Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประชากร สื่อการสอนโดยครูสุกฤตา โสมล

ประชากร สื่อการสอนโดยครูสุกฤตา โสมล

Published by suklittha24, 2021-01-30 07:01:59

Description: สื่อการเรียนการสอนออนไลน์ เรื่อง ประชากร โดยครูสุกฤตา โสมล วิชาชีววิทยา ระดับชั้น ม.6 โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี

Search

Read the Text Version

ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM) Ep 4 : ประชากร (Population) ชีววิทยา 5 (ว 30245) ระดบั ชนั้ ม.6 โดย ครูสกุ ฤตา โสมล โรงเรยี นเบญจมราชทู ิศ จงั หวดั จนั ทบรุ ี

 ประชากร (population) ประชากร (population) หมายถึง กลุม่ ของ ส่ิงมีชีวิตเดียวกันท่ีอาศัยอยู่รวมกันในบริเวณ ใดบริเวณหน่งึ ในชว่ งเวลาหน่งึ เช่น ประชากร มนษุ ย์ที่อยู่ อ.เมือง จ.จนั ทบรุ ี พ.ศ.2563 - ประชากรส่ิงมีชีวิตแต่ละชนิดมีการแพร่กระจายในแต่ละพื้นท่ีในปริมาณและสัดส่วนที่ไม่เท่ากัน มีผลทาใหเ้ กิดความหนาแนน่ ของประชากรในแตล่ ะพ้นื ท่แี ตกต่างกัน 1. ความหนาแนน่ และการแพรก่ ระจายของประชากร  ความหนาแนน่ ของประชากร (population density) หมายถงึ จานวนสิ่งมีชวี ติ ชนดิ เดียวกันต่อหน่วยพน้ื ทห่ี รอื ปรมิ าตร เช่น ต้นสัก 100 ต้นต่อพ้ืนท่ี 1 ตารางกโิ ลเมตร แพลงกต์ อน 15,000 ลา้ นตัวตอ่ น้าทะเล 1 ลติ ร โดยครูสกุ ฤตา โสมล 2

 วธิ ปี ระเมินความหนาแนน่ ของประชากร มี 2 วิธี คือ 1) การหาความหนาแนน่ ประชากรอยา่ งหยาบ (crude density) หมายถงึ จานวนประชากรตอ่ พืน้ ทท่ี ้งั หมด (total space)  การสุ่มตวั อยา่ งแบบวางแปลน (quadrat sampling method) เป็นวิธีการประมาณจานวนของสมาชิกในประชากรท่ีต้องการศึกษาจากการกาหนด พน้ื ทสี่ ุ่มตวั อย่างแล้วนับจานวนสมาชิกของประชากรในพื้นท่ีนั้น โดยอาจใช้ควอแดรท หรือกรอบนับประชากร (quadrat frame) มาวางสุ่มในบางบริเวณของพ้ืนที่ท่ีต้องการ ศึกษาและนับจานวนส่ิงมีชีวิตที่ต้องการศึกษาในกรอบนั้น แล้วนาค่าที่ได้มาคานวณหา ความหนาแน่นเฉล่ียโดยเทียบกับพื้นที่ท้ังหมดต่อไป วิธีน้ีเหมาะกับส่ิงมีชีวิตท่ีมักอยู่กับ ท่หี รือเคลอื่ นทช่ี า้ เชน่ พชื เพรยี งหิน หอยทาก โดยครูสกุ ฤตา โสมล 3

2) การหาความหนาแนน่ ประชากรเชงิ นเิ วศ (ecological density) หมายถงึ จานวนประชากรตอ่ พนื้ ที่ท่ปี ระชากรอาศัยอยจู่ รงิ (habitat space) ตวั อย่างที่ 1 ในท่งุ นาแหง่ หนึง่ มีพ้ืนที่ 10 ตารางกโิ ลเมตร พบนกยางชนดิ หนง่ึ จานวน 70 ตัว อาศัยทารังอยู่บริเวณรอบๆ สระน้า ซึ่งมพี ้ืนท่ี 2 ตารางกิโลเมตร จงคานวณหาค่าความหนาแนน่ ประชากรอย่างหยาบและค่าความหนาแน่นประชากรเชิงนิเวศ โดยครูสกุ ฤตา โสมล 4

 วธิ กี ารประเมนิ คา่ ความหนาแนน่ ของประชากร ทาได้ 2 แบบ ดังนี้ 1) สุ่มตัวอย่างแบบวางแปลน (quadrat sampling method) เหมาะสาหรับสิง่ มีชีวิตทคี่ ่อนขา้ งอยกู่ บั ท่ี เช่น พืช เพรยี งหิน ตวั อยา่ งท่ี 2 ในการเกบ็ ตัวอย่างประชากรหอยทบั ทมิ 45 ครง้ั มีจานวนประชากรหอยทับทิมทั้งหมด 600 ตัว และพ้ืนท่ีของ การเก็บตัวอยา่ งแตล่ ะคร้ังเท่ากบั 0.05 ตารางเมตร จงคานวณหาค่าความหนาแน่นประชากรหอยทับทมิ โดยครูสกุ ฤตา โสมล 5

2) ทาเครื่องหมายและจับซ้า (mark and recapture method) เป็นวิธีการทาเคร่ืองหมายสัตว์ท่ีจับแล้ว ปล่อย เมื่อจับใหม่จะมีทั้งสัตว์ที่มีเครื่องหมายและไม่มีเครื่องหมาย และนาไปคานวณหาจานวนประชากร วิธีนีเ้ หมาะกบั ส่ิงมีชวี ิตท่ีมีการเคล่อื นทแี่ ละตอ้ งไม่มกี ารอพยพเขา้ -ออกหรอื เกดิ -ตายในประชากรน้นั ตัวอย่างที่ 3 ในการเก็บตัวอย่างประชากรของปลานิลในบ่อแห่งหน่ึง โดยสุ่มตัวอย่างปลานิลมาทาการติดเครื่องหมาย จานวน 140 ตัว แล้วปล่อยกลับลงไปในบ่อ หลังจากน้ัน 3 วันได้จับปลานิลใหม่โดยสุ่มขึ้นมาจานวน 250 ตัว พบปลาท่ีมี เคร่อื งหมายตดิ อยู่ 20 ตัว จงคานวณหาจานวนประชากรปลานลิ ในบอ่ ท้งั หมด โดยครูสกุ ฤตา โสมล 6

 การแพรก่ ระจายของประชากร (dispersion) หมายถึง การกระจายของประชากรในกลุ่มส่ิงมีชีวิตชนิดเดียวกัน ในพน้ื ที่อาศยั บริเวณใดบรเิ วณหนึ่ง - ประชากรทพี่ บในธรรมชาติมีรปู แบบการแพร่กระจาย 3 รปู แบบ ดังน้ี 1) การแพรก่ ระจายแบบสุ่ม (random distribution) พบมากในประชากรท่ีอาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมือนกันและไม่ค่อยเปล่ียนแปลง พบได้ท่ัวไปในธรรมชาติ เช่น การแพร่กระจายของพืชท่ีมีเมล็ดปลิวไปกับลม การแพร่กระจายเมล็ดพืชของสัตว์ที่กินผลไม้และขับอุจจาระท้ิงไว้ตามท่ี ต่างๆ การกระจายตัวของตน้ ไมใ้ หญใ่ นป่าเขตรอ้ นช้นื 2) การแพรก่ ระจายแบบรวมกล่มุ (clumped distribution) เกิดจากปัจจัยบางอย่างท่ีสาคัญต่อการดารงชีวิตของส่ิงมีชีวิตมีการกระจายไม่สม่าเสมอ ทาให้สิ่งมีชีวิตไปอยู่รวมกัน บริเวณใดบริเวณหนึ่ง พบได้มากท่ีสุดในธรรมชาติ เช่น พบไส้เดือนดินบริเวณดินที่ร่วนซุย มีความช้ืนสูง มีอินทรียวัตถุ มาก พบต้นโกงกาง แสม และลาพูในพน้ื ทปี่ ่าชายเลน พฤตกิ รรมของสัตว์ท่อี ยเู่ ป็นกลุ่ม เช่น ฝูงนก โขลงช้าง ฝงู ปลา 3) การแพร่กระจายแบบสม่าเสมอ (uniform distribution) พบบริเวณท่ีมีปัจจัยทางกายภาพบางประการท่ีจากัด แต่มีการกระจายของปัจจัยสม่าเสมอ พบใน ธรรมชาติค่อนข้างน้อย เช่น การกระจายตัวของพืชในทะเลทราย พบพืชชั้นต่าพวกมอสใต้บริเวณต้นไม้ ใหญ่ การปลิวลมของผลยางไปตกหา่ งจากตน้ แมเ่ พื่อเวน้ ระยะพืน้ ทีใ่ นการเจริญเติบโต โดยครูสกุ ฤตา โสมล 7

โดยครูสกุ ฤตา โสมล 8

 ปจั จยั จากัดทมี่ ผี ลตอ่ การแพรก่ ระจายของประชากร 1. ปจั จัยทางกายภาพ 1.1 ความสงู จากระดับนา้ ทะเล การกระจายของพชื บางชนดิ เชน่ - ความสงู จากระดบั น้าทะเล 1,000-1,700 เมตร พบสนสามใบค่อนข้างมาก - ความสงู จากระดับน้าทะเลต่ากว่า 1,000 เมตร พบสนสองใบกระจายท่ัวไป 1.2 อุณหภูมิ พืชบางชนดิ เทา่ นน้ั ท่สี ามารถข้ึนอยไู่ ด้ในพนื้ ทที่ ี่มอี ณุ หภมู สิ งู เช่น กระบองเพชร 1.3 ความเปน็ กรด-เบส ขา้ วสามารถเจรญิ เตบิ โตและให้ผลผลิตดที ี่สุดในสภาพดนิ เหนยี ว 1.4 แสง พืชวันส้นั (short day plant) ต้องการแสงแดดจัดในชว่ งสนั้ ๆ เช่น เดอื ย 2. ปจั จัยทางชีวภาพ 2.1 ผลู้ า่ กับเหย่อื เชน่ เสือกับกวาง เสือเป็นปัจจัยจากดั ต่อการอยู่รอดของกวาง 2.2 การแข่งขนั เพ่ือความอยรู่ อดในสงั คม เช่น สตั ว์ท่แี ขง็ แรงกว่าจะมีโอกาสเจรญิ เตบิ โตและอยูร่ อดกว่าสตั ว์ทอ่ี ่อนแอ 2.3 การบุกรุกจากส่ิงมีชีวิตต่างถ่ิน เช่น การปล่อยปลาเทศบาล (sucker mouth catfish) ลงในแหล่งน้าธรรมชาติ ทา ใหส้ ัตว์นา้ ในแหลง่ ธรรมชาตลิ ดจานวนลงหรอื สญู พันธุ์ 3. สง่ิ ขวางกัน้ ทางภูมิศาสตร์ (geographical barrier) สภาพทางภูมิศาสตร์มีผลต่อ การแพร่กระจายของประชากร เช่น ประชากรจิงโจ้ในทวีปออสเตรเลีย ประชากร หมแี พนดา้ ในประเทศสาธารณรฐั ประชาชนจีน โดยครูสกุ ฤตา โสมล 9

 ขอ้ ควรทราบ แนวคิด limits of tolerance concept : สิ่งมชี วี ติ มีการแพร่กระจายแตกต่าง กันเน่ืองจากส่ิงมีชีวิตแต่ละชนิดจะมี ช่ ว ง ค ว า ม ท น ท า น ต่ อ ปั จ จั ย ต่ า ง ๆ จากัด ดังนั้น ส่ิงมีชีวิตจะอาศัยอยู่ใน บริเวณที่มีปัจจัยแวดล้อมต่างๆ ท่ี สามารถดารงชวี ิตอยู่ได้ - ส่ิงมีชีวิตสามารถทนทานปัจจัยได้ต่าสุดที่ค่าหนึ่ง (lower limit of tolerance) และค่าสูงสุดที่ค่า หนึ่ง (upper limit of tolerance) ระหว่างค่าต่าท่ีสุดและค่าสูงสุดคือ ช่วงที่ส่ิงมีชีวิตสามารถ ดารงชีวิตอยู่ได้เรียกว่า ช่วงความทนทาน (range of tolerance) ทาให้สามารถพบประชากร ส่ิงมีชีวิตได้ในที่ท่ีมีปัจจัยอยู่ และบริเวณท่ีพบประชากรสิ่งมีชีวิตได้มาก เรียกว่า ช่วงท่ีเหมาะสม (range of optimum) โดยครูสกุ ฤตา โสมล 10

 ขนาดของประชากร (population size) ขนาดของประชากร หมายถึง จานวนสมาชิกทั้งหมดของ ประชากรในช่วงเวลาใดเวลาหน่ึง ขนาดของประชากรสิ่งมีชีวิตมี การเปลี่ยนแปลงเม่ือมีสมาชิกเข้า-ออกจากกลุ่มประชากรน้ันๆ เชน่ การเกิด การอพยพเขา้ การตาย หรือการอพยพออก ดงั ภาพ - การเปลี่ยนแปลงของขนาดประชากรมนุษย์ข้ึนอยู่กับการเกิด หรืออัตราการเกิดเชิงประเมิน (crude birth rate) และอัตราการ ตายหรืออตั ราการตายเชงิ ประเมิน (crude death rate) ภาพแสดงปจั จยั ทมี่ ีผลตอ่ ความหนาแน่นของประชากร ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดและอัตราการตายของ ประชากรมนษุ ย์ ได้แก่ การศึกษา พันธุกรรมของมนุษย์ การดารงชีวิต และลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ โดยครูสกุ ฤตา โสมล 11

 ปจั จัยท่มี ีผลตอ่ การเปลีย่ นแปลงขนาดของประชากร 1. ปั จ จั ย ที่ ข้ึ น กั บ ค ว า ม ห น า แ น่ น ข อ ง ประชากร (density dependent factors) เม่ือประชากรมีขนาดใหญ่ข้ึนจะมีการ แก่งแย่งกันในกรใช้ทรัพยากร พื้นท่ี และ อาหาร ซ่ึงความรุนแรงจะเพ่ิมมากข้ึนเป็น สัดส่วนกับความหนาแน่นของประชากร ซึ่งมี ผลทาให้จานวนสมาชกิ ของประชากรลดลง 2 . ปั จ จั ย ที่ ไ ม่ ขึ้ น กั บ ค ว า ม ห น า แ น่ น ข อ ง ประชากร (density independent factors) เช่น สภาพภูมิอากาศที่เลวร้าย อุณหภูมิท่ี หนาวจัด ไฟไหม้ น้าท่วม ลมพายุ มีผลทาให้ จานวนสมาชกิ ของประชากรลดลง  รูปแบบการเพ่ิมของประชากร 12 1. การสบื พันธุเ์ พียงครงั้ เดยี วในชว่ งชีวติ (single reproduction) เม่อื สิ่งมีชีวติ เจริญถงึ วัยเจรญิ พนั ธ์ุ จะสืบพันธุอ์ อกลูกหลานจากน้ันกจ็ ะตาย เชน่ แมลงชนดิ ต่างๆ ไมล้ ้มลกุ บางชนิด เช่น คะน้า ขา้ ว ถ่วั เขยี ว 2. การสืบพนั ธไ์ุ ดห้ ลายครงั้ ในชว่ งชีวิต (multiple reproduction) เช่น สัตว์มีกระดูกสันหลัง ไมย้ ืนตน้ โดยครูสกุ ฤตา โสมล

 แบบแผนการเพ่ิมของประชากร มี 2 รปู แบบ คือ 1. การเพม่ิ ของประชากรแบบเอก็ โพเนเชยี ล (exponential growth) กราฟเป็นรูปตัวเจ (J shape) จะมีการเปลี่ยนแปลง 2 ระยะ คือ ระยะที่มีการเพ่ิมของประชากรอย่างช้าๆ (lag phase) และ ระยะท่ีมีการเพิ่มของประชากรอย่างรวดเร็ว (log phase) เป็นภาวะเหตุการณ์ทางอุดมคติ (idealized circumstances) และไม่เป็นจริง เพราะในธรรมชาติจะมีตัวต้านทานในส่ิงแวดล้อม (environmental resistance) เช่น อาหาร ที่อยู่อาศัย การแกง่ แย่ง แข่งขนั การเป็นผู้ล่าและเหยอ่ื มายับย้งั ไม่ใหก้ ารเพม่ิ ประชากรเพิ่มขน้ึ อย่างไมม่ ขี ดี จากัด Exponential growth phase Lag phase โดยครูสกุ ฤตา โสมล 13

 ทอมสั โรเบริ ต์ มัลทสั (Thomus Robert Malthus) เสนอความคิดของการเพ่ิมประชากรมนุษย์ว่า ประชากรมนุษย์มีแนวโน้มเพ่ิมแบบเรขาคณิต ส่วนอาหารสาหรับมนุษย์มี แนวโน้มเพ่ิมแบบเลขคณติ ซึง่ ลักษณะดังกลา่ วจะทาใหเ้ กิดความไมส่ มดลุ ระหว่างประชากรกับอาหารสาหรับบรโิ ภค - การเพ่ิมประชากรในระยะแรกเหมือนกับการเพิ่มประชากรแบบรูปตัวเจจนเมื่อถึงระยะหนึ่ง การเพ่ิมของ 14 ประชากรจะลดลงอยา่ งรวดเรว็ และมกี ารเพ่ิมขึน้ และลดลงสลับกนั (irruptive growth) โดยครูสกุ ฤตา โสมล

2. การเพมิ่ ของประชากรแบบลอจสิ ตกิ (logistic growth) กราฟเป็นรูปตัวเอส (S-shape) หรือกราฟแบบซิกมอยด์ (sigmoid curve) มกี ารเปลยี่ นแปลง 4 ระยะ คือ ระยะที่มีอัตราการ เพิ่มประชากรอย่างช้าๆ ระยะที่มีอัตราการเพ่ิมประชากรอย่างรวดเร็ว ระยะที่มีอัตราการเพ่ิมประชากรช้าลง และระยะท่ีมี อัตราการเพ่มิ ประชากรคงที่ โดยครูสกุ ฤตา โสมล 15

Comparative 16 - ระดับทส่ี ภาพแวดลอ้ มสามารถเลี้ยงดูประชากรได้มากสุดเรียกว่า แครีอิงคาพาซิตี (carrying capacity) ตัวต้านทานในส่ิงมีชีวิตมี บทบาทต่อการเพมิ่ ประชากรแบบตัวเอส คือ ระยะแรกของการเพ่ิม ประชากรเป็นไปอย่างช้าๆ เพราะประชากรมีจานวนน้อย เมื่อ ประชากรมีจานวนเพิ่มขึ้น อัตราการเพ่ิมของประชากรจะเป็นไป อย่างรวดเร็ว จากน้ันอัตราการเพิ่มของประชากรจะลดลงเพราะ ตัวต้านทานสิ่งแวดล้อมเร่ิมเป็นปัจจัยจากัด และเม่ือประชากร สามารถปรับตัวได้ อัตราการเพิ่มของประชากรค่อนข้างคงท่ี เพราะอตั ราการเกิดเทา่ กับอัตราการตาย โดยครูสกุ ฤตา โสมล

 การรอดชวี ติ ของประชากร - ส่งิ มชี วี ติ แต่ละชนดิ มีแบบแผนการรอดชวี ติ ของประชากรแตกตา่ งกนั ข้นึ อยู่กับช่วงอายขุ ยั (life span) ของสิ่งมีชีวิต แต่ละชนิด ตลอดช่วงอายุขัยของส่ิงมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีอัตราการอยู่รอดในช่วงอายุขัยต่างๆ ไม่เหมือนกัน ทาให้ความ หนาแนน่ ของประชากรท่ีอย่ใู นวยั ต่างๆ แตกต่างกัน - ปัจจัยท่ีมีผลต่อการอยู่รอดของประชากร ได้แก่ ความสามารถในการเลี้ยงดูตัวอ่อน ความหนาแน่นของประชากร และปจั จยั ทางนเิ วศวิทยา -รูปแบบที่ 1 เสน้ โค้งนนู (convex survivorship curve) สิง่ มีชวี ติ มีอัตราการอยู่ รอดชีวิตสูง ในวัยอายุน้อยและค่อนข้างคงท่ีตลอดชีวิต เม่ืออายุมากขึ้นอัตรา การรอดชีวิตจะน้อย มีอัตราการตายพร้อมกันจานวนมาก เช่น มนุษย์ สัตว์เล้ียง ลูกดว้ ยนา้ นมขนาดใหญ่ เชน่ ช้าง มา้ -รูปแบบที่ 2 เส้นตรง (constant survivorship curve) สิ่งมีชีวิตมีอัตราการรอด ชีวิตค่อนข้างสม่าเสมอ ตลอดช่วงชีวิตจานวนประชากรจะคงท่ีตลอด เช่น ไฮดรา นก เต่า -รูปแบบที่ 3 เส้นโค้งเว้า (concave survivorship curve) สิ่งมีชีวิตมี อัตราการรอดชีวิตต่า ในวัยอายุน้อยและค่อยๆ คงที่เม่ืออายุมากข้ึน เช่น กระรอก สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังส่วนใหญ่เช่น หอย หมึก แมลง ดาวทะเล โดยครูสกุ ฤตา โสมล 17

 ประชากรมนุษย์ ประชากรมนุษย์ในโลกมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนเรื่อยๆ ลักษณะการเพิ่มของ ประชากรมนุษย์มีแบบแผนการเพ่ิมเป็นแบบเอ็กโพเนนเชียล โดยมีกราฟ การเพ่ิมของประชากรเป็นรูปตัวเจ - การเพ่ิมประชากรมนุษย์เป็นแบบรูปตัวเจ มี ลักษณะไม่เป็นจริง เพราะในธรรมชาติตัวต้านทาน ในส่ิงแวดล้อมของส่ิงมีชีวิตมายับยั้งไม่ให้การเพ่ิม ของประชากรเพ่ิมต่อไปอย่างไม่มีขีดจากัด จึงทา ใหอ้ ตั ราการเพ่ิมของประชากรลดลง ตัวต้านทานในสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการเพ่ิมประชากรมนุษย์ ได้แก่ การขาดแคลนอาหารและท่ีอยู่อาศัย 18 ความยากจน ความอดอยาก โรคภยั ไขเ้ จ็บ สงคราม และภยั พิบัติอนื่ ๆ โดยครูสกุ ฤตา โสมล

 โครงสรา้ งอายปุ ระชากรมนษุ ย์ หมายถึง จานวนหรือสัดส่วนของกลุ่มสมาชกิ มอี ายุตา่ งๆ กันในประชากร แบ่งได้ 3 กลมุ่ คอื 1. วัยกอ่ นเจรญิ พนั ธ์ุ (pre reproductive age) คอื สมาชิกประชากรกลุ่มทีย่ ังสืบพนั ธไุ์ ม่ได้ 19 2. วัยเจริญพันธุ์ (reproductive age) คือ สมาชิกประชากรกลุ่มที่อยู่ในช่วงระยะของชีวิตท่ีมี การสบื พันธ์ไุ ด้ตั้งแต่เริ่มต้นจนไมส่ ามารถสืบพันธุ์ไดอ้ ีก 3. วัยก่อนเจริญพันธ์ุ (post reproductive age) คือ สมาชิกประชากรกลุ่มท่ีไม่มีการสืบพันธุ์ อีกแลว้ ในประชากรน้ัน โดยครูสกุ ฤตา โสมล

 โครงสรา้ งอายปุ ระชากร - ภาพ 1 พรี ะมิดฐานกวา้ งยอดแหลม โครงสร้างประชากรเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็ว พบ ในประเทศกัวเตมาลา ซาอุดิอาระเบีย ไนจีเรีย เคนย่า - ภาพ 2 พีระมดิ ทรงรูปกรวยปากแคบ โครงสร้างประชากรเพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ พบใน ประเทศสหรฐั อเมริกา ไทย แคนาดา ออสเตรเลีย - ภาพ 3 พรี ะมิดรูประฆังคว่า โครงสร้างประชากร มีขนาด คงที่ พบในประเทศสเปน เด นมาร์ก ออสเตรีย อิตาลี - ภาพ 4 พรี ะมดิ รปู ดอกบัวตูม โครงสร้างประชากรลดลง พบในประเทศสวเี ดน บลั กาเรยี สิงคโปร์ 20 โดยครูสกุ ฤตา โสมล

คาดการณป์ ระชากรประเทศไทยในปี พ.ศ.2570 การเพ่ิมของประชากรมนุษย์ก่อให้เกิดการขาดแคลนอาหารและที่อยู่อาศัย ปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ 21 ปัญหาสุขภาพอนามัย การว่างงาน อาชญากรรม การจราจรติดขัด ปัญหาด้านการศึกษา ประชากรมี คณุ ภาพชีวติ ตา่ ก่อให้เกิดปัญหาทั้งดา้ นเศรษฐกิจและสงั คม ทาให้ระบบนเิ วศเสื่อมสมดลุ เพราะมนุษย์ใช้และ บริโภคทรพั ยากรธรรมชาตมิ ากข้ึน โดยครูสกุ ฤตา โสมล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook