ 3/4 ส่วนของผิวโลก ได้แก่ ทะเล และมหาสมุทร แบ่งได้เป็นบริเวณต่างๆ ตัวอย่าง ระบบนเิ วศแหลง่ นา้ เค็มของประเทศไทย เช่น หาดทราย หาดหนิ แนวปะการัง (coral reef) 1) หาดทราย เปน็ ระบบนิเวศชายฝงั่ ที่อยู่ในบรเิ วณนา้ ขึ้นนา้ ลง ลกั ษณะพน้ื ผวิ ประกอบดว้ ยเมด็ ทราย ขนาดต่างๆ กัน โดยในพื้นที่แตล่ ะแห่งจะมคี วามลาดชนั ไมเ่ หมือนกัน กระแสนา้ ข้ึนนา้ ลงเป็นปัจจัยหนง่ึ ที่ทาให้ ความชุ่มชื้นและอุณหภูมิของหาดทรายมีการเปลี่ยนแปลงในรอบวันและส่งผลต่อการดารงชีวิต ของส่ิงมีชีวิต บรเิ วณหาดทราย สงิ่ มชี ีวิตบริเวณหาดทรายมีการปรบั ตัว เชน่ มผี ิวเรยี บ ลาตัวแบน เพ่อื สะดวกในการแทรกตัวลงไปใน ทราย เช่น หอยเสฉวน หอยทับทิม บางชนิดลดขนาดของร่างกายเพ่ือลดความเสียดทานท่ีถูกคล่ืนซัดเป็น ประจา เช่น ปลู ม จักจนั่ ทะเล สตั วบ์ างชนิดสร้างปลอกห้มุ ลาตัว เชน่ หนอนหลอด ไสเ้ ดือนทะเล 2) หาดหิน เป็นหาดที่เต็มไปด้วยหิน ไม่ราบเรียบ มีซอกและแอ่งน้าเป็นท่ีกาบังคลื่นลม ยึดเกาะและ หลบซ่อนตัวของสิ่งมีชีวิต เมื่อเกิดน้าขึ้นน้าลงบริเวณหาดหินจะมีการเปล่ียนแปลงของอุณหภูมิ แสง และ ชีววทิ ยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

8 ความช้ืนค่อนข้างมาก โดยเม่ือน้าลงอุณหภูมิจะสูงข้ึนและมีแสงมากข้ึน ทาให้สัตว์และพืชต้องเผชิญกับภาวะ ขาดน้าชวั่ ขณะ สิ่งมีชีวิตบริเวณหาดหินมีการปรับตัว เช่น สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน มีสารเคราตินเคลือบผิวเพ่ือ รักษาความชื้นและป้องกันการระเหยของน้า ไลเคนส์มีเชื้อราช่วยดูดน้าไว้ในขณะที่น้าลง ส่ิงมีชีวิตท่ีเคล่ือนท่ี ไม่ได้จะมเี ปลือกหมุ้ ทส่ี ามารถเก็บนา้ ไว้ภายใน เช่น เพรยี งหนิ ล่นิ ทะเล หอยนางรม 3) แนวปะการงั (coral reef) อยู่ใกล้บริเวณชายฝ่ัง เปน็ ระบบนเิ วศใต้น้าที่มีความอดุ มสมบูรณ์มาก เพราะสภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการเจริญของสาหร่ายชนิดต่างๆ จึงเป็นแหล่งอาหารที่อุดมสมบูรณ์ เป็น แหลง่ หลบกาบังศตั รูของสิ่งมชี ีวิตต่างๆ เปน็ แหลง่ อนุบาลของสตั ว์น้า ในนา้ ลึกทมี่ ีแสงส่องถึงมักจะพบปะการัง อาศัยอยู่ร่วมกับสาหร่ายซูแซนเทลลี (zooxanthellae) แบบพึ่งพาอาศัยกัน โดยนาแก๊ส CO2 จากการหายใจ ของปะการังมาใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง ทาให้ลดปริมาณกรดคาร์บอนิกในเนื้อเยื่อปะการัง ปะการังจึง สามารถสร้างโครงรา่ งไดร้ วดเรว็ ขึน้ ทาใหเ้ กดิ แนวปะการงั ได้ ปะการงั สามารถมีชวี ติ อยู่ได้ในบริเวณทนี่ า้ ทะเลมี ออกซิเจนเพียงพอ มีแสงส่องถึงและมีอุณหภูมิที่เหมาะสม และเรายังสามารถใช้ปะการังเป็นดัชนีในการบ่ง บอกสภาพแวดลอ้ มชายฝัง่ ทะเลบริเวณนนั้ ได้ ปัจจุบันแนวปะการังมีปริมาณลดลง เน่ืองถูกทาลายโดยดาวมงกุฎหนามในธรรมชาติ และการกระทา ของมนุษย์ เชน่ การใชอ้ วนลากปลา การทอดสมอเรือในทะเล - barrier reef เปน็ แนวปะการงั แบบกาแพงเกดิ ตามไหล่ทวีป แนวปะการังเป็นแถบใหญจ่ ะโผล่พ้นน้า เม่อื น้าลดลง เช่น great barrier reef ของทวีปออสเตรเลยี แนวปะการงั เกดิ ใกล้ฝงั่ ทีม่ ีลักษณะเป็นชนั้ และเกิดตดิ ๆ กับเกาะ เรยี กว่า fringing reef : บริเวณทะเลเปดิ สามารถแบง่ เขตทะเลตามแนวดงิ่ ได้แก่เขตท่ีมแี สงสอ่ งถงึ เขตที่มีแสงน้อยและเขตทไ่ี มม่ แี สง ชีววทิ ยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

9 o ระบบนเิ วศแหลง่ นา้ จืด (fresh water system) แบ่งเปน็ 1) แหล่งน้าน่ิง (lentic ecosystem) เช่น สระน้า หนอง บึง บ่อ ทะเลสาบ มีความลึกไม่เกิน 15 เมตร ไมม่ ีการไหลของน้า ปรมิ าณออกซิเจนต่า การหมนุ เวยี นของสารค่อนขา้ งตา่ แบ่งได้เป็น 3 บริเวณใหญ่ๆ คอื บริเวณชายฝงั่ บริเวณผิวนา้ และบรเิ วณนา้ ช้ันล่าง เปน็ ระบบนิเวศแบบปิด เปน็ แหลง่ นา้ ขนาดเล็กที่มีน้าขัง ตลอดปี น้าในแอ่งน้าจะหยุดน่ิงอยู่กับที่ การเติมน้าจะได้รับจากน้าฝน น้าจากแผ่นดินหรือการท่วมล้นของ แม่น้าทไี่ หลเข้ามาในแอง่ น้าเท่านัน้ สาหรบั กลุ่มของสิง่ มีชวี ติ ท่พี บจะแตกต่างกันไปตามบรเิ วณสว่ นต่าง ๆ ภายในสระน้า โดยบรเิ วณผิวน้า จะพบแพลงก์ตอนพชื แพลงกต์ อนสัตว์ สาหรา่ ย และพชื ลอยน้า เช่น จอก แหน ผักแวน่ ไขน่ า้ ฯลฯ ถัดลงมากลางน้า พบสิ่งมีชีวิตว่ายน้าอย่างอิสระ ลูกปลา ลูกกบ ปลาดุก ปลาช่อน มวนน้า จิงโจ้น้า จระเข้ งู ส่วนพื้นน้าจะพบสัตว์หน้าดิน เช่น กอย กุ้ง และพืชไม้ใต้น้า เช่น สาหร่ายหางกระรอก สาหร่ายพุง ชะโด สนั ตะวาใบพาย พืชน้าจาพวกหย่ังลกึ ในดิน เช่น หญ้า บวั กก ธปู ฤาษี 2) แหล่งน้าไหล (lotic ecosystem) ได้แก่ เกาะแก่ง แอ่งน้า แม่น้า ลาธาร น้าตก ลาคลอง เป็น บริเวณที่มีการไหลของน้าตลอดเวลา ปริมาณออกซิเจนสูง มีการหมุนเวียนของสารค่อนข้างสูง ระบบนิเวศ แหล่งน้าไหลแบ่งออกได้เป็น 2 บริเวณ คือ บริเวณท่ีเป็นเกาะแก่งหรือบริเวณน้าไหลเช่ียว และบริเวณท่ีเป็น แอ่งน้า เป็นระบบนิเวศแบบเปิด มีกระแสน้าไหลเวียน พัดพาแร่ธาตุ สารอาหารไปยังแหล่งน้าอ่ืนๆ ได้อยู่ ตลอดเวลา พันธุ์พืชที่พบได้แก่ เฟิร์น มอส ไทร ไคร้น้า เนื่องจากเป็นความชุ่มชื้นของละอองน้า พืชส่วนใหญ่บน ผิวน้ามีลักษณะเป็นกอลอยไปตามน้า เช่น ผักตบชวา ผักเป็ด ผักบุ้ง นอกจากนี้ยังมีพืชตามแนวชายฝ่ังและ บรเิ วณน้าตน้ื เชน่ ตน้ กก สัตว์ท่ีอาศัยอยู่ในแหล่งนา้ ไหลจะมีการปรับตัว เช่น มีรูปร่างเพรียวเพ่ือลดแรงต้านทานของกระแสนา้ เช่น ปลาบางชนิดมีรูปร่างแบนราบไปกับผวิ ท่ีเกาะ ตัวอ่อนของแมลงบางชนดิ สามารถเกาะตดิ แนน่ กับพ้ืนผวิ ที่ อาศัยอยู่ เช่น แมลงหนอนปลอกน้า ฟองน้าน้าจืด สัตว์บางชนิดสามารถสร้างเมือกเหนียวเพื่อให้ยึดเกาะ เช่น พลานาเรีย หอยฝาเดยี ว หอยสองฝา สัตว์บางชนดิ ปรบั เปลยี่ นพฤติกรรมโดยการว่ายทวนน้า เช่น ปลาพลวง ปลาเลยี หิน ชีววิทยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

10 o ระบบนเิ วศน้ากรอ่ ย (brackish water) หรือชะวากทะเล (estuaries) เป็นบริเวณรอยต่อระหว่างแหล่งน้าจืดและแหล่งน้าเค็ม พบบริเวณปากแม่น้า ปากอ่าวและช่องแคบ มีความแปรผันของค่าความเข้มข้นของเกลือในรอบวันตามปัจจัยของน้าข้ึนน้าลง รวมท้ังปริมาณหยาดน้าฟ้า ความเค็มของน้ามีค่า 1-35 ppt เป็นบริเวณท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ของธาตุอาหารสูง อุณหภูมิและกระแสน้า เปล่ียนแปลง พบสิ่งมีชวี ติ ไดห้ ลากหลายบริเวณนี้ ในประเทศไทยพบตามแนวชายฝั่งทะเลและปากแม่น้า เช่น ชายฝั่งทะเลอ่าวไทยและชายฝ่ังทะเลอัน ดามัน มีป่าชายเลนซงึ่ เป็นป่าไมไ้ มผ่ ลัดใบประเภทหนึ่ง ชีววทิ ยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

11 1.2 กระบวนการทสี่ าคญั ในระบบนิเวศ ระบบนิเวศนอกจากจะประกอบด้วยองค์ประกอบทางกายภาพ (abiotic component) เช่น ดิน น้า อากาศ และองคป์ ระกอบทางชวี ภาพ (biotic component) แลว้ ระบบนิเวศจะดารงอยู่ได้ต้องมีกระบวนการ ตา่ งๆ เกิดขึ้น ทส่ี าคญั ได้แก่ การถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวยี นสารหรอื วัฏจักรสารในระบบนเิ วศ  การถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศมีความสัมพันธใ์ นลักษณะของการกินต่อกันเป็นทอดๆ ซึ่งทาให้เกิดการถ่ายทอ พลังงานในสิ่งมีชีวิต (energy flow) ในรูปแบบของโซ่อาหาร (food chain) และสายใยอาหาร (food web) สิ่งมีชีวิตแบ่งตามหน้าที่ได้เป็น 3 กลุ่ม คือ ผู้ผลิต (producer) ผู้บริโภค (consumer) และผู้สลายสารอินทรยี ์ (decomposer) พลังงานจะถ่ายทอดจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคต่างๆ ผ่านการกินเป็นทอดๆ ในรูปแบบท่ีไม่เป็นวัฏจักร ตามลาดับชนั้ การกิน (tropic level) ซึ่งจะทาใหเ้ กิดการนาธาตุอาหารไปใช้ในการสร้างเนื้อเย่ือหรือสังเคราะห์ สารในการทากิจกรรมต่างๆ ของร่างกาย ทาให้เกดิ ความสมดลุ ในระบบนเิ วศ ตวั อย่างการเปรยี บเทียบโซอ่ าหาร (Food Chainป กบั สายใยอาหาร (Food Web) รูปแบบของโซ่อาหาร 1. โซ่อาหารแบบจับกินหรือแบบผู้ล่า (grazing food chain) พลังงานหรือสารอาหารถ่ายทอด จากผู้ผลิตหรือผ้บู รโิ ภคไปยังผบู้ รโิ ภคลาดบั สงู ขึน้ เชน่ พืช กระรอกเหยยี่ ว , พืชหนอนแมลงนก ชีววทิ ยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

12 2. โซ่อาหารแบบดีไทรทัส (detritus food chain) พลังงานหรือสารอาหารถ่ายทอดจากการย่อย สลายซากพืชซากสตั ว์ของผ้สู ลายสารอินทรีย์ผา่ นต่อไปยงั ผู้บรโิ ภคลาดบั ต่างๆ 3. โซ่อาหารแบบปรสิต (parasitic food chain) พลังงานหรือสารอาหารถ่ายทอดจากผู้ถูกอาศัย ให้กับปรสิต เช่น ต้นโกงกางจะเป็นโรคเน่าสีน้าตาล (Brown Rot) เนื่องจากมีเช้ือรา Phytophthora sp. อาศยั อยบู่ นตน้ โกงกาง ตน้ โกงกางเชื้อรา Phytophthora sp. เช้ือรา Trichoderma sp. พรี ะมิดทางนเิ วศวทิ ยา (ecological pyramid) พีระมิดทางนิเวศวิทยา (ecological pyramid) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ลาดบั ชั้นของโซ่อาหารใน รปู แบบของพีระมิด จาแนกเปน็ 3 แบบ ดงั นี้ 1. พีระมดิ จ้านวน (pyramid of numbers) พรี ะมิดแสดงลาดับจานวนของสงิ่ มีชีวิตในระบบนิเวศ น้นั ๆ จากผู้ผลติ มายงั ผูบ้ ริโภค (จานวน/ตารางเมตร) 2. พีระมดิ มวลชวี ภาพ (pyramid of biomass) พีระมิดแสดงมวลชวี ภาพหรอื เนอื้ เยือ่ ของสง่ิ มีชีวิต ทง้ั หมดในรปู ของน้าหนักแหง้ (กรัม/ตารางเมตร) ชีววิทยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

13 3. พีระมิดพลังงาน (pyramid of energy) พีระมิดแสดงค่าพลังงานในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด (กิโล แคลอรี/ตารางเมตร/ป)ี ตวั อย่างเปรียบเทียบพรี ะมดิ ทางนเิ วศวิทยา (ecological pyramid) ชีววทิ ยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

14  กฎสบิ เปอรเ์ ซน็ ต์ (law of ten percent) การถ่ายทอดพลังงานแต่ละลาดับชั้นในระบบนิเวศ พบว่า มีพลังงานปริมาณ 90% ท่ีสูญเสียไปในรูป ของพลังงานความร้อน ส่วนอีก 10% จะถูกนาไปใช้ในการดารงชีวิตและการเจริญเติบโต เรียกว่า กฎสิบ เปอรเ์ ซ็นต์ (law of ten percent)  การสะสมสารพษิ ในโซอ่ าหาร (bio magnification) ถ้ามีสารพิษปนเป้ือนในผู้ผลิต สารพิษก็จะถ่ายทอดไปยังผู้บริโภคลาดับต่างๆ เรียกว่า การสะสม สารพิษในโซ่อาหาร (bio magnification) โดยผู้บริโภคลาดับสูงชั้นไปจะมีการะสมสารพิษในเนื้อเย่ือมาก ขน้ึ ตามลาดบั ของโซอ่ าหาร ซ่งึ มผี ลกระทบถงึ มนษุ ย์เน่ืองจากเป็นผบู้ ริโภคลาดบั สดุ ทา้ ยในโซอ่ าหาร ชีววทิ ยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

15 ชีววิทยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

16  วฏั จักรสารในระบบนเิ วศ แรธ่ าตุและสารต่างๆ ในระบบนเิ วศเปน็ สงิ่ จาเปน็ ในการดารงชีวิตของสงิ่ มีชวี ิต ซงึ่ มีการหมนุ เวียนผ่าน โซอ่ าหารเป็นวฏั จกั รเรยี กวา่ วัฏจักรสาร (material cycle) ที่สาคญั ได้แก่ 1. วฏั จกั รนา้ (water cycle) การหมุนเวียนของนา้ ที่เกิดโดยผา่ นกระบวนการในสิง่ มีชีวิต ได้แก่ การคายน้าของพืช การหายใจของ สิ่งมชี วี ติ และการขบั ถา่ ยของสัตว์ การหมนุ เวยี นของน้าทเ่ี กิดโดยไมผ่ า่ นกระบวนการในสงิ่ มชี วี ติ ไดแ้ ก่ การระเหยของนา้ กลายเป็นไอน้า และเมอื่ ไอนา้ ในบรรยากาศกระทบความเย็นจะเกดิ การควบแน่นเป็นหยดน้าลงสแู่ หล่งน้าในธรรมชาติ 2. วฏั จกั รคาร์บอน (carbon cycle) คารบ์ อนเป็นธาตุสาคญั ของสารประกอบในร่างกายของสงิ่ มีชวี ติ เช่น คารโ์ บไฮเดรต ลิพดิ โปรตนี การหมุนเวียนของคาร์บอนที่เกิดโดยผ่านกระบวนการในสิ่งมีชีวิต ได้แก่ กระบวนการสังเคราะห์ด้วย แสง กระบวนการสลายสารอินทรีย์ และกระบวนการหายใจ การหมนุ เวียนของคาร์บอนท่เี กิดโดยผ่านกระบวนการอืน่ ๆ ได้แก่ กระบวนการเผาไหมแ้ ละการผุพัง การหมนุ เวยี นของคารบ์ อนเกิดการเส่ือมสมดลุ ไดโ้ ดยการกระทาของมนุษย์ เชน่ การใช้นา้ มนั เชื้อเพลิง ในยานพาหนะ ทาใหม้ กี ารปลอ่ ย CO และ CO2 ออกมาปะปนในอากาศ การตัดไมท้ าลายป่าทาให้แหล่งดูดซับ CO2 ของโลกลดลง มีการสะสม CO2 มาก ในบรรยากาศทาให้อุณหภูมิของโลกร้อนขนึ้ เกดิ ปรากฏการณ์เรือน กระจก ชีววทิ ยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

17 3. วัฏจกั รไนโตรเจน (nitrogen cycle) ไนโตรเจนเป็นธาตปุ ระกอบสาคัญของโปรตีนในสงิ่ มีชวี ิต พชื ใช้ไนโตรเจนในรูปของสารประกอบเกลือ แอมโมเนีย (NH4+) เกลือไนไตรต์ (NO2-) และเกลือไนเตรต (NO3-) เพื่อนาไปสร้างสารประกอบต่างๆ ภายใน เซลล์ วฏั จกั รไนโตรเจนประกอบดว้ ยกระบวนการดงั ต่อไปนี้ 3.1 การตรงึ ไนโตรเจน (nitrogen fixation) แก๊สไนโตรเจน (N2) ในบรรยากาศ symbiotic bacteria แอมโมเนยี ม/ไนเตรต (Rhizobium) ชีววทิ ยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

18 3.2 การเปลี่ยนสารประกอบไนโตรเจนเปน็ แอมโมเนยี (ammonification) กรดอะมิโน/โปรตนี ในซากสง่ิ มชี ีวิต ammonifying bacteria แอมโมเนยี (Pseudomonas) ของเสยี จากเมแทบอลซิ มึ 3.3 การเปลีย่ นเกลือแอมโมเนียเป็นไนไตรต์และไนเตรต (nitrification) สงิ่ ขับถา่ ยจากสัตวแ์ ละพชื ,ซากพชื ซากสตั ว์,NH4 denitrifying bacteria ไนไตรต์ (Nitrosomonas) nitrifying bacteria ไนเตรต (Nitrobacter) 3.4 การเปลย่ี นไนเตรตกลบั เป็นแก๊สไนโตรเจนในบรรยากาศ (denitrification) ไนเตรตและไนไตรต์จากพืช denitrifying bacteria แกส๊ ไนโตรเจน (N2) ในบรรยากาศ (Thiobacillus) ชีววทิ ยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

19 4. วฏั จกั รฟอสฟอรสั (phosphorus cycle) ฟอสฟอรัสเป็นธาตุท่ีเป็นส่วนประกอบของกรดนิวคลีอิกซ่ึงเป็นสารพันธุกรรม เป็นส่วนประกอบของ สารท่ีให้พลังงานสูง เช่น ATP (adenosine triphosphate) และเป็นส่วนประกอบสาคัญของกระดูกและฟัน ในสตั วม์ ีกระดูกสันหลงั แหล่งของฟอสฟอรัสได้มาจากฟอสฟอรัสที่อยู่ในดิน หินฟอสเฟต ตะกอนที่ทับถมในทะเลฟอสเฟต จากการทาเหมอื งแร่และปุย๋ รวมท้งั ฟอสเฟตจากการใช้ผงซักฟอกทปี่ ล่อยลงในแหล่งนา้ พืชดูดฟอสเฟตท่ีละลายน้า เม่ือพืชและสัตว์ตายลง แบคทีเรียบางประเภทจะย่อยสลายซากได้กรด ฟอสฟอรกิ ซง่ึ ทาปฏกิ ริ ิยากับสารในดนิ กลับคืนไปทับถมเปน็ กองหนิ ฟอสเฟตในดนิ และนา้ ต่อไป 5. วฏั จักรก้ามะถนั (sulfur cycle) กามะถนั อาจพบในธรรมชาตใิ นรปู ของแร่ธาตุในดิน ซากพืชซากสตั ว์ ถ่านหนิ และนา้ มันปิโตรเลยี ม บ่อ นา้ พุร้อน รวมทั้งในบรรยากาศในรูปของ SO2 ที่ไดจ้ ากการเผาไหม้เช้ือเพลิงฟอสซิล พืชดูดกามะถันไปใช้ในรูปของสารละลายฟอสเฟตเพ่ือนาไปใช้สร้างเป็นกลุ่มซัลฟ์ไฮดริล (sulhydryl หรือ –SH) ของกรดอะมิโนและโปรตีน เมื่อสัตว์กินพืชจะได้กามะถันในรูปของซัลฟ์ไฮดริลจากพืช เมื่อพืชและ สัตว์ตายจุลินทรีย์จะย่อยสลายซากพืชและซากสัตว์ได้แก๊ส H2S ซึ่งจุลินทรีย์พวก sulfur oxidizing bacteria จะออกซิไดซ์ H2S เปน็ ซลั เฟต ซ่ึงพืชนาไปใชเ้ ปน็ ธาตุอาหาร ชีววิทยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

20 กามะถันท่ีอยู่ในแก๊ส เช่น SO2 เมื่อรวมกับ O2 และไอน้าในอากาศเกิดเป็นกรดซัลฟิวริก มีฤทธิ์เป็น กรดกัดกร่อนทาลายสิ่งก่อสรา้ งและวัสดุท่ีเปน็ หินปูน หินออ่ น โลหะ ให้สึกกรอ่ น ฝนกรดทาลายเนือ้ เยือ่ ภายใน ของพืช ต้นไม้แคระแกร็น ทาลายระบบนเิ วศป่าไมแ้ ละแหล่งน้า ข้อควรทราบ - การถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารมีการถ่ายทอดจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคลาดับต่างๆ จนถงึ ผู้สลายสารอินทรยี เ์ หมือนกนั คอื เปน็ แบบวัฏจกั ร (cyclic) - การถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารมีความแตกต่างกันคือ พลังงานที่ถ่ายทอดในส่ิงมีชีวิต เปน็ แบบไม่เป็นวัฏจักร (non-cyclic) - พลังงานที่ถ่ายทอดในสิง่ มชี ีวิตจะมีการเปลีย่ นรปู แต่ไมม่ กี ารสญู หาย พลังงานแสงพลังงานเคมีในพืชพลงั งานเคมีในสัตว์ พลงั งานเคมีในผู้สลายสารอินทรีย์ ชีววทิ ยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

21 2. ไบโอม (biome) ไบโอม (biome) หรือชีวนิเวศ หมายถึง ระบบนิเวศขนาดใหญ่ท่ีมีองค์ประกอบของปัจจัยทาง กายภาพและปัจจัยทางชีวภาพที่เป็นลักษณะเฉพาะของแต่ละไบโอม กระจายอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ต่างๆ กัน ตามสภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศที่แตกต่างกัน เช่น บริเวณท่ีอยู่ในละติจูดสูงมักจะมีอุณหภูมิต่ากว่าท่ี ละติจูดต่า รวมกับปัจจัยอื่น เช่น ปริมาณหยาดน้าฟ้าและสภาพภูมิประเทศที่แตกต่างกัน ทาให้มีไบโอม หลากหลายชนิด สว่ นใหญ่จะแบง่ เป็นไบโอมบนบกกบั ไบโอมในน้า ไบโอมบนบกจะใช้ปริมาณหยาดน้าฟ้าและอุณหภูมิเป็นเกณฑ์หลักในการจาแนกร่วมกับสังคมพืชเด่น (dominant vegetation) ท่ีพบ ส่วนไบโอมแหล่งน้าจะใช้ปัจจัยทางกายภาพ เช่น ค่าความเค็ม ความลึกของ แหล่งนา้ เปน็ เกณฑ์แทนการใช้สงั คมพืชเดน่ ในแหลง่ น้าที่มีไมห่ ลากหลาย ค้าศัพท์ที่น่าสนใจ 1. หยาดน้าฟ้าหรอื น้าฟา้ (precipitation) คอื น้าทม่ี ีลกั ษณะเป็นของเหลวหรอื ของแขง็ ซง่ึ เกิดจาก การกลั่นตัวของนา้ ในอากาศแล้วตกลงมายงั พื้นโลก 2. ภูมิอากาศ (climate) คือ สภาวะโดยทั่วไปของลมฟ้าอากาศบนพื้นท่ีใดๆ ในช่วงเวลานานๆ ซึ่ง พิจารณาจากค่าทางสถิติที่ได้จากการตรวจลมฟ้าอากาศเปน็ ระยะเวลายาวนาน เช่น ปริมาณน้าฝนเฉล่ียรายปี จากขอ้ มูล 30 ปี 3. ภูมิประเทศ (topography) คือ สภาวะโดยท่ัวไปของผิวโลก ซ่ึงประกอบด้วยสิ่งที่เป็นอยู่ตาม ธรรมชาตแิ ละทม่ี นษุ ย์ดดั แปลงขน้ึ เช่น ความสงู ตา่ ของผิวโลก แหล่งนา้ ถนน เมือง ภูเขา เป็นต้น 4. เขตภูมิอากาศ (climate region) คือ บริเวณท่ีมีภูมิอากาศใกล้เคียงกันซึ่งอาจแบ่งได้เป็น 3 เขต ได้แก่ เขตร้อน (tropical zone) เขตอบอุ่น (temperate zone) และเขตหนาว (polar zone หรือ frigid zone) 5. ภูมิศาสตร์ (geography) คือ วิชาที่ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติกับ สงั คมทีป่ รากฏในดนิ แดนตา่ งๆ ของโลก ตารางแสดงบริเวณ สภาพทางกายภาพ พนั ธุพ์ ชื เดน่ ที่พบของไบโอม ไบโอม บริเวณไบโอม สภาพทางกายภาพ พนั ธ์พุ ชื เดน่ 1. ไบโอมบนบก (terrestrial biomes) -ใกล้เขตเส้นศูนย์กลางของ -อากาศรอ้ นช้ืน ฝนตกตลอด -ไม้เถาจาพวกหวาย เฟิน 1.1 ป่าดบิ ชน้ื โลกในทวีปอเมริกากลาง ปี ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 50- กลว้ ยไม้ (tropical rain forest) ทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย 500 นิ้ว/ปี ตอนใต้ บริเวณบางส่วนของ หมูเ่ กาะแปซิฟกิ ชีววิทยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

22 1.2 ป่าผลัดใบเขตอบอุ่น -พบได้เป็นบริเวณกว้างใน -อากาศค่อนข้างเย็น ฤดู -พืชเป็นพวกไม้ต้นที่มีใบ (temperate deciduous forest) เขตอบอุ่นของซีกโลกเหนือ หนาวอุณหภูมิเฉลย่ี 00C ฤดู กว้างและผลัดใบก่อนถึงฤดู 1.3 ปา่ เขตร้อน และพบเป็นบริเวณเล็กๆใน ร้อนอาจสูงถึง 350C ปรมิ าณ หนาว เช่น ยูคาลิปตัส โอ๊ค (tropical forest) ซีกโลกใต้ที่ชิลี แอฟริกาใต้ น้ า ฝ น เ ฉ ล่ี ย 30 นิ้ ว / ปี เมเปิล 1.4 ป่าสน (coniferous forest) / ตอนเหนือของออสเตรเลีย ปริมาณหยาดน้าฟ้าเฉลี่ยตอ่ -ในฤดูหนาว สัตว์เล้ียงลูก ปา่ ไทกา (taiga) / ป่าบอเรยี ล (boreal) อินโดนีเซีย ตอนกลางของ ปี 70-200 cm ด้วยน้านมหลายชนิด เช่น 1.5 ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น อเมริกาใต้ และนิวซีแลนด์ หมีดาจะจาศีล ในขณะที่นก (temperate grassland) จะอพยพไปยังบริเวณอ่ืนท่ี อบอนุ่ กวา่ -กระจายอยู่บริเวณใกล้เส้น -ในปา่ ดบิ ช้ืน (tropical rain -ในป่าดิบช้ืน พืชเด่นคือไม้ ศูนย์สตู ร ปา่ เขตร้อนมหี ลาย forest) มีปริมาณหยาดน้า ตน้ ใบกวา้ งที่ไมผ่ ลัดใบ ประเภท ได้แก่ ป่าดิบชื้น ฟ้าค่อนข้างสูงและคงที่ มี -ป่าเต็งรัง จะเป็นผลัดใบใน ป่าดิบแล้ง ป่าเต็งรัง ป่า ค่าเฉลีย่ 200-400 cm ฤดแู ล้ง เบญจพรรณ -ในป่าดิบแลง้ (tropical dry -ป่าเขตร้อนยังพบพืชอิง forest) ปริมาณหยาดน้าฟ้า อาศัย เช่น กล้วยไม้ ทั้งนี้ป่า จะเปล่ียนแปลงไปในแต่ละ เขตร้อนมีความหลากหลาย ฤดูกาลและมีฤดูแล้งยาว 6- ของสิ่ งมี ชี วิต สูงที่สุดใน 7 เดือน ไ บ โ อ ม บ น บ ก ทั้ ง ห ม ด -ในป่าเขตร้อนมีอุณหภูมิ (ประเทศไทยอย่ใู นไบโอมป่า เฉลย่ี ค่อนขา้ งสูง 25-290C เขตร้อน) -บริเวณใต้ทุนดราลงมาตอน -อากาศเยน็ และแห้ง มีช่วงท่ี -พืชจาพวกสน เช่น สนสอง เหนือของทวีปอเมริกาเหนือ แห้งแล้งเป็นระยะๆ ฤดู ใ บ ส น ส า ม ใ บ ส พ รู ซ ตอนใต้ของแคนาดา ทวีป หนาวจะหนาวมากและ (spruce) ไพน์ (pine) เฟอร์ เอเชีย และยุโรป ในเขต คอ่ นข้างยาวนาน และจะอนุ่ (fir) เฮมล็อค (hemlock) ละติจูดตั้งแต่ 45-67 องศา ขึ้นในฤดูร้อน ปริมาณน้าฝน ซึ่งมีใบเป็นรูปเข็มและมักมี เหนือ เ ฉ ลี่ ย 25 นิ้ว/ ปี ป ริ ม าณ ทรงพมุ่ เปน็ รูปกรวยเพ่ือช่วย หยาดน้าฟ้าเฉลี่ยต่อปี 30- ลดการสะสมของหิมะ 70 cm -พชื ลม้ ลุกจาพวกบลูเบอรี - สั ต ว์ มั ก จ ะ อ พ ย พ ไ ป ม า ระหว่างป่าสนกับทุนดรา เชน่ กวางมสู -พบได้หลายแห่งในบริเวณ -อากาศหนาวเย็นและแห้ง -พืชเด่นเป็นหญ้าและพืช เขต ภู มิ อากาศแบบเขต แล้งในฤดูหนาว อุณหภูมิ ล้มลุกขนาดเล็ก มีความสูง อบอุ่น มีหลายชื่อเรียก เช่น เฉลี่ยต่ากว่า -100C ฤดูร้อน ตงั้ แต่ 2-3 cm ถึง 2 m เชน่ ทุ่งหญ้าแพร์ร่ี (prairie) ใน แล้งยาวนาน อุณหภูมิเฉลี่ย ทานตะวัน พืชที่มลี าตน้ อ่อน ตอนกลางของทวีปอเมริกา 300C ปริมาณน้าฝนเฉล่ีย เช่น ไอริช ดอกไม้ป่าจาพวก เหนือ / ทุ่งหญ้าสเตปส์ รานันคูลัส ชีววิทยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

23 (steppes) ของสหพันธรัฐ 10-30 น้ิว/ปี ปริมาณหยาด -สัตว์เป็นพวกแทะเล็มหญ้า รัสเซีย / ทุ่งหญ้าแพมพาส น้าฟ้าเฉลีย่ ตอ่ ปี30-100 cm เช่น วัวไบซนั (bison) ม้าป่า (pampas) ในอเมริกาใต้ / -ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่นหลาย และพวกท่ีขุดรูหรือโพรงอยู่ ทุ่งหญ้าพัสซ์ทา (puszta) แห่งถูกเปล่ียนเป็นทุ่งหญ้า ใ น ดิ น เ ช่ น แ พ ร รี ด๊ อ ก ในฮงั การี เลี้ยงสัตว์หรือเป็นพื้นท่ี (prairie dog) เพาะปลกู 1.6 สะวันนา (savanna) -เป็นทุ่งหญ้าในเขตร้อน พบ -ปริมาณน้าฝนเฉล่ีย 40-60 -หญ้าเป็นกลุ่มพืชเด่นท่ีพบ 1.7 ทะเลทราย (desert) กระจายอยู่ในบริเวณใกล้ นิ้ว/ปี ฤดูฝนมีปริมาณหยาด มไี มต้ ้นขนึ้ กระจัดกระจาย 1.8 ทุนดรา (tundra) เส้นศูนย์สูตร เช่น ทวีป น้าฟ้าเฉล่ีย 30-50 cm ใน -พบสัตว์กินพืชขนาดใหญ่ แอฟริกา ทวีปอเมริกาใต้ ฤดูแล้งยาวนาน 8-9 เดือน จานวนมาก เป็นไบโอมท่ีมี ทวีปออสเตรเลีย และทาง อุณหภมู ิเฉลยี่ 24-290C และ ความหลากหลายของสัตว์ ตะวันออกเฉียงใต้ของทวีป มักเกิดไฟป่าในช่วงฤดูแล้ง กีบมากกว่าไบโอมอื่นๆ เช่น เอเชยี แต่มีการแปรผันตามฤดูกาล มา้ ลาย ยรี าฟ กวางอิมพาลา สูงกวา่ ในป่าเขตร้อน พบได้ท้ังในเขตร้อน เขต -อากาศร้อนมาก ปริมาณ -พืชท่พี บมากเป็นพืชอวบน้า อบอุ่นและเขตหนาว ส่วน นา้ ฝนเฉล่ยี น้อยกวา่ 10น้ิว/ปี เชน่ กระบองเพชร ไมพ้ มุ่ ที่มี ใหญ่กระจายอยู่ระหว่างเส้น ปรมิ าณหยาดนา้ ฟา้ มักจะต่า รากหยั่งลกึ ลงในดนิ และพืช ละติจูดที่ 30 องศาเหนือ กว่า 30 cm ต่อปี อุณหภูมิ ล้มลุกท่ีเจริญเติบโตเฉพาะ และใต้ ได้แก่ แปรผันแตกต่างกันมากใน ในช่วงฤดูที่มีความชื้นสูง - ท ะ เ ล ท ร า ย ซ า ฮ า ร า แต่ละฤดูกาลและระหว่าง และยังพบ อินทผลัม ดว้ ย (Sahara) ทวปี แอฟรกิ า กลางวันกับกลางคืน อาจสูง -สัตว์หลายชนิดสามารถ -ทะเลทรายโกบี (Gobi) ถึง 500C และตา่ กวา่ -300C อาศัยอยู่ในทะเลทรายได้ ป ร ะ เ ท ศ ส า ธ า ร ณ รั ฐ โ ด ย มี ก า ร ป รั บ ตั ว ใ ห้ ประชาชนจนี เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม - ท ะ เ ล ท ร า ย โ ม ฮ า วี ท่ีร้อนและแห้งแล้ง เช่น (Majave) รัฐแคลิฟอร์เนีย จ้ิงจอกเฟนเนก (fennec ประเทศสหรฐั อเมรกิ า fox) ในสาธารณรัฐอาหรับ อียิปต์ หนูแกงการู แมงป่อง งู -ตอนเหนือของทวีปอเมริกา -หิมะปกคลุมหนาในฤดู -พบพืชน้อยสปีชีส์เน่ืองจาก เหนือ บริเวณอาร์กติก และ ห น า ว แ ล ะ ฤ ดู ใ บ ไ ม้ ผ ลิ ช้ันของดินที่อยู่ต่าจากผวิ ดนิ ยเู รเซีย อุณหภมู ิเยน็ จัด เฉลย่ี ต่ากวา่ ช้ันบนลงไปจะจับตัวเป็น -300C ฤดูร้อนเป็นช่วงสัน้ ๆ น้าแข็งถาวร เรียกว่า ช้ันดิน อุณหภูมิเฉลี่ยต่ากว่า 100C เยอื กแข็งคงตัว ปริมาณน้าฝน 4-20 นิ้ว/ปี ( permafrost) พื ช ล้ ม ลุ ก ปริมาณหยาดน้าฟ้าเฉล่ียต่อ ขนาดเล็กจาพวกไม้ดอก ปี 20-60 cm หญ้าต่างๆ กระเทยี ม รวมทั้ง ชีววิทยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

24 1.9 ชาปารร์ ัล (chaparral) -พบได้ตามชายฝ่ังทะเลของ -ปริมาณหยาดน้าฟ้าเฉลี่ย พืชชั้นต่าพวกมอส ไลเคนส์ ทวีปในบริเวณละติจูดกลาง ต่อปี 30-50 cm อุณหภูมิ สั ต ว์ ท่ี พ บ เ ช่ น วั ว มั ส ก์ 2. ไบโอมแหล่งน้า ( midlatitude) ป ร ะ ม า ณ เ ฉ ลี่ ย 10-200C ฤ ดู ร้ อ น (musk ox) สว่ นสตั ว์อ่ืนและ (aquatic biomes) ละติจูด 30-60 องศาเหนือ ป ร ะ ม า ณ 300C แ ล ะ นกจะอพยพมาบริเวณน้ีช่วง 2.1 แหลง่ นา้ จืด และละติจูด 30-60 องศาใต้ กลางวันอาจสูงกว่า 400C ฤดรู อ้ น (fresh water) มีหลายช่ือ ได้แก่ ชาปาร์รัล -พืชเด่นเป็นพวกไม้พุ่มและ 2.2 แหล่งนา้ เค็ม (marine) (chaparral) ในทวีปอเมริกา -ค่าความเค็มน้อยกว่าร้อย ไม้ต้นขนาดเล็ก มีหญ้าและ 2.3 แหล่งนา้ กร่อย เหนือ / มาควสิ (maquis)ใน ละ 1 หรือ 0.01 ppt (past ไมล้ ม้ ลกุ ขนาดเลก็ (estuaries) สาธารณรัฐฝร่ังเศส / มา per thousand) -สัตว์กินพืช เช่น กวาง แพะ ท อ ร์ รั ล ( matorral) ใ น -ค่าความเค็มมากกว่า 35 สัตวส์ ะเทินน้าสะเทินบก นก ร า ช อ า ณ า จั ก ร ส เ ป น แ ล ะ ppt สตั วเ์ ลื้อยคลาน แมลง สาธารณรฐั ชลิ ี -ค่าความเค็มระหว่าง 1-35 ppt -พชื จาพวกรากหยั่งลกึ ในดิน -ทะเลสาบ สระ หนอง บึง พืชลอยน้า ธารน้าไหล แม่น้า -สาหร่ายทะเล -ทะเล มหาสมทุ ร -แสม โกงกาง -รอยต่อบริเวณแหล่งน้าจืด แ ล ะ น้ า เ ค็ ม ม า บ ร ร จ บ กั น พบตามบรเิ วณปากแม่นา้ ตารางแสดงไบโอมบนบกในประเทศไทย ไบโอมบนบก บรเิ วณที่พบ ทงุ่ หญ้า -พบทว่ั ไปทกุ จงั หวัด ป่าสน -พบในแถบภาคเหนอื และภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ปา่ ดบิ แล้ง -พบตอนบนของเทือกเขาถนนธงชัย ต้ังแต่ จ.ชุมพรข้ึนไปจนถึงภาคเหนือ บางส่วนของ เทือกเขาตะนาวศรี และตามแนวเทอื กเขาดงพญาเยน็ เทอื กเขาบรรทัดเรือ่ ยไปจนถึง จ.ระยอง ป่าดบิ เขา -พบในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ป่าดิบช้ืน -พบใน จ.ตราด จ.จนั ทบุรี และภาคใต้ ชีววิทยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

25 3. การเปลีย่ นแปลงแทนทขี่ องสง่ิ มชี ีวติ ในระบบนิเวศ สังคมสิ่งมีชีวิตในสภาพแวดล้อมหน่ึงๆ อาจเกิดการเปลี่ยนแปลงของกลุ่มส่ิงมีชีวิตจากกลุ่มสิ่งมีชีวิต เดิมกลายเป็นส่ิงมีชีวิตกลุ่มใหม่ขึ้นมาแทนที่ เรียกว่า การเปล่ียนแปลงแทนท่ีของระบบนิเวศ (ecological succession) Forest Succession การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศมี 2 แบบ คือการเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิ (primary succession) และการเปลีย่ นแปลงแทนที่แบบทุตยิ ภมู ิ (secondary succession)  การเปลย่ี นแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิ (primary succession) เร่ิมจากบริเวณท่ีไม่เคยทีสิ่งมีชีวิตมาก่อน เช่น บนก้อนหินหรือหน้าดินที่ถูกเปิดขึ้นใหม่ ส่ิงมีชีวิตกลุ่ม แรกคือ มอสและไลเคนส์ จากน้ันจะมีการเปล่ียนแปลงแทนที่โดยส่ิงมีชวี ิตอ่ืนๆ ตามลาดับ จนกระทั่งได้สังคม สมบูรณ์ (climax community) ดังแผนผัง กอ้ นหิน/หนา้ ดินทีเ่ ปิดขนึ้ ใหม่ สงิ่ มชี วี ิตกลมุ่ แรก: สง่ิ มีชีวิตกลมุ่ ที่ 2: ปราศจากสง่ิ มีชวี ิต มอส/ไลเคนส์ หญา้ /วชั พชื ป่ า กลมุ่ สง่ิ มชี ีวติ ขนั้ สดุ ทา้ ย สงิ่ มีชวี ติ กลมุ่ ท่ี 4: สง่ิ มชี ีวติ กลมุ่ ท่ี 3: ไมพ้ มุ่ ไมล้ ม้ ลกุ (climax community): ไมย้ นื ตน้  การเปลย่ี นแปลงแทนที่แบบทุติยภูมิ (secondary succession) เร่ิมจากสภาพแวดล้อมที่เคยมีกลุ่มส่ิงมีชีวิตอยู่ก่อนแล้ว สภาพแวดล้อมเดิมถูกทาลายไปจึงเกิดการ เปลี่ยนแปลงแทนที่ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ตามลาดับ เช่น การเปล่ียนแปลงแทนที่บริเวณที่ถูกไฟไหม้ป่า ป่าท่ี ถกู โคน่ การทาไร่เลื่อนลอย โดยท่ัวไปการเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบทุติยภูมจิ ะใช้เวลานอ้ ยกวา่ แบบปฐมภมู ิ ชีววิทยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

26 4. ประชากร (population) ประชากร (population) หมายถึง กลุ่มของสิ่งมีชีวิตเดียวกันที่อาศัยอยู่รวมกันในบริเวณใดบริเวณ หนึ่งในชว่ งเวลาหนึ่ง เช่น ประชากรมนุษย์ที่อยู่ อ.เมือง จ.จนั ทบุรี พ.ศ.2563 ประชากรสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีการแพร่กระจายในแต่ละพื้นท่ีในปริมาณและสัดส่วนที่ไม่เท่ากัน มีผล ทาใหเ้ กดิ ความหนาแน่นของประชากรในแต่ละพนื้ ที่แตกตา่ งกัน 1. ความหนาแน่นและการแพรก่ ระจายของประชากร  ความหนาแนน่ ของประชากร (population density) หมายถึง จานวนสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันต่อหน่วยพ้ืนที่หรือปริมาตร เช่น ต้นสัก 100 ต้นต่อพ้ืนที่ 1 ตารางกโิ ลเมตร แพลงกต์ อน 15,000 ล้านตัวต่อนา้ ทะเล 1 ลิตร ความหนาแนน่ ของประชากรสามารถประเมินได้ 2 วธิ ี คอื 1) การหาความหนาแน่นประชากรอย่างหยาบ (crude density) หมายถึง จานวนประชากรต่อ พื้นท่ที ง้ั หมด (total space) D crude = ������ = จานวนสิ่งมชี ีวิต ������ พนื้ ท่ีทงั้ หมด การสุ่มตัวอย่างแบบวางแปลน (quadrat sampling method) เป็นวิธีการประมาณจานวนของ สมาชิกในประชากรที่ต้องการศึกษาจากการกาหนดพื้นที่สุ่มตัวอย่างแล้วนับจานวนสมาชิกของประชากรใน พื้นท่ีน้นั โดยอาจใชค้ วอแดรทหรือกรอบนบั ประชากร (quadrat frame) มาวางสุ่มในบางบริเวณของพ้ืนท่ีท่ี ต้องการศึกษาและนับจานวนสิ่งมีชีวิตที่ต้องการศึกษาในกรอบน้ัน แล้วนาค่าที่ได้มาคานวณหาความหนาแนน่ เฉล่ียโดยเทียบกับพ้ืนท่ีท้ังหมดต่อไป วิธีนี้เหมาะกับสิ่งมีชีวิตท่ีมักอยู่กับท่ีหรือเคล่ือนที่ช้า เช่น พืช เพรียงหิน หอยทาก 2) การหาความหนาแน่นประชากรเชิงนเิ วศ (ecological density) หมายถึง จานวนประชากรต่อ พน้ื ที่ทป่ี ระชากรอาศยั อยู่จรงิ (habitat space) D ecology = ������ = จานวนสิ่งมชี ีวิต ������ พนื้ ที่ท่ีอาศยั จรงิ ชีววทิ ยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

27 ตัวอย่างที่ 1 ในทุ่งนาแห่งหน่ึงมีพื้นท่ี 10 ตารางกิโลเมตร พบนกยางชนิดหนึ่งจานวน 70 ตัว อาศัยทารังอยู่ บริเวณรอบๆ สระน้าซึ่งมีพื้นท่ี 2 ตารางกิโลเมตร จงคานวณหาค่าความหนาแน่นประชากรอย่างหยาบและคา่ ความหนาแนน่ ประชากรเชิงนิเวศ วิธีทา D crude = ������ = 70 = 7 ตวั /ไร่ D ecology = ������ = 70 = 35 ตวั /ไร่ ������ 10 ������ 2 วิธกี ารประเมนิ คา่ ความหนาแน่นของประชากร ทาได้ 2 แบบ ดงั นี้ 1) สุ่มตัวอย่างแบบวางแปลน (quadrat sampling method) เหมาะสาหรับส่ิงมีชีวิตที่ค่อนข้าง อยู่กบั ที่ เชน่ พืช เพรียงหนิ ความหนาแนน่ ของประชากร = ( จาจนานวนวนคปรงั้รกะาชราเกกร็บทตง้ั วั หอมยดา่ ง) ตัวอย่างที่ 2 ในการเก็บตัวอย่างประชากรหพอนื้ ยทท่ีกาับรเกท็บิมตวั อ4ย5า่ งใคนแรตั้งล่ ะมครีจงั้ านวนประชากรหอยทับทิมทั้งหมด 600 ตัว และพ้ืนท่ีของการเก็บตัวอย่างแต่ละครั้งเท่ากับ 0.05 ตารางเมตร จงคานวณหาค่าความหนาแน่นประชากร หอยทบั ทิม วิธีทา จานวนประชากรหอยทับทมิ ในการเกบ็ ตวั อยา่ งแต่ละครั้ง = 600 = 13.33 ตวั 45 ความหนาแน่นประชากรหอยทับทมิ = จานวนประชากรหอยทบั ทมิ = 13.33 ตวั = 266.6 ตวั /ตารางเมตร พนื้ ทขี่ องการเกบ็ ตวั อย่าง 0.05 ตารางเมตร ตอบ ความหนาแนน่ ประชากรหอยทบั ทิม เทา่ กบั 266.6 ตวั /ตารางเมตร 2) ทา้ เครือ่ งหมายและจับซา้ (mark and recapture method) เปน็ วธิ ีการทาเคร่ืองหมายสัตว์ที่ จับแล้วปล่อย เมื่อจับใหม่จะมีทั้งสัตว์ท่ีมีเคร่ืองหมายและไม่มีเคร่ืองหมาย และนาไปคานวณหาจานวน ประชากร วธิ ีนีเ้ หมาะกับส่ิงมชี วี ติ ทมี่ ีการเคล่อื นทแ่ี ละตอ้ งไมม่ ีการอพยพเข้า-ออกหรอื เกิด-ตายในประชากรนนั้ P = ������2������1 กาหนดให้ P = ประชากรที่ตอ้ งการทราบ M1 = จานวนสตั วท์ จี่ บั ไดค้ รงั้ แรก และทาเครอ่ื งหมายทงั้ หมดแลว้ ปลอ่ ย ������2 T2 = จานวนสตั วท์ งั้ หมดทจ่ี บั ไดค้ รงั้ หลงั ที่มีเครอ่ื งหมายและไมม่ ีเครอ่ื งหมาย M2 = จานวนสตั วท์ จ่ี บั ไดค้ รงั้ หลงั ตัวอย่างที่ 3 ในการเก็บตัวอย่างประชากรของปลานิลในบ่อแห่งหน่ึง โดยสุ่มตัวอย่างปลานิลมาทาการติด เครื่องหมายจานวน 140 ตัว แล้วปล่อยกลับลงไปในบ่อ หลังจากนั้น 3 วันได้จับปลานิลใหม่โดยสุ่มข้ึนมา จานวน 250 ตวั พบปลาทม่ี ีเคร่อื งหมายตดิ อยู่ 20 ตวั จงคานวณหาจานวนประชากรปลานลิ ในบอ่ ทง้ั หมด วิธีทา P = ������2������1 = 250������140 = 1,750 ตวั ������2 20 ตอบ จานวนประชากรปลานิลในบอ่ ทั้งหมด เทา่ กับ 1,750 ตวั ชีววทิ ยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

28  การแพร่กระจายของประชากร (dispersion) การแพร่กระจายของประชากร หมายถึง การกระจายของประชากรในกลุ่มส่ิงมีชีวิตชนิดเดียวกันใน พน้ื ทอ่ี าศัยบรเิ วณใดบริเวณหน่งึ ประชากรทพ่ี บในธรรมชาตมิ ีรปู แบบการแพร่กระจาย 3 รปู แบบ ดงั นี้ 1) การแพร่กระจายแบบสุ่ม (random distribution) พบมากในประชากรที่อาศัยอยู่ใน สภาพแวดล้อมท่ีเหมอื นกันและไม่ค่อยเปล่ียนแปลง พบได้ทั่วไปในธรรมชาติ เช่น การแพร่กระจายของพืชทีม่ ี เมลด็ ปลิวไปกับลม การแพร่กระจายเมล็ดพชื ของสัตว์ท่ีกินผลไม้และขับอจุ จาระท้ิงไว้ตามทตี่ ่างๆ การกระจาย ตัวของต้นไม้ใหญใ่ นปา่ เขตรอ้ นช้นื 2) การแพร่กระจายแบบรวมกลุ่ม (clumped distribution) เกิดจากปัจจัยบางอย่างท่ีสาคัญต่อ การดารงชีวิตของส่ิงมีชีวิตมีการกระจายไม่สม่าเสมอ ทาให้สิ่งมีชีวิตไปอยู่รวมกันบริเวณใดบริเวณหน่ึง พบได้ มากที่สุดในธรรมชาติ เช่น พบไส้เดือนดินบริเวณดินที่ร่วนซุย มีความช้ืนสูง มีอินทรียวัตถุมาก พบต้นโกงกาง แสม และลาพใู นพนื้ ทีป่ า่ ชายเลน พฤตกิ รรมของสตั วท์ ่อี ยเู่ ป็นกลมุ่ เชน่ ฝูงนก โขลงชา้ ง ฝูงปลา 3) การแพรก่ ระจายแบบสม่้าเสมอ (uniform distribution) พบบรเิ วณทีม่ ปี จั จยั ทางกายภาพบาง ประการที่จากัด แต่มีการกระจายของปัจจัยสม่าเสมอ พบในธรรมชาติค่อนข้างน้อย เช่น การกระจายตัวของ พืชในทะเลทราย พบพืชชั้นต่าพวกมอสใต้บริเวณต้นไม้ใหญ่ การปลิวลมของผลยางไปตกห่างจากต้นแม่เพื่อ เว้นระยะพนื้ ทใ่ี นการเจรญิ เตบิ โต ชีววิทยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

29 ปัจจยั จ้ากดั ที่มีผลตอ่ การแพร่กระจายของประชากร 1. ปจั จยั ทางกายภาพ 1.1 ความสูงจากระดบั น้าทะเล การกระจายของพืชบางชนิด เชน่ ความสูงจากระดับน้าทะเล 1,000- 1,700 เมตร พบสนสามใบค่อนข้างมาก ความสงู จากระดบั น้าทะเลต่ากว่า 1,000 เมตร พบสนสองใบกระจาย ทว่ั ไป 1.2 อุณหภูมิ พชื บางชนดิ เท่านัน้ ทสี่ ามารถขน้ึ อยู่ได้ในพื้นทท่ี ่มี ีอุณหภมู สิ ูง เช่น กระบองเพชร 1.3 ความเปน็ กรด-เบส ขา้ วสามารถเจรญิ เติบโตและให้ผลผลิตดีท่สี ดุ ในสภาพดนิ เหนียว 1.4 แสง พืชวันสนั้ (short day plant) ต้องการแสงแดดจดั ในชว่ งส้นั ๆ เชน่ เดือย 2. ปัจจัยทางชีวภาพ 2.1 ผ้ลู ่ากับเหยอ่ื เช่น เสอื กบั กวาง เสอื เปน็ ปัจจัยจากดั ตอ่ การอย่รู อดของกวาง 2.2 การแข่งขนั เพ่ือความอยู่รอดในสังคม เชน่ สตั ว์ทแ่ี ข็งแรงกวา่ จะมีโอกาสเจริญเติบโตและอยู่รอด กวา่ สัตว์ทีอ่ ่อนแอ 2.3 การบุกรุกจากส่ิงมีชีวิตต่างถิ่น เช่น การปล่อยปลาเทศบาล (sucker mouth catfish) ลงใน แหลง่ น้าธรรมชาติ ทาให้สตั ว์นา้ ในแหล่งธรรมชาตลิ ดจานวนลงหรอื สูญพนั ธ์ุ 3. ส่ิงขวางกั้นทางภูมิศาสตร์ (geographical barrier) สภาพทางภูมิศาสตร์มีผลต่อการแพร่กระจายของ ประชากร เชน่ ประชากรจงิ โจ้ในทวปี ออสเตรเลีย ประชากรหมแี พนด้าในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ขอ้ ควรทราบ แนวคิด limits of tolerance concept : ส่ิงมีชีวิตมีการแพร่กระจายแตกต่างกันเน่ืองจากสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีช่วง ความทนทานตอ่ ปัจจยั ต่างๆ จากดั ดงั นน้ั สง่ิ มีชวี ติ จะอาศัยอยใู่ นบรเิ วณทม่ี ปี จั จัยแวดล้อมตา่ งๆ ทส่ี ามารถดารงชวี ิตอยูไ่ ด้ ส่ิงมีชีวิตสามารถทนทานปัจจัยได้ต่าสุดท่ีค่าหน่ึง (lower limit of tolerance) และค่าสูงสุดที่ค่าหนึ่ง (upper limit of tolerance) ระหว่างค่าต่าท่ีสุดและค่าสงู สดุ คือ ช่วงที่ส่ิงมีชีวิตสามารถดารงชีวิตอยูไ่ ด้เรยี กวา่ ช่วงความทนทาน (range of tolerance) ทาให้สามารถพบประชากรส่งิ มชี ีวติ ได้ในที่ทีม่ ปี ัจจยั อยู่ และบริเวณท่ีพบประชากรสงิ่ มีชีวิตไดม้ ากเรยี กวา่ ช่วงที่ เหมาะสม (range of optimum)  ขนาดของประชากร (population size) ขนาดของประชากร หมายถึง จานวนสมาชิก ท้ังหมดของประชากรในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ขนาด ของประชากรสิ่งมีชีวิตมีการเปล่ียนแปลงเมื่อมีสมาชกิ เข้า-ออกจากกลุ่มประชากรน้ันๆ เช่น การเกิด การ อพยพเข้า การตาย หรอื การอพยพออก ดังภาพ - การเปล่ียนแปลงของขนาดประชากรมนษุ ย์ ภาพแสดงปจั จยั ทมี่ ผี ลต่อความหนาแน่นของประชากร ข้ึนอยู่กับการเกิดหรืออัตราการเกิดเชิงประเมิน (crude birth rate) และอัตราการตายหรอื อตั ราการตายเชิงประเมนิ (crude death rate) ชีววทิ ยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

30 อตั ราการเกิด = จานวนของส่งิ มีชีวิตท่ีเกิดใหม่ อตั ราการตาย = จานวนของส่งิ มีชีวิตที่ตาย 1,000 1,000 ปัจจัยท่ีมีผลต่ออัตราการเกิดและอัตราการตายของประชากรมนุษย์ ได้แก่ การศึกษา พันธุกรรมของ มนษุ ย์ การดารงชีวิต และลักษณะภูมปิ ระเทศ ปจั จยั ท่มี ีผลต่อการเปลยี่ นแปลงขนาดของประชากร 1. ปัจจัยที่ข้ึนกับความหนาแน่นของประชากร (density dependent factors) เมื่อประชากรมี ขนาดใหญ่ข้ึนจะมีการแก่งแย่งกันในกรใช้ทรัพยากร พื้นที่ และอาหาร ซ่ึงความรุนแรงจะเพ่ิมมากขึ้นเป็น สัดส่วนกับความหนาแน่นของประชากร ซง่ึ มผี ลทาใหจ้ านวนสมาชิกของประชากรลดลง 2. ปัจจัยที่ไม่ข้ึนกับความหนาแน่นของประชากร (density independent factors) เช่น สภาพ ภูมิอากาศทีเ่ ลวร้าย อุณหภมู ิทีห่ นาวจดั ไฟไหม้ นา้ ทว่ ม ลมพายุ มผี ลทาให้จานวนสมาชิกของประชากรลดลง  รูปแบบการเพมิ่ ของประชากร ประชากรของสิ่งมชี วี ติ มีรปู แบบการสืบพนั ธ์เุ พือ่ เพิ่มประชากร 2 รูปแบบคอื 1. การสืบพันธุ์เพียงครั้งเดียวในช่วงชีวิต (single reproduction) เม่ือสิ่งมีชีวิตเจริญถึงวัยเจริญพันธ์ุ จะ สืบพนั ธ์อุ อกลูกหลานจากนน้ั ก็จะตาย เช่น แมลงชนิดตา่ งๆ ไม้ลม้ ลุกบางชนิด เชน่ คะนา้ ขา้ ว ถั่วเขยี ว 2. การสบื พันธุ์ได้หลายครัง้ ในช่วงชีวติ (multiple reproduction) เช่น สตั ว์มีกระดกู สันหลงั ไม้ยนื ตน้ แบบแผนการเพิ่มของประชากร มี 2 รปู แบบ คอื 1. การเพิม่ ของประชากรแบบเอ็กโพเนเชยี ล (exponential growth) กราฟเป็นรปู ตวั เจ (J shape) จะมีการเปลยี่ นแปลง 2 ระยะ คอื ระยะทีม่ กี ารเพิ่มของประชากรอย่างช้าๆ (lag phase) และระยะท่ีมีการเพิ่มของประชากรอย่างรวดเร็ว (log phase) เป็นภาวะเหตุการณ์ทางอุดมคติ (idealized circumstances) และไม่เป็นจริง เพราะในธรรมชาติจะมีตัวต้านทานในสิ่งแวดล้อม (environmental resistance) เช่น อาหาร ที่อยู่อาศัย การแก่งแย่ง แข่งขัน การเป็นผู้ล่าและเหย่ือ มายับยั้ง ไมใ่ หก้ ารเพมิ่ ประชากรเพมิ่ ขึน้ อย่างไมม่ ีขดี จากัด Exponential growth phase Lag phase ชีววิทยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

31 ทอมัส มลั ทสั (Thomus Malthus) เสนอความคิดของการเพิ่มประชากร มนุษย์ว่า ประชากรมนุษย์มีแนวโน้ม เพิ่มแบบเรขาคณิต ส่วนอาหาร สาหรับมนุษย์มีแนวโน้มเพ่ิมแบบเลข คณิต ซึ่งลักษณะดังกล่าวจะทาให้ เกิดความไม่สมดุลระหว่างประชากร กบั อาหารสาหรับบรโิ ภค การเพ่ิมประชากรในระยะแรกเหมือนกับการเพ่ิมประชากรแบบรูปตัวเจจนเมื่อถึงระยะหนึ่ง การเพ่ิม ของประชากรจะลดลงอย่างรวดเร็ว และมีการเพมิ่ ขึน้ และลดลงสลบั กนั (irruptive growth) 2. การเพิ่มของประชากรแบบลอจสิ ตกิ (logistic growth) กราฟเป็นรูปตัวเอส (S-shape) หรือกราฟแบบซิกมอยด์ (sigmoid curve) มีการเปลี่ยนแปลง 4 ระยะ คือ ระยะที่มีอัตราการเพ่ิมประชากรอย่างช้าๆ ระยะท่ีมีอัตราการเพิ่มประชากรอย่างรวดเร็ว ระยะท่ีมีอัตราการ เพมิ่ ประชากรช้าลง และระยะทมี่ อี ัตราการเพม่ิ ประชากรคงที่ ระดับท่ีสภาพแวดล้อมสามารถเล้ียงดูประชากรได้ ม า ก สุ ด เ รี ย ก ว่ า แ ค รี อิ ง ค า พ า ซิ ตี ( carrying capacity) ตัวต้านทานในส่ิงมีชีวิตมีบทบาทต่อการ เพิ่มประชากรแบบตัวเอส คือ ระยะแรกของการเพ่ิม ประชากรเป็นไปอย่างช้าๆ เพราะประชากรมีจานวน น้อย เมื่อประชากรมีจานวนเพ่ิมขึ้น อัตราการเพิ่มของ ประชากรจะเป็นไปอย่างรวดเร็ว จากน้ันอัตราการเพิ่ม ของประชากรจะลดลงเพราะตัวต้านทานส่ิงแวดล้อม เร่ิมเป็นปัจจัยจากัด และเมื่อประชากรสามารถปรับตวั ได้ อัตราการเพมิ่ ของประชากรค่อนข้างคงที่เพราะอัตราการเกิดเท่ากบั อัตราการตาย ชีววิทยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

32  การรอดชวี ิตของประชากร สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีแบบแผนการรอดชีวิตของประชากรแตกต่างกัน ข้ึนอยู่กับช่วงอายุขัย (life span) ของส่ิงมีชีวิตแต่ละชนิด ตลอดช่วงอายุขัยของส่ิงมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีอัตราการอยู่รอดในช่วงอายุขัยต่างๆ ไม่ เหมอื นกัน ทาให้ความหนาแนน่ ของประชากรทอ่ี ยใู่ นวยั ตา่ งๆ แตกตา่ งกนั ปัจจัยที่มีผลต่อการอยู่รอดของประชากร ได้แก่ ความสามารถในการเลี้ยงดูตัวอ่อน ความหนาแน่นของ ประชากร และปัจจัยทางนเิ วศวทิ ยา -รูปแบบที่ 1 เส้นโคง้ นูน (convex survivorship curve) สิ่งมีชีวิตมีอัตราการอยู่รอดชีวิตสูง ในวัยอายุน้อยและ คอ่ นข้างคงท่ตี ลอดชีวติ เมอ่ื อายุมากขน้ึ อตั ราการรอดชีวิต จะน้อย มีอัตราการตายพร้อมกันจานวนมาก เช่น มนุษย์ สตั ว์เลยี้ งลกู ดว้ ยน้านมขนาดใหญ่ เช่น ช้าง มา้ -รูปแบบที่ 2 เส้นตรง (constant survivorship curve) ส่ิงมีชีวิตมอี ตั ราการการรอดชีวิตค่อนข้างสม่าเสมอ ตลอด ช่วงชีวติ จานวนประชากรจะคงทต่ี ลอด เชน่ ไฮดรา นก เตา่ -รูปแบบที่ 3 เส้นโค้งเว้า (concave survivorship curve) ส่ิงมีชีวิตมีอัตราการรอดชีวิตต่า ในวัยอายุน้อย และค่อยๆ คงทเ่ี มื่ออายมุ ากขน้ึ เช่น กระรอก สัตวไ์ ม่มีกระดูกสันหลังสว่ นใหญ่เชน่ หอย หมึก แมลง ดาวทะเล  ประชากรมนุษย์ ประชากรมนุษย์ในโลกมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนเรื่อยๆ ลักษณะการเพ่ิมของประชากรมนุษย์มีแบบแผนการ เพมิ่ เป็นแบบเอ็กโพเนนเชยี ล โดยมกี ราฟการเพม่ิ ของประชากรเป็นรูปตวั เจ - การเพิ่มประชากรมนุษย์เป็นแบบรูปตัวเจ มีลักษณะไม่เป็นจริง เพราะในธรรมชาติตัว ต้านทานในสิ่งแวดล้อมของสิ่งมีชีวิตมา ยับยั้งไม่ให้การเพ่ิมของประชากรเพ่ิมต่อไป อย่างไม่มีขีดจากัด จึงทาให้อัตราการเพิ่ม ของประชากรลดลง ตัวต้านทานในส่ิงแวดล้อมท่ีมีผลต่อการเพ่ิมประชากรมนุษย์ ได้แก่ การขาดแคลนอาหารและที่อยู่ อาศัย ความยากจน ความอดอยาก โรคภยั ไข้เจ็บ สงคราม และภัยพิบัติอ่นื ๆ ชีววทิ ยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล

33  โครงสรา้ งอายปุ ระชากรมนุษย์ หมายถงึ จานวนหรอื สดั ส่วนของกลุ่มสมาชิกมีอายตุ า่ งๆ กนั ในประชากร แบ่งได้ 3 กลุ่ม คือ 1. วยั กอ่ นเจรญิ พันธ์ุ (pre reproductive age) คือ สมาชิกประชากรกลุ่มที่ยงั สืบพันธ์ุไมไ่ ด้ 2. วยั เจริญพันธ์ุ (reproductive age) คอื สมาชกิ ประชากรกลุ่มท่ีอยูใ่ นชว่ งระยะของชีวิตที่มีการสืบพันธุ์ได้ ตั้งแต่เรม่ิ ต้นจนไม่สามารถสบื พนั ธุไ์ ด้อีก 3. วัยก่อนเจริญพันธุ์ (post reproductive age) คือ สมาชิกประชากรกลุ่มที่ไม่มีการสืบพันธ์ุอีกแล้วใน ประชากรน้ัน พรี ะมดิ อายุแบบต่างๆ - แบบ ก พีระมิดฐานกว้างยอดแหลม โครงสร้างประชากรเพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็ว พบในประเทศกัวเตมาลา ซาอดุ ิอาระเบยี ไนจเี รีย เคนย่า - แบบ ข พีระมิดทรงรูปกรวยปากแคบ โครงสร้างประชากรเพิ่มข้ึนอย่างช้าๆ พบในประเทศสหรัฐอเมริกา ไทย แคนาดา ออสเตรเลีย - แบบ ค พีระมิดรปู ระฆงั คว่้า โครงสร้างประชากรมีขนาดคงท่ี พบในประเทศสเปน เดนมาร์ก ออสเตรยี อติ าลี - แบบ ง พีระมดิ รปู ดอกบวั ตมู โครงสรา้ งประชากรลดลง พบในประเทศสวเี ดน บัลกาเรีย สิงคโปร์ คาดการณ์ประชากร ประเทศไทย ในปี พ.ศ.2570 การเพ่ิมของประชากรมนุษย์ก่อให้เกิดการขาดแคลนอาหารและท่ีอยู่อาศัย ปญั หาสงิ่ แวดล้อมเป็นพิษ ปัญหาสุขภาพอนามัย การว่างงาน อาชญากรรม การจราจรติดขัด ปัญหาด้านการศึกษา ประชากรมีคุณภาพ ชีวิตต่าก่อให้เกิดปัญหาท้ังด้านเศรษฐกิจและสังคม ทาให้ระบบนิเวศเสื่อมสมดุลเพราะมนุษย์ใช้และบริโภค ทรพั ยากรธรรมชาตมิ ากขึน้ ชีววทิ ยา ม.6 ว 30245 ครูสกุ ฤตา โสมล