Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ข้อเสนอโครงการ เครื่องตีเชื้อเห็ดในครัวเรือนขนาดจิ๋ว RIN2559ภาคกลาง_วชลพบุรี_2

ข้อเสนอโครงการ เครื่องตีเชื้อเห็ดในครัวเรือนขนาดจิ๋ว RIN2559ภาคกลาง_วชลพบุรี_2

Published by son302430, 2020-06-11 02:32:27

Description: ข้อเสนอโครงการ เครื่องตีเชื้อเห็ดในครัวเรือนขนาดจิ๋ว RIN2559ภาคกลาง_วชลพบุรี_2

Search

Read the Text Version

1 ขอ้ เสนอโครงการสิง่ ประดษิ ฐส์ ายอาชวี ศึกษาประจาปี ๒๕๖o ภาค กลางและภาคตะวนั ออก 1. ช่อื ผลงาน (ภาษาไทย) เครื่องตีเชอื้ เห็ดในครัวเรือนขนาดจ๋ิว.……... ........................................................................................................ ช่อื ผลงาน (ภาษาอังกฤษ).................................................-.............................................................................................................................................................................. 2. ชอ่ื หน่วยงาน วทิ ยาลัยสารพดั ช่างลพบุรี.................. ............................................................................................................................................................................. ทีอ่ ยู่.........เลขที่ 100 หมู่ 3 ถ.พหลโยธนิ ต.ท่าศาลา อ.เมือง จ.ลพบุรี 15000........................................................ โทรศพั ท์ 036-420950 โทรสาร 036-784833....... .................................................................... ....... ............................................................................................ 3. กลมุ่ เรือ่ งทเ่ี สนอขอรบั รางวัล (เลอื กเพียง 1 กล่มุ เร่ืองเท่านน้ั )  กลมุ่ อาหาร เกษตร และเทคโนโลยีชวี ภาพ กลุ่มสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยที างการแพทย์ กลุ่มเครื่องมืออุปกรณ์อัจฉริยะ ระบบเครอ่ื งกลทใ่ี ช้อิเล็กทรอนิกสค์ วบคุม ปญั ญาประดษิ ฐ์ และ เทคโนโลยีสมองกลฝงั ตวั กลุ่มสรา้ งสรรค์วัฒนธรรม การศกึ ษาและสงั คม ที่ม่งุ เน้นการพฒั นาคุณภาพชีวติ กลมุ่ สง่ิ แวดลอ้ มและพลงั งาน 4. รายช่อื นกั ประดิษฐ์ 1) ช่ือ-นามสกลุ .....นายสิวะ ตรสี ุรยิ า................................................................................................................. นักศึกษาระดับ  ปวช ปวส ปริญญาตรี ช้นั ปีที่.......3.......... เบอร์โทรศัพท์ 061-596-0415 e-mail address :........... .................................................... .................................................-.................................................................................................................................... 2) ชื่อ-นามสกุล.....นายสายชล วิสุทธ.์ิ ............................................................................................................... นกั ศึกษาระดับ  ปวช ปวส ปริญญาตรี ชนั้ ปที ี่.......3.......... เบอร์โทรศัพท์ 092-404-3062 e-mail : [email protected] ............ .................................................... .... ................................................................... 5. อาจารย์ทปี่ รึกษา 1) ชื่อ – นามสกุล นายสนธยา นุตระ........... ............................................................................................................................................................................................................................................................................................... เบอร์โทรศัพท์ 085-198-4305 e-mail address : [email protected]........... .................................................... ........... ............................................................. 2) ช่ือ – นามสกลุ นายสุรเดช เติมเจมิ........... ............................................................................................................................................................................................................................................................................................... เบอร์โทรศัพท.์.......... 08-5981-2499 e-mail......................................... address :........... [email protected]...........................................

2 6. รูปภาพสงิ่ ประดิษฐพ์ ร้อมอธิบายตวั ผลงาน รูปภาพสง่ิ ประดิษฐ์ ภาพผลงานจริง ทฤษฎ/ี หลกั วชิ าการทนี่ ามาใช้ในการประดษิ ฐ์คดิ คน้ เครื่องตีเช้ือเห็ดในครัวเรือนขนาดจิ๋ว เป็นความรู้ที่ได้มาจากภูมิปัญญาชาวบ้านและได้มีการพัฒนาเรื่อยมา เพ่ือให้ได้เคร่ืองมือเครื่องจักรท่ีมีประโยชน์สาหรับผู้เพาะเห็ดซึ่งมีส่วนประกอบท่ี ใช้ในการสร้างเครื่องตีเช้ือเห็ดใน ครัวเรือนขนาดจิ๋ว ซ่ึงในการวิจัยครั้งนี้ได้ดาเนินการศึกษาแนวคิดทฤษฎี เพื่อนามาใช้เป็นข้อมูลประกอบการ ดาเนนิ งานมดี งั น้ี 1. มอเตอรไฟฟากระแสสลบั 1 เฟส 2. เพลา 3. ตลบั ลกู ปนื 4. ทฤษฎเี กี่ยวกับงานเชอ่ื ม 1. มอเตอรไฟฟากระแสสลบั 1 เฟส มอเตอรไฟฟากระแสสลับ 1 เฟสมหี ลายชนดิ สวนใหญเปนมอเตอร ขนาดเล็กขนาดไมเกิน 10 แรงมา เชน รีพลั ชนั่ มอเตอร(Repulsion-type motor) ยนู เิ วอรแซลมอเต อร(Universal motor) เช็ดเดดโพลมอเตอร(Shaded-pole motor) เปนตน ท่มี ขี นาดใหญขึ้นมาและใชงานโดยทว่ั ไป คอื สปลิตเฟสมอเตอร ซ่ึงมีความจาเปนตองศึกษาและใหความสาคัญในการควบคมุ สปลติ เฟสมอเตอร(Split phase motor) หลักการทางาน สปลิตเฟสมอเตอรเปนมอเตอรชนิดเหน่ียวนา(Induction motor)ที่ทางานโดยอาศัย

3 หลักการเกิดสนามแมเหล็กหมุนของมอเตอร 2 เฟส ดวยการพันขดลวด 2 ชุดคือขดลวดชุดรัน(Running winding) และขดลวดชุดสตารท(Starting winding)วางหางกนั 90 องศาไฟฟา 1) ขดลวดชดุ รนั (Running winding) เปนขดลวดหลัก(Main coil)ทางานตลอดเวลาที่มอเตอรทางาน พนั ด วยลวดทองแดงมีพื้นทีห่ นาตดั ใหญทาใหความตานทานของขดลวดนอย 2) ขดลวดชดุ สตารท(Starting winding) เปนขดลวดชวย(Auxiliary coil) ในการเริ่มทางานชวงท่ีมอเตอร เริ่มเดิน เมื่อมอเตอรมีความเร็วรอบถึง 75 % ของความเร็วพิกัดแล วจะถูกตัดออกจากวงจรดวยเซ็นติฟูกัลป สวิตช(Centrifugal switch) พันดวยลวดทองแดงท่ีมีพื้นท่ีหนาตัดเล็กกวา ทาใหความตานทานของขดลวดสูงกวา ขดลวดชุดรัน ภาพที่ 1 แสดงการพนั ขดลวดสปลิตฟสมอเตอร การตอวงจรภายในทง้ั ขดลวดสตารทและขดลวดรันจะตอวงจรเหมือนกันคอื ขดลวดแตละชุดจะตอแบบ อนุกรม โดยตอใหทิศทางการไหลของกระแสกลับกนั เพือ่ ใหเกิดสนามแมเหลก็ ที่ตางข้วั แลวนาปลายสายของทง้ั สอง ขดมาตอขนานกนั ดังภาพที่ 1 ภาพท่ี 2 แสดงบลอ็ กไดอะแกรมการตอวงจรภายในของสปลิตเฟสมอเตอร จากหลกั การแยกเฟสของกระแสในสปลติ เฟสมอเตอร์ทาใหเกิดสนามแมเหลก็ หมุนในสเตเตอรเหนี่ยวนาให ตวั นาในโรเตอรมีกระแสไหลและเกิดสนามแมเหล็กข้ึนในโรเตอรสนามแมเหล็กท่ีขึ้นในโรเตอร จะหมุนตามสนามแม เหล็กหมุนในสเตเตอร เมื่อโรเตอรหมุนไปไดประมาณ 75 เปอร เซ็นตของความเร็วท่ีกาหนดบนแผ นปาย เซ็นติฟูกัลสวิตช(Centrifugal switch) จะเปดวงจรตัดขดลวดสตารทออกมอเตอรจะทางานโดยมีขดลวดชุดรันเพียง ชุดเดยี ว

4 2. เพลา เพลาเป็นชิ้นส่วนเครื่องมือกล ที่มีความสาคัญของระบบส่งผ่านกาลัง กาลังที่ส่งผ่านเพลาอยู่ในรูปของ โมเมนตแ์ รงบิด (Torque) ในการส่งกาลงั ผ่านระหว่างเพลาหนึง่ ไปยังอกี เพลาหน่ึงจาเป็นตอ้ งอาศยั ตัวกลาง เชน่ เฟือง โซ่ สายพาน ฯลฯ ดังน้นั จงึ เกิดแรงซงึ่ เกดิ จากการขบกนั ของเฟอื ง แรงเนอื่ งจากการฉุดของโซ่ หรือแรงดงึ ของสายพาน มากระทาต่อเพลาอันเป็นผลให้เกิดโมเมนต์ดัด(Bending moments) ข้ึนบนเพลาด้วย ดังน้ันขณะที่เพลาทาหน้าที่ ส่งผ่านกาลังเพลาจะรับท้ังโมเมนต์บิดและโมเมนต์ดัดพร้อมๆกันเนื่องจากว่าเพลาเป็นช้ินส่วนที่มีอยู่ในเครื่องจักรกล เกือบทกุ ชนิด ดังนน้ั จงึ สมควรทจ่ี ะได้พิจารณาถึงการออกแบบเพลา โดยเฉพาะเพลาอาจมชี อ่ื เรยี กแตกต่างกันไปตาม ลกั ษณะของการใช้งานดังต่อไปนี้ คอื 2.1 เพลา(Shaft) เป็นชน้ิ สว่ นท่มี กี ารหมนุ และใช้ในการสง่ กาลงั 2.2 แกน(Axle) เปน็ ชน้ิ สว่ นลักษณะเดยี วกนั กบั เพลาแต่ไม่มีการหมุน สว่ นมากเป็นตวั รองรบั ชิ้นงานท่ีหมุน เชน่ ลอ้ ล้อสายพาน เป็นตน้ อย่างไรก็ตามท้ังเพลา และแกนท่ีนิยมเรียกรวมกันว่า “เพลา” ไม่ว่าช้ินส่วนนั้นจะหมุน หรอื หยดุ นิ่งกต็ าม 2.3 สปินเดิล(Spindle) เปน็ ขนาดสัน้ ทไ่ี มห่ มนุ เช่น เพลาทีแ่ ท่นหัวกลงึ (Head-Shock Spindle) เป็นตน้ 2.4 สตับชาฟต์(Stub Shaft) หรือบางครั้งเรียกว่า เฮดชาฟต์(Head-Shaft) เป็นเพลาที่ติดเป็นชิ้นส่วน ตอ่ เนื่องกบั เครื่องยนต์ มอเตอร์หรือเคร่อื งตน้ กาลงั อื่นๆมขี นาดรูปรา่ งและส่วนทยี่ นื่ ออกมาสาหรบั ใชต้ อ่ กบั เพลาอืน่ ๆ 2.5 เพลาแนว(Line Shaft) หรือเพลาส่งกาลัง (Power Transmission Shaft) หรือเพลาเมน (Main Shaft) เป็นเพลาซึ่งตอ่ ตรงจากเครือ่ งตน้ กาลงั และใช้ในการสง่ กาลังไปยังเครื่องจักรกลอน่ื ๆ โดยเฉพาะ 2.6 แจ๊คชาฟต์(Jack Shaft) หรือเพลาเคาน์เตอร์ชาฟต(์ Counter Shaft) เป็นเพลาขนาดสั้นทต่ี ่อระหวา่ ง เครื่องต้นกาลงั กับเพลาเมน หรอื เครื่องจกั รกล 2.7 เพลาออ่ น(Flexible Shaft) เปน็ เพลาทส่ี ามารถอ่อนตัวหรือโค้งให้ เพลาประเภทนี้ทาดว้ ยสายลวด ใหญ่ (Cable) ลวดสปริงหรือลวดเกลียว (Wire Rope) ใช้ในการสง่ กาลังในลกั ษณะทแ่ี กนหมุนทามุมกนั ได้ แตส่ ง่ กาลังไดน้ อ้ ย 2.8 เพลาอาจจะรบั แรงดึง แรงกด แรงบิด หรือแรงตัด หรือแรงหลายอย่างรวมกันได้ ดังน้ันการคานวณ จึงต้องใช้ความเค้นผสมเข้าช่วย แรงเหล่าน้ียังอาจมีการเปลี่ยนแปลงขนาดตลอดเวลา ทาให้เพลาเสียหายเพราะ ความลา้ ได้ ฉะนน้ั จึงต้องออกแบบเพลาให้มีความแข็งแรงเพียงพอสาหรับการใช้งานในลักษณะนี้ นอกจากน้ันเพลา ยังจะต้องมีความแข็งแกร่ง(Rigidity)เพียงพอเพื่อลดมุมบิดภายในเพลาให้อยู่ในขีดจากัดท่ีพอเหมาะ ระยะโก่ง (Deflection)ของเพลากเ็ ป็นสิ่งสาคัญในการกาหนดขนาดของเพลาเชน่ เดียวกัน เพราะถ้าเพลามรี ะยะโก่งมากกจ็ ะเกิด การแกว่งขณะหมุนทาให้ความเร็ววิกฤต(Critical Speed)ของเพลาลดลง ซึ่งอาจทาให้เพลามีการสั่นอย่างรุนแรง ในขณะที่ความเร็วของเพลาเข้าใกล้ความเร็ววิกฤตนี้ได้ ระยะโก่งน้ียังมีผลต่อการเลือกชนิดของท่ีรองรับเพลา เช่น บอลแบรงิ่ (Ball Bearing) ก็ต้องมีการเย้อื งแนว(Misalignment) ในการใช้งานท่พี อเหมาะกับเพลาดว้ ย ภาพท่ี 3 เพลา

5 3. ตลับลกู ปนื (Bearings,แบรงิ่ ) แบริ่งเป็นองค์ประกอบสาคัญของเคร่ืองจักรที่ต้องการการหล่อลื่น และแทบจะกล่าวได้ว่าเครื่องจักร เกือบทุกเครื่องจะต้องมีแบร่ิง แบริ่งคือสิ่งท่ีช่วยรองรับหรือช่วยยึดชิ้นส่วนต่างๆของเคร่ืองจักรที่มีการหมุนให้อยู่ ในตาแหน่งท่ีถูกต้อง แบริ่งสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆคือแบริ่งกาบ(Plain bearings)และแบร่ิงลูกปืน (Rolling Bearing) แบร่ิงกาบ(Plain bearings)มีลักษณะเปน็ รูปทรงกระบอกกลวงโดยมีแกนหมนุ อย่ภู ายในส่วนของแกนหมุน หรือเพลาที่หมุนอยู่ภายใน ส่วนของแกนหมุนหรือเพลาท่ีหมุนอยู่ในแบร่ิงเรียกว่าเจอร์นอล (Joumal) ส่วนรูป ทรงกระบอกกลวงเรียกว่าเจอร์นอลแบร่ิง(Journal bearing) ซ่ึงมักทาด้วยโลหะหรือส่วนผสมของโลหะที่มีเนื้ออ่อน กว่าเจอร์นอลแบร่ิงกาบยังสามารถแบ่งออกเป็นทรัสต์แบริ่ง(Trust Bearing) ซ่ึงตัวเจอร์นอลได้รับแรงกดและหมุน อยู่ภายในเจอร์นอลแบริ่งกับไกด์แบริ่ง(Guide Bearing) ซ่ึงตัวเจอร์นอลเคลื่อนที่กลับไปกลับมาตามแนวยาวของ เจอร์นอลแบรงิ่ โดยท่ัวไปแบร่งิ กาบจะใชน้ า้ มนั เปน็ ตัวหล่อลืน่ มากกวา่ จาระบแี ละมักใชจ้ าระบี ในกรณีท่ีแบริ่งไม่มี ระบบป้องกันหรือซีลท่ีเพียงพอสาหรับน้ามัน ในขณะท่ีตัวเจอร์นอลหมุนอยู่ภายในแบร่ิงน้ามันจะถูกเหวี่ยงเข้ามา เปน็ ฟิลม์ ป้องกนั ไม่ให้ผิวของเจอร์นอล และแบริ่งมาสัมผัสกันความหนืดของน้ามันไม่ควรจะต่าเกินไปจนฟิล์มน้ามัน ไม่สามารถแยกผิวสัมผัสทั้งสองออกจากกันได้ ความหนืดของน้ามันหล่อล่ืนสูงขนาดน้ามันหล่อลื่นลูกสูบการเลือก ความหนดื ของน้ามนั ข้ึนอยู่กบั ความเร็วรอบแรงกดและอุณหภูมิในขณะท่ีใช้งานแบริ่งลูกปืน(Rolling Bearing) การ เคล่ือนไหวของแบริ่งกาบจะเกิดในลักษณะเลื่อนสัมผัส(Sliding)ของผิวสัมผัสท้ังสองซ่ึงจะทาให้เกิดแรงเสียดทาน ซ่ึง แรงเสียดทานนี้สามารถลดลงได้โดยการเปล่ียนการเคลื่อนไหวแบบเล่ือนสัมผัส(Rolling) โดยการติดตั้งวงแหวนซ่ึง ประกอบดว้ ยลกู ปนื ทที่ าด้วยโลหะแข็งอาจจะมีลักษณะกลมเหมือนลูกบอลล์หรือเป็นแบบลูกกลิ้งเคลื่อนที่อยู่ระหว่าง วงแหวนช้ันในและช้ันนอกในทางทฤษฎีการหมุนสัมผัสน้ัน ไม่จาเป็นต้องอาศัยน้ามันหล่อลื่นแต่ในทางปฏิบัติแล้ว แบร่งิ ลูกปืนยงั มกี ารเคล่อื นไหวแบบเล่อื นสมั ผสั อยบู่ า้ ง โดยเฉพาะอย่างยง่ิ แบรง่ิ ลูกปนื บางชนดิ จะเกิดการบดิ เม่ือไดร้ ับ แรงกด นอกจากน้ียังเกิดการเล่ือนสัมผัสระหว่างตัวลูกปืนกับตัววัสดุที่ยึดลูกปืนนั้น ดังน้ันการหล่อลื่นจึงยังเป็น สิ่งจาเปน็ เพ่อื ลดแรงเสยี ดทานท่เี กดิ จากการเลื่อนสัมผัสเป็นเกราะหรือซีลป้องกันความช้ืนและการกัดกร่อนตลอดจน สิง่ สกปรกต่างๆทจ่ี ะเข้าไปในแบริ่ง แบรง่ิ ลูกปืนส่วนใหญ่จะใชจ้ าระบเี ปน็ ตวั หล่อลื่นจารบียังทาหน้าท่ีเป็นซีลป้องกัน ไม่ให้ความชื้นหรือสิ่งสกปรกต่างๆเข้าไปทาความเสียหายแก่ลูกปืน การเลือกชนิดของจาระบีข้ึนอยู่กับความเร็ว รอบแรงกดและอุณหภูมิของแบร่ิงในขณะใช้งาน โดยท่ัวไปมักใช้จาระบีเอนกประสงค์ที่ทาด้วยสบู่ลิเทียมในงาน บางประเภทอาจมีความต้องการจาระบีท่ีสามารถทนต่ออุณหภูมิสูงและอุณหภูมิต่าคือไม่เหลว และไม่ทาปฏิกิริยา อ๊อคซเิ ดชัน่ ในขณะทใ่ี ช้งานภายใตอ้ ุณหภูมติ า่ เชน่ จาระบสี าหรบั เครือ่ งบนิ ภาพที่ 4 แบรงิ่

6 4. ทฤษฎเี ก่ยี วกับงานเชือ่ ม งานเช่ือมคือการนาช้ินงานสองชิ้นหรือมากกว่ามาประสานกัน โดยมีหลักอยู่ว่าช้ินงานจะต้องต่อกัน โดยการหลอมละลายโลหะทัง้ สอง ณ อุณหภมู ทิ เ่ี หมาะสมโดยจะมกี ารเตมิ ตัวประสานโลหะ(Filler metal) หรอื ไมเ่ ตมิ กไ็ ด้ ประเภทของงานเชื่อมอาจแบง่ ออกเปน็ 2 พวกใหญ่ๆ คอื 1. Fusion welding ช้ินส่วนของงานเช่ือมน้ีจะเชื่อมติดกันโดยท่ีโลหะบริเวณแนวเช่ือมจะหลอมละลาย (Melted condition) เข้าตดิ กันโดยมีการเติมโลหะ(Filler metal)หรอื ไมเ่ ติมก็ได้ 2. Pressure welding ช้ินส่วนของงานเช่ือมชนิดนี้จะเชื่อมติดกัน โดยที่โลหะบริเวณแนวเชื่อมจะอยู่ ในสภาวะทเ่ี ร่ิมจะเปน็ ของเหลว(Plastic condition)แลว้ ใช้แรงกดบริเวณแนวเชอื่ มให้อัดติดกัน การเชื่อมแบบนี้จะไม่ มีการเติมลวดเชือ่ ม (Filler metal) วสั ดทุ ่สี ามารถเช่อื มต่อกนั ได้นัน้ แบง่ ออกเปน็ 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. Low carbon steel เหล็กท่ีมีคาร์บอนผสมต่า คือ จะมีเปอร์เซ็นต์คาร์บอนอยู่ไม่เกิน 0.3% แต่ถ้า เกินไป ได้แก่ เหล็กชนิด High carbon steels จะเชื่อมได้ก็จะต้องใช้ลวดเชื่อม Electrode ชนิดพิเศษ และจะต้อง ให้ช่างเชอ่ื มทม่ี คี วามชานาญพอสมควร 2. โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก Non-Ferrous metals ได้แก่ โลหะพวกทองแดง ทองเหลือง บรอนซ์ สังกะสี และ อะลมู เิ นยี ม 3. พวกพลาสตกิ ประเภท Thermoplastic materials สามารถเชื่อมต่อกันได้โดยใช้ลมรอ้ น และลวดเชื่อม พลาสติกในงานเชื่อมเราต้องคานึงถึงข้อมูลตา่ ง ๆ ท่ีจะทาใหค้ ณุ ภาพของงานเชอื่ มดี สาหรับขอ้ มูลตา่ งๆ มีดังนี้ 1) ชนดิ ของโลหะทจ่ี ะนามาเชือ่ มหมายถึงวัสดชุ ิน้ งานน้นั เองจะตอ้ งสามารถนามาเช่อื มได้หรือรู้ว่าโลหะ ทเ่ี ชือ่ มแบบไหนจึงจะเหมาะสม 2) การเตรียมชิ้นงานหมายถึงการเตรียมชิ้นงานก่อนเช่ือม เช่น การบากชิ้นงาน เป็นต้น สิ่งเหล่าน้ี ช่างเช่ยี วชาญควรควบคมุ ใหถ้ กู ต้องด้วย 3) วธิ กี ารเชือ่ มหมายถึงลกั ษณะและท่าทางในการเชอ่ื มตอ้ งกระทาอย่างถูกต้อง 4) โลหะของลวดเชื่อมหมายถึงชนิดของโลหะของElectrodeหรือFiller-Material สามารถเข้าถึง ชิ้นงานทท่ี าการเช่ือมได้ 5) ความสามารถในการเชื่อมหมายถงึ ความชานาญของช่างเชือ่ มหรือฝมี ือในการเชอ่ื ม ภาพที่ 5 งานเชื่อม

7 หลกั การทางาน เคร่อื งตีเชอื้ เหด็ ในครัวเรอื นขนาดจว๋ิ ได้ออกแบบสาหรับใชป้ ระโยชน์ในการกระจายเชื้อเห็ดเพ่ือจะนาไปเพาะ ในโรงเพาะเห็ด และนาเหด็ ไวบ้ รโิ ภคในครวั เรอื นและหากเหลือจากการบริโภคก็สามารถนาไปจาหน่าย ขณะเดียวกัน หากมีการเพาะเห็ดเพื่อการจาหน่ายและมีโรงเรือนเพาะเห็ดไม่มาก(10-15 โรงเรือน)ก็สามารถจะใช้เครื่องน้ีในการ กระจายเชื้อเห็ดได้เช่นกัน แต่หากมีโรงเรือนมากกว่าน้ีอาจต้องใช้เครื่องกระจายท่ีมีขายตามท้องตลาด(เคร่ืองขนาด ใหญ่) โดยการออกแบบเครือ่ งตเี ชอื้ เหด็ ในครัวเรือนขนาดจ๋วิ ไดน้ าถงั แก๊สที่ชารุดนามาออกแบบเป็นโครงสร้าง ซึ่งได้ มกี ารเจาะรูดา้ นบนของถงั แกส๊ เพอ่ื ที่จะติดตัง้ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลับ การทางานของเคร่ืองใช้หลักการทางานโดย ป้อนไฟฟ้ากระแสสลับ(AC) 220 โวลท์ ผ่านสวิทช์เพ่ือป้อนไฟให้กับมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ ขนาด 249 วัตต์ (มอเตอร์ปม๊ั น้า) และนาใบตเี ช้ือเห็ดยดึ กบั เพลาของมอเตอร์(ใบตไี ด้มกี ารออกแบบโดยใชเ้ หลก็ เส้นขนาด 3 หนุ ท่ีได้มี การออกแบบมมุ ของใบตใี ห้เกดิ การกระจายเชอ้ื เหด็ ท่ีมีความละเอียด) ในการตีเชื้อเห็ดทาได้โดยนาเชื้อเห็ดที่เป็นก้อน ใส่ลงในช่องใส่เชื้อเห็ด เชื้อเห็ดจะถูกใบตีทาการกระจายเช้ือเห็ดให้แยกออกจากกัน และด้านล่างได้เปิดช่องของถัง แก๊สเพื่อให้เช้ือเห็ดที่ถูกกระจายโดยใบตีให้หล่นลงมาด้านล่างและนาตะกร้ามารองรับ เพื่อท่ีจะนาไปเพาะเช้ือเห็ด ตอ่ ไป ส่วนประกอบสาคัญของเคร่ืองตีเชื้อเห็ดในครัวเรือนขนาดจวิ๋ เคร่ืองตีเชือ้ เห็ดในครัวเรือนขนาดจวิ๋ มีส่วนประกอบสาคัญ ดังน้ี 1. ถงั แก๊ส ท่ใี ช้ในครัวเรือน(ชารดุ ) นามาออกแบบใหเ้ ปน็ โครงสรา้ ง เจาะรูด้านบน เปิดชอ่ งของถงั แก๊สด้านลา่ ง

8 2. ชอ่ งใส่เชอ้ื เห็ด ชอ่ งใส่เชื้อเหด็ ฝาปิดชอ่ งใส่เชือ้ เหด็ 3. มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลับ 1 เฟส(มอเตอรป์ ม๊ั น้า) ขนาด 1/3 แรงม้า(249 วตั ต์) เพลามอเตอร์

9 4. ใบตเี ชื้อเห็ด ยึดกบั เพลามอเตอร์ ใบตี แกนใบตี 5. แบริ่ง รองรบั แกนใบตี รูน๊อตยดึ กับขอบถงั แก๊สดา้ นลา่ ง 6. กรวย รองรบั แกนใบตี หกู รวยยึดกบั ขอบถังแก๊สดว้ ยสปรงิ

10 7. ขาตงั้ 8. สวิทช์เปดิ -ปิด พรอ้ มปล๊ักและสายไฟ

แสดงสว่ นประกอบของเครอื่ งพรอ้ มใช้งาน 11 ซง่ึ มมี ติ ขิ นาด กวา้ ง 40 ซม. ยาว 40 ซม. สงู 65 ซม. 4 32 5 1 8 76 1 สายไฟ เพ่อื ตอ่ ระบบไฟฟา้ ผา่ นสวทิ ชเ์ ขา้ มอเตอร์ 2 สวิทช์ควบคุม ใชค้ วบคุมมอเตอร์เพ่ือตีเชื้อเหด็ ใหก้ ระจาย 3 ชอ่ งใสเ่ ชื้อเห็ด มฝี าปิด 4 มอเตอรต์ ีเชื้อเห็ด 5 ถงั แกส๊ ออกแบบใช้เปน็ ถงั กระจายเชื้อเห็ด 6 ขาต้ัง เครือ่ งตเี ชื้อเหด็ 7 กรวย เพื่อปอ้ งกนั การกระจายของเชือ้ เห็ด 8 ตะกร้าใส่เชอ้ื เห็ด

12 ข้ันตอนการใช้งาน 1. เสียบปลกั๊ เขา้ กับแหลง่ จา่ ยไฟฟา้ กระแสสลบั (AC) 220 โวลต์ 2. นาตะกร้ามารองรบั เชอ้ื เห็ด 3. กดสวิทช์เพอ่ื ให้เคร่ืองตีเช้ือเหด็ ทางาน

13 4. เปดิ ฝาและนาเชื้อเหด็ ปอ้ นลงในช่องใส่เชอื้ เห็ด เพือ่ ทาการกระจายใชเ้ วลาประมาณ 3 วินาที 5. เชือ้ เหด็ ทกี่ ระจายแล้ว จากการใชเ้ คร่อื งตีเช้ือเหด็ และพรอ้ มนาไปเพาะพันธ์ุ คุณสมบัตหิ รือคุณลักษณะเฉพาะของผลงานประดษิ ฐ์ 1. นาถงั แกส๊ เกา่ ที่ชารดุ มาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ 2. มอเตอร์ ใช้มอเตอร์ปัม๊ นา้ ขนาดเลก็ 3. ช่องสาหรับใส่เชอ้ื เห็ด กวา้ งเหมาะสาหรับใสเ่ ช้ือเห็ดปรมิ าณมากและยาว เพื่อความปลอดภยั ในการป้อนเช้อื เห็ดลงในเครอื่ ง 4. ใชส้ วิทช์ควบคมุ เพยี งตัวเดียว 5. ใชเ้ วลาในการกระจายเชือ้ เหด็ นอ้ ยมาก เมอื่ เปรียบเทียบกับการใช้แรงงานคน

14 7. รายละเอียดของผลงานประดิษฐ์ 7.1 ท่มี าและแนวความคิดในการประดิษฐ์ เน่อื งจากเหด็ มีความสาคัญในการประกอบอาหารท่ีมีคุณค่าทางโภชนาการสูงโดยปริมาณโปรตีน เกลือแร่ และเส้นใยสูงนอกจากนกี้ ารบริโภคเห็ดเพาะเลี้ยงจะปลอดภยั จากสารพิษเพราะไมไ่ ด้นาสารเคมีท่มี ีพิษเขา้ มาเกี่ยวข้อง และขนาดพ้ืนท่ีที่ใกล้เคียงกันแล้วการผลิตเห็ดจะสามารถสร้างรายได้ตอบแทนสูงกว่าพืชอื่นหลายชนิดใช้พ้ืนที่น้อย กวา่ พชื อน่ื สามารถใชว้ สั ดุเหลือใช้จนสามารถผลติ ดอกเห็ดท่ใี ห้คณุ ค่าทางอาหาร เปน็ พชื ท่ีเพาะปลกู ได้ง่ายในทกุ สภาพ อากาศ ข้ันตอนในการเพาะปลูกที่ซับซ้อนจึงมีการนาเทคโนโลยีมาใช้ในขบวนการผลิต สามารถเพ่ิมรายได้ให้กับ เกษตรกรเพ่ือเป็นรายได้ให้แก่ครอบครัวการเพาะเห็ดเป็นอาชีพท่ีง่ายไม่ใช้เงินในการลงทุนมากนอกจากเห็ดจะมี ความสาคัญทางด้านการเป็นแหล่งอาหารให้แก่มนุษย์ที่นิยมบริโภคกันอยู่ในปัจจุบันแล้ว เห็ดยังมีประโยชน์และ ความสาคญั ในด้านอื่นๆ ดังนี้ ด้านการรกั ษาระบบนเิ วศ เหด็ มบี ทบาทสาคญั อย่างยิง่ ตอ่ การรักษาปา่ และอนรุ กั ษ์ระบบ นิเวศของโลกมีอิทธิพลต่อการย่อยสลายอินทรียวัตถุและการหมุนเวียนของธาตุอาหารที่เอื้อประโยชน์แก่ พืช สัตว์ ความสาคัญด้านเศรษฐกิจการผลิตเห็ดของโลกในปัจจุบันมีปริมาณมากและเป็นแหล่งอาหารสาหรั บมนุษย์ในแง่ทาง โภชนาการนนั้ ถอื วา่ เห็ดเปน็ อาหาร คนไทยในปัจจุบันหันมาบริโภคเห็ดกันมากข้ึน ชาวต่างประเทศจานวนมากได้ติดต่อขอความแนะนาและ ขอเช้อื เห็ดจากประเทศไทย นอกจากน้เี ห็ดยังเปน็ ที่นิยมกันมากในหมู่เกษตรกรในขณะเดยี วกันความตอ้ งการทางการ ตลาดก็นับวนั จะเพ่ิมมากขึ้น ซึง่ ถ้าเปรยี บเทยี บความก้าวหน้าทางการเพาะเห็ดระหวา่ งประเทศต่างๆ ในเอเชียด้วยกัน แล้วประเทศไทยจะเป็นรองเฉพาะประเทศญ่ีปุ่นเท่าน้ัน เนื่องจากเทคโนโลยีท่ีเกษตรกรใช้อยู่นั้นเป็นเทคโนโลยีข้ัน พนื้ ฐานท่ีเรียนรแู้ ละยอมรบั ไดง้ ่ายเหมาะแกก่ ารถ่ายทอดและนาไปใช้ ซ่ึงมกั จะมขี อ้ จากัดทผี่ ลผลิตจะเปลี่ยนแปลงไป ตามสภาพดินฟา้ อากาศ ทัง้ ทางด้านปริมาณและคุณภาพจึงทาให้เกิดปัญหาทางการตลาดเพราะแม้ว่าตลาดเห็ดของ ไทยจะกวา้ งขวางมากเพยี งใดกต็ าม แต่ตลาดทกุ ประเภทตอ้ งการเหด็ ทีม่ คี ุณภาพสูงมากด้วยเชน่ กัน ปัจจุบันการเพาะ เหด็ นับเป็นอาชีพที่ให้รายได้ดีไม่แพอ้ าชพี อ่ืนๆ ซึง่ หากมกี ารสารวจให้ดจี ะพบวา่ มีเกษตรกรและผู้สนใจเข้าสอู่ าชพี น้ีกนั เปน็ จานวนมาก นนั่ เปน็ เพราะตลาดแนน่ อน และเป็นสินคา้ เกษตรท่ใี ห้คุณคา่ ทางอาหารและประโยชนต์ ่อรา่ งกาย การสร้างเคร่ืองตีเชื้อเห็ดในครัวเรือนขนาดจิ๋วครั้งน้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือลดเวลาในการกระจายเช้ือเห็ดให้ ดกี ว่าวธิ ีเดมิ คือการใชแ้ รงงานคนซงึ่ จะทาใหเ้ กิดความลา่ ชา้ และเพ่ือทจ่ี ะทาใหก้ ารกระจายเชื้อเห็ดให้ได้ครั้งละมากๆ ดังน้ันจึงสร้างเคร่ืองกระจายเชื้อเห็ดเพ่ือลดปัญหาการใช้แรงงานคนในการกระจายเช้ือเห็ด เพิ่มรายได้และสามารถ นาไปประกอบอาชพี เสริมได้ และปัจจุบนั เหด็ ก็สามารถนาไปแปรรูปเพ่ือเพิ่มมูลค่าได้ 7.2 การสารวจเอกสารทเี่ กยี่ วข้องและการสบื คน้ สทิ ธิบตั รในผลงานท่คี ล้ายๆกัน หรือใกล้เคยี งกนั /ที่ เคยทาในอดีต ทง้ั ภายในประเทศและต่างประเทศ ๏ ข้าพเจ้าได้ทาการสารวจเอกสารทเ่ี ก่ียวข้องและการสืบค้นสิทธิบัตรในผลงานท่ีคล้ายๆ กัน หรือใกล้เคียงกัน / ทเี่ คยทาในอดตี ทัง้ ภายในประเทศและต่างประเทศ พบข้อมลู ดังน้ี ไม่พบเอกสารท่ีเก่ียวข้องและสิทธิบัตรในผลงานท่ีคล้ายๆกันหรือใกล้เคียงกันที่เคยทาในอดีต ทั้ง ภายในประเทศและตา่ งประเทศ แต่พบผลงานเครื่องตเี ช้ือเห็ดทงั้ ภายในประเทศและตา่ งประเทศ ส่วนใหญเ่ ป็นเครื่อง ที่ผลติ เพือ่ จาหน่าย เปน็ เคร่ืองทมี่ ีขนาดใหญเ่ หมาะสาหรับการเพาะเชื้อเห็ดที่เป็นธุรกิจขนาดใหญ่ ซึ่งเคร่ืองจะมีราคา สูงมาก จะไม่เหมาะกับการเพาะเห็ดในครัวเรือนในลักษณะความพอเพียงกล่าวคือเพาะเห็ดเพ่ือบริโภคภายใน ครอบครวั และถ้าเหลอื จากการบริโภคจึงนาไปจาหนา่ ย และท่ีพบ ได้มีการออกแบบสร้างเคร่ืองเพื่อตีเชื้อเห็ดแบบง่ายๆเพ่ือนามาใช้ในธุรกิจของตนเองและเป็น เคร่อื งทีข่ นาดเล็กใกล้เคียงกับผลงานของข้าพเจ้า น่นั คอื เครอื่ งตีเชื้อเห็ดของ ฟาร์มเห็ดเพชรพิจิตร จ.พิจิตร โดยให้

15 เหตผุ ลวา่ “การขย้ีเช้ือเห็ดแรงไปด้วยวิธีการต่างๆ มีผลต่อการเกิดดอกเห็ดหรือไม่ จากประสบการณ์ไม่ว่าจะขยี้เชื้อ เห็ดด้วยวิธีการใดๆมีผลอะไรกับการเพาะเห็ดฟางทุกวิธี ไม่ว่าจะใช้เคร่ืองตี ใช้มือ ใช้วิธีขูดกับท่ีป้ิงปลาสามารถใช้ได้ ทั้งหมด ดังนั้นเพ่ือเป็นการสะดวกในการทางาน ฟาร์มเห็ดเพชรพิจิตรได้ออกแบบเคร่ืองตีเชื้อเห็ดข้ึน โดยพัฒนามา จากเครอ่ื งบดน้าแขง็ ทใี่ ชก้ ันทว่ั ไป” ดงั ภาพ จากคาอธิบายและภาพด้านบน จะเห็นได้ว่าฟาร์มเห็ดเพชรพิจิตร ได้พัฒนาเครื่องตีเชื้อเห็ดจากเคร่ืองบด น้าแขง็ และสว่ นประกอบอื่นๆ ซึ่งตา่ งจากเครอ่ื งตเี ชอื้ เห็ดในครัวเรือนขนาดจิว๋ ของข้าพเจา้ ดังนี้ ตารางเปรียบเทยี บความแตกตา่ ง เร่อื งที่ เร่ือง เครื่องตเี ชอ้ื เหด็ ฟาร์มเหด็ เพชรพจิ ิตร เครอื่ งตีเช้อื เหด็ ในครวั เรือนขนาดจว๋ิ 1 โครงสร้างภายนอก ใช้เครื่องบดนา้ แข็ง ใช้ถงั แก๊ส(ชารุด) 2 มอเตอร์ มอเตอร์ติดมากับเครื่องบดน้าแข็ง มอเตอร์ป๊ัมน้า ขนาด 1/3 แรงม้า วางอย่ใู นแนวนอน วางในแนวตัง้ 3 ชอ่ งใสเ่ ชอื้ เห็ด เป็นช่องใส่นา้ แขง็ (เดิม) ใช้ท่อทรงกลมเชื่อมต่อกับถังแก๊ส และตดิ ต้งั ฝาปิดเพ่อื ความปลอดภัย 4 ช่องทางออกของเชือ้ เห็ด เป็นรางทางออกของเครื่องบด ใช้เป็นกรวยสแตนเลสเพื่อป้องกัน น้าแข็ง การกระจายของเช้อื เหด็ 5 ใบตี ใช้เหล็กเส้นกลมเช่ือมต่อกับแกนใบ ใช้เหล็กเส้นขนาด 2 หุน เช่ือมต่อ ตีในลักษณะสลับฟันปลา 4 ทิศทาง กับแกนใบตีในลักษณะเป็นรูป และนาแกนใบตียดึ กบั เพลามอเตอร์ กรวย 6 แฉก และนาแกนใบตียึด ในแนวนอน กบั เพลามอเตอรใ์ นแนวต้ัง

16 นอกจากนี้ ยังพบขอ้ มูลเครื่องตีก้อนเชื้อเห็ด ของวิทยาลัยการอาชีพสองพ่ีน้อง จ.สุพรรณบุรี ซึ่งเป็นภาพการ ประกวดส่ิงประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ ของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ระดับภาค เม่ือวันที่ 29 มกราคม 2554 แต่จากการสังเกตในภาพจะเห็นได้ว่าโครงสร้างเป็นเหล็กแผ่นรูปทรงลักษณะเป็นกล่องส่ีเหลี่ยม และท่ีสาคัญ มอเตอร์วางลักษณะในแนวนอน ซึ่งต่างจากเคร่ืองตีเชื้อเห็ดในครัวเรือนตามตารางเปรียบเทียบความแตกต่าง ที่ได้ กล่าวมาแล้ว 7.3 เอกสารอา้ งอิง/ข้อมูลอ้างอิง 1 เคร่ืองตีเชอื้ เห็ด ฟาร์มเห็ดเพชรพิจิตร (2557) : เป็นเครื่องท่ีใช้เครื่องบดน้าแข็งเก่ามาดัดแปลงเพื่อใช้ใน การตีเชื้อเห็ดฟาง โดยให้เหตุผลว่า “การขยี้เชื้อเห็ดแรงไปด้วยวิธีการต่างๆ มีผลต่อการเกิดดอกเห็ดหรือไม่ จาก ประสบการณ์ไม่วา่ จะขยเ้ี ชือ้ เหด็ ด้วยวธิ กี ารใดๆมผี ลอะไรกบั การเพาะเหด็ ฟางทกุ วธิ ี ไม่วา่ จะใช้เคร่อื งตี ใช้มือ ใชว้ ิธขี ูด กบั ท่ีปิ้งปลาสามารถใช้ไดท้ ัง้ หมด 2 เครื่องตีก้อนเชื้อเห็ด ของวิทยาลัยการอาชีพสองพ่ีน้อง จ.สุพรรณบุรี (2554): โครงสร้างเป็นเหล็กแผ่น รปู ทรงลกั ษณะเป็นกลอ่ งสเ่ี หล่ยี ม และทส่ี าคัญมอเตอร์วางลักษณะในแนวนอน ใช้มอเตอร์ขนาดใหญ่เพ่ือให้ก้อนเห็ด กระจายไดด้ ี 7.4 วตั ถปุ ระสงคใ์ นการประดิษฐ์ 1. เพ่อื ต้องการลดเวลาในกระจายเชือ้ เห็ด โดยศึกษาเปรยี บเทยี บเวลาทใี่ ชใ้ นการกระจายเชอื้ เห็ด ระหว่าง เครื่องตีเชือ้ เห็ดในครัวเรือนขนาดจวิ๋ กับการใชแ้ รงงานคน โดยทาการทดลองการกระจายเชื้อเห็ด คร้ังละ 5,10,15,20 ก้อน ตามลาดับ แลว้ บันทึกเวลาในการทดลองเพอ่ื เปรยี บเทยี บเวลา โดยใช้กล่มุ ตวั อยา่ งเป็นผู้ประกอบอาชีพเพาะเห็ด จานวน 5 คน 2. เพื่อเพ่ิมจานวนโรงเรือนในการเพาะเห็ดในขณะที่เวลาเท่าเดิม โดยศึกษาการประหยัดเวลาในการ กระจายเชื้อเห็ดเพื่อการเพาะเห็ดจานวน 1 โรง(กระจายเช้ือเห็ด 48 ก้อน)ของเคร่ืองตีเช้ือเห็ดในครัวเรือนขนาดจ๋ิว เปรียบเทียบกับการใช้เวลาในการกระจายเชื้อเห็ดเพ่ือการเพาะเห็ดจานวน 1 โรง โดยใช้แรงงานคน และใช้กลุ่ม ตวั อยา่ งเปน็ ผู้ประกอบอาชีพเพาะเหด็ จานวน 2 คน โดยทกี่ ลมุ่ ตัวอย่างจานวน 1 คน ทาการทดลองการกระจายเชื้อ เห็ดดว้ ยเครื่องตีเช้ือเห็ดในครัวเรือนขนาดจ๋ิว แล้วทาการเพาะเห็ดจานวน 1 โรง และกลุ่มตัวอย่างอีก 1 คน ทาการ ทดลองการกระจายเช้ือเห็ดด้วยแรงงานคนแล้วทาการเพาะเห็ดจานวน 1 โรง โดยทาการทดลองแล้วบันทึกเวลาใน การทดลองเพอ่ื เปรียบเทียบเวลา 3. เพื่อศกึ ษาความพงึ พอใจในการใช้งานเครอ่ื งตีเช้อื เห็ดในครัวเรือนขนาดจ๋ิว โดยใหก้ ลุ่มตัวอยา่ งนาเคร่ือง ตีเช้อื เห็ดในครวั เรือนขนาดจวิ๋ ไปทาการทดลองกระจายเชือ้ เห็ด กลมุ่ ตวั อยา่ งเป็นผู้ประกอบอาชพี เพาะเห็ด จานวน 5 คน จากน้ันทาการประเมินผลการใช้งานในแบบประเมิน และนาผลประเมินนั้นมาหาค่าเฉลี่ยและ ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน

17 7.5 ขั้นตอนการสร้างผลงานประดษิ ฐ์ เคร่ืองตีเช้ือเห็ดในครัวเรือนขนาดจ๋ิว ได้ออกแบบสาหรับจะใช้ประโยชน์ในการกระจายเช้ือเห็ดเพ่ือจะนาไป เพาะในโรงเพาะเหด็ และนาเห็ดไวบ้ รโิ ภคในครัวเรือน โดยการออกแบบเครอื่ งตีเช้ือเห็ดในครัวเรือนขนาดจ๋ิว ได้นาถัง แก๊สทีช่ ารุดนามาออกแบบเป็นโครงสร้าง การทางานของเคร่ืองใช้หลักการทางานโดยป้อนไฟกระแสสลับ(AC) 220 โวลท์ ใหก้ ับมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลับ(มอเตอรป์ ๊มั น้า) จากนั้นนาใบตีเช้ือเห็ดยดึ กับเพลาของมอเตอร์ และด้านล่างได้ เปิดช่องของถงั แกส๊ เพือ่ ใหเ้ ชือ้ เหด็ ท่ถี กู กระจายโดยใบตใี หห้ ลน่ ลงมาด้านล่าง โดยมขี ้นั ตอนการสร้างดังนี้ 1. ถงั แกส๊ (ชารุด) นามาออกแบบใหเ้ ปน็ โครงสรา้ ง โดยได้มีการเจาะรูด้านบนเพื่อสาหรับติดตั้งมอเตอร์ และเปิดช่องด้านล่างเพ่ือให้เช้ือเห็ดท่ีทาการกระจายแล้ว หลน่ ลงมา ถงั แก๊ส เจาะรดู า้ นบน เปิดช่องของถงั แกส๊ ดา้ นล่าง 2. ชอ่ งใส่เชื้อเหด็ ได้นาท่อทรงกลมให้มีความยาวมาเช่ือมต่อกับถังแก๊สและติดต้ังฝาปิดเพ่ือความปลอดภัย และตัดตรงปาก ทางเขา้ เพือ่ ใหส้ ามารถใส่เช้อื เห็ดได้สะดวกขึ้น ชอ่ งใส่เชือ้ เหด็ ฝาปดิ ช่องใสเ่ ช้ือเหด็

18 ตดิ ต้งั ฝาปดิ เขา้ กับช่องใส่เช้ือเห็ด 3. ติดต้ังมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 1 เฟส(มอเตอร์ปม๊ั นา้ ) เขา้ กบั ถงั แกส๊ 4. ใบตเี ชื้อเห็ด 5. แบรง่ิ รองรบั แกนใบตี ใบตี แกนใบตี ตดิ ตัง้ เพ่ือรองรับดา้ นลา่ งของแกนใบตี รูนอ๊ ตยึดกับขอบถงั แก๊สด้านลา่ ง รองรับแกนใบตี

19 6. กรวย ตดิ ตัง้ ไว้ดา้ นลา่ งสดุ โดยใชส้ ปรงิ ยดึ ไวก้ ับขอบถงั แก๊สด้านล่าง เพ่ือไม่ให้เช้อื เหด็ กระจาย หกู รวยยดึ กับขอบถังแก๊สดว้ ยสปรงิ 7. ขาตัง้ , สวทิ ช์เปดิ -ปดิ พร้อมปล๊กั และสายไฟ

20 7.6 ขอ้ มูลการทดสอบที่คาดว่าจะเกบ็ บนั ทึก (ถ้าม)ี ผลการทดสอบ ๏ ในการศึกษาเปรียบเทียบเวลาที่ใช้ในการกระจายเช้ือเห็ด ระหว่างเคร่ืองตีเช้ือเห็ดในครัวเรือนขนาดจิ๋ว กับการใช้แรงงานคน โดยทาการทดลองการกระจายเชื้อเห็ด ครั้งละ 5,10,15,20 ก้อน ตามลาดับ ใช้กลุ่มตัวอย่าง เป็นผู้ประกอบอาชพี เพาะเห็ด ตาบลนคิ มสร้างตนเอง อาเภอเมอื ง จงั หวดั ลพบรุ ี จานวน 5 คน แล้วบันทกึ เวลาในการ ทดลองเพือ่ เปรยี บเทยี บเวลาและบนั ทึกผลลงในตารางท่ี 1 ตารางท่ี 1 ตารางเปรยี บเทียบเวลาการกระจายเชื้อเห็ด ปรมิ าณและวิธีการกระจายเชอ้ื เหด็ จานวน 5 ก้อน จานวน 10 กอ้ น จานวน 15 ก้อน จานวน 20 ก้อน คนที่ ใชเ้ คร่ือง แรงงานคน ใชเ้ ครอ่ื ง แรงงานคน ใชเ้ ครอื่ ง แรงงานคน ใช้เคร่อื ง แรงงานคน เวลา(วินาที) เวลา(นาที) เวลา(วินาที) เวลา(นาที) เวลา(วินาที) เวลา(นาท)ี เวลา(วินาที) เวลา(นาท)ี 1 50 25 100 52 147 75 200 104 2 54 28 104 50 152 77 198 100 3 52 26 98 54 150 76 208 100 4 51 27 105 49 155 75 205 105 5 51 26 102 51 151 78 202 107 คา่ เฉล่ีย 51.6 26.4 101.8 51.2 151 76.2 202.6 103.2 จากตารางที่ 1 แสดงเวลาในการกระจายเชื้อเห็ด เพื่อศึกษาเปรียบเทียบเวลาที่ใช้ในการกระจายเช้ือเห็ด ระหว่าง เคร่อื งตเี ชื้อเหด็ ในครวั เรือนขนาดจวิ๋ กบั การใชแ้ รงงานคน แปรผล ดงั นี้ ◊ การกระจายเช้ือเห็ดจานวน 5 ก้อน โดยใช้เครื่องตีเช้ือเห็ดใช้เวลาเฉล่ีย 51.6 วินาที(0.86 นาที) และ แรงงานคนใช้เวลาเฉลีย่ 26.4 นาที แสดงว่าเคร่ืองตีเช้ือเห็ดในครัวเรือนใช้เวลาในการกระจายเช้อื เหด็ นอ้ ยกว่า ◊ การกระจายเชื้อเห็ดจานวน 10 ก้อน โดยใช้เคร่ืองตีเชื้อเห็ดใช้เวลาเฉลี่ย 101.8 วินาที(1.69 นาที)และ แรงงานคนใช้เวลาเฉลี่ย 51.2 นาที แสดงวา่ เคร่ืองตเี ชอื้ เห็ดในครวั เรอื นใช้เวลาในการกระจายเช้ือเหด็ นอ้ ยกว่า ◊ การกระจายเชื้อเห็ดจานวน 15 ก้อน โดยใช้เครื่องตีเช้ือเห็ดใช้เวลาเฉล่ีย 151 วินาที(2.52 นาที) และ แรงงานคนใช้เวลาเฉล่ีย 76.2 นาที แสดงวา่ เครื่องตีเชือ้ เห็ดในครัวเรือนใช้เวลาในการกระจายเชื้อเหด็ น้อยกว่า ◊ การกระจายเชื้อเห็ดจานวน 20 ก้อน โดยใช้เคร่ืองตีเช้ือเห็ดใช้เวลาเฉลี่ย 202.6 วินาที(3.38 นาที)และ แรงงานคนใช้เวลาเฉลี่ย 103.2 นาทีแสดงว่าเครื่องตเี ชอื้ เห็ดในครวั เรอื นใชเ้ วลาในการกระจายเชือ้ เหด็ นอ้ ยกว่า จากการทดลองพบว่า เครื่องตีเช้ือเห็ดในครัวเรือนใช้เวลาในการกระจายเช้ือเห็ด น้อยกว่า การใช้ แรงงานคนในการกระจายเช้ือเห็ด

21 ๏ ศึกษาการประหยัดเวลาในการกระจายเชื้อเห็ดเพื่อการเพาะเห็ดจานวน 1 โรง (กระจายเชื้อเห็ด 48 ก้อน) ของเคร่ืองตเี ชื้อเห็ดในครวั เรือนขนาดจวิ๋ เปรียบเทยี บกับการใช้เวลาในการกระจายเชือ้ เหด็ เพือ่ การเพาะเหด็ จานวน 1 โรง โดยใช้แรงงานคน ซึ่งใช้กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ประกอบอาชีพเพาะเห็ด จานวน 2 คน โดยที่กลุ่มตัวอย่างจานวน 1 คน ทาการทดลองการกระจายเชื้อเห็ดด้วยเครื่องตีเชื้อเห็ดในครัวเรือนขนาดจิ๋วแล้วทาการเพาะเห็ดจานวน 1 โรง และกลุ่มตวั อยา่ งอีก 1 คน ทาการทดลองการกระจายเชื้อเหด็ ด้วยแรงงานคนแลว้ ทาการเพาะเห็ดจานวน 1 โรง โดย ทาการทดลองแล้วบนั ทกึ เวลาในการทดลองเพ่ือเปรียบเทียบเวลา และบันทึกผลลงในตารางท่ี 2 ตารางท่ี 2 ตารางเปรียบเทยี บเวลาในการกระจายเชื้อเห็ดเพื่อการเพาะเห็ดจานวน 1 โรง ระหว่างเครื่องตีเช้ือเห็ดใน ครัวเรือนขนาดจิว๋ กบั แรงงานคน จานวนก้อน เวลา(วินาที) ท่ีเคร่ืองใช้ เวลา(นาที) ท่แี รงงานคนใช้ ในการกระจายเชอ้ื เห็ด ในการกระจายเช้ือเห็ด 1 10 5 5 50 25 10 100 (1.66 นาที) 50 15 150 (2.5 นาที) 75 20 200 (3.33 นาที) 100 25 250 (4.16 นาที) 125 30 300 (5 นาท)ี 150 35 350 (5.83 นาที) 175 40 400 (6.66 นาที) 200 48 480 (8 นาท)ี 240 หมายเหตุ 1. จากตารางเปรียบเทียบเวลา เวลาทเี่ ครอ่ื งใช้ในการกระจายเช้ือเห็ด เป็น วนิ าที และเวลาทแ่ี รงงานคน ใช้ในการกระจายเชอ้ื เหด็ เป็น นาที 2. เวลาทบ่ี ันทกึ ในการทดลอง จะรวมเวลาในการแกะห่อเชอ้ื เห็ดดว้ ย(หอ่ ละ ประมาณ 7 วินาท)ี จากตารางท่ี2 แสดงเวลาในการกระจายเชือ้ เหด็ เพอ่ื ศึกษาเปรียบเทียบเวลาท่ีใช้ในการกระจายเช้ือเห็ดเพื่อการเพาะ เห็ดจานวน 1 โรง(กระจายเชื้อเห็ด 48 ก้อน) ระหว่างเคร่ืองตีเช้ือเห็ดในครัวเรือนขนาดจ๋ิวกับแรงงานคน แปรผล ดังน้ี จากผลการทดลองเพื่อศึกษาการประหยัดเวลาในการกระจายเชื้อเห็ดเพื่อการเพาะเห็ด จานวน 1 โรง (กระจายเชื้อเห็ด 48 ก้อน) เพื่อเปรียบเทียบนั้น พบว่า เคร่ืองตีเชื้อเห็ดในครัวเรือนขนาดจิ๋ว ใช้เวลาในการกระจาย เช้ือเห็ดเป็นวินาที และแรงงานคนใช้เวลาในการกระจายเช้ือเห็ดเป็นนาที (จากผลดังแสดงในตารางที่ 2) กล่าวโดย สรุป หากใช้เครื่องตีเช้ือเห็ดในครัวเรือนขนาดจ๋ิวในการกระจายเช้ือเห็ด 48 ก้อน จะใช้เวลาประมาณ 480 วินาที(8 นาท)ี และหากใช้แรงงานคนในการกระจายเชอ้ื เหด็ 48 กอ้ น ใชเ้ วลาประมาณ 240 นาที ซ่ึงมีความแตกต่างในเร่ือง ของเวลาอยา่ งชดั เจนและเป็นประโยชนใ์ นการประกอบอาชีพเพาะเชอื้ เหด็

22 ๏ และจากผลในการศึกษาดังตารางท่ี 2 ทาให้เราพบว่าในการกระจายเชื้อเห็ดเพ่ือการเพาะเห็ดจานวน 1 โรง น้นั สง่ ผลใหเ้ กดิ ตารางเปรียบเทยี บเพอ่ื การประหยัดเวลาในการกระจายและเพาะเชื้อเหด็ จานวน 1 โรง ดังตารางท่ี 3 ตารางที่ 3 ตารางเปรยี บเทยี บเพ่อื การประหยดั เวลาในการกระจายและเพาะเช้ือเหด็ จานวน 1 โรง วิธกี าร เวลาในการกระจายเช้อื เหด็ เวลาในการเพาะเช้อื เหด็ จานวน 1 โรง (เชื้อเห็ด 48 กอ้ น) จานวน 1 โรง (เช้อื เหด็ 48 ก้อน) ใช้เครอื่ ง 480 วินาที (8 นาที) 1 วัน ใช้แรงงานคน 240 นาที 1 วนั จากตารางท่ี 3 แสดงเวลาในการกระจายเช้ือเห็ด(จากผลในตารางท่ี 2) และแสดงเวลาในการเพาะเชื้อเห็ด (ข้อมูลใน การเพาะเชื้อเห็ด ได้จากการศึกษากบั ผปู้ ระกอบอาชีพเพาะเชือ้ เหด็ ) จานวน 1 โรง พบว่า ในการกระจายเชื้อเห็ดเพ่ือการเพาะเห็ดจานวน 1 โรง(กระจายเชื้อเห็ด 48 ก้อน) โดยใช้เคร่ืองตีเชื้อ เห็ดในครวั เรอื นขนาดจิว๋ ใชเ้ วลาประมาณ 480 วนิ าที(8 นาที) และใช้แรงงานคน ใช้เวลาประมาณ 240 นาที และใน กระบวนการเพาะเห็ดในโรงเพาะเหด็ หลงั จากกระบวนกระจายเช้อื เหด็ เสร็จส้นิ แล้ว ผู้ประกอบอาชีพเพาะเหด็ จะต้อง นาเชื้อเห็ดท่ีกระจายแล้ว นาไปเพาะในโรงเพาะเห็ด ซ่ึงเมื่อเราพิจารณาตารางที่ 3 จะเห็นว่า ในการใช้แรงงานคน กระจายเชือ้ เหด็ ต้องใชเ้ วลา 1 วนั และในการเพาะเชอ้ื เหด็ ในโรงเพาะเห็ด ต้องใช้เวลาอกี 1 วนั รวมเป็น 2 วนั แต่หากเราใช้เครื่องตเี ชอ้ื เห็ดในครัวเรือนขนาดจ๋ิวกระจายเชื้อเห็ด ใช้เวลาประมาณ 480 วินาที(8 นาที) และ สามารถนาเชื้อเห็ดท่ีได้รับการกระจายแล้วน้ัน ทาการเพาะเชื้อเห็ดในโรงเพาะเห็ดได้เลยในวันเดียวกัน รวมเป็นใช้ เวลา 1 วนั สรุปว่า การใชเ้ ครอ่ื งตีเชือ้ เหด็ ในครวั เรือนขนาดจวิ๋ กระจายเชอ้ื เหด็ และเพาะเห็ด จานวน 1 โรง ใช้เวลา1 วัน (ในการใช้แรงงานคนกระจายเชอื้ เห็ดและเพาะเหด็ ต้องใช้เวลา 2 วัน) ทาให้เราทราบว่าในเวลาท่ีเท่ากัน เราสามารถ เพาะเห็ดเพม่ิ ได้อกี 1 โรง ซง่ึ เป็นการเพิม่ ผลผลติ และเพ่มิ รายได้ เป็นผลมาจากการใชเ้ คร่ืองตเี ช้อื เห็ดในครวั เรอื น ๏ ในการศึกษาความพงึ พอใจในการใช้งานเครอ่ื งตีเชอื้ เหด็ ในครัวเรือนขนาดจวิ๋ โดยให้กลุ่มตัวอย่างนาเครื่อง ตีเช้ือเหด็ ในครวั เรอื นขนาดจิ๋วไปทาการทดลองกระจายเชือ้ เห็ด กลุ่มตวั อยา่ งเปน็ ผู้ประกอบอาชีพเพาะเห็ด จานวน 5 คน จากนั้นทาการประเมินผลการใช้งานในแบบประเมินและนาผลประเมินน้ันมาหาค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน ดังตารางที่ 4 ตารางที่ 4 แบบประเมนิ ความความพงึ พอใจในการใช้งานเครอ่ื งตีเช้อื เห็ดในครวั เรอื นขนาดจวิ๋ ความพึงพอใจ X S.D. 1. ประหยดั เวลาในการทางาน 4.6 0.49 2. ลดคา่ ใชจ้ ่ายในการจ้างแรงงานคน 4.8 0.4 3. เช้ือเห็ดท่ีได้จากการกระจายมีความละเอียด 4.8 0.4 4. ปรมิ าณของผลผลติ เพ่มิ ขน้ึ 4.4 0.49 5. มคี วามสะดวกในการกระจายเชือ้ เห็ด 4.4 0.8 6. มีความปลอดภัยในการใช้งาน 4.17 0.69 7. สามารถนาไปประกอบอาชพี ได้ 4.6 0.49 8. การพฒั นาไปส่เู ชงิ พาณชิ ยแ์ ละอตุ สาหกรรม 4.3 0.59 คา่ เฉลีย่ 4.5 0.23

23 จากตารางที่ 4 ผลการวิเคราะหป์ รากฏดังนี้ จากการประเมินความพึงพอใจในการใช้งานเคร่ืองตีเชื้อเห็ดในครัวเรือนขนาดจิ๋ว ได้ผลการวิเคราะห์ดังนี้ ประหยัดเวลาในการทางาน มีค่าเฉล่ีย( ) เท่ากับ 4.6 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D.) เท่ากับ 0.49 แสดงว่าผู้ใช้งานมี ความพึงพอใจในระดบั มากทส่ี ุด ลดค่าใชจ้ ่ายในการจา้ งแรงงานคน มคี ่าเฉล่ีย( ) เท่ากบั 4.8 ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) เทา่ กบั 0.4 แสดงว่าผู้ใชง้ านมคี วามพงึ พอใจในระดบั มากท่ีสุด เช้อื เหด็ ทไ่ี ดจ้ ากการกระจายมีความละเอยี ด มี ค่าเฉลี่ย( ) เท่ากับ 4.8 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน(S.D.) เท่ากับ 0.4 แสดงว่าผู้ใช้งานมีความพึงพอใจในระดับ มากที่สุด ปริมาณของผลผลิตเพิ่มข้ึน มีค่าเฉลี่ย( ) เท่ากับ 4.4 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน(S.D.) เท่ากับ 0.49 แสดงว่าผู้ใช้งานมี ความพงึ พอใจในระดบั มาก มีความสะดวกในการกระจายเชื้อเห็ด มีค่าเฉล่ีย( ) เท่ากับ 4.4 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.8 แสดงว่าผู้ใช้งานมีความพึงพอใจในระดับ มาก มีความปลอดภัยในการใช้งาน มีค่าเฉล่ีย( ) เท่ากบั 4.17 คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน(S.D.) เทา่ กับ 0.69 แสดงว่าผใู้ ชง้ านมีความพึงพอใจในระดบั มาก สามารถนาไป ประกอบอาชพี ได้ มคี ่าเฉลย่ี ( ) เท่ากบั 4.6 คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D.) เท่ากับ 0.49 แสดงวา่ ผใู้ ชง้ านมีความพงึ พอใจ ในระดับ มากท่ีสุด การพัฒนาไปสู่เชิงพาณิชย์และอุตสาหกรรม มีค่าเฉล่ีย( ) เท่ากับ 4.3 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.59 แสดงวา่ ผู้ใช้งานมีความพงึ พอใจในระดบั มาก และจากผลการประเมนิ คา่ เฉล่ยี ( )ทุกๆดา้ นเทา่ กับ 4.5 และค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน(S.D.)เท่ากบั 0.23 8. ผลงานประดษิ ฐ์น้ี มคี วามโดดเด่นกวา่ ผลงานประดษิ ฐอ์ น่ื ที่เคยมมี าก่อนอย่างไร (ตามทีส่ ืบคน้ จากข้อ 7.2) ความโดดเดน่ (เฉพาะตัว) 1. เครื่องตีเชื้อเห็ดในครัวเรือนใช้เวลาในการกระจายเช้ือเห็ด น้อยกว่า การใช้แรงงานคนในการกระจาย เช้ือเห็ด (สง่ ผลให้ ประหยดั คา่ ใชจ้ ่ายแรงงาน เพิม่ ผลผลติ เพม่ิ รายได้) 2. การใช้เครอื่ งตีเชื้อเห็ดในครัวเรือนขนาดจ๋ิว เพื่อการกระจายเชื้อเห็ดและเพาะเห็ด จานวน 1 โรง จะใช้ เวลานอ้ ยกวา่ การใชแ้ รงงานคนเป็นเวลา 1 วัน ซง่ึ เปน็ การเพ่มิ ผลผลติ และเพมิ่ รายได้ เปน็ ผลมาจากการใช้เคร่ืองตีเชื้อ เห็ดในครวั เรอื นขนาดจิว๋ ความแปลกใหมห่ รอื กลไกการทางานท่แี ตกตา่ งจากวธิ กี ารเดิม(ของชาวบา้ น) ในกระบวนการกระจายเชื้อเห็ดที่ได้ศึกษามา มีวิธีการเดิมในการกระจายเชื้อเห็ด 2 แบบคือ การกระจาย เช้อื เหด็ ดว้ ยมือและการกระจายเช้อื เห็ดด้วยเครื่อง ซ่ึงในการกระจายด้วยมือเป็นวิธีการท่ีผู้เพาะเชื้อเห็ดใช้โดยทั่วไป กล่าวมอื ใช้มอื ขยแ้ี ละตอ่ มาใชเ้ ช้อื เห็ดถกู บั ตะแกรง(2 วธิ นี ้ี เรียกวา่ วธิ ใี ช้มือ) และวธิ ใี ช้เครื่องท่ีมีใช้อยู่ จะมีการใช้กับ ผู้เพาะเชอื้ เห็ดทม่ี ีโรงเรอื นเพาะเช้ือเห็ดจานวนมาก(20 โรงเรือนขนึ้ ไป) เนอ่ื งจากเครื่องมีขนาดใหญ่และราคาแพง ดังนั้น จึงได้คิดออกแบบและสร้างเคร่ืองตีเช้ือเห็ดในครัวเรือนขนาดจิ๋ว โดยนาวัสดุท่ีเป็นถังแก๊สหุงต้มท่ี ชารุดแล้ว นากลับมาใช้เป็นโครงสร้างในการสร้างเคร่ืองตีเชื้อเห็ดในครัวเรือนขนาดจ๋ิว ทาให้มีรูปร่าง เล็ก กะทัดรัด เคลือ่ นยา้ ยสะดวก และเมื่อนามาทาการกระจายเชื้อเห็ดทาให้เกิดประสิทธิผลท่ีดี คือผลของกระจายมีความละเอียด และไดผ้ ลผลิตจานวนเพิ่มขึ้น(เมื่อเทียบกับการใช้มือ) และในการใช้งานเครื่องตีเช้ือเห็ดในครัวเรือนขนาดจ๋ิวสามารถ กระจายเชื้อเห็ดได้อย่างต่อเนื่องทาให้มีประสิทธิภาพที่ดี เนื่องจากในการกระจายเชื้อเห็ดได้นามามอเตอร์ปั๊มน้ามา เปน็ ตัวต้นกาลังเพื่อเชือ่ มต่อกับใบตี ซ่งึ ใบตีได้มกี ารออกแบบโดยใชเ้ หล็กเส้นขนาด 2 หุน ที่ได้มีการออกแบบมุมของ ใบตใี หเ้ กดิ การกระจายเชือ้ เหด็ ท่ีมคี วามละเอียด

24 มคี วามโดดเดน่ กวา่ ผลงานประดิษฐอ์ น่ื ท่ีเคยมมี ากอ่ น (ตามทส่ี ืบค้นจากข้อ 7.2) ตามท่ไี ด้กล่าวมาแล้วในข้อท่ี 7.2 ผลงานเครื่องตีเชื้อเห็ดในครัวเรือนขนาดจ๋ิว มีความแตกต่างจากผลงาน ประดษิ ฐ์ ท่ีเคยมมี าก่อนตามตารางเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งที่ไดแ้ สดงไว้แล้ว นอกจากนี้ความโดดเดน่ ทเ่ี ห็นไดอ้ ย่าง ชดั เจนคอื การกระจายเชอ้ื เหด็ ในแตล่ ะกอ้ นใชเ้ วลาในการกระจายนอ้ ยมาก กล่าวคือในการกระจายเช้ือเห็ด 1 ก้อนใช้ เวลาในการกระจายประมาณ 3 วินาที(ในกรณีได้แกะเชอ้ื เหด็ ออกจากห่อพลาสตกิ แลว้ แตใ่ นกระบวนการกระจายเชื้อ เห็ดปกติทั่วไป ต้องรวมเวลาในการแกะห่อพลาสติกออกจากเช้ือเห็ดทุกๆก้อน ซ่ึงในการกระบวนการนี้จะใช้เวลาใน การกระจายเช้ือเหด็ ประมาณ 10 วินาทตี ่อ 1 ก้อน) นอกจากนี้เครื่องตีเช้ือเห็ดในครัวเรือนขนาดจิ๋วสามารถกระจาย เชื้อเห็ดทาให้เกิดประสิทธิผลที่ดีคือผลของกระจายมีความละเอียดและได้ผลผลิตจานวนเพ่ิมขึ้น และยังสามารถทา การกระจายเช้ือเหด็ ไดอ้ ยา่ งต่อเน่อื งทาใหม้ ีประสิทธิภาพท่ดี ี 9. คุณค่าของผลงานประดษิ ฐ์ ที่สามารถนาไปต่อยอดเปน็ นวัตกรรมได้ (ในแง่อาชีพหรือเชิงพาณชิ ย์) เครื่องตีเชื้อเห็ดในครัวเรือนขนาดจ๋ิวใช้เวลาในการกระจายเชื้อเห็ด น้อยกว่า การใช้แรงงานคนในการ กระจายเช้ือเห็ด กล่าวคือเคร่ืองตีเช้ือเห็ดในครัวเรือนขนาดจ๋ิวสามารถลดเวลาในกระจายเชื้อเห็ด ซ่ึงจะส่งผลให้ สามารถกระจายปริมาณเชอื้ เห็ดไดม้ ากข้ึนเมื่อเทยี บกบั เวลา นอกจากน้ี จากการศึกษาเรื่องการกระจายเชื้อเห็ดเพื่อการเพาะเห็ดในโรงเรือนจานวน 1 โรง ต้องทาการ กระจายเชื้อเห็ดจานวน 48 ก้อน เครื่องตีเช้ือเห็ดในครัวเรือนขนาดจ๋ิวใช้เวลาในการกระจายเช้ือเห็ดเป็นวินาที และ แรงงานคนใชเ้ วลาในการกระจายเช้ือเห็ดเป็นนาที ซึ่งในการทดลองหากใช้เครื่องตีเชื้อเห็ดในครัวเรือนขนาดจิ๋วใน การกระจายเช้ือเหด็ 48 กอ้ น จะใชเ้ วลาประมาณ 480 วินาที(8 นาที) และหากใช้แรงงานคนในการกระจายเชื้อเห็ด 48 ก้อน ใช้เวลาประมาณ 240 นาที ซ่ึงมีความแตกต่างในเร่ืองของเวลาอย่างชัดเจนและเป็นประโยชน์ในการ ประกอบอาชพี เพาะเชอ้ื เห็ด ผลก็คอื ในกระบวนการเพาะเหด็ ในโรงเพาะเหด็ หลังจากกระบวนกระจายเช้ือเห็ดเสร็จส้ินแล้ว ผู้ประกอบ อาชีพเพาะเห็ดจะต้องนาเชื้อเห็ดที่กระจายแล้วนาไปเพาะในโรงเพาะเห็ด ซ่ึงเม่ือเราพิจารณาจะเห็นว่าในการใช้ แรงงานคนกระจายเชอ้ื เหด็ ต้องใช้เวลา 1 วนั และในการเพาะเช้ือเห็ดในโรงเพาะเห็ด ต้องใช้เวลาอีก 1 วัน รวมเป็น 2 วัน แต่หากเราใช้เครื่องตีเช้ือเห็ดในครัวเรือนขนาดจิ๋วกระจายเชื้อเห็ด ใช้เวลาประมาณ 480 วินาที(8 นาที) และสามารถนาเชอ้ื เหด็ ทีไ่ ดร้ ับการกระจายแลว้ น้ัน ทาการเพาะเช้ือเหด็ ในโรงเพาะเหด็ ไดเ้ ลยในวนั เดียวกัน รวมเป็นใช้ เวลา 1 วนั ซึง่ จะเป็นประโยชน์ด้านการเกษตร ในเรื่องการการประหยัดเวลา,ในเร่ืองการอานวยความสะดวก,การลด การใชจ้ า่ ยในการจา้ งแรงงานคน และทส่ี าคญั สามารถเพมิ่ ผลผลติ และสง่ ผลให้มีการเพม่ิ รายได้

25 10. วสั ดอุ ุปกรณ์ท่ใี ชใ้ นการประดษิ ฐ์ จานวน ราคา(บาท) รายการวสั ดอุ ุปกรณ์ 1 ตัว 4,500 1 ถงั 1,000 ที่ รายการ 2 เสน้ 540 2 เส้น 540 1 มอเตอร์เอซี ขนาด 1/3 แรงม้า 1 เส้น 370 2 ถงั แก๊ส(ชารดุ ) 2 ตลับ 500 3 เหล็กแปป๊ กลมดา Ø 25 มม. 2 กระป๋อง 340 4 เหลก็ ฉาก 1 นิว้ 2 กระป๋อง 340 5 เหลก็ เพลา Ø 20 มม. 2 กระป๋อง 340 6 ตลับลูกปนื 1 ถัง 380 7 สนี ้ามนั สีดา 4เสน้ 400 8 สีน้ามนั สเี ขียว 1ตัว 450 9 สนี า้ มนั สเี ทา 1ตวั 300 10 น้ามนั สน 10,000 11 เหล็กเพลา ø 2หุน 12 เบรกเกอร์ 13 สวิทซ์ ปดิ เปดิ รวม 11. งบประมาณทีใ่ ชใ้ นการประดษิ ฐค์ ิดค้น จานวนเงิน.....10,000........บาท 12. กลุม่ เปา้ หมายที่คาดว่าจะนาผลงานสงิ่ ประดิษฐ์ไปใช้ประโยชน์(Stakeholder) กลุ่มเป้าหมายที่คาดว่าจะนาผลงานไปใช้ประโยชน์เป็นกลุ่มเกษตรกรท่ีประกอบอาชีพปลูกเห็ดฟาง คือ เกษตรกรผปู้ ระกอบอาชีพปลูกปลกู เหด็ ฟาง หมูท่ ี่ 2 ต.ท้ายตลาด อ.เมอื ง จ.ลพบุรี และพนื้ ที่ใกลเ้ คียง 13. กรณีสิง่ ประดิษฐท์ เี่ ขา้ รว่ มประกวดครง้ั นี้เคยได้รับรางวลั จากสานักงานคณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาติ (ว.ช) มากอ่ นให้ระบสุ ่วนท่พี ัฒนาตอ่ ยอดหรอื ปรับปรุงจากเดิม เคร่อื งตเี ชอ้ื เหด็ ในครวั เรือนขนาดจิ๋วน้ี ได้พัฒนาตอ่ ยอดจากเคร่ืองตีเชื้อเห็ดในครัวเรือนซ่ึงเคร่ืองเดิมน้ัน มีน้าหนักมากยากต่อการขนย้าย จากการที่นาเคร่ืองตีเช้ือเห็ดในครัวเรือนไปให้ผู้ปลูกเห็ด ฟางใช้และตอบ แบบสอบถามและ ไดม้ ขี ้อเสนอแนะให้ทาใหเ้ ครื่องมขี นาดเลก็ ลงเพอ่ื งา่ ยต่อการขนย้ายโดยท่ขี นย้ายคนเดยี วได้สะดวก ส่วนที่เครื่องตีเช้ือเห็ดในครัวเรือนขนาดจ๋ิวนี้พัฒนาคือ 1.มีน้าหนักเบาสามารถเคล่ือนย้ายคนเดียวได้ 2.ใช้สวิทซ์ ควบคุมที่มีความปลอดภัย 3. ประหยัดพลังงานไฟฟ้ามากเพราะมีขนาดมอเตอร์เล็กกว่าเดิม 4.สามารถกระจายเช้ือ เห็ดไดม้ ากขึ้น เพราะใบตเี ชื้อเหด็ มขี นาดเลก็ ลงจึงทาให้การกระจายเชอ้ื เหด็ ได้ดีกว่า การกระจายได้ละเอียดมากจะทา ใหไ้ ด้ผลผลิตเพ่ิมมากขนึ้

26 การพัฒนาตอ่ ยอดและปรบั ปรุงจากเดมิ “เครือ่ งตีเช้ือเห็ดในครวั เรือน” เคร่อื งตเี ชื้อเหด็ ในครัวเรอื น เคร่ืองตเี ช้ือเหด็ ในครวั เรอื นขนาดจว๋ิ 1. มนี า้ หนักของเครื่องตีเช้อื เหด็ ในครวั เรือน 1. มีนา้ หนกั ของเครื่องตเี ช้ือเห็ดในครวั เรือนขนาด 51 กก. ความสงู 112 ซม. จิ๋ว 13.2 กก. ความสงู 85 ซม. ซงึ่ มีนา้ หนักมากเคลื่อนย้ายไม่สะดวก ซง่ึ มีนา้ หนกั น้อยมากกว่าเครอื่ งตเี ช้อื เหด็ ใน ครัวเรือนแบบเดิม จงึ ทาใหเ้ คลือ่ นยา้ ยสะดวก 2. ใชส้ วิทซค์ วบคมุ ท่ีมีความปลอดภัยของเคร่อื งตี 2. ใช้สวิทซ์ควบคุมทมี่ ีความปลอดภยั ของเครื่องตี เช้ือเหด็ ในครัวเรอื น เชอ้ื เหด็ ในครวั เรือนขนาดจวิ๋ 1. สวิทชป์ ดิ -เปิด 1. สวิทชป์ ิด-เปิด สวทิ ช์ฉกุ เฉนิ 2. สวิทช์เบรกเกอร์ 2. สวิทช์เบรกเกอร์ 3. สวิทชฉ์ กุ เฉนิ เมื่อเกิดเหตฉุ ุกเฉนิ ใหป้ ดิ ไปทสี่ วติ ชฉ์ กุ เฉิน (Emergency switch)

27 เคร่อื งตเี ช้ือเหด็ ในครัวเรอื น เครื่องตีเชื้อเหด็ ในครวั เรือนขนาดจวิ๋ 3. อันตราการใช้ไฟฟ้าของเครื่องตีเชื้อเห็ดใน 3. อันตราการใช้ไฟฟ้าของเคร่ืองตีเชื้อเห็ดใน ครัวเรือน มากกว่าของเคร่ืองตีเชื้อเห็ดใน ครัวเรือนขนาดจิ๋ว น้อยกว่าของเครื่องตีเชื้อเห็ด ครัวเรือนขนาดจ๋ิวซ่ึงมีขนาดมอเตอร์ใหญ่กว่า ในครัวเรือนซึ่งมีขนาดมอเตอร์เล็กกว่าจึงทาให้ จึงทาให้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย ขนาดมอเตอร์) ส้ินเปลืองค่าใช้จ่ายน้อยกว่าเดิม (ขนาดมอเตอร์ 1/3 HP( 1/4 HP) 4. ใบตเี ชื้อเห็ดแบบเดิมมคี วามถข่ี องใบตี 6 ซ่ี 4. ใบตีเช้ือเห็ดแบบพัฒนาขึ้นมาใหม่มีความถี่ ของใบตี 8 ซ่ี จึงทาให้เช้ือเห็ดกระจายได้ ละเอียดมากกว่าเดิมจึงทาให้ได้ผลผลิตเพ่ิมมาก ขนึ้

28 ลงชอ่ื .......................................................หัวหน้าผปู้ ระดษิ ฐ์ (นายสิวะ ตรสี รุ ิยา) วันที่....1....เดือน...ธันวาคม.....พ.ศ.2559 ลงชอ่ื ......................................................ผรู้ ว่ มประดษิ ฐ์ (นายสายชล วิสทุ ธ์ิ) วนั ที.่ ...1....เดอื น...ธนั วาคม.....พ.ศ.2559 ลงชือ่ ....................................................อาจารย์ท่ปี รกึ ษา(หัวหนา้ ) (นายสนธยา นุตระ) วนั ท.่ี ...1....เดอื น...ธนั วาคม.....พ.ศ.2559 ลงช่อื ....................................................อาจารยท์ ่ปี รกึ ษา (นายสุรเดช เติมเจิม) วนั ที่....1....เดอื น...ธันวาคม.....พ.ศ.2559

29 โปรดจดั สง่ รายงานสง่ิ ประดิษฐ์และนวตั กรรมสายอาชีวศกึ ษา จานวน ๑๕ ชดุ + CD ๑ แผ่น ภายในวนั ท่ี ๑ ธันวาคม ๒๕๕๙ สง่ ถึง ฝ่ายจัดการความร้กู ารวิจัย กองประเมินผลและจัดการความรู้การวิจยั สานกั งานคณะกรรมการวจิ ัยแห่งชาติ (วช.) ๑๙๖ ถนนพหลโยธนิ เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพฯ ๑๐๙๐๐ (รายงานสิ่งประดษิ ฐ์สายอาชีวศกึ ษา ภาคกลางและภาคตะวนั ออก)