Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การแสดงพื้นเมือง

การแสดงพื้นเมือง

Published by กัญณิฐาพัช บัวแก้ว, 2021-09-12 05:44:53

Description: การแสดงพื้นเมือง

Search

Read the Text Version

ความหมายของการแสดงพื้นเมอื ง เป็นการแสดงนาฏศลิ ปท์ แ่ี สดงออกถึงการสืบทอดทางศิลปะและวัฒนธรรมของแตล่ ะทอ้ งถิ่นท่มี ีการสร้างสรรค์ สบื ทอดกันมาชา้ นานตั้งแต่สมยั อดีตจนถงึ ปจั จุบนั ปัจจัยท่ีทำให้กำรแสดงพืน้ เมืองแต่ละภำคแตกตำ่ งกัน สภาพทาง อาชพี ขนบธรรมเนยี ม ภมู ิศาสตร์ สง่ิ แวดลอ้ ม ประเพณี สภาพ อปุ นสิ ัยของ ภูมอิ ากาศ ประชาชนใน ท้องถิน่

การแสดงพนื้ เมอื งแบง่ ออกเป็น 4 ภาค ภาคอีสาน ภาคเหนอื ภาคกลาง ภาคใต้

เป็นศิลปะการรา และการละเล่น หรือท่ีนิยมเรียกกันทั่วไปว่า “ฟ้อน” มีลีลาท่าราที่แช่มช้า อ่อนช้อย มีการแต่งกายตามวัฒนธรรมท้องถ่ินท่ีสวยงาม โอกาสทแ่ี สดงมักเลน่ กนั ในงานประเพณี หรือต้อนรบั แขกบ้านแขกเมอื ง การแสดงพืน้ เมืองภาคเหนือ ได้แก่ ฟอ้ นเลบ็ ฟอ้ นเทยี น ฟ้อนที ฟ้อนผาง ภาคเหนอื จากสภาพภูมิประเทศที่อุดมไปด้วยป่า มีทรัพยากรมากมาย มีอากาศหนาวเย็น ประชากร มอี ปุ นสิ ยั เยอื กเย็น นุม่ นวล งดงาม รวมทั้งกิริยา การพูดจา มสี าเนยี งน่าฟัง จึงมอี ิทธิพลทา ให้เพลงดนตรีและการแสดง มีท่วงทานองช้า เนบิ นาบ นุม่ นวล ตามไปด้วย

ตัวอยา่ งการแสดงพ้นื เมืองภาคเหนอื ฟอ้ นเทียน ฟอ้ นเล็บ ฟอ้ นเง้ยี ว ฟอ้ นที ฟอ้ นผาง

ตัวอย่างเครื่องดนตรีทใ่ี ชใ้ นการแสดงพื้นเมอื งภาคเหนอื ซงึ กลองสะบดั ชยั พิณเพยี ะ ป่ีแน ปจ่ี ุม สะล้อ

ภาคกลางมีภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีแม่น้าหลายสาย เหมาะแก่การทานา ทาสวน การท่ีประชาชนอยู่อย่างอุดมสมบูรณ์ จึงมีการเล่นร่ืนเริงในโอกาสต่าง ๆ มากมาย ทั้งตามฤดูกาล ตามเทศกาล และตามโอกาสที่มีงานร่นื เริง ภาคกลาง ศิลปะการราและการละเล่นของชนชาวพื้นบ้านภาคกลาง ซ่ึงส่วนใหญ่มีอาชีพเกี่ยวกับ เกษตรกรรม ศิลปะการแสดงจึงมีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตและเพื่อความบันเทิงสนุกสนาน เป็นการพักผ่อนหย่อนใจจากการทางาน หรือเม่ือเสร็จจากเทศกาลฤดูเก็บเกี่ยว เช่น การเล่นเพลง เก่ียวข้าว เตน้ การาเคยี ว ราโทนหรือราวง ราเถิดเทงิ หรือรากลองยาว เป็นต้น

ตัวอย่างการแสดงพ้นื เมอื งภาคกลาง เตน้ การาเคยี ว ราโทน รากลองยาว เพลงอแี ซว เพลงฉอ่ ย

ตวั อยา่ งเครอ่ื งดนตรที ่ใี ช้ในการแสดงพ้ืนเมืองภาคกลาง ระนาดเอก ฉ่ิง กรับ ตะโพน ขลุ่ย กลองยาว

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอสี าน) ลักษณะพ้ืนที่โดยทั่วไปของภาคอีสานเป็นท่ีราบสูง มีแหลง่ น้าจาก แม่น้าโขง แบ่งตามลักษณะของสภาพความเป็นอยู่ ภาษาและขนบธรรมเนียมประเพณีที่แตกต่างกัน ประชาชนมีความเชื่อในทางไสยศาสตร์มีพิธีกรรมบูชาภูติผีและสิ่งศักด์ิสิทธ์ิ การแสดงจึงเกี่ยวข้องกับ ชีวติ ประจาวนั และสะทอ้ นให้เหน็ ถึงการประกอบอาชีพและความเป็นอยไู่ ด้เป็นอยา่ งดี ภาคอีสาน การแสดงของภาคอีสานเรียกว่า เซิ้ง เป็นการแสดงท่ีค่อนข้างเร็ว กระฉับกระเฉง สนุกสนาน เช่น เซ้ิงกระติ๊บข้าว เซิ้งโปงลาง เซ้ิงกระหยัง เซ้งิ สวิง เซิง้ แหยไ่ ขม่ ดแดง เปน็ ตน้ นอกจากนย้ี ังมฟี อ้ น เช่น ฟ้อนภูไท ฟอ้ นกลองยาว เปน็ ตน้

ตวั อย่างการแสดงพน้ื เมอื งภาคอีสาน เซ้งิ สวงิ เซง้ิ โปงลาง เซ้งิ แหยไ่ ขม่ ดแดง ฟ้อนกลองยาว ฟ้อนภไู ท

ตัวอย่างเครอ่ื งดนตรที ่ีใช้ในการแสดงพ้นื เมืองภาคอีสาน โปงลาง แคน พณิ กลองหาง (ชุด) กลองกันตรมึ โหวด ซอกนั ตรมึ

ภาคใต้ เป็นดินแดนท่ีติดทะเลท้ังฝั่งตะวันตกและตะวันออก ทางด้านใต้ติดกับมลายู ทาให้รับวัฒนธรรมของมลายูมาบ้าง และมีขนบประเพณีวัฒนธรรมและบุคลิก บางอย่างคล้ายคลึงกัน คือ พูดเร็ว อุปนิสัยว่องไว ตัดสินใจรวดเร็วเด็ดขาด รวมท้ัง การแต่งกาย เพลง และดนตรีก็มีลกั ษณะที่คลา้ ยกนั ภาคใต้ ศิลปะการราและการละเล่นของชาวพ้ืนบ้านภาคใต้ อาจแบ่งตามกลุ่มวัฒนธรรมได้ 2 กลุ่มคือ วัฒนธรรมไทยพุทธ ได้แก่ การแสดงโนรา หนังตะลุง เพลงบอก เพลงนา และวัฒนธรรมไทย มสุ ลิม ได้แก่ รองเง็ง ซมั เปง็ มะโย่ง (การแสดงละคร) ลิเกฮูลู (คล้ายลเิ กภาคกลาง) ภายหลังได้มีระบาท่ีปรับปรุงจากกิจรรมในวิถีชีวิต ศิลปาชีพต่าง ๆ เช่น ระบาร่อนแร่ กรีดยาง ปาเตะ๊ เป็นต้น

ตวั อย่างการแสดงพนื้ เมอื งภาคใต้ โนรา ลิเกฮูลู รองเงง็ ระบารอ่ นแร่ หนังตะลุง

ตัวอย่างเคร่ืองดนตรที ่ใี ชใ้ นการแสดงพ้นื เมอื งภาคใต้ โหมง่ รามะนา แตระพวงหรอื กรับพวง กลองทบั ป่ี กลองโนรา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook