หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน 2551 ความนา กระทรวงศึกษาธิการไดป้ ระกาศใชห้ ลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๔ ให้เป็ น หลกั สูตรแกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอบ ทิศทางในการพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียนให้เป็ นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีดความสามารถ ในการแข่งขันในเวทีระดบั โลก (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๔) พร้อมกนั น้ีไดป้ รับกระบวนการพฒั นา หลกั สูตรให้มีความสอดคลอ้ งกบั เจตนารมณ์แห่งพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และ ท่ีแกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ที่มุ่งเน้นการกระจายอานาจทางการศึกษาให้ท้องถ่ินและ สถานศึกษาได้มีบทบาทและมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพ และ ความตอ้ งการของทอ้ งถ่นิ (สานกั นายกรัฐมนตรี, ๒๕๔๒) จากการวิจยั และติดตามประเมินผลการใชห้ ลกั สูตรในช่วงระยะ ๖ ปี ที่ผ่านมา (สานักวิชาการ และมาตรฐานการศึกษา, ๒๕๔๖ ก., ๒๕๔๖ ข., ๒๕๔๘ ก., ๒๕๔๘ ข.; สานักงานเลขาธิการสภา การศึกษา, ๒๕๔๗; สานักผูต้ รวจราชการและติดตามประเมินผล, ๒๕๔๘; สุวิมล ว่องวาณิช และ นงลกั ษณ์ วิรัชชัย, ๒๕๔๗; Nutravong, ๒๐๐๒; Kittisunthorn, ๒๐๐๓) พบว่า หลกั สูตรการศึกษา ข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๔๔ มีจุดดีหลายประการ เช่น ช่วยส่งเสริมการกระจายอานาจทางการศึกษา ทาให้ท้องถิ่นและสถานศึกษามีส่วนร่วมและมีบทบาทสาคญั ในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้อง กบั ความตอ้ งการของทอ้ งถ่ิน และมีแนวคิดและหลกั การในการส่งเสริมการพฒั นาผูเ้ รียนแบบองคร์ วม อย่างชดั เจน อยา่ งไรก็ตาม ผลการศึกษาดงั กล่าวยงั ไดส้ ะทอ้ นให้เห็นถึงประเด็นท่ีเป็นปัญหาและความ ไม่ชัดเจนของหลักสูตรหลายประการท้ังในส่วนของเอกสารหลักสูตร กระบวนการนาหลักสูตร สู่การปฏิบัติ และผลผลิตท่ีเกิดจากการใช้หลกั สูตร ไดแ้ ก่ ปัญหาความสับสนของผูป้ ฏิบัติในระดับ สถานศึกษาในการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา สถานศึกษาส่วนใหญ่กาหนดสาระและผลการเรียนรู้ ที่คาดหวงั ไวม้ าก ทาให้เกิดปัญหาหลกั สูตรแน่น การวดั และประเมินผลไม่สะทอ้ นมาตรฐาน ส่งผลต่อ ปัญหาการจดั ทาเอกสารหลกั ฐานทางการศึกษาและการเทียบโอนผลการเรียน รวมท้งั ปัญหาคุณภาพ ของผเู้ รียนในดา้ นความรู้ ทกั ษะ ความสามารถและคุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงคอ์ นั ยงั ไม่เป็นทีน่ ่าพอใจ นอกจากน้ันแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐ ( พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔) ได้ช้ีให้เห็นถึงความจาเป็ นในการปรับเปล่ียนจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพคนในสังคมไทยให้ มี คุณธรรม และมีความรอบรู้อย่างเท่าทัน ให้มีความพร้อมท้ังด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และ ศีลธรรม สามารถกา้ วทนั การเปล่ียนแปลงเพอื่ นาไปสู่สังคมฐานความรู้ไดอ้ ยา่ งมน่ั คง แนวการพฒั นาคน ดงั กล่าวม่งุ เตรียมเด็กและเยาวชนให้มพี ้ืนฐานจิตใจท่ีดีงาม มีจิตสาธารณะ พร้อมท้งั มีสมรรถนะ ทกั ษะ และความรู้พ้ืนฐานท่ีจาเป็ นในการดารงชีวิต อันจะส่งผลต่อการพฒั นาประเทศแบบยง่ั ยืน (สภาพฒั นา
เศรษฐกิ จและสังคม แห่ งชาติ , ๒ ๕ ๔ ๙ ) ซ่ึ งแน วทางดังกล่าวสอดคล้องกับน โยบายขอ ง กระทรวงศึกษาธิการในการพฒั นาเยาวชนของชาติเขา้ สู่โลกยุคศตวรรษท่ี ๒๑ โดยมุ่งส่งเสริมผูเ้ รียนมี คุณธรรม รักความเป็ นไทย ให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ มีทกั ษะดา้ นเทคโนโลยี สามารถ ทางานร่วมกับผู้อ่ืน และสามารถอยู่ร่วมกับผูอ้ ่ืนในสังคมโลกได้อย่างสันติ (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๕๑) จากขอ้ คน้ พบในการศึกษาวิจยั และติดตามผลการใช้หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒ ๕ ๔ ๔ ท่ี ผ่ าน ม า ป ระ ก อ บ กับ ข้อ มู ล จาก แผ น พัฒ น าเศ รษ ฐกิ จแ ล ะ สั งค ม แ ห่ งช าติ ฉบับที่ ๑๐ เก่ียวกับแนวทางการพัฒนาคนในสังคมไทย และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการใน การพฒั นาเยาวชนสู่ศตวรรษที่ ๒๑ จึงเกิดการทบทวนหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๔๔ เพื่อนาไปสู่การพฒั นาหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ท่ีมีความ เหมาะสม ชดั เจน ท้งั เป้าหมายของหลกั สูตรในการพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียน และกระบวนการนาหลกั สูตร ไปสู่การปฏิบัติในระดบั เขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา โดยไดม้ ีการกาหนดวิสัยทศั น์ จุดหมาย สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั ทช่ี ดั เจน เพือ่ ใช้ เป็นทิศทางในการจดั ทาหลกั สูตร การเรียนการสอนในแต่ละระดบั นอกจากน้ันไดก้ าหนดโครงสร้าง เวลาเรียนข้นั ต่าของแต่ละกลุม่ สาระการเรียนรู้ในแต่ละช้นั ปี ไวใ้ นหลกั สูตรแกนกลาง และเปิ ดโอกาสให้ สถานศึกษาเพ่ิมเติมเวลาเรียนได้ตามความพร้อมและจุดเน้น อีกท้ังได้ปรับกระบวนการวดั และ ประเมินผลผูเ้ รียน เกณฑ์การจบการศึกษาแต่ละระดับ และเอกสารแสดงหลักฐานทางการศึกษาให้มี ความสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรียนรู้ และมีความชดั เจนต่อการนาไปปฏบิ ตั ิ เอกสารหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ น้ี จดั ทาข้นึ สาหรับทอ้ งถิ่น และสถานศึกษาไดน้ าไปใชเ้ ป็นกรอบและทิศทางในการจดั ทาหลกั สูตรสถานศกึ ษา และจดั การเรียน การสอนเพ่อื พฒั นาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐานใหม้ ีคุณภาพดา้ นความรู้ และทกั ษะท่จี าเป็นสาหรบั การดารงชีวิตในสังคมทมี่ กี ารเปลี่ยนแปลง และแสวงหาความรู้เพอื่ พฒั นา ตนเองอยา่ งตอ่ เน่ืองตลอดชีวติ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดที่กาหนดไวใ้ นเอกสารน้ี ช่วยทาให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ในทุกระดับเห็นผลคาดหวงั ที่ต้องการในการพฒั นาการเรียนรู้ของผูเ้ รียนท่ีชัดเจนตลอดแนว ซ่ึงจะ สามารถช่วยให้หน่วยงานที่เก่ียวขอ้ งในระดบั ทอ้ งถิ่นและสถานศึกษาร่วมกนั พฒั นาหลกั สูตรไดอ้ ยา่ ง มน่ั ใจ ทาให้การจดั ทาหลกั สูตรในระดบั สถานศึกษามคี ุณภาพและมีความเป็นเอกภาพยิ่งข้ึน อีกท้งั ยงั ช่วย ให้เกิดความชัดเจนเรื่องการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทียบโอนระหว่าง สถานศึกษา ดงั น้ันในการพฒั นาหลกั สูตรในทุกระดบั ต้งั แต่ระดบั ชาติจนกระทง่ั ถึงสถานศกึ ษา จะตอ้ ง สะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวดั ที่กาหนดไวใ้ นหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน รวมท้ังเป็ นกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรู ปแบบ และครอบคลุมผู้เรี ยน ทุกกล่มุ เป้าหมายในระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน การจดั หลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานจะประสบความสาเร็จตามเป้าหมายท่ีคาดหวงั ได้ ทุกฝ่ าย ท่ีเก่ียวขอ้ งท้งั ระดบั ชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลตอ้ งร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกนั ทางานอย่างเป็ น
ระบบ และต่อเน่ือง ในการวางแผน ดาเนินการ ส่งเสริมสนบั สนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแกไ้ ข เพ่ือพฒั นาเยาวชนของชาติไปสู่คณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ทกี่ าหนดไว้ วิสัยทัศน์ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน มงุ่ พฒั นาผเู้ รียนทกุ คน ซ่ึงเป็นกาลงั ของชาติให้เป็น มนุษยท์ ่มี ีความสมดุลท้งั ดา้ นร่างกาย ความรู้ คณุ ธรรม มจี ิตสานึกในความเป็นพลเมอื งไทยและเป็นพลโลก ยดึ มน่ั ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ มีความรู้และทกั ษะ พ้นื ฐาน รวมท้งั เจตคติ ที่จาเป็นต่อการศกึ ษาตอ่ การประกอบอาชีพและการศกึ ษาตลอดชีวิต โดยมุง่ เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั บนพ้ืนฐานความเชื่อว่า ทกุ คนสามารถเรียนรู้และพฒั นาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ หลักการ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน มหี ลกั การที่สาคญั ดงั น้ี ๑. เป็ นหลกั สูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็ นเป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพ้ืนฐาน ของความเป็นไทยควบคู่กบั ความเป็นสากล ๒. เป็ นหลกั สูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ท่ีประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมคี ุณภาพ ๓. เป็นหลกั สูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจดั การศึกษา ให้สอดคลอ้ งกบั สภาพและความตอ้ งการของทอ้ งถ่นิ ๔. เป็ นหลักสูตรการศึกษาท่ีมีโครงสร้างยืดหยุ่นท้ังด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัด การเรียนรู้ ๕. เป็นหลกั สูตรการศึกษาทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั ๖. เป็นหลกั สูตรการศกึ ษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั ครอบคลุม ทกุ กลุ่มเป้าหมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์ จดุ หมาย หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุ่งพฒั นาผูเ้ รียนให้เป็ นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศกั ยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็ นจุดหมายเพ่ือให้เกิดกบั ผูเ้ รียน เม่ือจบ การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ดงั น้ี ๑. มคี ุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมทพ่ี ึงประสงค์ เห็นคณุ ค่าของตนเอง มวี นิ ยั และปฏบิ ตั ติ น ตามหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนบั ถอื ยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๒. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกป้ ัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมที กั ษะ ชีวิต ๓. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มสี ุขนิสยั และรกั การออกกาลงั กาย
๔. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและ การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข ๕. มจี ิตสานึกในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรกั ษแ์ ละพฒั นาสิ่งแวดลอ้ ม มีจิตสาธารณะทม่ี ุ่งทาประโยชนแ์ ละสร้างสิ่งท่ดี ีงามในสงั คม และอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมอยา่ งมคี วามสุข สมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ในการพฒั นาผูเ้ รียนตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน มุ่งเนน้ พฒั นาผูเ้ รียนให้มี คณุ ภาพตามมาตรฐานทก่ี าหนด ซ่ึงจะช่วยให้ผูเ้ รียนเกิดสมรรถนะสาคญั และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ดงั น้ี สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน มุ่งให้ผเู้ รียนเกิดสมรรถนะสาคญั ๕ ประการ ดงั น้ี ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มวี ฒั นธรรมในการใช้ ภาษาถ่ายทอดความคดิ ความรู้ความเขา้ ใจ ความรู้สึก และทศั นะของตนเองเพอ่ื แลกเปล่ียนขอ้ มลู ข่าวสาร และประสบการณอ์ นั จะเป็นประโยชนต์ ่อการพฒั นาตนเองและสงั คม รวมท้งั การเจรจาต่อรองเพอื่ ขจดั และลดปัญหาความขดั แยง้ ต่าง ๆ การเลอื กรับหรือไมร่ บั ขอ้ มูลข่าวสารดว้ ยหลกั เหตผุ ลและความถูกตอ้ ง ตลอดจนการเลือกใชว้ ธิ ีการสื่อสาร ท่ีมปี ระสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบทีม่ ีต่อตนเองและสังคม ๒. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อยา่ งสร้างสรรค์ การคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองคค์ วามรู้หรือ สารสนเทศเพอ่ื การตดั สินใจเก่ียวกบั ตนเองและสังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็ นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลกั เหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสัมพนั ธ์และการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรู้มาใช้ ในการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหา และมีการตดั สินใจท่ีมีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดข้ึน ต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดลอ้ ม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการตา่ ง ๆ ไปใชใ้ น การดาเนินชีวติ ประจาวนั การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนรู้อยา่ งตอ่ เน่ือง การทางาน และการอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมดว้ ยการสร้างเสริมความสมั พนั ธอ์ นั ดีระหวา่ งบุคคล การจดั การปัญหาและความขดั แยง้ ต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม การปรับตวั ใหท้ นั กบั การเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการรู้จกั หลีกเล่ยี งพฤติกรรมไม่พงึ ประสงคท์ ่สี ่งผลกระทบต่อตนเองและผอู้ ื่น ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีดา้ นต่าง ๆ และมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพฒั นาตนเองและสังคม ในดา้ นการเรียนรู้ การส่ือสาร การทางาน การแกป้ ัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมีคุณธรรม
คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน มุง่ พฒั นาผูเ้ รียนใหม้ คี ณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ เพ่อื ให้ สามารถอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ืน่ ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดงั น้ี ๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๒. ซื่อสตั ยส์ ุจริต ๓. มีวินยั ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยอู่ ยา่ งพอเพียง ๖. มุ่งมน่ั ในการทางาน ๗. รกั ความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ นอกจากน้ี สถานศึกษาสามารถกาหนดคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์เพ่ิมเติมให้สอดคล้องตาม บริบทและจุดเนน้ ของตนเอง มาตรฐานการเรียนรู้ การพัฒนาผูเ้ รียนให้เกิดความสมดุล ต้องคานึงถึงหลักพฒั นาการทางสมองและพหุปัญญา หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน จึงกาหนดให้ผูเ้ รียนเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดงั น้ี ๑. ภาษาไทย ๒. คณิตศาสตร์ ๓. วทิ ยาศาสตร์ ๔. สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๕. สุขศึกษาและพลศึกษา ๖. ศลิ ปะ ๗. การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๘. ภาษาตา่ งประเทศ ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ไดก้ าหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสาคญั ของการพฒั นา คุณภาพผูเ้ รียน มาตรฐานการเรียนรู้ระบุสิ่งท่ีผูเ้ รียนพึงรู้ ปฏิบตั ิได้ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยม ที่พึงประสงค์เม่ือจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน นอกจากน้ันมาตรฐานการเรียนรู้ยงั เป็ นกลไกสาคัญ ในการขบั เคล่ือนพฒั นาการศึกษาท้งั ระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่าตอ้ งการ อะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร รวมท้ังเป็ นเคร่ืองมือในการตรวจสอบเพ่ือการประกัน คุณภาพการศึกษาโดยใชร้ ะบบการประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซ่ึงรวมถึง การทดสอบระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และการทดสอบระดบั ชาติ ระบบการตรวจสอบเพื่อประกัน คุณภาพดงั กล่าวเป็นสิ่งสาคญั ที่ช่วยสะท้อนภาพการจดั การศึกษาว่าสามารถพฒั นาผูเ้ รียนให้มีคุณภาพ ตามทมี่ าตรฐานการเรียนรู้กาหนดเพยี งใด
ตัวชี้วดั ตวั ช้ีวดั ระบุส่ิงที่นักเรีียนพึงรู้และปฏิบตั ิได้ รวมท้ังคุณลกั ษณะของผูเ้ รียนในแต่ละระดบั ช้ัน ซ่ึ งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรี ยนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็ นรู ปธรรม น าไปใช้ ในการกาหนดเน้ือหา จดั ทาหน่วยการเรียนรู้ จดั การเรียนการสอน และเป็ นเกณฑ์สาคัญสาหรับการวดั ประเมนิ ผลเพอ่ื ตรวจสอบคุณภาพผเู้ รียน ๑. ตัวช้ีวดั ช้ันปี เป็ นเป้าหมายในการพฒั นาผูเ้ รียนแต่ละช้ันปี ในระดับการศึกษาภาคบังคับ (ประถมศึกษาปี ท่ี ๑ – มธั ยมศึกษาปี ที่ ๓) ๒. ตวั ช้ีวดั ช่วงช้นั เป็นเป้าหมายในการพฒั นาผเู้ รียนในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี ๔- ๖) หลกั สูตรไดม้ ีการกาหนดรหัสกากบั มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั เพ่อื ความเขา้ ใจและให้ สื่อสารตรงกนั ดงั น้ี ว ๑.๑ ป. ๑/๒ ตวั ช้ีวดั ช้นั ประถมศกึ ษาปี ที่ ๑ ขอ้ ท่ี ๒ สาระท่ี ๑ มาตรฐานขอ้ ท่ี ๑ ป.๑/๒ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ๑.๑ ว ต ๒.๒ ม.๔-๖/ ๓ ม.๔-๖/๓ ตวั ช้ีวดั ช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ขอ้ ท่ี ๓ ๒.๓ สาระที่ ๒ มาตรฐานขอ้ ที่ ๒ ต กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ
สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย องค์ความรู้ ทกั ษะหรือกระบวนการเรียนรู้ และคุณลกั ษณะ อนั พงึ ประสงค์ ซ่ึงกาหนดให้ผเู้ รียนทุกคนในระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานจาเป็นตอ้ งเรียนรู้ โดยแบ่งเป็ น ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดงั น้ี ภาษาไทย : ความรู้ ทกั ษะ คณิตศาสตร์ : การนาความรู้ วทิ ยาศาสตร์ : การนาความรู้ และวฒั นธรรมการใชภ้ าษา ทกั ษะและกระบวนการทาง และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพือ่ การสอ่ื สาร ความชนื่ ชม คณิตศาสตรไ์ ปใชใ้ น ไปใชใ้ นการศึกษา คน้ ควา้ หาความรู้ การเห็นคณุ คา่ ภมู ิปัญญาไทย และ การแกป้ ัญหา การดาเนินชีวิต และแกป้ ัญหาอยา่ งเป็นระบบ การคิด ภูมใิ จในภาษาประจาชาติ และศึกษาตอ่ การมีเหตุมผี ล อยา่ งเป็นเหตเุ ป็นผล คิดวิเคราะห์ มเี จตคตทิ ่ีดตี ่อคณิตศาสตร์ คดิ สรา้ งสรรค์ และจติ วทิ ยาศาสตร์ พฒั นาการคดิ อย่างเป็นระบบ และสรา้ งสรรค์ ภาษาตา่ งประเทศ : ความรู้ องคค์ วามรู้ ทกั ษะสาคัญ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม : ทกั ษะ เจตคติ และวฒั นธรรม และคุณลกั ษณะ การอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมไทยและสงั คมโลก การใชภ้ าษาต่างประเทศในการ อย่างสนั ติสขุ การเป็นพลเมอื งดี สอ่ื สาร การแสวงหาความรู้ ในหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษา ศรทั ธาในหลกั ธรรมของศาสนา และการประกอบอาชีพ ข้นั พนื้ ฐาน การเห็นคณุ คา่ ของทรพั ยากรและ สิ่งแวดลอ้ ม ความรกั ชาติ และภมู ิใจใน ความเป็นไทย การงานอาชพี และเทคโนโลยี : ศิลปะ : ความรูแ้ ละทกั ษะใน สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา : ความรู้ ความรู้ ทกั ษะ และเจตคติ การคดิ ริเรม่ิ จินตนาการ ทกั ษะและเจตคตใิ นการสรา้ งเสริม ในการทางาน การจดั การ สรา้ งสรรคง์ านศลิ ปะ สขุ ภาพพลานามยั ของตนเองและ การดารงชีวิต การประกอบอาชีพ สนุ ทรยี ภาพและการเหน็ ผอู้ นื่ การป้องกนั และปฏบิ ตั ิตอ่ และการใชเ้ ทคโนโลยี คณุ ค่าทางศิลปะ สง่ิ ต่าง ๆ ทม่ี ีผลต่อสขุ ภาพอยา่ ง ถกู วิธีและทกั ษะในการดาเนนิ ชีวิต
ความสัมพันธ์ของการพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน วสิ ัยทศั น์ หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน มุ่งพฒั นาผูเ้ รียนทุกคน ซ่ึงเป็นกาลงั ของชาติใหเ้ ป็นมนุษยท์ ่มี ีความ สมดุลท้งั ดา้ นร่างกาย ความรู้ คณุ ธรรม มีจติ สานึกในความเป็นพลเมอื งไทยและเป็นพลโลก ยดึ มน่ั ในการปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข มีความรู้และทกั ษะพ้ืนฐาน รวมท้งั เจตคติ ที่จาเป็ นตอ่ การศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวติ โดยมุ่งเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั บนพ้นื ฐานความเชื่อว่า ทกุ คน สามารถเรียนรูแ้ ละพฒั นาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ จดุ หมาย ๑. มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมทีพ่ งึ ประสงค์ เหน็ คุณคา่ ของตนเอง มวี ินยั และปฏบิ ตั ิตนตาม หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทีต่ นนบั ถือ ยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๒. มีความรูอ้ นั เป็นสากลและมคี วามสามารถในการส่ือสาร การคดิ การแกป้ ัญหา การใชเ้ ทคโนโลยแี ละมี ทกั ษะชีวิต ๓. มสี ุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ดี ี มสี ุขนิสัย และรกั การออกกาลงั กาย ๔. มคี วามรกั ชาติ มีจติ สานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมน่ั ในวถิ ีชีวติ และการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข ๕. มจี ิตสานึกในการอนุรกั ษว์ ฒั นธรรมและภูมปิ ัญญาไทย การอนุรกั ษแ์ ละพฒั นาสิ่งแวดลอ้ ม มจี ิตสาธารณะท่ีมงุ่ ทาประโยชน์และสรา้ งสิ่งท่ดี ีงามในสังคม และอยูร่ ่วมกนั ในสังคมอยา่ งมีความสุข สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๒. ความสามารถในการคดิ ๒. ซื่อสัตยส์ ุจริต ๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา ๓. มีวนิ ยั ๔. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ๕. อยู่อยา่ งพอเพยี ง ๖. มุ่งมนั่ ในการทางาน ๗. รกั ความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว้ ดั ๘ กล่มุ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน ๑. ภาษาไทย ๒. คณิตศาสตร์ ๓. วิทยาศาสตร์ ๑.กิจกรรมแนะแนว ๒.กิจกรรมนกั เรียน ๔. สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๕. สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๖. ศิลปะ ๓. กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและ ๗. การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๘. ภาษาตา่ งประเทศ สาธารณประโยชน์ คณุ ภาพของผ้เู รียนระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐานกาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ใน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ จานวน ๖๗ มาตรฐาน ดงั น้ี ภาษาไทย สาระท่ี ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคดิ เพอื่ นาไปใชต้ ดั สินใจ แกป้ ัญหา ในการดาเนินชีวิตและมนี ิสัยรกั การอา่ น สาระท่ี ๒ การเขยี น มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขียน เขยี นสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขยี นเรื่องราว ในรูปแบบตา่ งๆ เขยี นรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อยา่ งมีประสิทธิภาพ สาระท่ี ๓ การฟัง การดู และการพดู มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดอู ยา่ งมวี จิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ และสร้างสรรค์ สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรกั ษา ภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ สาระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคดิ เห็น วจิ ารณว์ รรณคดี และวรรณกรรมไทยอยา่ ง เห็นคณุ ค่าและนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง คณิตศาสตร์ สาระที่ ๑ จานวนและการดาเนนิ การ มาตรฐาน ค ๑.๑ เขา้ ใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใชจ้ านวนในชีวิตจริง มาตรฐาน ค ๑.๒ เขา้ ใจถึงผลทเี่ กิดข้นึ จากการดาเนินการของจานวนและความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง การดาเนินการตา่ ง ๆ และใชก้ ารดาเนินการในการแกป้ ัญหา มาตรฐาน ค ๑.๓ ใชก้ ารประมาณคา่ ในการคานวณและแกป้ ัญหา มาตรฐาน ค ๑.๔ เขา้ ใจระบบจานวนและนาสมบตั เิ กี่ยวกบั จานวนไปใช้ สาระที่ ๒ การวดั มาตรฐาน ค ๒.๑ เขา้ ใจพ้นื ฐานเกี่ยวกบั การวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสิ่งท่ตี อ้ งการวดั มาตรฐาน ค ๒.๒ แกป้ ัญหาเกี่ยวกบั การวดั
สาระที่ ๓ เรขาคณติ มาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวเิ คราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมติ ิ มาตรฐาน ค ๓.๒ ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเก่ียวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใชแ้ บบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแกป้ ัญหา สาระท่ี ๔ พชี คณิต มาตรฐาน ค ๔.๑ เขา้ ใจและวเิ คราะหแ์ บบรูป (pattern) ความสัมพนั ธ์ และฟังกช์ นั มาตรฐาน ค ๔.๒ ใชน้ ิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตวั แบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical model) อน่ื ๆ แทนสถานการณต์ า่ ง ๆ ตลอดจนแปลความหมาย และนาไปใชแ้ กป้ ัญหา สาระที่ ๕ การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็ น มาตรฐาน ค ๕.๑ เขา้ ใจและใชว้ ิธีการทางสถติ ิในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล มาตรฐาน ค ๕.๒ ใชว้ ิธีการทางสถติ ิและความรู้เกี่ยวกบั ความน่าจะเป็นในการคาดการณไ์ ด้ อยา่ งสมเหตุสมผล มาตรฐาน ค ๕.๓ ใชค้ วามรู้เกี่ยวกบั สถติ แิ ละความน่าจะเป็นช่วยในการตดั สินใจและแกป้ ัญหา สาระที่ ๖ ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มาตรฐาน ค ๖.๑ มีความสามารถในการแกป้ ัญหา การให้เหตผุ ล การส่ือสาร การส่ือ ความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเช่ือมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเช่ือมโยงคณิตศาสตร์กบั ศาสตร์อืน่ ๆ และมคี วามคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ วทิ ยาศาสตร์ สาระที่ ๑ ส่ิงมีชีวติ กบั กระบวนการดารงชีวิต มาตรฐาน ว ๑.๑ เขา้ ใจหน่วยพ้นื ฐานของส่ิงมีชีวิต ความสัมพนั ธข์ องโครงสร้าง และหนา้ ทขี่ อง ระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตท่ีทางานสัมพนั ธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหา ความรู้ สื่อสารส่ิงทเี่ รียนรู้และนาความรู้ไปใชใ้ นการดารงชีวติ ของตนเองและดแู ล สิ่งมีชีวติ มาตรฐาน ว ๑.๒ เขา้ ใจกระบวนการและความสาคญั ของการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม วิวัฒ น าก ารข อ งสิ่ งมี ชี วิต ค วาม ห ล าก ห ล ายท างชี วภ าพ ก ารใช้ เทคโนโลยชี ีวภาพทม่ี ีผลกระทบต่อมนุษยแ์ ละสิ่งแวดลอ้ ม มกี ระบวนการ สืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ ส่ือสาร สิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ ไปใชป้ ระโยชน์
สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน ว ๒.๑ เขา้ ใจสิ่งแวดลอ้ มในทอ้ งถ่ิน ความสัมพนั ธร์ ะหว่างส่ิงแวดลอ้ มกบั สิ่งมีชีวติ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งส่ิงมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวทิ ยาศาสตร์ส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู้และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว ๒.๒ เขา้ ใจความสาคญั ของทรัพยากรธรรมชาติ การใชท้ รัพยากรธรรมชาตใิ นระดบั ทอ้ งถ่นิ ประเทศ และโลกนาความรู้ไปใชใ้ นในการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ มในทอ้ งถนิ่ อยา่ งยง่ั ยนื สาระท่ี ๓ สารและสมบตั ิของสาร มาตรฐาน ว ๓.๑ เขา้ ใจสมบตั ขิ องสาร ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสมบตั ิของสารกบั โครงสร้างและ แรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และ จิตวิทยาศาสตร์ส่ือสารสิ่งท่เี รียนรู้ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของสาร การเกิด สารละลาย การเกิดปฏกิ ิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารส่ิงทเ่ี รียนรู้ และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ สาระท่ี ๔ แรงและการเคลื่อนที่ มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ ประโยชนอ์ ยา่ งถูกตอ้ งและมีคุณธรรม มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจลักษณะการเคลื่อนท่ีแบบต่างๆ ของวตั ถุในธรรมชาติมีกระบวนการ สืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารส่ิงที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระที่ ๕ พลังงาน มาตรฐาน ว ๕.๑ เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหว่างพลงั งานกบั การดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลงั งาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลงั งานต่อชีวิตและ ส่ิงแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้และ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ สาระที่ ๖ : กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก มาตรฐาน ว ๖.๑ เขา้ ใจกระบวนการต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพนั ธ์ ของกระบวนการต่าง ๆ ท่ีมีผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงภูมอิ ากาศ ภูมิประเทศ และ สณั ฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ ส่ือสาร สิ่งท่ีเรียนรู้และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
สาระที่ ๗ ดาราศาสตร์และอวกาศ มาตรฐาน ว ๗.๑ เขา้ ใจวิวฒั นาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพการปฏิสัมพนั ธ์ภายใน ระบบสุริยะและผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และ จิตวทิ ยาศาสตร์ การสื่อสารสิ่งทีเ่ รียนรู้และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว ๗.๒ เขา้ ใจความสาคญั ของเทคโนโลยอี วกาศทน่ี ามาใชใ้ นการสารวจอวกาศและ ทรัพยากรธรรมชาติ ดา้ นการเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ ส่ื อสารส่ิ งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ ประโยชนอ์ ยา่ งมีคุณธรรมตอ่ ชีวิตและสิ่งแวดลอ้ ม สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๘.๑ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดข้ึนส่วนใหญ่มีรูปแบบ ทแี่ น่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใตข้ อ้ มูลและเคร่ืองมือท่ีมีอยู่ ในช่วงเวลาน้ันๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มคี วามเก่ียวขอ้ งสมั พนั ธก์ นั สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม สาระท่ี ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเขา้ ใจประวตั ิ ความสาคญั ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมนั่ และปฏิบัติตาม หลกั ธรรม เพ่อื อยรู่ ่วมกนั อยา่ งสันติสุข มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตน เป็ น ศาสนิ กชน ท่ีดี และธารงรักษา พระพุทธศาสนาหรือศาสนาทตี่ นนบั ถือ สาระที่ ๒ หน้าทพ่ี ลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนนิ ชีวติ ในสังคม มาตรฐาน ส ๒.๑ เขา้ ใจและปฏบิ ตั ิตนตามหนา้ ทข่ี องการเป็นพลเมืองดี มคี า่ นิยมทีด่ ีงาม และ ธารงรกั ษาประเพณีและวฒั นธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกนั ในสังคมไทย และ สงั คมโลกอยา่ งสนั ติสุข มาตรฐาน ส ๒.๒ เขา้ ใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบนั ยดึ มน่ั ศรัทธา และธารง รักษาไวซ้ ่ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็ น ประมขุ
สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส ๓.๑ เขา้ ใจและสามารถบริหารจดั การทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ ทรพั ยากรท่ีมอี ยจู่ ากดั ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและคมุ้ คา่ รวมท้งั เขา้ ใจหลกั การ ของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชีวติ อยา่ งมีดุลยภาพ มาตรฐาน ส ๓.๒ เขา้ ใจระบบ และสถาบนั ทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพนั ธ์ทางเศรษฐกิจ และ ความจาเป็นของการร่วมมือกนั ทางเศรษฐกิจในสงั คมโลก สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๑ เขา้ ใจความหมาย ความสาคญั ของเวลาและยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์ สามารถ ใชว้ ิธีการทางประวตั ศิ าสตร์มาวิเคราะห์เหตกุ ารณต์ ่างๆ อยา่ งเป็นระบบ มาตรฐาน ส ๔.๒ เขา้ ใจพฒั นาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบนั ในดา้ นความสัมพนั ธ์และ การเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเน่ือง ตระหนักถึงความสาคัญและ สามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดข้ึน มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภมู ใิ จและธารงความเป็นไทย สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๑ เขา้ ใจลกั ษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพนั ธ์ของสรรพสิ่งซ่ึงมีผล ต่อ กนั และกนั ในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนท่แี ละเคร่ืองมอื ทางภูมิศาสตร์ ในการ คน้ หา วเิ คราะห์ สรุป และใชข้ อ้ มลู ภูมิสารสนเทศอยา่ งมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพท่ีก่อให้เกิด การสร้างสรรคว์ ฒั นธรรม มีจิตสานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากร และสิ่งแวดลอ้ ม เพือ่ การพฒั นาทยี่ ง่ั ยืน สุขศึกษาและพลศึกษา สาระท่ี ๑ การเจริญเติบโตและพฒั นาการของมนุษย์ มาตรฐาน พ ๑.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องการเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนุษย์ สาระท่ี ๒ ชีวติ และครอบครัว มาตรฐาน พ ๒.๑ เขา้ ใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครวั เพศศึกษา และมีทกั ษะในการดาเนิน ชีวิต สาระที่ ๓ การเคลอ่ื นไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ ๓.๑ เขา้ ใจ มที กั ษะในการเคล่ือนไหว กิจกรรมทางกาย การเลน่ เกม และกีฬา
มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกาลงั กาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็ นประจาอย่าง สม่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณใน การแข่งขนั และชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา สาระท่ี ๔ การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณคา่ และมที กั ษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ การป้องกนั โรคและการสร้างเสริมสมรรถภาพเพ่อื สุขภาพ สาระท่ี ๕ ความปลอดภยั ในชีวิต มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกนั และหลกี เล่ียงปัจจยั เส่ียง พฤตกิ รรมเส่ียงตอ่ สุขภาพ อุบตั เิ หตุ การใช้ ยาสารเสพตดิ และความรุนแรง ศิลปะ สาระท่ี ๑ ทัศนศิลป์ มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรคง์ านทัศนศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วจิ ารณ์คุณค่างานทศั นศลิ ป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดตอ่ งานศิลปะ อยา่ งอสิ ระ ชื่นชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั มาตรฐาน ศ ๑.๒ เขา้ ใจความสัมพนั ธร์ ะหว่างทศั นศิลป์ ประวตั ศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่า งานทศั นศิลป์ ที่เป็ นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ภูมิปัญญาไทยและ สากล สาระท่ี ๒ ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๑ เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรีอยา่ งสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษว์ จิ ารณค์ ุณค่า ดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ต์ ใชใ้ นชีวติ ประจาวนั มาตรฐาน ศ ๒.๒ เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหว่างดนตรี ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่า ของดนตรีที่เป็ นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและ สากล สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ มาตรฐาน ศ ๓.๑ เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์ อยา่ งสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ อยา่ งอิสระ ชื่นชม และประยกุ ตใ์ ช้ ในชีวติ ประจาวนั มาตรฐาน ศ ๓.๒ เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งนาฏศิลป์ ประวตั ิศาสตร์และวฒั นธรรม เห็นคณุ ค่า ของนาฏศิลป์ ท่ีเป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ ภมู ิปัญญาไทยและ สากล
การงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ ๑ การดารงชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน ง ๑.๑ เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน ทักษะ การจดั การ ทกั ษะกระบวนการแกป้ ัญหา ทกั ษะการทางานร่วมกนั และทกั ษะ การแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลกั ษณะนิสัยในการทางาน มีจิตสานึก ในการใชพ้ ลงั งาน ทรัพยากร และส่ิงแวดลอ้ ม เพอ่ื การดารงชีวิตและครอบครัว สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี มาตรฐาน ง ๒.๑ เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างส่ิงของ เครื่องใช้ หรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอยา่ งมีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม ส่ิงแวดล้อม และมี ส่วนร่วมในการจดั การเทคโนโลยที ยี่ งั่ ยืน สาระที่ ๓ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร มาตรฐาน ง ๓.๑ เขา้ ใจ เห็นคณุ ค่า และใชก้ ระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคน้ ขอ้ มูล การเรียนรู้ การส่ือสาร การแกป้ ัญหา การทางาน และอาชีพอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมคี ุณธรรม สาระที่ ๔ การอาชีพ มาตรฐาน ง ๔.๑ เข้าใจ มีทักษะที่จาเป็ น มีประสบการณ์ เห็ น แน วทางใน งาน อาชีพ ใชเ้ ทคโนโลยเี พื่อพฒั นาอาชีพ มคี ุณธรรม และมเี จตคติทีด่ ีต่ออาชีพ ภาษาต่างประเทศ สาระที่ ๑ ภาษาเพอื่ การสื่อสาร มาตรฐาน ต ๑.๑ เขา้ ใจและตีความเร่ืองท่ีฟังและอ่านจากส่ือประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็น อยา่ งมเี หตผุ ล มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทกั ษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปล่ยี นขอ้ มูลข่าวสาร แสดงความรู้สึก มาตรฐาน ต ๑.๓ และความคดิ เห็นอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ นาเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพดู และการเขียน สาระที่ ๒ ภาษาและวฒั นธรรม
มาตรฐาน ต ๒.๑ เขา้ ใจความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งภาษากบั วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา และนาไปใช้ มาตรฐาน ต ๒.๒ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั กาลเทศะ เขา้ ใจความเหมอื นและความแตกต่างระหวา่ งภาษาและวฒั นธรรมของเจา้ ของ ภาษากบั ภาษาและวฒั นธรรมไทย และนามาใชอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสม สาระที่ ๓ ภาษากบั ความสัมพนั ธ์กบั กล่มุ สาระการเรียนรู้อื่น มาตรฐาน ต ๓.๑ ใชภ้ าษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และเป็ น พ้ืนฐานในการพฒั นา แสวงหาความรู้ และเปิ ดโลกทศั นข์ องตน สาระที่ ๔ ภาษากบั ความสัมพันธ์กบั ชุมชนและโลก มาตรฐาน ต ๔.๑ ใชภ้ าษาต่างประเทศในสถานการณต์ า่ งๆ ท้งั ในสถานศึกษา ชุมชน และสงั คม มาตรฐาน ต ๔.๒ ใช้ภาษาต่างประเทศเป็ นเครื่องมือพ้นื ฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กบั สังคมโลก กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน มงุ่ ให้ผเู้ รียนไดพ้ ฒั นาตนเองตามศกั ยภาพ พฒั นาอยา่ งรอบดา้ นเพื่อความ เป็นมนุษยท์ ี่สมบูรณ์ ท้งั ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผมู้ ศี ลี ธรรม จริยธรรม มี ระเบยี บวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสานึกของการทาประโยชน์เพ่ือสงั คม สามารถจดั การตนเองได้ และอยู่ ร่วมกบั ผอู้ ่ืนอยา่ งมคี วามสุข กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน แบง่ เป็น ๓ ลกั ษณะ ดงั น้ี ๑. กิจกรรมแนะแนว เป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผูเ้ รียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์ส่ิงแวดล้อม สามารถคิด ตดั สินใจ คิดแกป้ ัญหา กาหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตท้งั ด้านการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตนได้ อย่างเหมาะสม นอกจากน้ียงั ช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผูเ้ รียน ท้ังยงั เป็ นกิจกรรมท่ีช่วยเหลือและให้ คาปรึกษาแกผ่ ูป้ กครองในการมสี ่วนร่วมพฒั นาผเู้ รียน ๒. กิจกรรมนกั เรียน เป็ นกิจกรรมท่ีมุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็ นผู้นาผู้ตามที่ดี ความรับผิดชอบ การทางานร่วมกัน การรู้จกั แกป้ ัญหา การตดั สินใจท่ีเหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปันกัน เอ้ืออาทร และสมานฉันท์ โดยจดั ให้สอดคลอ้ งกบั ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเ้ รียน ให้ไดป้ ฏิบตั ิดว้ ยตนเองในทุกข้นั ตอน ไดแ้ ก่ การศึกษาวิเคราะห์วางแผน ปฏิบตั ิตามแผน ประเมินและ ปรับปรุงการทางาน เน้นการทางานร่วมกนั เป็นกล่มุ ตามความเหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั วุฒิภาวะของ ผเู้ รียน บริบทของสถานศึกษาและทอ้ งถิ่น กิจกรรมนกั เรียนประกอบดว้ ย ๒.๑ กิจกรรมลกู เสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด ผบู้ าเพญ็ ประโยชน์ และนกั ศกึ ษาวิชาทหาร ๒.๒ กิจกรรมชุมนุม ชมรม ๓. กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์
เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ผูเ้ รียนบาเพญ็ ตนให้เป็นประโยชนต์ ่อสังคม ชุมชน และทอ้ งถนิ่ ตามความสนใจในลกั ษณะอาสาสมคั ร เพือ่ แสดงถงึ ความรบั ผดิ ชอบ ความดีงาม ความเสียสละตอ่ สังคม มจี ิตสาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพฒั นาตา่ ง ๆ กิจกรรมสร้างสรรคส์ ังคม ระดับการศึกษา หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน จดั ระดบั การศึกษาเป็น ๓ ระดบั ดงั น้ี ๑. ระดับประถมศึกษา (ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ ๑ – ๖) การศึกษาระดบั น้ีเป็นช่วงแรกของการศึกษา ภาคบังคับ มุ่งเน้นทักษะพ้ืนฐานด้านการอ่าน การเขียน การคิดคานวณ ทักษะการคิดพ้ืนฐาน การติดต่อสื่อสาร กระบวนการเรียนรู้ทางสังคม และพ้ืนฐานความเป็ นมนุษย์ การพฒั นาคุณภาพชีวิต อย่างสมบูรณ์และสมดุลท้ังในด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และวัฒนธรรม โดยเน้น จดั การเรียนรู้แบบบูรณาการ ๒. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ – ๓) เป็ นช่วงสุดท้ายของการศึกษาภาค บงั คบั มุ่งเนน้ ให้ผูเ้ รียนไดส้ ารวจความถนดั และความสนใจของตนเอง ส่งเสริมการพฒั นาบคุ ลกิ ภาพส่วน ตน มีทักษะในการคิดวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ และคิดแกป้ ัญหา มีทกั ษะในการดาเนินชีวิต มีทกั ษะ การใชเ้ ทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ มคี วามรับผิดชอบตอ่ สงั คม มีความสมดุลท้งั ดา้ นความรู้ ความคิด ความดีงาม และมีความภูมิใจในความเป็ นไทย ตลอดจนใช้เป็ นพ้ืนฐานในการประกอบอาชีพ หรือการศกึ ษาตอ่ ๓. ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย (ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๔ – ๖) การศึกษาระดบั น้ีเนน้ การเพ่มิ พนู ความรู้และทกั ษะเฉพาะดา้ น สนองตอบความสามารถ ความถนดั และความสนใจของผูเ้ รียนแตล่ ะคนท้งั ดา้ นวิชาการและวชิ าชีพ มีทกั ษะในการใชว้ ิทยาการและเทคโนโลยี ทกั ษะกระบวนการคิดข้นั สูง สามารถ นาความรู้ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ ห้เกิดประโยชน์ในการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ ม่งุ พฒั นาตนและประเทศ ตามบทบาทของตน สามารถเป็นผนู้ า และผใู้ ห้บริการชุมชนในดา้ นต่าง ๆ การจัดเวลาเรียน หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ไดก้ าหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนข้นั ต่าสาหรับกลุ่ม สาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่ม และกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน ซ่ึงสถานศึกษาสามารถเพ่ิมเติมไดต้ ามความพร้อมและ จุดเนน้ โดยสามารถปรบั ใหเ้ หมาะสมตามบริบทของสถานศึกษาและสภาพของผเู้ รียน ดงั น้ี ๑. ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษา (ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ ๑ – ๖) ให้จดั เวลาเรียนเป็นรายปี โดยมเี วลาเรียน วนั ละ ไมเ่ กิน ๕ ชวั่ โมง
๒. ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาตอนตน้ (ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี ๑ – ๓) ให้จดั เวลาเรียนเป็นรายภาค มีเวลาเรียน วนั ละไม่เกิน ๖ ช่ัวโมง คิดน้ าหนักของรายวิชาท่ีเรียนเป็ นหน่วยกิต ใช้เกณฑ์ ๔๐ ชั่วโมงต่อภาคเรียน มีคา่ น้าหนกั วชิ า เทา่ กบั ๑ หน่วยกิต (นก.) ๓. ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ ๔ - ๖) ใหจ้ ดั เวลาเรียนเป็นรายภาค มีเวลา เรียน วนั ละไม่น้อยกว่า ๖ ชั่วโมง คิดน้าหนักของรายวิชาที่เรียนเป็ นหน่วยกิต ใช้เกณฑ์ ๔๐ ช่ัวโมง ต่อภาคเรียน มีค่าน้าหนกั วชิ า เท่ากบั ๑ หน่วยกิต (นก.) โครงสร้างเวลาเรียน หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน กาหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียน ดงั น้ี เวลาเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้/ ระดับประถมศึกษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ระดับมธั ยมศกึ ษา กจิ กรรม ตอนปลาย ม. ๔ – ๖ ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ๒๔๐ กล่มุ สาระการเรียนรู้ (๖ นก.) ๒๔๐ ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ (๖ นก.) ๒๔๐ (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) (๖ นก.) ๒๔๐ คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ (๖ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) ๑๒๐ (๓นก.) วทิ ยาศาสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) ๑๒๐ สงั คมศึกษา ศาสนา ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ (๓ นก.) และวฒั นธรรม ๒๔๐ (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) (๖ นก.) ๑,๕๖๐ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ (๓๙ นก.) (๒นก.) (๒ นก.) (๒ นก.) ๓๖๐ ศลิ ปะ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ไมน่ ้อยกว่า ๑,๕๖๐ ชว่ั โมง (๒นก.) (๒ นก.) (๒ นก.) การงานอาชีพและ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ เทคโนโลยี (๒นก.) (๒ นก.) (๒ นก.) ภาษาต่างประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) รวมเวลาเรียน (พ้นื ฐาน) ๘๐๐ ๘๐๐ ๘๐๐ ๘๐๐ ๘๐๐ ๘๐๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ (๒๑ นก.) (๒๑ นก.) (๒๑ นก.) กจิ กรรมพฒั นาผ้เูรียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ รายวิชา / กจิ กรรมที่ สถานศึกษาจัดเพิ่มเติม ปี ละไมเ่ กนิ ๘๐ ชวั่ โมง ปีละไม่เกิน ๒๔๐ ชวั่ โมง ตามความพร้อมและจุดเน้น
รวมเวลาเรียนท้งั หมด ไม่เกิน ๑,๐๐๐ ชั่วโมง/ปี ไม่เกิน ๑,๒๐๐ ชั่วโมง/ปี รวม ๓ ปี ไม่น้อยกว่า ๓,๖๐๐ ช่ัวโมง การกาหนดโครงสร้างเวลาเรียนพ้ืนฐาน และเพม่ิ เติม สถานศกึ ษาสามารถดาเนินการ ดงั น้ี ระดบั ประถมศกึ ษา สามารถปรับเวลาเรียนพ้ืนฐานของแตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรู้ ไดต้ ามความ เหมาะสม ท้ังน้ี ตอ้ งมีเวลาเรียนรวมตามท่ีกาหนดไวใ้ นโครงสร้างเวลาเรียนพ้ืนฐาน และผูเ้ รียนตอ้ งมี คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั ทกี่ าหนด ระดบั มธั ยมศึกษา ตอ้ งจดั โครงสร้างเวลาเรียนพ้ืนฐานให้เป็นไปตามท่ีกาหนดและสอดคลอ้ ง กบั เกณฑก์ ารจบหลกั สูตร สาหรับเวลาเรียนเพิ่มเตมิ ท้งั ในระดบั ประถมศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษา ใหจ้ ดั เป็นรายวิชาเพ่มิ เตมิ หรือกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน โดยพจิ ารณาให้สอดคลอ้ งกบั ความพร้อม จุดเนน้ ของสถานศึกษาและเกณฑ์ การจบหลกั สูตร เฉพาะระดบั ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี ๑-๓ สถานศึกษาอาจจดั ให้เป็นเวลาสาหรับสาระ การเรียนรู้พ้นื ฐานในกลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทยและกลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียนท่ีกาหนดไวใ้ นช้นั ประถมศกึ ษาปี ท่ี ๑ ถึงช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๓ ปี ละ ๑๒๐ ชว่ั โมง และช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี ๔-๖ จานวน ๓๖๐ ชว่ั โมงน้ัน เป็นเวลาสาหรับปฏิบตั ิกิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ในส่วนกิจกรรมเพ่ือสังคมและ สาธารณประโยชนใ์ หส้ ถานศกึ ษาจดั สรรเวลาใหผ้ เู้ รียนไดป้ ฏบิ ตั ิกิจกรรม ดงั น้ี ระดบั ประถมศกึ ษา (ป.๑-๖) รวม ๖ ปี จานวน ๖๐ ชวั่ โมง ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ (ม.๑-๓) รวม ๓ ปี จานวน ๔๕ ชว่ั โมง ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔-๖) รวม ๓ ปี จานวน ๖๐ ชวั่ โมง การจัดการศึกษาสาหรับกล่มุ เป้าหมายเฉพาะ การจดั การศึกษาบางประเภทสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษา สาหรบั ผูม้ ีความสามารถพิเศษ การศกึ ษาทางเลอื ก การศกึ ษาสาหรับผดู้ อ้ ยโอกาส การศึกษาตามอธั ยาศยั สามารถนาหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐานไปปรับใช้ได้ตามความเหมาะสม กบั สภาพและ บริบทของแต่ละกลุม่ เป้าหมาย โดยให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานท่ีกาหนด ท้งั น้ีให้เป็นไปตามหลกั เกณฑ์ และวธิ ีการท่กี ระทรวงศกึ ษาธิการกาหนด
การจัดการเรียนรู้ การจดั การเรียนรู้เป็นกระบวนการสาคญั ในการนาหลกั สูตรสู่การปฏิบตั ิ หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เป็ นหลกั สูตรท่ีมีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสาคญั และคุณลกั ษณะอันพึง ประสงคข์ องผเู้ รียน เป็นเป้าหมายสาหรับพฒั นาเด็กและเยาวชน ในการพัฒ นาผู้เรี ยนให้มีคุณ สมบัติตามเป้ าหมายหลักสูตร ผู้สอน พยายามคัดสรร กระบวนการเรียนรู้ จดั การเรียนรู้โดยช่วยให้ผูเ้ รียนเรียนรู้ผ่านสาระท่ีกาหนดไวใ้ นหลกั สูตร ๘ กลุ่ม สาระการเรียนรู้ รวมท้ังปลูกฝังเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ พฒั นาทักษะต่างๆ อันเป็ น สมรรถนะสาคญั ให้ผเู้ รียนบรรลุตามเป้าหมาย ๑. หลักการจดั การเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีความรูู ู้ ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กาหนดไวใ้ นหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้นั พ้ืนฐาน โดยยึดหลักว่า ผูเ้ รียนมีความสาคญั ท่ีสุด เชื่อว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพฒั นา ตนเองได้ ยึดประโยชน์ที่เกิดกบั ผเู้ รียน กระบวนการจดั การเรียนรู้ตอ้ งส่งเสริมให้ผเู้ รียน สามารถพฒั นา ตามธรรมชาติและเต็มตามศกั ยภาพ คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมอง เนน้ ใหค้ วามสาคญั ท้งั ความรู้ และคณุ ธรรม ๒. กระบวนการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ ผู้เรียนจะต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้ที่ หลากหลาย เป็ นเคร่ืองมือท่ีจะนาพาตนเองไปสู่เป้าหมายของหลกั สูตร กระบวนการเรียนรู้ท่ีจาเป็ น สาหรับผูเ้ รียน อาทิ กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปั ญ หา กระบวนการเรี ยนรู้ จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทาจริง กระบวนการจัดการ กระบวนการวิจัย กระบวนการเรียนรู้การเรียนรู้ของตนเอง กระบวนการพฒั นาลกั ษณะนิสยั กระบวนการเหล่าน้ีเป็ นแนวทางในการจดั การเรียนรู้ที่ผูเ้ รียนควรไดร้ ับการฝึ กฝน พฒั นา เพราะจะสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร ดังน้ัน ผู้สอน จึงจาเป็ นต้องศึกษาทาความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถเลือกใช้ในการจัด กระบวนการเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ๓. การออกแบบการจดั การเรียนรู้ ผสู้ อนตอ้ งศึกษาหลกั สูตรสถานศึกษาให้เขา้ ใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้ีวดั สมรรถนะ สาคญั ของผเู้ รียน คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ และสาระการเรียนรู้ทเี่ หมาะสมกบั ผเู้ รียน แลว้ จึงพิจารณา ออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวดั และ ประเมนิ ผล เพ่อื ให้ผเู้ รียนไดพ้ ฒั นาเตม็ ตามศกั ยภาพและบรรลตุ ามเป้าหมายทกี่ าหนด
๔. บทบาทของผ้สู อนและผ้เู รียน การจดั การเรียนรู้เพ่ือให้ผูเ้ รียนมีคุณภาพตามเป้าหมายของหลกั สูตร ท้ังผูส้ อนและผูเ้ รียน ควรมบี ทบาท ดงั น้ี ๔.๑ บทบาทของผ้สู อน ๑) ศึกษาวิเคราะห์ผเู้ รียนเป็นรายบุคคล แลว้ นาขอ้ มลู มาใชใ้ นการวางแผน การจดั การเรียนรู้ ท่ที า้ ทายความสามารถของผเู้ รียน ๒) กาหนดเป้าหมายท่ตี อ้ งการใหเ้ กิดข้นึ กบั ผเู้ รียน ดา้ นความรู้และทกั ษะ กระบวนการ ทเ่ี ป็นความคิดรวบยอด หลกั การ และความสัมพนั ธ์ รวมท้งั คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๓) ออกแบบการเรียนรู้และจดั การเรียนรู้ทตี่ อบสนองความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล และพฒั นาการทางสมอง เพอ่ื นาผเู้ รียนไปสู่เป้าหมาย ๔) จดั บรรยากาศท่เี อ้อื ต่อการเรียนรู้ และดแู ลช่วยเหลอื ผเู้ รียนใหเ้ กิดการเรียนรู้ ๕) จดั เตรียมและเลอื กใชส้ ื่อใหเ้ หมาะสมกบั กิจกรรม นาภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจดั การเรียนการสอน ๖) ประเมินความกา้ วหนา้ ของผเู้ รียนดว้ ยวิธีการท่ีหลากหลาย เหมาะสมกบั ธรรมชาติของวิชาและระดบั พฒั นาการของผเู้ รียน ๗) วิเคราะห์ผลการประเมนิ มาใชใ้ นการซ่อมเสริมและพฒั นาผูเ้ รียน รวมท้งั ปรับปรุงการจดั การเรียนการสอนของตนเอง ๔.๒ บทบาทของผ้เู รียน ๑) กาหนดเป้าหมาย วางแผน และรบั ผดิ ชอบการเรียนรู้ของตนเอง ๒) เสาะแสวงหาความรู้ เขา้ ถงึ แหล่งการเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะหข์ อ้ ความรู้ ต้งั คาถาม คิดหาคาตอบหรือหาแนวทางแกป้ ัญหาดว้ ยวธิ ีการตา่ ง ๆ ๒) ลงมือปฏบิ ตั จิ ริง สรุปสิ่งที่ไดเ้ รียนรู้ดว้ ยตนเอง และนาความรู้ไปประยกุ ตใ์ ช้ ในสถานการณ์ต่าง ๆ ๓) มีปฏิสัมพนั ธ์ ทางาน ทากิจกรรมร่วมกบั กลมุ่ และครู ๔) ประเมนิ และพฒั นากระบวนการเรียนรู้ของตนเองอยา่ งต่อเน่ือง
ส่ือการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้เป็ นเครื่องมือส่งเสริมสนับสนุนการจดั การกระบวนการเรียนรู้ ให้ผูเ้ รียนเขา้ ถึง ความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ สื่อการเรียนรู้มีหลากหลายประเภท ท้ังสื่อธรรมชาติ ส่ือส่ิงพิมพ์ ส่ือเทคโนโลยี และเครือข่าย การเรียนรู้ต่างๆ ที่มีในทอ้ งถ่ิน การเลือกใช้ส่ือควรเลือกให้มีความเหมาะสมกับระดับพฒั นาการ และ ลลี าการเรียนรู้ทห่ี ลากหลายของผเู้ รียน การจดั หาส่ือการเรียนรู้ ผูเ้ รียนและผสู้ อนสามารถจดั ทาและพฒั นาข้ึนเอง หรือปรบั ปรุงเลือกใช้ อยา่ งมีคุณภาพจากสื่อต่างๆ ที่มีอยู่รอบตวั เพ่ือนามาใชป้ ระกอบในการจดั การเรียนรู้ท่ีสามารถส่งเสริม และส่ือสารให้ผูเ้ รียนเกิดการเรียนรู้ โดยสถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพ่ือพฒั นาให้ผูเ้ รียน เกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง สถานศึกษา เขตพ้ืนท่ีการศึกษา หน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งและผูม้ ีหน้าที่จัด การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ควรดาเนินการดงั น้ี ๑. จัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนยส์ ื่อการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือข่าย การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพท้ังในสถานศึกษาและในชุมชน เพื่อการศึกษาค้นควา้ และการแลกเปล่ียน ประสบการณก์ ารเรียนรู้ ระหวา่ งสถานศกึ ษา ทอ้ งถ่นิ ชุมชน สงั คมโลก ๒. จดั ทาและจดั หาส่ือการเรียนรู้สาหรับการศึกษาคน้ ควา้ ของผูเ้ รียน เสริมความรู้ให้ผูส้ อน รวมท้งั จดั หาส่ิงทีม่ ีอยใู่ นทอ้ งถนิ่ มาประยกุ ตใ์ ชเ้ ป็นส่ือการเรียนรู้ ๓. เลือกและใช้สื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้อง กบั วิธีการเรียนรู้ ธรรมชาติของสาระการเรียนรู้ และความแตกตา่ งระหว่างบุคคลของผเู้ รียน ๔. ประเมินคณุ ภาพของส่ือการเรียนรู้ทีเ่ ลือกใชอ้ ยา่ งเป็นระบบ ๕. ศกึ ษาคน้ ควา้ วจิ ยั เพื่อพฒั นาส่ือการเรียนรู้ให้สอดคลอ้ งกบั กระบวนการเรียนรู้ของผเู้ รียน ๖. จดั ให้มีการกากับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเก่ียวกบั ส่ือและการใช้สื่อ การเรียนรู้เป็นระยะๆ และสม่าเสมอ ในการจัดทา การเลือกใช้ และการประเมินคุณภาพสื่ อการเรียนรู้ที่ใช้ในสถานศึกษา ควรคานึงถงึ หลกั การสาคญั ของสื่อการเรียนรู้ เช่น ความสอดคลอ้ งกบั หลกั สูตร วตั ถุประสงคก์ ารเรียนรู้ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดประสบการณ์ให้ผูเ้ รียน เน้ือหามีความถูกตอ้ งและทนั สมัย ไม่กระทบความมน่ั คงของชาติ ไม่ขดั ต่อศีลธรรม มีการใชภ้ าษาท่ีถูกตอ้ ง รูปแบบการนาเสนอที่เขา้ ใจ ง่าย และน่าสนใจ
การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพ้ืนฐานสองประการคือ การประเมินเพื่อพฒั นาผูเ้ รียนและเพื่อตดั สินผลการเรียน ในการพฒั นาคุณภาพการเรียนรู้ของผูเ้ รียน ให้ประสบผลสาเร็จน้ัน ผูเ้ รียนจะต้องได้รับการพฒั นาและประเมินตามตัวช้ีวดั เพื่อให้บรรลุตาม มาตรฐานการเรียนรู้ สะทอ้ นสมรรถนะสาคญั และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องผเู้ รียนซ่ึงเป็นเป้าหมาย หลักในการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดบั ไม่ว่าจะเป็ นระดบั ช้ันเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา และระดับชาติ การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ เป็ นกระบวนการพฒั นา คุณภาพผูเ้ รียนโดยใช้ผลการประเมินเป็ นขอ้ มูลและสารสนเทศท่ีแสดงพฒั นาการ ความกา้ วหน้า และ ความสาเร็จทางการเรียนของผูเ้ รียน ตลอดจนข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้ผูเ้ รียนเกิด การพฒั นาและเรียนรู้อยา่ งเต็มตามศกั ยภาพ การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น ๔ ระดบั ไดแ้ ก่ ระดบั ช้นั เรียน ระดบั สถานศึกษา ระดบั เขตพ้ืนท่ีการศึกษา และระดบั ชาติ มรี ายละเอียด ดงั น้ี ๑. การประเมินระดับช้ันเรียน เป็ นการวดั และประเมินผลที่อยใู่ นกระบวนการจดั การเรียนรู้ ผูส้ อนดาเนินการเป็ นปกติและสม่าเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่าง หลากหลาย เช่น การซักถาม การสังเกต การตรวจการบา้ น การประเมินโครงงาน การประเมินช้ินงาน/ ภาระงาน แฟ้มสะสมงาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็ นผูป้ ระเมินเองหรือเปิ ดโอกาส ให้ผูเ้ รียนประเมินตนเอง เพ่ือนประเมินเพื่อน ผูป้ กครองร่วมประเมิน ในกรณีท่ีไม่ผ่านตวั ช้ีวดั ให้มี การสอนซ่อมเสริม การประเมินระดับช้ันเรียนเป็ นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าใน การเรียนรู้ อนั เป็ นผลมาจากการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งที่ จะตอ้ งไดร้ ับการพฒั นาปรับปรุงและส่งเสริมในดา้ นใด นอกจากน้ียงั เป็ นขอ้ มูลให้ผูส้ อนใช้ปรับปรุง การเรียนการสอนของตนดว้ ย ท้งั น้ีโดยสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั ๒. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็ นการประเมินที่สถานศึกษาดาเนินการเพ่ือตดั สินผล การเรียนของผูเ้ รียนเป็ นรายปี /รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากน้ีเพ่ือให้ได้ข้อมูลเก่ียวกับการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา ว่าส่งผลต่อการเรียนรู้ของผูเ้ รียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผูเ้ รียนมีจุดพฒั นาในดา้ นใด รวมท้งั สามารถนาผลการเรียนของผเู้ รียนในสถานศึกษาเปรียบเทยี บกบั เกณฑร์ ะดบั ชาติ ผลการประเมิน ระดบั สถานศึกษาจะเป็นขอ้ มลู และสารสนเทศเพือ่ การปรบั ปรุงนโยบาย หลกั สูตร โครงการ หรือวธิ ีการ จัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกนั คุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการ
สถานศึกษา สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ผูป้ กครอง และชุมชน ๓. การประเมินระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา เป็ นการประเมินคุณภาพผูเ้ รียนในระดับเขตพ้ืนท่ี การศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน เพื่อใชเ้ ป็นขอ้ มลู พ้ืนฐาน ในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาของเขตพ้ืนที่การศึกษา ตามภาระความรบั ผิดชอบ สามารถดาเนินการ โดยประเมินคุณภาพผลสัมฤทธ์ิของผูเ้ รียนด้วยข้อสอบมาตรฐานท่ีจดั ทาและดาเนินการโดยเขตพ้ืนที่ การศึกษา หรือดว้ ยความร่วมมือกบั หน่วยงานตน้ สังกดั ในการดาเนินการจดั สอบ นอกจากน้ียงั ไดจ้ าก การตรวจสอบทบทวนขอ้ มลู จากการประเมนิ ระดบั สถานศึกษาในเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา ๔. การประเมินระดับชาติ เป็ นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐาน การเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สถานศึกษาตอ้ งจดั ให้ผูเ้ รียนทุกคนท่ีเรียน ในช้นั ประถมศึกษาปี ที่ ๓ ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๖ ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ ๓ และช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๖ เขา้ รับการประเมิน ผลจากการประเมินใช้เป็นขอ้ มูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดบั ต่าง ๆ เพื่อนาไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเป็ นข้อมูลสนับสนุน การตดั สินใจในระดบั นโยบายของประเทศ ขอ้ มูลการประเมินในระดบั ต่าง ๆ ข้างต้น เป็ นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบ ทบทวนพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียน ถือเป็ นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบดูแล ช่วยเหลือ ปรับปรุงแกไ้ ข ส่งเสริมสนับสนุนเพ่ือให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพ้ืนฐาน ความแตกต่างระหว่างบุคคลทจี่ าแนกตามสภาพปัญหาและความตอ้ งการ ไดแ้ ก่ กลมุ่ ผูเ้ รียนทว่ั ไป กลุ่ม ผเู้ รียนท่มี ีความสามารถพิเศษ กลุ่มผเู้ รียนที่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่า กลุ่มผเู้ รียนท่ีมีปัญหาดา้ นวินยั และพฤติกรรม กลุ่มผเู้ รียนท่ีปฏเิ สธโรงเรียน กลุ่มผูเ้ รียนท่ีมีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มพิการ ทางร่างกายและสตปิ ัญญา เป็นตน้ ขอ้ มลู จากการประเมินจึงเป็นหัวใจของสถานศึกษาในการดาเนินการ ช่วยเหลือผเู้ รียนไดท้ นั ทว่ งที ปีิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนไดร้ บั การพฒั นาและประสบความสาเร็จในการเรียน สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและ ประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็ นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติที่เป็ น ขอ้ กาหนดของหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพื่อให้บุคลากรท่ีเกี่ยวขอ้ งทุกฝ่ ายถือปฏิบัติ ร่วมกนั เกณฑ์การวัดและประเมนิ ผลการเรียน ๑. การตัดสิน การให้ระดับและการรายงานผลการเรียน ๑.๑ การตัดสินผลการเรียน ในการตดั สินผลการเรียนของกล่มุ สาระการเรียนรู้ การอา่ น คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขียน คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียนน้นั ผูส้ อนตอ้ งคานึงถึงการพฒั นาผเู้ รียนแต่ละคน
เป็นหลกั และตอ้ งเก็บขอ้ มลู ของผเู้ รียนทกุ ดา้ นอยา่ งสม่าเสมอและตอ่ เน่ืองในแต่ละภาคเรียน รวมท้งั สอน ซ่อมเสริมผเู้ รียนให้พฒั นาจนเต็มตามศกั ยภาพ ระดับประถมศึกษา (๑) ผูเ้ รียนตอ้ งมเี วลาเรียนไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนท้งั หมด (๒) ผูเ้ รียนตอ้ งไดร้ ับการประเมินทกุ ตวั ช้ีวดั และผ่านตามเกณฑท์ สี่ ถานศึกษา กาหนด (๓) ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ ับการตดั สินผลการเรียนทุกรายวิชา (๔) ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ ับการประเมิน และมผี ลการประเมนิ ผ่านตามเกณฑท์ ่ี สถานศึกษากาหนด ในการอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขียน คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ และกิจกรรมพฒั นา ผเู้ รียน ระดบั มธั ยมศึกษา (๑) ตดั สินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผเู้ รียนตอ้ งมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไมน่ อ้ ย กวา่ ร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนท้งั หมดในรายวิชาน้นั ๆ (๒) ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ ับการประเมินทุกตวั ช้ีวดั และผา่ นตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษา กาหนด (๓) ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ ับการตดั สินผลการเรียนทกุ รายวชิ า (๔) ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ บั การประเมนิ และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑท์ ี่ สถานศึกษากาหนด ในการอา่ น คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขียน คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และกิจกรรมพฒั นา ผเู้ รียน การพิจารณาเลื่อนช้นั ท้งั ระดบั ประถมศึกษาและมธั ยมศึกษา ถา้ ผเู้ รียนมขี อ้ บกพร่องเพยี ง เล็กนอ้ ย และสถานศกึ ษาพจิ ารณาเห็นวา่ สามารถพฒั นาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้อยใู่ นดลุ พนิ ิจของ สถานศกึ ษาทีจ่ ะผอ่ นผนั ให้เลอื่ นช้นั ได้ แต่หากผเู้ รียนไม่ผา่ นรายวิชาจานวนมาก และมีแนวโนม้ วา่ จะ เป็นปัญหาตอ่ การเรียนในระดบั ช้นั ท่สี ูงข้นึ สถานศกึ ษาอาจต้งั คณะกรรมการพิจารณาใหเ้ รียนซ้าช้นั ได้ ท้งั น้ีใหค้ านึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ความสามารถของผเู้ รียนเป็นสาคญั ๑.๒ การให้ระดบั ผลการเรียน ระดบั ประถมศึกษา ในการตดั สินเพอื่ ให้ระดบั ผลการเรียนรายวชิ า สถานศึกษาสามารถ ใหร้ ะดบั ผลการเรียนหรือระดบั คณุ ภาพการปฏบิ ตั ขิ องผเู้ รียน เป็นระบบตวั เลข ระบบตวั อักษร ระบบ ร้อยละ และระบบทใ่ี ชค้ าสาคญั สะทอ้ นมาตรฐาน การประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคน์ ้นั ใหร้ ะดบั ผล การประเมินเป็น ดีเย่ยี ม ดี และผา่ น
การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน จะตอ้ งพจิ ารณาท้งั เวลาการเขา้ ร่วมกิจกรรม การปฏบิ ตั ิ กิจกรรมและผลงานของผเู้ รียน ตามเกณฑท์ สี่ ถานศกึ ษากาหนด และใหผ้ ลการเขา้ ร่วมกิจกรรมเป็นผ่าน และไมผ่ ่าน ระดบั มธั ยมศึกษา ในการตดั สินเพ่ือให้ระดบั ผลการเรียนรายวชิ า ให้ใชต้ วั เลขแสดงระดบั ผลการเรียนเป็น ๘ ระดบั การประเมินการอา่ น คิดวิเคราะหแ์ ละเขยี น และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคน์ ้นั ให้ระดบั ผล การประเมนิ เป็น ดีเยยี่ ม ดี และผ่าน การประเมินกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน จะตอ้ งพจิ ารณาท้งั เวลาการเขา้ ร่วมกิจกรรม การปฏิบตั ิ กิจกรรมและผลงานของผเู้ รียน ตามเกณฑท์ สี่ ถานศึกษากาหนด และให้ผลการเขา้ ร่วมกิจกรรมเป็นผ่าน และไมผ่ ่าน ๑.๓ การรายงานผลการเรียน การรายงานผลการเรียนเป็นการส่ือสารใหผ้ ปู้ กครองและผเู้ รียนทราบความกา้ วหนา้ ในการเรียนรู้ของผเู้ รียน ซ่ึงสถานศกึ ษาตอ้ งสรุปผลการประเมินและจดั ทาเอกสารรายงานให้ผปู้ กครอง ทราบเป็นระยะ ๆ หรืออยา่ งนอ้ ยภาคเรียนละ ๑ คร้ัง การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็นระดบั คุณภาพการปฏิบตั ขิ องผเู้ รียนทส่ี ะทอ้ น มาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๒. เกณฑ์การจบการศึกษา หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กาหนดเกณฑ์กลางสาหรับการจบการศึกษาเป็ น ๓ ระดบั คือ ระดบั ประถมศกึ ษา ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ และระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๒.๑ เกณฑ์การจบระดบั ประถมศึกษา (๑) ผูเ้ รียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมตามโครงสร้างเวลาเรียน ท่หี ลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานกาหนด (๒) ผเู้ รียนตอ้ งมีผลการประเมินรายวิชาพ้นื ฐาน ผ่านเกณฑก์ ารประเมินตามท่สี ถานศึกษา กาหนด (๓) ผเู้ รียนมีผลการประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี นในระดบั ผา่ นเกณฑ์ การประเมนิ ตามท่สี ถานศึกษากาหนด (๔) ผูเ้ รียนมีผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ในระดบั ผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามท่สี ถานศกึ ษากาหนด (๕) ผูเ้ รียนเขา้ ร่วมกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามท่สี ถานศึกษากาหนด
๒.๒ เกณฑ์การจบระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น (๑) ผูเ้ รียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพ่ิมเติมไม่เกิน ๘๑ หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพ้ืนฐาน ๖๓ หน่วยกิต และรายวิชาเพ่ิมเตมิ ตามท่สี ถานศึกษากาหนด (๒) ผูเ้ รียนตอ้ งไดห้ น่วยกิตตลอดหลกั สูตรไม่นอ้ ยกว่า ๗๗ หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชา พ้นื ฐาน ๖๓ หน่วยกิต และรายวิชาเพ่มิ เติมไมน่ อ้ ยกว่า ๑๔ หน่วยกิต (๓) ผูเ้ รียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่าน เกณฑ์ การประเมนิ ตามท่สี ถานศกึ ษากาหนด (๔) ผูเ้ รียนมีผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ในระดบั ผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามทีส่ ถานศึกษากาหนด (๕) ผูเ้ รียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามทส่ี ถานศึกษากาหนด ๒.๓ เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (๑) ผูเ้ รียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพิ่มเติม ไม่น้อยกวา่ ๘๑ หน่วยกิต โดยเป็ นรายวชิ า พ้ืนฐาน ๓๙ หน่วยกิต และรายวชิ าเพมิ่ เติมตามทส่ี ถานศกึ ษากาหนด (๒) ผูเ้ รียนตอ้ งไดห้ น่วยกิตตลอดหลกั สูตรไม่นอ้ ยกว่า ๗๗ หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชา พ้นื ฐาน ๓๙ หน่วยกิต และรายวชิ าเพิม่ เตมิ ไม่นอ้ ยว่า ๓๘ หน่วยกิต (๓) ผเู้ รียนมีผลการประเมิน การอา่ น คิดวเิ คราะหแ์ ละเขียน ในระดบั ผา่ นเกณฑ์ การประเมินตามทส่ี ถานศึกษากาหนด (๔) ผูเ้ รียนมีผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ในระดบั ผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามที่สถานศึกษากาหนด (๕) ผูเ้ รียนเข้าร่วมกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามทส่ี ถานศึกษากาหนด สาหรบั การจบการศึกษาสาหรบั กลมุ่ เป้าหมายเฉพาะ เช่น การศกึ ษาเฉพาะทาง การศึกษาสาหรบั ผมู้ ีความสามารถพเิ ศษ การศึกษาทางเลอื ก การศกึ ษาสาหรบั ผดู้ อ้ ยโอกาส การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ใหค้ ณะกรรมการของสถานศึกษา เขตพ้นื ที่การศึกษา และผทู้ เ่ี ก่ียวขอ้ ง ดาเนินการวดั และประเมนิ ผล การเรียนรู้ตามหลกั เกณฑใ์ นแนวปฏิบตั ิการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ของหลกั สูตรแกนกลาง การศึกษาข้นั พ้ืนฐานสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
เอกสารหลกั ฐานการศึกษา เอกสารหลักฐานการศึกษา เป็ นเอกสารสาคญั ที่บันทึกผลการเรียน ข้อมูลและสารสนเทศ ทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั พฒั นาการของผูเ้ รียนในดา้ นตา่ ง ๆ แบง่ ออกเป็น ๒ ประเภท ดงั น้ี ๑. เอกสารหลักฐานการศึกษาทกี่ ระทรวงศึกษาธกิ ารกาหนด ๑.๑ ระเบียนแสดงผลการเรียน เป็นเอกสารแสดงผลการเรียนและรบั รองผลการเรียนของ ผเู้ รียนตามรายวิชา ผลการประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะห์และเขียน ผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึง ประสงคข์ องสถานศึกษา และผลการประเมินกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน สถานศกึ ษาจะตอ้ งบนั ทกึ ขอ้ มลู และ ออกเอกสารน้ีใหผ้ ูเ้ รียนเป็นรายบคุ คล เมอื่ ผเู้ รียนจบการศึกษาระดบั ประถมศกึ ษา (ช้นั ประถมศกึ ษาปี ท่ี ๖) จบการศึกษาภาคบงั คบั (ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ ๓) จบการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน(ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ ๖) หรือ เมื่อลาออกจากสถานศกึ ษาในทกุ กรณี ๑.๒ ประกาศนียบัตร เป็ นเอกสารแสดงวุฒิการศึกษาเพื่อรับรองศกั ด์ิและสิทธ์ิของผูจ้ บ การศึกษา ท่ีสถานศึกษาให้ไวแ้ ก่ผูจ้ บการศึกษาภาคบงั คบั และผูจ้ บการศึกษาข้นั พ้ืนฐานตามหลกั สูตร แกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ๑.๓ แบบรายงานผู้สาเร็จการศึกษา เป็นเอกสารอนุมตั ิการจบหลกั สูตรโดยบันทึกรายชื่อ และขอ้ มูลของผูจ้ บการศึกษาระดบั ประถมศึกษา (ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๖) ผูจ้ บการศึกษาภาคบงั คับ (ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ ๓) และผูจ้ บการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน (ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๖) ๒. เอกสารหลักฐานการศึกษาทีส่ ถานศึกษากาหนด เป็ นเอกสารที่สถานศึกษาจดั ทาข้ึนเพ่ือบนั ทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู้ และข้อมูลสาคัญ เก่ียวกบั ผูเ้ รียน เช่น แบบรายงานประจาตวั นักเรียน แบบบนั ทึกผลการเรียนประจารายวิชา ระเบียน สะสม ใบรบั รองผลการเรียน และ เอกสารอนื่ ๆ ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการนาเอกสารไปใช้ การเทียบโอนผลการเรียน สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผูเ้ รียนในกรณีต่างๆไดแ้ ก่ การยา้ ยสถานศึกษา การเปลี่ยนรูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อ การศกึ ษาจากต่างประเทศและขอเขา้ ศึกษาต่อในประเทศ นอกจากน้ี ยงั สามารถเทียบโอนความรู้ ทกั ษะ ประสบการณ์จากแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบันศาสนา สถาบนั การฝึกอบรม อาชีพ การจดั การศึกษาโดยครอบครวั การเทียบโอนผลการเรียนควรดาเนินการในช่วงก่อนเปิ ดภาคเรียนแรก หรือตน้ ภาคเรียนแรก ที่สถานศึกษารับผูข้ อเทียบโอนเป็ นผูเ้ รียน ท้ังน้ี ผูเ้ รียนท่ีไดร้ ับการเทียบโอนผลการเรียนต้องศึกษา ต่อเน่ืองในสถานศึกษาท่ีรับเทียบโอนอย่างน้อย ๑ ภาคเรียน โดยสถานศึกษาที่รับผู้เรียนจาก การเทยี บโอนควรกาหนดรายวิชา/จานวนหน่วยกิตทจี่ ะรับเทยี บโอนตามความเหมาะสม การพิจารณาการเทียบโอน สามารถดาเนินการได้ ดงั น้ี
๑. พิจารณาจากหลกั ฐานการศึกษา และเอกสารอื่น ๆ ท่ีให้ข้อมูลแสดงความรู้ ความสามารถ ของผเู้ รียน ๒. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียนโดยการทดสอบด้วยวิธีการต่าง ๆ ท้ัง ภาคความรู้และภาคปฏิบตั ิ ๓. พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบตั ิในสภาพจริง การเทียบโอนผลการเรียนให้เป็นไปตาม ประกาศ หรือ แนวปฏิบตั ิ ของกระทรวงศึกษาธิการ การบริหารจัดการหลักสูตร ในระบบการศึกษาที่มีการกระจายอานาจให้ท้องถิ่นและสถานศึกษามีบทบาทในการพฒั นา หลักสูตรน้ัน หน่วยงานต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องในแต่ละระดบั ต้ังแต่ระดบั ชาติ ระดับท้องถิ่น จนถึงระดับ สถานศึกษา มบี ทบาทหนา้ ที่ และความรับผดิ ชอบในการพฒั นา สนบั สนุน ส่งเสริม การใชแ้ ละพฒั นา หลักสูตรให้เป็ นไปอย่างมีประสิทธิ ภาพ เพื่อให้การดาเนินการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาและ การจดั การเรียนการสอนของสถานศึกษามปี ระสิทธิภาพสูงสุด อนั จะส่งผลให้การพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน บรรลตุ ามมาตรฐานการเรียนรู้ท่กี าหนดไวใ้ นระดบั ชาติ ระดบั ทอ้ งถิ่น ไดแ้ ก่ สานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา หน่วยงานตน้ สงั กดั อื่น ๆ เป็นหน่วยงานที่มี บทบาทในการขับเคล่ือนคุณภาพการจัดการศึกษา เป็ นตัวกลางที่จะเช่ือมโยงหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีกาหนดในระดับชาติให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถ่ิน เพ่ือนาไปสู่การจดั ทาหลกั สูตรของสถานศกึ ษา ส่งเสริมการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สูตรในระดบั สถานศกึ ษา ให้ประสบความสาเร็จ โดยมีภารกิจสาคญั คือ กาหนดเป้าหมายและจุดเน้นการพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียน ในระดับท้องถ่ินโดยพิจารณาให้สอดคล้องกับสิ่งที่เป็ นความต้องการในระดับชาติ พัฒนาสาระ การเรียนรู้ทอ้ งถ่ิน ประเมินคุณภาพการศกึ ษาในระดบั ทอ้ งถ่ิน รวมท้งั เพ่มิ พูนคุณภาพการใชห้ ลกั สูตร ดว้ ยการวิจยั และพฒั นา การพฒั นาบคุ ลากร สนับสนุน ส่งเสริม ติดตามผล ประเมินผล วิเคราะห์ และ รายงานผลคุณภาพของผเู้ รียน สถานศกึ ษามหี นา้ ท่ีสาคญั ในการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา การวางแผนและดาเนินการใช้ หลกั สูตร การเพม่ิ พูนคุณภาพการใชห้ ลกั สูตรดว้ ยการวิจยั และพฒั นา การปรบั ปรุงและพฒั นาหลกั สูตร จดั ทาระเบียบการวดั และประเมนิ ผล ในการพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษาตอ้ งพิจารณาให้สอดคลอ้ ง กบั หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน และรายละเอียดทีเ่ ขตพ้ืนท่ีการศึกษา หรือหน่วยงาน ตน้ สังกดั อื่นๆ ในระดบั ทอ้ งถ่นิ ไดจ้ ดั ทาเพ่มิ เติม รวมท้งั สถานศกึ ษาสามารถเพ่มิ เตมิ ในส่วนที่เกี่ยวกบั สภาพปัญหาในชุมชนและสงั คม ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน และความตอ้ งการของผเู้ รียน โดยทกุ ภาคส่วนเขา้ มามีส่วนร่วมในการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา
Search
Read the Text Version
- 1 - 29
Pages: