Journey to Injury & Illness Free © สงวนลขิ สทิ ธ์ิ คณะกรรมการการพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื เอสซจี ี สงิ หาคม 2555
SCG Safety Framework: 2012 สารบญั หนา้ SCG Safety Framework Criteria 4คานา 6 6บทนา วตั ถปุ ระสงค์ 6 SCG Safety Vision 6 SCG Safety Principles 6 ขอบขา่ ย 7 คานยิ าม 9SCG Safety Framework Model 10SCG Safety Framework Criteria 12 12 0. Management Leadership & Commitment 12 14 Administrative & Management 15 1. Management Responsibilities 17 18 1.1 Policy 18 1.2 Structure, Roles & Responsibilities 18 1.3 Key Performance Indicators, KPIs 19 1.4 Objectives, Targets & Action Plan 20 1.5 Management Review & Continuous Improvement 20 2. Organization Communications & System Documentation 20 2.1 Communications 2.2 Documentation 22 2.3 Management Information System 22 3. Assessments & Audits 24 3.1 System Assessment 25 3.2 Safety Perception Survey 25 Operational & Technical 26 4. Hazard Recognition, Risk Assessment & Control 27 4.1 Risk Assessment & Control 4.2 Safety Rules 5. Workplace Design & Engineering 5.1 Management of New Project or Initial Phase 5.2 Management of Change 5.3 Pre Start up Safety Review 2/57
6. Operational Health & Safety Programs SCG Safety Framework: 2012 6.1 Registration & Regulation Compliance 6.2 Incident Investigation & Analysis หนา้ 6.3 Emergency Preparedness & Response 6.4 Housekeeping 29 6.5 General Safety Inspection 29 6.6 Machine & Equipment Inspection 29 6.7 Industrial Hygiene Measurement 30 6.8 Health Program 32 6.9 Ergonomic 32 6.10 Vender & Contractor Control 33 6.11 Product Safety Control 34 6.12 Off the Job Safety 34 6.13 Plant Isolation 35 6.14 Hazardous Chemical Control 36 6.15 Radioactive Control 38 6.16 Confined Spaces Safety 38 6.17 Work Permit System 39 6.18 Driving Safety 39 6.19 Work at Height Safety 41 6.20 Lifting Safety 42 6.21 Visitor Safety Control 43 44 Cultural & Behavioral 45 46 7. Employee Involvement 46 8. Competency, Awareness & Training 48 9. Motivation Behavior & Attitudes 50 9.1 Supervisor Safety Observation Program 52 9.2 Total Safety Culture 52 54อา้ งองิ 56คณะทางานผจู้ ดั ทา SCG Safety Framework 2012 57 3/57
SCG Safety Framework: 2012 คานา เรอื่ งความปลอดภัยนับเป็ นสงิ่ ทเ่ี ป็ นคณุ คา่ ทสี่ าคัญยงิ่ ของการทางาน SCG มคี วามหว่ งใยและตอ้ งการอย่างสูงสุดใหพ้ นักงาน และผูเ้ ก่ียวขอ้ งทุกคนมคี วามปลอดภัยในการทางาน ไม่ประสบ หรอื ปราศจากการบาดเจ็บและการเจ็บป่ วยจากการทางาน (Injury & Illness Free) การมีระบบการจัดการอาชวี อนามัยและความปลอดภัยทดี่ โี ดยเนน้ การดาเนนิ การในเชงิ รกุ (Proactive)ในการป้ องกันอันตราย และการสรา้ งใหเ้ กดิ วฒั นธรรมการทางานทปี่ ลอดภัยท่ัวทัง้ องคก์ ร (TotalSafety Culture) นับเป็ นสว่ นสาคัญทจ่ี ะทาใหเ้ กดิ ความปลอดภัยในการทางานไดอ้ ยา่ งยั่งยนื ซงึ่ตอ้ งอาศัยความร่วมมอื กันอย่างจรงิ จังของพนักงานทุกคน ทุกระดับทีต่ อ้ งไม่ละเลยเรอ่ื งความปลอดภัย โดยเฉพาะผบู ้ รหิ ารตอ้ งเป็ นผนู ้ าและรับผดิ ชอบดา้ นความปลอดภัย ตอ้ งตดิ ตามและให ้การสนับสนุนการดาเนนิ การในการป้ องกันอันตรายตา่ งๆ อยเู่ สมอ โดยใหถ้ อื วา่ ความปลอดภัยในการทางานนับเป็ นพื้นฐานที่สาคัญของการดาเนินธุรกิจ โดย “ความปลอดภัยตอ้ งไม่มีการประนปี ระนอม” และ “ยอมไมไ่ ด ้ ถา้ ไมป่ ลอดภยั ” SCG Safety Framework นี้ไดจ้ ัดทาขน้ึ เพอื่ ใหบ้ รษิ ัทใน SCG ใชเ้ ป็ นแนวทางในการจัดทาและพัฒนาระบบการจัดการอาชวี อนามัยและความปลอดภัยใหม้ ีประสทิ ธผิ ล มุ่งสู่การปราศจากการบาดเจ็บและการเจ็บป่ วยจากการทางาน (Injury & Illness Free) อยา่ งยั่งยนื และเพอื่ ใชเ้ ป็ นขอ้ กาหนดในการประเมนิ ประสทิ ธผิ ลการดาเนนิ งานดา้ นความปลอดภัย SCG (SCGSafety Performance Assessment Program, SPAP) ดว้ ย (ปราโมทย์ เตชะสพุ ัฒนก์ ลุ ) ประธานคณะกรรมการการพัฒนาอยา่ งยงั่ ยนื เอสซจี ี 20 สงิ หาคม 2555 4/57
SCG Safety Framework: 2012 คานา สาหรบั ปรบั ปรงุ ครงั้ ท่ี 1 การปรับปรุง SCG Safety Framework ในครัง้ นี้ มจี ุดประสงคเ์ พอ่ื พัฒนาและขยายกรอบการบรหิ ารจัดการดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภัยของ SCG ใหม้ มี าตรฐานเทยี บเท่า หรอืใกลเ้ คียงกับองค์กรต่างๆ ในระดับสากล รวมถึงไดม้ ีการปรับปรุงเน้ือหา ใหค้ รอบคลุมและสอดคลอ้ งกบั แนวปฏบิ ตั ขิ องการพัฒนาอยา่ งยั่งยนื ท่ี SCG ยดึ ถอื เป็ นแนวทางในการดาเนนิ ธรุ กจิเสมอมา ในครัง้ น้ี ไดม้ กี ารปรับปรุงเน้ือหาการจัดการอาชวี อนามัยและความปลอดภัยใหม้ คี วามสอดคลอ้ งและทันสมัยยงิ่ ขนึ้ รวมถงึ ไดเ้ พมิ่ เตมิ แนวปฏบิ ัตทิ เ่ี หมาะสมใหค้ รอบคลุมในกจิ กรรมตา่ งๆ มากขน้ึ เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกับการดาเนนิ ธรุ กจิ ทมี่ คี วามหลากหลายของ SCG โดยเน้ือหาน้ีสามารถนาไปปรับใชไ้ ดใ้ นทุกธรุ กจิ ครอบคลมุ ตัง้ แตก่ ารผลติ การขนสง่ และการใหบ้ รกิ าร โดยมงุ่ หวงั ใหพ้ นักงานและผเู ้ กย่ี วขอ้ งทกุ คนทกุ ระดบั มสี ว่ นรว่ มในการบรหิ ารจัดการดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภัยในเชงิ รุก (Proactive) มคี วามปลอดภัยในการทางาน ปราศจากการบาดเจ็บและการเจ็บป่ วยจากการทางาน (Injury & Illness Free) จนเกดิ เป็ นวัฒนธรรมการทางานท่ีปลอดภัยท่ัวทัง้ องคก์ ร (Total Safety Culture) ของ SCG คณะทางานผจู ้ ัดทา SCG Safety Framework 2012 สงิ หาคม 2555 5/57
SCG Safety Framework: 2012 บทนา SCG Safety Frameworkวตั ถปุ ระสงค์1. เพอื่ ใหบ้ รษิ ัทใน SCG ใชเ้ ป็ นแนวทางในการจัดทา และพัฒนาระบบการจัดการอาชวี อนามัย และความปลอดภัยใหม้ ปี ระสทิ ธผิ ลม่งุ สกู่ ารปราศจากการบาดเจ็บและการเจ็บป่ วยจากการ ทางาน (Injury & Illness Free) อยา่ งยั่งยนื2. เพื่อใชเ้ ป็ นขอ้ กาหนดในการประเมนิ ประสทิ ธผิ ลการดาเนินงานดา้ นความปลอดภัย SCG (SCG Safety Performance Assessment Program, SPAP)SCG Safety Vision การปราศจากการบาดเจ็บและเจ็บป่ วยจากการทางาน (Injury & Illness Free) อยา่ งยง่ั ยนืSCG Safety Principles SCG Safety Framework ไดจ้ ัดทาขนึ้ โดยยดึ หลกั การ 5 SCG Safety Principles ดังนี้1. Safety is our core value: ความปลอดภัยเป็ นคณุ คา่ ทสี่ าคญั ยงิ่ ของการทางาน2. Uncompromising safety standards: มาตรฐานความปลอดภัย ไมม่ กี ารประนปี ระนอม3. All occupational injuries & illnesses can be prevented: การบาดเจ็บและการ เจ็บป่ วยจากการทางานทัง้ หมดสามารถป้องกนั ได ้4. Safety is a line responsibility & management is responsible for preventing occupational injuries & illnesses: ความปลอดภัยเป็ นหนา้ ที่ รับผดิ ชอบโดยตรงตามสายการบรหิ ารงาน และผบู ้ รหิ ารมหี นา้ ทรี่ ับผดิ ชอบในการป้ องกันการ บาดเจ็บและการเจ็บป่ วยจากการทางาน5. Employee involvement is essential: การมสี ว่ นร่วมของพนักงานเป็ นสงิ่ จาเป็ นยง่ิ สาหรับการดาเนนิ งานเรอ่ื งความปลอดภยัขอบขา่ ย SCG Safety Framework นจี้ ัดทาขนึ้ สาหรับ บรษิ ัทและโรงงานใน SCG และมคี วามเสย่ี งทจี่ ะทาใหเ้ กดิ การบาดเจ็บหรอื การเจ็บป่ วยจากทางาน โดยเฉพาะทมี่ โี รงงานและมีกจิ กรรม หรอืบรกิ าร ทม่ี กี ารผลติ ซอ่ ม ประกอบ บรรจสุ นิ คา้ และขนสง่ สนิ คา้ 6/57
SCG Safety Framework: 2012คานยิ ามองคก์ ร ใหห้ มายถงึ บรษิ ัทและโรงงานที่ SCG เป็ นผบู ้ รหิ ารงาน ทัง้ ในประเทศและตา่ งประเทศคธู่ รุ กจิ ใหห้ มายถงึ ผทู ้ ไี่ ดร้ ับความยนิ ยอมใหท้ างานหรอื ทาผลประโยชน์ใหก้ ับบรษิ ัท โดยไมใ่ ช่พนักงาน ซง่ึ มกี ารจา้ งงานในลักษณะทบี่ รษิ ัทเป็ นผใู ้ หก้ ารดแู ลบคุ คลทส่ี าม (Third Party) หมายถงึ บคุ คลทไ่ี มใ่ ชพ่ นักงาน หรอื คธู่ รุ กจิ ของบรษิ ัท เชน่ ที่ปรกึ ษา ผเู ้ ยยี่ มชมงาน นักศกึ ษาฝึกงาน ลกู คา้ บคุ คลภายนอก เป็ นตน้ความปลอดภยั ใหห้ มายรวมถงึ ความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางานซง่ึ หมายความวา่ การกระทาหรอื สภาพการทางานซง่ึ ปลอดจากเหตอุ ันจะทาใหเ้ กดิ การประสบอันตราย การเจ็บป่ วย หรอื ความเดอื ดรอ้ นราคาญอนั เนอื่ งจากการทางานหรอื เกยี่ วกับการทางานอนั ตราย หมายถงึ สง่ิ หรอื สถานการณ์ท่ีอาจก่อใหเ้ กดิ การบาดเจ็บหรือการเจ็บป่ วยจากการทางาน ความเสยี หายต่อทรัพยส์ นิ ความเสยี หายต่อสภาพแวดลอ้ มในการทางานหรอื สงิ่ ต่างๆเหลา่ นรี้ วมกนัการเจ็บป่ วยจากการทางาน หมายถงึ ความเจ็บป่ วยทไ่ี ดพ้ จิ ารณาวา่ มสี าเหตจุ ากกจิ กรรมการทางานหรอื สงิ่ แวดลอ้ มของทท่ี างานการชบ้ี ง่ อนั ตราย หมายถงึ กระบวนการในการคน้ หาอันตรายทม่ี อี ยู่ และการระบลุ ักษณะของอันตรายอบุ ตั กิ ารณ์ (Incident) หมายถงึ เหตกุ ารณ์ หรอื สง่ิ ทเี่ กดิ ขน้ึ อันทาใหเ้ กดิ การบาดเจ็บ เป็ นโรค หรอื เสยี ชวี ติ หรอื ทรัพยส์ นิ เสยี หาย รวมถงึ เหตกุ ารณ์เกอื บเกดิ อบุ ัตเิ หตุอบุ ตั เิ หตุ (Accident) หมายถงึ เหตกุ ารณ์ทไี่ มพ่ งึ ประสงค์ ทอี่ าจเกดิ จากการทไี่ มไ่ ดค้ ดิ ไว ้ลว่ งหนา้ หรอื ไมท่ ราบลว่ งหนา้ หรอื ขาดการควบคมุ แต่เมอื่ เกดิ ขนึ้ แลว้ มผี ลใหเ้ กดิ การบาดเจ็บหรอื ความเจ็บป่ วยจากการทางาน หรือการเสยี ชวี ติ หรอื ความสญู เสยี ต่อทรัพยส์ นิ หรือความเสยี หายตอ่ สภาพแวดลอ้ มในการทางาน หรอื ตอ่ สาธารณชนอบุ ตั เิ หตจุ ากการทางาน หมายถงึ อุบัตกิ ารณ์ในการทางาน หรอื จากการปฏบิ ัตติ ามคาสั่งเพอ่ืผลประโยชน์ของบรษิ ั ทและเป็ นเหตุใหม้ ีผูบ้ าดเจ็บ หรือเป็ นโรค หรือเสยี ชวี ติ หรือทรัพยสนิเสยี หาย ไมว่ า่ การทางานนัน้ จะอยใู่ นเวลาทางานหรอื นอกเวลาทางานปกติ หรอื อยใู่ นสถานทหี่ รอืนอกสถานท่ีปฏบิ ัตงิ านปกติ แต่ไม่รวมถงึ กรณี การประทุษรา้ ย การฆาตกรรม โจรกรรม ภัยธรรมชาตแิ ละการฆา่ ตัวตายอบุ ตั เิ หตขุ น้ั เสยี ชวี ติ (Fatality) หมายถงึ อบุ ัตเิ หตจุ ากการทางานทที่ าใหม้ ผี เู ้ สยี ชวี ติ ไมว่ า่ จะเสยี ชวี ติ ทันที หรอื เสยี ชวี ติ ภายหลังซง่ึ เป็ นผลสบื เนอ่ื งจากอบุ ตั เิ หตนุ ัน้อบุ ตั เิ หตขุ นั้ หยดุ งาน (Lost Time Injury: LTI) หมายถงึ อบุ ัตเิ หตจุ ากการทางานทที่ าใหม้ ีผบู ้ าดเจ็บ จนไมส่ ามารถมาปฏบิ ัตงิ านตามปกตใิ นวนั ทางานถัดไป หรอื ในกะถัดไปได ้ รวมถงึ กรณีทบ่ี าดเจ็บจนไมส่ ามารถมาปฏบิ ตั งิ านไดใ้ นภายหลงัอบุ ตั เิ หตไุ มถ่ งึ ขน้ั หยุดงาน (No Lost Time Injury: NLTI) หมายถงึ อบุ ัตเิ หตจุ ากการทางาน ท่ีทาใหเ้ กดิ การบาดเจ็บ แต่สามารถมาปฏบิ ัตงิ านในวันทางานถัดไป หรือกะถัดไปได ้โดยแบง่ การบาดเจ็บเป็ น 2 ระดับ คอื บาดเจ็บจนตอ้ งเปลย่ี นงานช่ัวคราว (Restricted Work 7/57
SCG Safety Framework: 2012Case) และบาดเจ็บทตี่ อ้ งไดร้ ับการรักษาพยาบาล (Medical Treatment Case) สาหรับการบาดเจ็บทที่ าการปฐมพยาบาลเท่านั้น ไม่เขา้ ขา่ ยอุบัตเิ หตุไม่ถงึ ขัน้ หยุดงาน (ตามนิยามของOSHA)เหตุการณ์เกอื บเกดิ อุบตั เิ หตุ (Near Miss) หมายถงึ เหตุการณ์ท่ไี มพ่ งึ ประสงค์ แต่เมอื่เกดิ ขนึ้ แลว้ มแี นวโนม้ ทจี่ ะกอ่ ใหเ้ กดิ อบุ ตั เิ หตุ 8/57
SCG Safety Framework: 2012SCG Safety Framework Model 2) Organization Communications & System Documentation1) Management 3) AssessmentsResponsibilities & Audits9) Motivation Injury 4) HazardBehavior & & Recognition,Attitudes Risk Assessment Illness Free & Control 8) Competency, Awareness 5) Workplace &Training Design & Engineering7) Employee 6) OperationalInvolvement Safety & Health Programs 9/57
SCG Safety Framework: 2012 SCG Safety Framework Criteria0. ความมงุ่ มน่ั และความเป็ นผนู้ าของผบู้ รหิ าร (Management Leadership & Commitment) ผบู ้ รหิ ารสงู สดุ และผบู ้ รหิ ารทกุ คนขององคก์ รตอ้ งเป็ นผนู ้ าและผรู ้ ับผดิ ชอบในการดาเนนิ งานดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั โดยตอ้ งทาใหแ้ น่ใจวา่ ทุกหน่วยงาน ทุกระดับทอ่ี ยใู่ นความรับผดิ ชอบมีการดาเนนิ งานดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั และแสดงความมุ่งม่นั ในการบรหิ ารงานดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั อยา่ งเป็ นรปู ธรรม ดงั น้ี1. บรหิ ารงานดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภยั ใหเ้ ป็ นสว่ นสาคัญของการดาเนนิ ธรุ กจิ โดยนาผลการ ดาเนนิ งานดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั เป็ นหนง่ึ ใน KPI ของความเป็ นเลศิ ขององคก์ ร (a Key Performance Indicator of Organization Excellence) และผนวกการดาเนนิ งานดา้ นอาชวี อนามัย และความปลอดภยั เขา้ เป็ นสว่ นหนง่ึ ของแผนการดาเนนิ งานและเป้าหมายของธรุ กจิ และใหค้ วามสาคญั เทา่ กบั ดา้ นอน่ื ๆ เชน่ การผลติ คณุ ภาพ เป็ นตน้2. ผบู ้ รหิ ารมหี นา้ ทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบในการดาเนนิ งานดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ดงั น้ี 2.1 กาหนดนโยบาย วัตถุประสงค์ เป้ าหมายและแผนการดาเนนิ งานดา้ นอาชวี อนามัยและความ ปลอดภยั 2.2 กาหนดการวัดผลการดาเนนิ งานดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภยั ทัง้ ในเชงิ รับและในเชงิ รุก โดยใหค้ วามสาคญั และมงุ่ เนน้ ทก่ี ารวดั ผลและการดาเนนิ การในเชงิ รกุ (Proactive) 2.3 กาหนดใหม้ กี ารดาเนนิ การเพอ่ื ใหแ้ น่ใจว่าไดป้ ฏบิ ตั ติ ามขอ้ กาหนดของกฎหมายและขอ้ กาหนด อนื่ ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งทัง้ หมดดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั อยา่ งครบถว้ น 2.4 สอื่ สารและแจกจ่ายนโยบาย วัตถุประสงค์ เป้ าหมายและแผนการดาเนนิ งาน ไปสู่ทุกคนใน องคก์ รใหร้ บั ทราบ เขา้ ใจ และนาไปปฏบิ ตั ิ 2.5 กาหนดโครงสรา้ งการบรหิ ารงานดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั และบทบาทหนา้ ท่ี ความ รับผดิ ชอบของผบู ้ รหิ าร หวั หนา้ งาน และพนักงานทกุ ระดับดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภัย โดยกาหนดใหอ้ าชีวอนามัยและความปลอดภัยเป็ นหนา้ ที่รับผดิ ชอบโดยตรงตามสายการ บรหิ ารงาน และกาหนดพนื้ ทคี่ วามรับผดิ ชอบทช่ี ดั เจน 2.6 จัดสรรทรัพยากรทเี่ พยี งพอ สาหรับการดาเนนิ งานดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภัย ไดแ้ ก่ งบประมาณ บคุ ลากรดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั เครอื่ งมอื อปุ กรณ์และสงิ่ อานวยความ สะดวกทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การดาเนนิ งานดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั 2.7 ใหก้ ารฝึกอบรมเพอ่ื ใหท้ กุ คนเขา้ ใจและมคี วามสามารถในการปฏบิ ตั งิ านตามบทบาทหนา้ ทคี่ วาม รบั ผดิ ชอบ และแผนการดาเนนิ งานดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั 2.8 ตดิ ตามและทบทวนผลการดาเนนิ งานดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ทัง้ หมดเป็ นระยะ เพอ่ื วดั ผลการบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ และเป้าหมายทต่ี งั้ ไว ้ และการปรับปรงุ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง 2.9 ไดร้ ับและพจิ ารณารายงานผลการดาเนนิ งานดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ทัง้ ผลในเชงิ รบั และในเชงิ รกุ เป็ นประจาทกุ เดอื น 2.10 ใหม้ กี ารดาเนนิ การแกไ้ ขและการป้ องกันขอ้ บกพร่องดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภัยโดย ทนั ที หรอื ภายในระยะเวลาทเ่ี หมาสมตามความจาเป็ น3. สนับสนุนงบประมาณทเ่ี พยี งพอสาหรับการดาเนนิ งานดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภัย โดยเฉพาะ การปฏบิ ัตติ ามขอ้ กาหนดของกฎหมายท่ีเกย่ี วขอ้ ง การปรับปรุงแกไ้ ขสภาพที่ไม่ปลอดภัย และการ ฝึกอบรมเพอื่ ใหพ้ นักงานมคี วามรู ้ จติ สานกึ และความสามารถในการทจ่ี ะปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ยา่ งปลอดภยั อยา่ งตอ่ เนอื่ ง 10/57
SCG Safety Framework: 20124. มกี ารดาเนนิ การทแ่ี สดงใหเ้ ห็นถงึ การเป็ นผูน้ าดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภัย (Visible Safety Leadership) อยา่ งชดั เจนดงั นี้ เป็ นตน้ 4.1 เป็ นแบบอยา่ ง (Role Model) ในการปฏบิ ัตติ ามกฎระเบยี บ และมาตรการดา้ นอาชวี อนามยั และ ความปลอดภยั เชน่ การสวมใสอ่ ปุ กรณป์ ้องกนั อนั ตรายสว่ นบคุ คลตามทกี่ าหนด การปฏบิ ัตติ าม กฎระเบยี บ และมาตรการความปลอดภัย หรอื การใหข้ อ้ เสนอแนะดา้ นอาชวี อนามัยและความ ปลอดภยั การรายงานสภาพการณท์ ไี่ มป่ ลอดภยั การปรบั ปรงุ และควบคมุ ความเสยี่ ง เป็ นตน้ 4.2 เขา้ ร่วมกจิ กรรมดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภัยต่างๆ อย่างสม่าเสมอ เชน่ การสนทนา ความปลอดภยั (Safety Talk/ Safety Contact) งาน Safety Month/Week การเขา้ รว่ มประชมุ ดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั การเขา้ รว่ มการดาเนนิ การตรวจความปลอดภัย หรอื สังเกต การทางานเพอ่ื ความปลอดภัย ไมว่ ่าจะเป็ นผูส้ ังเกต หรอื ผูถ้ ูกสังเกต การบรรลุเป้ าหมายการ ดาเนนิ งานดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั เชงิ รกุ เป็ นตน้ 4.3 เขา้ ร่วมประชมุ ดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภัยทัง้ ตามทก่ี าหนด และทส่ี ามารถเขา้ ร่วม ประชมุ ได ้ 4.4 ใหค้ วามสาคัญและสอบถามถงึ ความคบื หนา้ และปัญหาอปุ สรรคของการดาเนนิ งานดา้ นอาชวี อ นามยั และความปลอดภัย เพอ่ื ใหค้ าแนะนาและชว่ ยการแกป้ ัญหาดังกล่าวอยา่ งสมา่ เสมอ และ ทกุ ครงั้ ทม่ี โี อกาส (ขอ้ 4.1 – 4.4 เสมอื นเป็ น Inspiration ของผบู ้ รหิ าร) 4.5 ใหก้ ารยอมรับและยกยอ่ งชมเชย รวมทัง้ ใหร้ างวัลตามความเหมาะสมกับพนักงานและหัวหนา้ งานทม่ี ี พฤตกิ รรมการทางานทป่ี ลอดภัย และเขา้ ร่วมกจิ กรรมอาชวี อนามยั และความปลอดภัย ตา่ งๆ อยา่ งสมา่ เสมอ 4.6 เป็ นผนู ้ าการพดู คยุ สอบถามเรอื่ ง ความปลอดภยั (Safety Brief, Safety Contact ) กอ่ นเรมิ่ การประชมุ ทกุ การประชมุ เนน้ ทก่ี ารดาเนนิ การในการป้องกนั อบุ ตั เิ หตุ และการเลา่ ถงึ Case การ เกดิ อบุ ตั กิ ารณ์และการเรยี นรทู ้ ส่ี าคญั 4.7 มกี ารดาเนนิ การสงั เกตการทางานเพอ่ื ความปลอดภยั ของพนักงานโดยผูบ้ รหิ าร (Management Safety Observation Program) เป็ นระยะอยา่ งสม่าเสมอ (ระดับ กจก./ ผร. อยา่ งนอ้ ยไตรมา สละ 1 ครงั้ และระดบั จัดการ อยา่ งนอ้ ยเดอื นละ 1 ครงั้ ) (ขอ้ 4.5 – 4.7 เสมอื นเป็ น Action ของผบู ้ รหิ าร)5. ผบู ้ รหิ ารทุกระดับตอ้ งดาเนนิ การ Visible Safety Leadership ทชี่ ดั เจน โดยพนักงานตอ้ งรสู ้ กึ ว่า ผบู ้ รหิ ารหว่ งใย (Caring) และใหค้ วามสาคัญเรอ่ื งความปลอดภัยของพนักงานเป็ นอยา่ งยงิ่ รวมทัง้ ให ้ การสนับสนุนการดาเนนิ การดา้ นความปลอดภยั อยา่ งชดั เจนเป็ นรปู ธรรม6. การตัง้ เป้ าหมายการดาเนนิ การต่างๆ ตอ้ งตัง้ ในเชงิ บวก เนน้ Proactive or Process Measurements ของการดาเนนิ การในเชงิ รกุ ในการป้องกนั การเกดิ อบุ ตั กิ ารณ์ และขอ้ บกพรอ่ งตา่ งๆ มากกวา่ Reactive or Result Measurements ทด่ี กู ารเกดิ อบุ ตั กิ ารณ์และความสูญเสยี และมงุ่ ใหเ้ กดิ ความสาเร็จในการ ดาเนนิ การใหบ้ รรลเุ ป้าหมายดงั กลา่ ว7. การวางแผนการดาเนินงาน การปรับปรุง การแกไ้ ขและการป้ องกันขอ้ บกพร่องต่างๆ ตอ้ งพจิ ารณา อยา่ งเป็ นระบบครอบคลมุ ในทกุ ปัจจยั ทมี่ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งไปดว้ ยกนั อยา่ งตอ่ เนอื่ งดังน้ี ปัจจัยดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม (Environment Factor) ไดแ้ ก่ เครอื่ งจักร อปุ กรณ์ สภาพแวดลอ้ มใน การทางาน วธิ กี ารปฏบิ ตั งิ าน มาตรการ กฎระเบยี บดา้ นความปลอดภยั ระบบการจัดการ เป็ นตน้ ปัจจยั ดา้ นบคุ คล (Person Factor) ไดแ้ ก่ ความรู ้ ความสามารถ ทักษะ ประสบการณ์ จติ สานกึ ทัศนคติ ความรสู ้ กึ ลกั ษณะสว่ นบคุ คล เป็ นตน้ ปัจจัยดา้ นพฤตกิ รรม (Behavior Factor) ไดแ้ ก่ พฤตกิ รรมความปลอดภัยของหัวหนา้ งานและ ผูร้ ว่ มงาน การดูแลความปลอดภยั ของหัวหนา้ งาน การพูดคุยเอาใจใสเ่ รอ่ื งความปลอดภัยอยู่ เสมอ เป็ นตน้ 11/57
SCG Safety Framework: 20121. ความรบั ผดิ ชอบของผบู้ รหิ าร (Management Responsibilities)1.1 นโยบาย (Policy) เพื่อแสดงถงึ ความมุ่งมั่น และใหแ้ นวทางท่ีชัดเจนในการดาเนนิ การป้ องกันการบาดเจ็บ และเจ็บป่ วยจากการทางาน แตล่ ะองคก์ รตอ้ งกาหนดนโยบายอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ดงั นี้ 1. มกี ารจัดทาเป็ นลายลักษณ์อกั ษร 2. มกี ารลงนามโดยผบู ้ รหิ ารสงู สดุ ขององคก์ ร เชน่ กจก./รอง กจก./ผร. 3. มกี ารทบทวนอยา่ งนอ้ ยปี ละ 1 ครัง้ โดยผูบ้ รหิ ารสงู สดุ และคณะผบู ้ รหิ ารทกุ คน (คณะจัดการ ขององคก์ ร) 4. สาระสาคญั ทกี่ าหนดในนโยบายอาชวี อนามัยและความปลอดภัยครอบคลมุ ประเด็นทสี่ าคัญๆ ดงั นี้ 4.1 ยดึ SCG Safety Principles เป็ นแนวทางในการจัดการอาชวี อนามยั และความปลอดภยั 4.2 เหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั ความเสยี่ งขององคก์ ร 4.3 แสดงเจตนารมณ์ทจี่ ะปฏบิ ตั ติ ามขอ้ กาหนดของกฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 4.4 แสดงเจตนารมณท์ จี่ ะปรับปรงุ และป้องกนั อนั ตรายอยา่ งตอ่ เนอื่ ง 4.5 แสดงเจตนารมณ์ทจ่ี ะจัดสรรทรัพยากรใหเ้ พยี งพอ และเหมาะสมสาหรับการดาเนนิ การ ดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั 4.6 เปิดโอกาสใหพ้ นักงานมสี ทิ ธทิ์ จ่ี ะปฏเิ สธงานทมี่ คี วามเสยี่ งสงู และไมป่ ลอดภยั 5. มกี ารเผยแพร่ หรอื ชแี้ จงนโยบายอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ใหผ้ ทู ้ เี่ กย่ี วขอ้ งไดร้ ับทราบ เขา้ ใจ ตระหนักถงึ ความสาคัญ โดย 5.1 ครอบคลมุ ถงึ ผเู ้ กยี่ วขอ้ ง ไดแ้ ก่ พนักงาน คู่ธุรกจิ หน่วยงานราชการทอ้ งถนิ่ ชมุ ชนรอบ โรงงาน 5.2 พนักงานทกุ คนทกุ ระดับ และพนักงานคธู่ รุ กจิ ตอ้ งมคี วามรูค้ วามเขา้ ใจในประเด็นสาคัญ ของนโยบาย และนานโยบายไปปฏบิ ัตอิ ยา่ งต่อเนื่อง โดยเฉพาะบทบาทหนา้ ทใ่ี นการ ปฏบิ ตั ติ นเพอื่ ใหบ้ รรลนุ โยบายอาชวี อนามยั และความปลอดภยั 5.3 มกี ารเปิดโอกาสใหพ้ นักงานและคธู่ รุ กจิ มสี ว่ นรว่ มในการใหข้ อ้ คดิ เห็นตอ่ นโยบายอาชวี - อนามยั และความปลอดภยั และการนานโยบายฯ ไปปฏบิ ตั ิ1.2 โครงสรา้ ง บทบาทหนา้ ที่ และความรบั ผดิ ชอบ (Structure, Roles & Responsibilities) เพอื่ ใหอ้ าชวี อนามยั และความปลอดภัยเป็ นหนา้ ทรี่ ับผดิ ชอบโดยตรงตามสายการบรหิ ารงาน และพนักงานทกุ คนทกุ ระดับในองคก์ รไดร้ บั ทราบ และมกี ารปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ ความรับผดิ ชอบของตน ดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภัยไดอ้ ยา่ งชัดเจน แต่ละองคก์ รตอ้ งกาหนดโครงสรา้ ง บทบาทหนา้ ที่ และความรบั ผดิ ชอบดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ดังน้ี โครงสรา้ งการบรหิ ารงานอาชวี อนามยั และความปลอดภยั 1. มกี ารจัดโครงสรา้ งการบรหิ ารงานอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ทช่ี ดั เจน เป็ นลายลักษณ์ อกั ษร และมกี ารประกาศใชอ้ ยา่ งเป็ นทางการลงนามโดยผบู ้ รหิ ารสงู สดุ พรอ้ มและกาหนด หนา้ ทขี่ องหน่วยงานความปลอดภยั ฯ ตามขอ้ กาหนดของกฎหมาย และ เผยแพรโ่ ครงสรา้ ง ดังกลา่ วใหผ้ เู ้ กยี่ วขอ้ งในองคก์ รไดร้ ับทราบโดยทัว่ กนั 2. กรณอี งคก์ รทมี่ พี นักงานตงั้ แต่ 500 คนขน้ึ ไป ใหม้ กี ารแตง่ ตัง้ คณะอนุกรรมการ/คณะทางาน อาชวี อนามยั และความปลอดภยั ระดบั สว่ น สาหรบั สว่ นทม่ี จี านวนพนักงานตัง้ แต่ 50 คนขน้ึ ไปดว้ ยหน่วยงานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 12/57
SCG Safety Framework: 2012หนว่ ยงานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน3. องคก์ รทมี่ พี นักงานตงั้ แต่ 200 คนขนึ้ ไป (ยกเวน้ ทาเหมอื งแร่ เหมอื งหนิ กจิ การปิโตรเลยี ม หรอื ปิโตรเคม)ี ทม่ี พี นักงานตงั้ แต่ 2 คนขน้ึ ไป ตอ้ งจัดตงั้ หน่วยงานความปลอดภยั ฯ โดย 3.1 ใหข้ นึ้ ตรงตอ่ ผบู ้ รหิ ารสงู สดุ ในองคก์ รนัน้ 3.2 มฐี านะและระดบั ทป่ี ระสานกบั หน่วยงานตา่ งๆ ไดด้ ี 3.3 มบี คุ ลากรและงบประมาณ ทส่ี ามารถปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ4. มกี ารแตง่ ตัง้ หวั หนา้ หน่วยงานความปลอดภยั ฯ ซง่ึ ตอ้ งมคี ณุ สมบตั ิ ดังนี้ 4.1 ตอ้ งเป็ น หรอื เคยเป็ น เจา้ หนา้ ทค่ี วามปลอดภยั ในการทางาน ระดับวชิ าชพี 4.2 หรอื เป็ นหรอื เคยเป็ น เจา้ หนา้ ทคี่ วามปลอดภัยในการทางานซงึ่ ผ่านการอบรมตาม หลักเกณฑ์ หรอื วธิ กี ารทอี่ ธบิ ดปี ระกาศกาหนด 4.3 ทาหนา้ ที่ บงั คบั บญั ชา และรับผดิ ชอบในการปฏบิ ตั งิ านของหน่วยงานความปลอดภยั ฯ5. มกี ารดาเนนิ งานตามหนา้ ทขี่ อ้ กาหนดของกฎหมายอยา่ งครบถว้ นคณะกรรมการความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน6. องค์กรท่ีมจี านวนพนักงานตัง้ แต่ 50 คนขนึ้ ไป (นับรวมพนักงานคู่ธุรกจิ ดว้ ย) ตอ้ งมกี าร แต่งตัง้ คณะกรรมการความปลอดภัยอาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางานตาม ขอ้ กาหนดของกฎหมาย โดย 6.1 โครงสรา้ งของคณะกรรมการความปลอดภัยฯ จะตอ้ งเป็ นไปตามสัดส่วนและมี คณุ สมบตั ติ ามขอ้ กาหนดของกฎหมาย 6.2 กรรมการทเี่ ป็ นผูแ้ ทนลูกจา้ ง จะตอ้ งมาจากการเลอื กตัง้ ดว้ ยวธิ ีตามขอ้ กาหนดของ กฎหมาย 6.3 คณะกรรมการตอ้ งผา่ นการอบรมตามทก่ี ฏหมายกาหนด7. คณะกรรมการความปลอดภัยฯ มคี วามเป็ นอสิ ระ ในการดาเนนิ งานและขน้ึ ตรงตอ่ ผูบ้ รหิ าร สงู สดุ8. ประธานคณะกรรมการความปลอดภัยฯ เป็ นผบู ้ รหิ ารสงู สดุ หรอื ผูบ้ รหิ ารระดับสงู ทข่ี น้ึ ตรง และไดร้ ับมอบหมายจากผูบ้ รหิ ารสูงสุด มกี ารกาหนดหนา้ ท่ีและความรับ ผดิ ชอบของ คณะกรรมการความปลอดภยั ฯ ตามขอ้ กาหนดของกฎหมาย9. คณะกรรมการความปลอดภยั ฯ มกี ารดาเนนิ งานตามขอ้ กาหนดของกฎหมายอยา่ งครบถว้ น ไดแ้ ก่ มกี ารประชมุ และตรวจความปลอดภยั เป็ นประจาทกุ เดอื น เป็ นตน้เจา้ หนา้ ทคี่ วามปลอดภยั ในการทางาน10. มกี ารแตง่ ตัง้ และแจง้ รายชอื่ เจา้ หนา้ ทค่ี วามปลอดภยั ในการทางานระดับต่างๆ ซงึ่ ขน้ึ อยกู่ ับ จานวนของพนักงาน (นับรวมพนักงานคธู่ รุ กจิ ดว้ ย) ตามขอ้ กาหนดของกฎหมาย ดังนี้ 10.1 เจา้ หนา้ ที่ความปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิคอย่างนอ้ ย 1 คน (องคก์ รที่มี พนักงานตงั้ แต่ 20-49 คน) 10.2 เจา้ หนา้ ทคี่ วามปลอดภยั ในการทางานระดับเทคนคิ ชนั้ สงู อยา่ งนอ้ ย 1 คน (องคก์ รทมี่ ี พนักงานตงั้ แต่ 50-99 คน) 10.3 เจา้ หนา้ ที่ความปลอดภัยในการทางานระดับวชิ าชพี อย่างนอ้ ย 1 คน (องค์กรท่ีมี พนักงานตัง้ แต่ 100 คนขนึ้ ไป) (สาหรับองคก์ รที่ทาเหมอื งแร่ เหมอื งหนิ กจิ การ ปิโตรเลยี มหรอื ปิโตรเคมี ทม่ี พี นักงานตงั้ แต่ 2 คนขนึ้ ไป) 10.4 เจา้ หนา้ ทค่ี วามปลอดภยั ในการทางานระดับบรหิ ารสาหรบั พนักงานระดบั จดั การทกุ คน 10.5 เจา้ หนา้ ทคี่ วามปลอดภยั ในการทางานระดับหัวหนา้ งานสาหรับพนักงานระดับบังคับ บญั ชาและวชิ าชพี ทกุ คน (และพนักงานทปี่ ฏบิ ตั หิ นา้ ทเ่ี ป็ นหวั หนา้ งานทกุ คน) 13/57
SCG Safety Framework: 2012 11. มกี ารกาหนดหนา้ ทแ่ี ละความรับผดิ ชอบของเจา้ หนา้ ทค่ี วามปลอดภัยในการทางานระดับ ตา่ งๆ ตามขอ้ กาหนดของกฎหมาย และมกี ารดาเนนิ งานตามขอ้ กาหนดของกฎหมายอยา่ ง ครบถว้ น การระบหุ นา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั 12. มกี ารกาหนดหนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การดาเนนิ งานดา้ นอาชวี อนามยั และความ ปลอดภยั ของทกุ หน่วยงานในองคก์ ร 13. มกี ารระบหุ นา้ ทคี่ วามรับผดิ ชอบดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภัย ใน Job Description (JD) ของพนักงานทกุ คนในแตล่ ะตาแหน่งงาน อยา่ งเหมาะสมและครบถว้ นดงั น้ี 13.1 ระดับจดั การ: ระบใุ หเ้ ป็ นผนู ้ าและรับผดิ ชอบดา้ นความปลอดภัย มหี นา้ ทส่ี ง่ เสรมิ และ สนับสนุนการดาเนนิ งานดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั และเป็ นเจา้ หนา้ ทคี่ วาม ปลอดภยั ในการทางานระดับบรหิ าร มหี นา้ ทต่ี ามขอ้ กาหนดของกฎหมาย 13.2 ระดับบงั คบั บญั ชา: ระบใุ หม้ หี นา้ ทดี่ ูแลความปลอดภยั ของผใู ้ ตบ้ งั คับบญั ชา และเป็ น เจา้ หนา้ ทคี่ วามปลอดภยั ในการทางานระดับหัวหนา้ งาน มหี นา้ ทต่ี ามขอ้ กาหนดของ กฎหมาย 13.3 ระดับปฏบิ ตั กิ าร: ระบใุ หด้ แู ลความปลอดภยั ของตนเอง และผรู ้ ว่ มงาน โดยปฏบิ ัตติ าม กฎระเบยี บ และมาตรการความปลอดภัยโดยเคร่งครัด รวมทัง้ การมสี ว่ นร่วมในการ ดาเนนิ งานดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ตา่ งๆ 14. พนักงานทุกคน ทุกระดับ ตอ้ งไดร้ ับทราบ เขา้ ใจ และปฏบิ ัตติ าม บทบาท หนา้ ที่ความ รับผดิ ชอบดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ทก่ี าหนดไว ้1.3 ตวั ชว้ี ดั ผลการดาเนนิ งานทส่ี าคญั (Key Performance Indicators, KPIs) เพอ่ื แสดงใหเ้ ห็นถงึ ผลการดาเนนิ งาน ประสทิ ธภิ าพ หรอื ประสทิ ธผิ ลการดาเนนิ งานดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ทัง้ ระบบอยา่ งชดั เจนทัง้ ในเชงิ รับและเชงิ รกุ แต่ละองคก์ รตอ้ งกาหนดตัวชว้ี ัดผลการดาเนนิ งานทส่ี าคัญดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ดังน้ี 1. ผูบ้ รหิ ารขององคก์ รตอ้ งกาหนดตัวชว้ี ัดผลการดาเนินงานทส่ี าคัญดา้ นอาชวี อนามัยและ ความปลอดภัย ทัง้ ในเชงิ รุก (Proactive Measurement or Leading Indicators) และใน เชงิ รบั (Reactive Measurement or Lagging Indicators) เป็ นเป้าหมายขององคก์ ร คานยิ าม Proactive Measurements or Leading Indicators: เป็ นตัวชวี้ ัดในเชงิ รกุ ทแี่ สดงผลการ ดาเนนิ งาน ประสทิ ธภิ าพ หรอื ประสทิ ธผิ ลของการดาเนนิ งาน กจิ กรรม หรอื กระบวนการ (Process KPIs) ต่างๆ ท่ีดาเนินการในการป้ องกันการเกดิ อุบัตกิ ารณ์ ก่อนท่ีจะเกดิ อบุ ตั กิ ารณ์ เชน่ จานวนงานทมี่ กี ารวเิ คราะหง์ านเพอ่ื ความปลอดภัย (Job Safety Analysis) %พฤตกิ รรมท่ีปลอดภัยจากการสังเกตการทางานเพ่ือความปลอดภัย (Job Safety Observation) ความถข่ี องการประชมุ ความปลอดภัย (Safety Meetings) ในแต่ละ หน่วยงาน %การแกไ้ ขและการป้องกนั สภาพอนั ตรายทแี่ ลว้ เสร็จตามทก่ี าหนดจากการตรวจ ความปลอดภัย (Safety Inspections) คะแนนจากการตรวจประเมนิ (Scored Assessments) ผลการสารวจดา้ นการยศาสตร์ (Ergonomics Surveys) ผลการสารวจความ คดิ เห็นพนักงาน (Perception Surveys) เป็ นตน้ Reactive Measurements or Lagging Indicators: เป็ นตัวชว้ี ัดในเชงิ รับทแี่ สดงผลลัพธ์ สดุ ทา้ ย (Result KPIs) ซงึ่ กค็ อื การเกดิ อบุ ตั กิ ารณ์ และการสญู เสยี ตา่ งๆ ทเี่ กดิ ขน้ึ แลว้ เชน่ จานวนเหตกุ ารณ์เกอื บเกดิ อบุ ัตเิ หตุ (Near Misses) มลู ค่าทรัพยส์ นิ ทเ่ี สยี หายจากการเกดิ 14/57
SCG Safety Framework: 2012 อบุ ตั เิ หตุ (Property Damage Value) จานวนอบุ ตั เิ หตถุ งึ ขนั้ หยดุ งานและไมห่ ยดุ งาน อตั รา ความถแี่ ละความรนุ แรงจากการเกดิ อบุ ตั กิ ารณ์ตา่ งๆ (Incident Frequency & Severity Rates) จานวนผูเ้ สยี ชวี ติ จากการเกดิ อุบัตเิ หตุ (Number of Fatalities) จานวนเงนิ คา่ ชดเชย (Workers‟ Compensation Costs) และคา่ รักษาพยาบาล (Medical Treatment Costs) จากการเกดิ อบุ ตั เิ หตุ คา่ ปรบั ตา่ งๆ ตามขอ้ กาหนดของกฎหมาย เป็ นตน้ 2. มกี ารกาหนดค่าเป้ าหมายของตัวชว้ี ัดผลการดาเนนิ งานท่ีสาคัญที่กาหนดทุกตัว พรอ้ ม กาหนดความถใ่ี นการวัดผลเป็ นประจา 3. มกี ารกระจายตวั ชว้ี ัดผลการดาเนนิ งานทส่ี าคัญ และคา่ เป้ าหมายทกี่ าหนด ไปยังหน่วยงาน ต่างๆ ที่เกีย่ วขอ้ งท่ัวทัง้ องค์กร โดยระดับบุคคล หรือ หน่วยงานจะรับผดิ ชอบ Leading Indicators เป็ นสว่ นใหญ่ สาหรับ Lagging Indicators เป็ นความรับผดิ ชอบในระดับบรษิ ัท หรอื องคก์ รเป็ นสว่ นใหญ่ 4. จัดใหม้ กี ารรายงานผลเทียบกับค่าเป้ าหมายใหก้ ับผูบ้ รหิ ารพจิ ารณาโดยเป็ นวาระประชมุ ประจาระดับหน่วยงาน และระดับบรษิ ัทหรอื องคก์ ร อยา่ งนอ้ ยเดอื นละ 1 ครัง้ และใหม้ งุ่ เนน้ หรอื ใหค้ วามสาคญั กบั Leading Indicators เพอื่ ใหม้ กี ารดาเนนิ การในการป้องกนั อบุ ตั เิ หตุ และความสูญเสยี โดยไม่ตอ้ งรอใหเ้ กดิ ความสญู เสยี แลว้ จงึ มาดาเนินการ หาก Lagging Indicators ไมไ่ ดต้ ามค่าเป้ าหมาย ตอ้ งกลับมาพจิ ารณาว่า Leading Indicators มคี วาม เหมาะสม เพยี งพอ และบรรลเุ ป้าหมายหรอื ไม่ อยา่ งไร 5. มกี ารใหร้ างวัล หรอื การยกย่อง (Reward/Recognition) กับการบรรลุเป้ าหมายสาหรับ ตัวชว้ี ัดในเชงิ รกุ ตามความเหมาะสม เพอื่ สง่ เสรมิ และจูงใจการดาเนนิ การในการป้ องกนั การ เกดิ อบุ ตั กิ ารณ์ 6. มกี ารนาผลการดาเนินงานดา้ นความปลอดภัย มาใชเ้ ป็ นส่วนหน่ึงในการประเมนิ ผลการ ปฏบิ ตั งิ านประจาปีของพนักงานแตล่ ะคน1.4 วตั ถปุ ระสงค์ เป้ าหมาย และแผนการดาเนนิ งาน (Objectives, Targets & Action Plan) เพื่อใหม้ กี ารนานโยบายอาชวี อนามัยและความปลอดภัย ไปสู่การปฏบิ ัตอิ ย่างเป็ นรูปธรรม มีประสทิ ธผิ ล สอดคลอ้ งกบั เจตนารมณแ์ ละความมงุ่ ม่ันของผบู ้ รหิ าร และเพอ่ื การปรับปรงุ อยา่ งตอ่ เน่อื ง แต่ละองคก์ รตอ้ งกาหนดวตั ถปุ ระสงค์ เป้าหมาย และแผนการดาเนนิ งานดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยัเพอ่ื ใหบ้ รรลนุ โยบายฯ ดังนี้ 1. มกี ารกาหนดวัตถุประสงค์ เป้ าหมาย และแผนการดาเนนิ งานดา้ นอาชวี อนามัยและความ ปลอดภยั ในชว่ ง 3-5 ปีขา้ งหนา้ (Medium Term Plan, MTP) ระดับองคก์ ร 2. มกี ารวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทเ่ี กย่ี วขอ้ งอยา่ งเพยี งพอ เพอื่ ใชใ้ นการจัดทา Medium Term Plan ดงั กลา่ ว โดยมกี ารสรุปประเด็นการเรยี นรูท้ สี่ าคัญ หรอื เรอื่ งทยี่ งั เป็ นปัญหาทพี่ บบอ่ ย หรอื เรื่องสาคัญทคี่ วรมกี ารแกไ้ ข ปรับปรุง หรือ เร่ืองใหม่ที่ยังไม่ไดด้ าเนินการและเห็นว่ามี ประโยชนส์ ามารถชว่ ยพฒั นาปรบั ปรงุ ประสทิ ธผิ ลการดาเนนิ งานดา้ นอาชวี อนามยั และความ ปลอดภยั ใหด้ ยี ง่ิ ขนึ้ ได ้ ขอ้ มลู ทน่ี ามาวเิ คราะห์ เชน่ 2.1 ผลการดาเนนิ งานตามแผนการดาเนนิ งานปีทผ่ี า่ นมา 2.2 ผลการประเมนิ ความเสย่ี งกจิ กรรม พน้ื ท่ี (อคั คภี ยั ) และสขุ ภาพ 2.3 ผลการตรวจความปลอดภยั 2.4 ผลการตรวจสขุ ภาพพนักงาน 2.5 ผลการตรวจวัดภาวะแวดลอ้ มในการทางาน 2.6 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู อบุ ตั เิ หต/ุ เหตกุ ารณ์เกอื บเกดิ อบุ ตั เิ หตุ (Near Miss) 15/57
SCG Safety Framework: 2012 2.7 ผลการตรวจประเมนิ ระบบความปลอดภัย เช่น Internal Audit, Assessment, Surveillance ตามระบบ TIS/OHSAS 18001, SPAP เป็ นตน้ 2.8 ผลการปฏบิ ตั ติ ามขอ้ กาหนดของกฎหมาย 2.9 ขอ้ คดิ เห็น และขอ้ เสนอแนะจากพนักงาน และคธู่ รุ กจิ 2.10 ขอ้ รอ้ งเรยี น และขอ้ คดิ เห็นจากภายนอก 2.11 ผลการดงู าน หรอื Best Practices ดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ขององคก์ ร ชนั้ นาตา่ งๆ ทัง้ ในระดับประเทศ และในระดบั World Class เป็ นตน้3. มกี าร Benchmark ตวั เลขอตั ราการเกดิ อบุ ตั เิ หตุ กบั องคก์ รชนั้ นาตา่ งๆ ในธรุ กจิ เดยี วกนั ใน ระดับ World Class และมกี ารกาหนดวัตถุประสงค์ และเป้ าหมายสาหรับอัตราการเกดิ อบุ ตั เิ หตใุ หอ้ ยใู่ นระดับเดยี วกนั กบั หรอื ดกี วา่ องคก์ รชนั้ นาดังกลา่ ว4. มกี ารจัดทาแผนการดาเนนิ งานดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภัยประจาปี ทส่ี อดคลอ้ งกับ Medium Term Plan ดงั กลา่ ว5. การจัดทาวัตถุประสงค์ เป้ าหมาย และแผนการดาเนินงานดังกล่าว ตอ้ งใหผ้ ูร้ ับผดิ ชอบ ทัง้ หมด ไดแ้ ก่ ผูบ้ รหิ ารทุกหน่วยงาน คณะกรรมการความปลอดภัยฯ เจา้ หนา้ ที่ความ ปลอดภัยในกา รทางา น ผูร้ ับผิดชอบตามแผนการด าเนินงานทั้งห มด มีส่วนร่วม (Involvement) ในการจดั ทา เพอื่ ใหเ้ กดิ การยอมรบั รว่ มกนั (Agreement) ในการ ทจ่ี ะดาเนนิ การตามแผนการดาเนนิ งานใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคแ์ ละเป้ าหมายทก่ี าหนดไวอ้ ยา่ ง มปี ระสทิ ธผิ ล6. วัตถปุ ระสงค์ เป้าหมาย และแผนการดาเนนิ งานดังกล่าวทัง้ หมดตอ้ งจัดทาเป็ นเอกสารและ ไดร้ ับการอนุมัตอิ ย่างเป็ นทางการโดยผูบ้ รหิ ารสูงสุด หรอื ประธานคณะกรรมการความ ปลอดภยั ฯ หรอื ผบู ้ รหิ ารทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย7. แผนการดาเนนิ งานอาชวี อนามยั และความปลอดภัยประจาปี ตอ้ งมกี ารกาหนดรายละเอยี ด ของแผนการดาเนนิ งานครอบคลมุ ประเด็นสาคญั ดังนี้ 7.1 วตั ถปุ ระสงค์ 7.2 ตัวชว้ี ัดผล 7.3 เป้าหมาย 7.4 ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน 7.5 กาหนดแลว้ เสร็จ 7.6 ผรู ้ บั ผดิ ชอบ 7.7 การกาหนดประเด็นดังกล่าวขา้ งตนไดก้ ระจายความรับผดิ ชอบ (Deploy) ไปยังทุก หน่วยงานทว่ั ทัง้ องคก์ ร8. มกี ารจัดทางบประมาณเพอ่ื รองรับการดาเนนิ การตามแผนการดาเนนิ งานอาชวี อนามยั และ ความปลอดภัยประจาปี ทเี่ พยี งพอ (ไม่มกี ารตัดงบประมาณทจ่ี าเป็ น เชน่ การอบรมความ ปลอดภยั การแกไ้ ข ปรับปรงุ สภาพทไี่ มป่ ลอดภยั เป็ นตน้ )9. มกี ารตดิ ตามประเมนิ ความคบื หนา้ ของแผนการดาเนนิ งานอาชวี อนามยั และความปลอดภัย จากผบู ้ รหิ ารเป็ นระยะๆ ตามทกี่ าหนดไวอ้ ยา่ งนอ้ ย 3 เดอื นครัง้ โดยตอ้ งมกี ารทบทวนและ หมนุ วงจร PDCA ไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง10. มกี ารวเิ คราะหส์ าเหตุ กาหนดและดาเนนิ การแกไ้ ขและการป้ องกัน กรณีไม่เป็ นไปตาม แผนการดาเนินงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ใหแ้ ลว้ เสร็จภายในระยะเวลาท่ี เหมาะสม11. มกี ารทบทวนผลการดาเนินงานตามวัตถุประสงค์ เป้ าหมายและแผนการดาเนนิ งานอยา่ ง นอ้ ย 1 ครัง้ /ปี โดยตอ้ งมกี ารวเิ คราะหถ์ งึ สาเหตุของความสาเร็จหรอื สาเหตุของการทไ่ี ม่ ประสบความสาเร็จใหช้ ดั เจน โดยสงั เขป ดังนี้ 16/57
SCG Safety Framework: 2012 11.1 จดุ เดน่ หรอื จดุ ทท่ี าใหส้ าเร็จ ซงึ่ ควรจะมกี ารรักษามาตรฐานและขยายผลตอ่ ไป 11.2 จดุ ดอ้ ยหรอื จดุ ออ่ นทต่ี อ้ งมกี ารปรบั ปรงุ ตอ่ ไป1.5 การทบทวนการจดั การ และการปรบั ปรงุ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง (Management Review & Continuous Improvement) เพอ่ื แสดงความเป็ นผูน้ าและผูร้ ับผดิ ชอบในการดาเนนิ งานดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภัยของผูบ้ รหิ ารสงู สดุ และทมี ผูบ้ รหิ ารขององคก์ ร และเพอื่ ใหเ้ กดิ การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ( ContinuousImprovement) แตล่ ะองคก์ รตอ้ งดาเนนิ การทบทวนการจัดการ ดงั น้ี 1. มกี ารประชมุ หารอื ร่วมกันของคณะผูบ้ รหิ ารทป่ี ระกอบดว้ ยผูบ้ รหิ ารสูงสุดและผูบ้ รหิ ารทุก หน่วยงานในองคก์ รทขี่ นึ้ ตรงกบั ผูบ้ รหิ ารสงู สดุ (คณะจัดการ) เพอื่ ทบทวนการจัดการดา้ น อาชวี อนามยั และความปลอดภยั ขององคก์ รเป็ นระยะอยา่ งนอ้ ยปีละ 1 ครัง้ โดยมกี ารกาหนด แผนการทบทวนฯ และวาระการประชมุ ทชี่ ดั เจน 2. สง่ิ ทจ่ี ะตอ้ งพจิ ารณา (Input) ในทป่ี ระชมุ ไดแ้ ก่ 2.1 ผลการดาเนนิ งานตามวัตถปุ ระสงค์ เป้ าหมาย และแผนการดาเนนิ งานดา้ นอาชวี อนา มยั และความปลอดภยั โดยตอ้ งมกี ารสรปุ ปัญหาอปุ สรรค รวมทัง้ ปัจจัยทท่ี าใหป้ ระสบ ผลสาเร็จ หรอื การเรยี นรทู ้ ส่ี าคญั 2.2 ผลการวเิ คราะหห์ าสาเหตุ และแนวโนม้ ของการเกดิ อบุ ตั กิ ารณ์ 2.3 ผลการประเมนิ ความเสย่ี งกจิ กรรม พนื้ ที่ (อคั คภี ยั ) สขุ ภาพ 2.4 ผลการตรวจวัดดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภัย ไดแ้ ก่ ผลการตรวจความ ปลอดภยั (Safety Inspection) ผลการสงั เกตการทางานดา้ นความปลอดภยั (Safety Observation Program) ผลการตรวจวัดภาวะแวดลอ้ มในการทางาน (Industrial Hygiene Monitoring) ผลการตรวจสขุ ภาพ (Physical Examination) และผลการ สารวจความคดิ เห็นพนักงาน (Safety Perception Survey) 2.5 ผลการตรวจตดิ ตามระบบ ไดแ้ ก่ การตรวจตดิ ตามภายใน (Internal Audit) และการ ตรวจประเมนิ จากหน่วยงานภายนอก (2nd & 3rd Party Audits) 2.6 ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกทม่ี ผี ลต่อระบบการจัดการอาชวี อนามัยและความ ปลอดภยั - ปัจจยั ภายใน ไดแ้ ก่ การปรบั โครงสรา้ งการบรหิ าร เป็ นตน้ - ปั จจัยภายนอกไดแ้ ก่ ขอ้ กาหนดของกฎหมายที่เก่ียวขอ้ งที่ออกใหม่ หรือ เปลย่ี นแปลง เป็ นตน้ 3. สง่ิ ทต่ี อ้ งกาหนด และทบทวน (Output) ในทปี่ ระชมุ ไดแ้ ก่ 3.1 นโยบายอาชวี อนามยั และความปลอดภยั 3.2 วัตถปุ ระสงค์ เป้าหมาย และแผนการดาเนนิ งานดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั 3.3 การใหแ้ นวทางการปรับปรงุ แกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ ง และพัฒนาระบบเพอื่ ใหม้ กี ารปรับปรงุ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง (Continuous Improvement) 3.4 การจัดสรรทรัพยากร และงบประมาณทเี่ พยี งพอในการดาเนนิ งานดา้ นอาชวี -อนามัย และความปลอดภัยใหเ้ ป็ นไปตามขอ้ กาหนดของกฎหมายและการปรับปรุงอย่าง ตอ่ เนอ่ื ง 17/57
SCG Safety Framework: 20122. การสอื่ สาร และเอกสาร (Organization Communications & System Documentation)2.1 การสอ่ื สาร (Communications) เพ่ือใหข้ ่าวสารและขอ้ มูลดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภัยที่จาเป็ นไดม้ กี ารส่ือสารไปถงึกล่มุ เป้ าหมายและผเู ้ กยี่ วขอ้ งอยา่ งท่ัวถงึ และสม่าเสมอ รวมทัง้ การรับขอ้ รอ้ งเรยี น และขอ้ เสนอแนะดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภัย จากพนักงาน คู่ธุรกจิ ชุมชน และผูเ้ กย่ี วขอ้ ง แต่ละองค์กรตอ้ งมกี ารดาเนนิ การสอ่ื สาร ดงั นี้ 1. มกี ารกาหนดประเภทของขา่ วสาร หรอื ขอ้ มลู ดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภยั ทจ่ี าเป็ นตอ้ ง สอื่ สารเพอ่ื ใหก้ ลุ่มเป้ าหมายไดร้ ับทราบ เขา้ ใจ หรอื ใหม้ กี ารดาเนินการเป็ นไปตามนโยบาย ระบบการจัดการอาชวี อนามัยและความปลอดภัยขององคก์ ร และการปฏบิ ัตติ ามขอ้ กาหนดของ กฎหมาย เช่น นโยบายฯ สถติ ิอุบัตเิ หตุ แผนการดาเนินงาน แผนฉุกเฉิน กฎระเบียบ และ มาตรการความปลอดภยั ขา่ วสาร เกร็ดความรู ้ เป็ นตน้ 2. มกี ารกาหนดกลุ่มเป้ าหมายทต่ี อ้ งการสอ่ื สารทัง้ ภายใน ไดแ้ ก่ หัวหนา้ งาน พนักงาน พนักงานคู่ ธรุ กจิ และภายนอก ไดแ้ ก่ หน่วยงานราชการ ผทู ้ มี่ าเยยี่ มชม ลกู คา้ เป็ นตน้ 3. มกี ารจัดทาชอ่ งทาง หรอื วธิ กี ารในการสอื่ สารทช่ี ัดเจน ใหค้ รอบคลุมกลุ่มเป้ าหมายทกี่ าหนด เชน่ การพูดคุยโดยผบู ้ ังคับบัญชา สอื่ Intranet, Direct Mail, เสยี งตามสาย บอรด์ นทิ รรศการ ความปลอดภยั เอกสารเวยี น แผน่ พบั เป็ นตน้ 4. มกี ารปรับเปลยี่ นวธิ กี ารสอื่ สาร โดยใชว้ ธิ กี ารสอ่ื สารทหี่ ลากหลายเพอื่ กระตุน้ ใหเ้ กดิ ความสนใจ และใสใ่ จเรอื่ งความปลอดภยั อยา่ งตอ่ เนอื่ ง 5. มกี ารกาหนดผรู ้ บั ผดิ ชอบในการใหข้ อ้ มลู ขา่ วสารดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั 6. มกี ารตดิ ตามขอ้ มลู ขา่ วสาร ทจี่ ะสอ่ื สารใหท้ ันสมยั อยเู่ สมอ 7. มีการทบทวน หรือ วัดผลการรับรูข้ อ้ มูลข่าวสารดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภัยของ กลุ่มเป้ าหมายตามความเหมาะสม เพอื่ นาไปปรับปรุงชอ่ งทาง หรอื วธิ กี ารในการสอ่ื สารใหม้ ี ประสทิ ธภิ าพมากทส่ี ดุ 8. มชี ่องทางในการรับขอ้ เสนอแนะ และขอ้ รอ้ งเรียนดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภัย จาก พนักงาน คู่ธุรกจิ ชมุ ชน และผูเ้ กย่ี วขอ้ ง และมกี ระบวนการในการตอบสนองต่อขอ้ รอ้ งเรยี น ขอ้ เสนอแนะดังกลา่ ว2.2 เอกสาร (Documentation) เพื่อใหม้ ีเอกสารและการบันทึกขอ้ มูลที่จาเป็ นในการดาเนินงานดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภยั แตล่ ะองคก์ รตอ้ งดาเนนิ การดา้ นเอกสาร ดงั น้ี 1. ตอ้ งมกี ารจัดทาเอกสารดังตอ่ ไปนี้ 1.1 นโยบายอาชวี อนามยั และความปลอดภยั 1.2 โครงสรา้ ง หนา้ ทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบ 1.3 ตัวชว้ี ดั ผลการดาเนนิ งานทส่ี าคัญ (KPIs) 1.4 วัตถปุ ระสงค์ และเป้าหมายดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั 1.5 แผนการดาเนนิ งานดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั 1.6 ขัน้ ตอนการทางาน (Procedure) มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านทป่ี ลอดภยั (Job Safety Standard) กฎระเบยี บ และมาตรการความปลอดภยั ตามความจาเป็ น 1.7 บนั ทกึ ผลการดาเนนิ การต่างๆ ทัง้ ตามขอ้ กาหนดของกฎหมาย และตามความจาเป็ นเพอื่ แสดงผลการดาเนนิ การ และใชเ้ ป็ นประโยชนใ์ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู เพอื่ การปรับปรงุ อยา่ ง 18/57
SCG Safety Framework: 2012 ตอ่ เนอื่ ง รวมทัง้ ใชใ้ นการสอบกลับเมอื่ มขี อ้ บกพรอ่ งเกดิ ขนึ้ เพอ่ื การแกไ้ ขและการป้ องกัน ทมี่ ปี ระสทิ ธผิ ล ทัง้ นเี้ อกสารสามารถอยใู่ นรปู แบบหรอื สอื่ ใดๆ ก็ได ้ ไมว่ ่าจะเป็ นกระดาษ รปู ภาพ หรอื สอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ 2. มรี ะบบการควบคมุ เอกสารดงั กลา่ วดงั นี้ 2.1 มกี ารอนุมตั เิ อกสารกอ่ นการนาไปใช ้ 2.2 มกี ารทบทวน ปรบั ปรงุ เอกสาร (ถา้ จาเป็ น) และอนุมตั ใิ หม่ 2.3 มกี ารแสดงการเปลยี่ นแปลง และสถานะปัจจบุ นั ของการปรบั ปรงุ เอกสาร 2.4 มกี ารแจกจา่ ยเอกสารฉบบั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งไป ณ จดุ ปฏบิ ตั งิ าน 2.5 เอกสารอา่ นไดง้ า่ ย (Legible) ชบ้ี ง่ ไดโ้ ดยสะดวก 2.6 มกี ารชบ้ี ง่ และควบคมุ การแจกจา่ ยเอกสารทไ่ี ดม้ าจากภายนอก 2.7 มกี ารระบแุ ละป้องกนั การใชเ้ อกสารทลี่ า้ สมยั 3. มรี ะบบการควบคมุ บนั ทกึ ดงั น้ี 3.1 บนั ทกึ ตอ้ งอา่ นไดง้ า่ ย (Legible) ชบี้ ง่ และนามาใชไ้ ดโ้ ดยสะดวก 3.2 มกี ารชบี้ ่ง การจัดเก็บ การป้ องกันการสูญหาย การนามาใช ้ การกาหนดอายุจัดเก็บที่ เหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั ขอ้ กาหนดของกฎหมาย และการทาลาย2.3 ระบบฐานขอ้ มลู เพอื่ การจดั การ (Management Information System) เพือ่ ใหก้ ารจัดการฐานขอ้ มูลดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภัย มคี วามถูกตอ้ ง แม่นยา และน่าเชอ่ื ถอื สามารถนาไปใชป้ ระโยชนต์ ามระบบการจดั การอาชวี อนามยั และความปลอดภยั และเป็ นไปตามขอ้ กาหนดของกฎหมาย แตล่ ะองคก์ รตอ้ งมรี ะบบฐานขอ้ มลู เพอ่ื การจดั การ ดงั นี้ 1. การรวบรวมและจดั เกบ็ ขอ้ มลู 1.1 มกี ารกาหนดขอ้ มลู ดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ทจี่ าเป็ นตอ้ งรวบรวมและจัดเก็บ และกาหนดวธิ กี ารรวบรวมและจัดเก็บขอ้ มลู แต่ละประเภททไ่ี ดม้ าตรฐาน (ถูกตอ้ งตาม หลักวชิ าการ หรือมีมาตรฐานอา้ งองิ ) และเป็ นไปตามขอ้ กาหนดของกฎหมาย หรือ แนวทางของ SCG (สอดคลอ้ งกับ KPIs ทรี่ ายงานคณะกรรมการการพัฒนาอยา่ งยง่ั ยนื SCG และตามขอบเขตของในรายงานการพัฒนาอยา่ งยัง่ ยนื SCG) และจัดใหม้ บี คุ คลทม่ี ี หนา้ ท่ีรับผดิ ชอบ ท่ีไดร้ ับการฝึ กอบรม/ชแ้ี จง วธิ ีการจัดเก็บและรวบรวมขอ้ มูลแต่ละ ประเภท 1.2 มแี หล่งสาหรับการจัดเก็บขอ้ มลู กลาง (Centralized Data Server) เพอ่ื ใหผ้ เู ้ กยี่ วขอ้ ง สามารถเขา้ ถงึ ไดโ้ ดยสะดวก และรวดเร็ว รวมทัง้ มกี าร Backup ขอ้ มลู และการซอ่ มบารุง ระบบใหส้ ามารถทางานไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 1.3 ขอ้ มลู ทถ่ี กู จัดเก็บจะตอ้ งผา่ นการตรวจสอบและทบทวนจากผทู ้ ม่ี อี านาจ 2. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู สรปุ และการรายงาน 2.1 มกี ารวเิ คราะหข์ อ้ มลู สรุป และการรายงานผลขอ้ มลู ไดอ้ ยา่ งสม่าเสมอ สามารถเขา้ ถงึ ได ้ ทกุ เวลา 2.2 จัดใหม้ กี ารกาหนดรปู แบบของการรายงาน 3. การจัดการสทิ ธกิ ารเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ในระดับต่างๆ จะตอ้ งจัดใหม้ กี ารกาหนดสทิ ธิ บคุ คลทจ่ี ะเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ในระดับตา่ งๆ 19/57
SCG Safety Framework: 20123. การตรวจประเมนิ และตรวจตดิ ตาม (Assessment & Audit)3.1 การตรวจประเมนิ ระบบ (System Assessment) เพอื่ ใหก้ ารดาเนินงานดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภัยคงอยู่และมกี ารปรับปรุงระบบอย่างตอ่ เนือ่ ง (Continuous Improvement) แต่ละองคก์ รตอ้ งดาเนนิ การตรวจประเมนิ ระบบการจัดการอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ดังน้ี1. การตรวจประเมนิ จากบคุ ลากรภายในองคก์ ร (1st party or Internal Audit) ตอ้ งมกี ารกาหนดและ ดาเนนิ การตามขนั้ ตอนการตรวจประเมนิ ทชี่ ดั เจนทปี่ ระกอบดว้ ย 1.1 วตั ถปุ ระสงคแ์ ละขอบขา่ ยของการตรวจประเมนิ ทช่ี ดั เจน 1.2 บทบาทหนา้ ทคี่ วามรับผดิ ชอบ คณุ สมบตั ิ และความสามารถของผตู ้ รวจประเมนิ 1.3 แผนและกาหนดการตรวจประเมนิ ทคี่ รอบคลมุ ทุกกจิ กรรมทเี่ กย่ี วขอ้ ง โดยมกี ารนาผลการตรวจ ประเมนิ ครงั้ กอ่ นๆ มาพจิ ารณาในการจัดทาแผนดังกลา่ ว 1.4 มาตรฐานและวธิ กี ารตรวจประเมนิ ทใี่ ช ้ การตดิ ตามสถานะการตรวจประเมนิ ตามแผนฯ 1.5 การดาเนินการแกไ้ ขและการป้ องกันขอ้ บกพร่องที่พบจากการตรวจประเมนิ ทัง้ หมด ภายใน ระยะเวลาทเ่ี หมาะสม 1.6 การตดิ ตามผลการแกไ้ ข และการป้องกนั ขอ้ บกพรอ่ งทพ่ี บจากการตรวจประเมนิ 1.7 การรายงานผลการตรวจประเมนิ และการประมวลผลการตรวจประเมนิ ทัง้ ระบบต่อผูบ้ รหิ ารการ กาหนดแนวทางการพัฒนาปรับปรงุ ระบบ2. การตรวจประเมนิ เพอื่ ขอการรับรองระบบโดยผตู ้ รวจประเมนิ ภายนอก (3rd party Audit) ตอ้ งมกี าร ดาเนนิ การดังตอ่ ไปน้ี 2.1 การดาเนินการรับการตรวจประเมนิ ฯ จนกระทั่งไดร้ ับการรับรองจากหน่วยงานภายนอกทไ่ี ด ้ มาตรฐานสากล 2.2 การดาเนนิ การแกไ้ ขและการป้ องกันขอ้ บกพร่องท่ีพบจากการตรวจประเมนิ ทัง้ หมด ภายใน ระยะเวลาทเี่ หมาะสม 2.3 การตดิ ตามผลการแกไ้ ข และการป้องกนั ขอ้ บกพรอ่ งทพ่ี บจากการตรวจประเมนิ 2.4 การรายงานผลการตรวจประเมนิ และการประมวลผลการตรวจประเมนิ ทัง้ ระบบต่อผูบ้ รหิ ารการ กาหนดแนวทางการพฒั นาปรับปรงุ ระบบ โดยผบู ้ รหิ าร3. องคก์ รไดจ้ ัดใหม้ กี ารการตรวจประเมนิ ความเสย่ี งดา้ นอัคคภี ัย จากบรษิ ัทประกันภัยอย่างสม่าเสมอ (รอบระยะเวลาการตรวจประเมนิ ขน้ึ อยกู่ บั ความเสยี่ งและวงเงนิ ประกนั ภัย แต่อยา่ งนอ้ ยทสี่ ดุ คอื ทกุ 3 ปีสาหรบั องคก์ รขนาดเล็ก)4. องค์กรไดน้ าขอ้ เสนอแนะจากการตรวจประมนิ ความเส่ียงดา้ นอัคคีภัย มากาหนดแผนงานและ ดาเนนิ การแกไ้ ขปรบั ปรงุ อยา่ งเป็ นระบบ3.3 การสารวจความคดิ เห็นพนกั งานดา้ นความปลอดภยั (Safety Perception Survey) เพอ่ื ใหไ้ ดแ้ นวทางในการปรับปรุงระบบการจัดการอาชวี อนามัยและความปลอดภัย ทจี่ ะทาให ้พนักงาน และผูเ้ กยี่ วขอ้ ง มคี วามพงึ พอใจและยอมรับตอ่ การจัดการอาชวี อนามัยและความปลอดภยั ขององค์กรอันจะก่อใหเ้ กดิ การมีส่วนร่วม และร่วมมอื ร่วมใจกันอย่างแทจ้ รงิ ในการดาเนินการป้ องกันการบาดเจ็บและเจ็บป่ วยจากการทางาน แตล่ ะองคก์ รตอ้ งดาเนนิ การสารวจความคดิ เห็นพนักงาน ดงั นี้1. มกี ารดาเนนิ การสารวจความคดิ เห็นพนักงาน และคู่ธุรกจิ ต่อระบบการจัดการอาชวี อนามัยและความ ปลอดภัยขององค์กรเป็ นระยะหรือ เม่ือมีกา รดาเนินการปรับปรุงท่ีสาคัญ หรือมีการปรับเปล่ียน 20/57
SCG Safety Framework: 2012 วัฒนธรรมความปลอดภัยขององคก์ ร โดยวัดออกมาเป็ นตัวเลขทัง้ ดา้ น Perception, Attitudes และ Acceptance ของพนักงานระดบั ตา่ งๆ ทั่วทัง้ องคก์ ร และคธู่ รุ กจิ2. การดาเนนิ การสารวจ ครอบคลมุ พนักงานและคธู่ รุ กจิ ทกุ หน่วยงาน3. นาผลการสารวจมาดาเนินการ และพจิ ารณาในการกาหนดแผนงาน เป้ าหมายการดาเนนิ การ และ พฒั นาปรับปรงุ ระบบการจดั การอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ขององคก์ ร 21/57
SCG Safety Framework: 20124. การชบ้ี ง่ อนั ตราย การประเมนิ และควบคมุ ความเสย่ี ง (Hazard Recognition, Risk Assessment & Control)4.1 การประเมนิ และควบคมุ ความเสย่ี ง (Risk Assessment & Control) เพอื่ ใหอ้ นั ตรายทัง้ หมดทม่ี ใี นทกุ กจิ กรรม หรอื การปฏบิ ตั งิ านทกุ งาน และทกุ พนื้ ทไ่ี ดถ้ กู ชบ้ี ง่ และประเมนิ เพอ่ื ตัดสนิ ระดับความเสย่ี ง และมกี ารควบคุมความเสย่ี งใหเ้ พยี งพอ อยใู่ นระดับทย่ี อมรับได ้ และสอดคลอ้ งตามขอ้ กาหนดของกฎหมาย แตล่ ะองคก์ รตอ้ งดาเนนิ การประเมนิ และควบคมุ ความเสยี่ ง ดังนี้1. มกี ระบวนการและวธิ ีการประเมนิ และควบคุมความเสี่ยงอย่างเป็ นระบบ ซงึ่ ประกอบดว้ ย การชบ้ี ่ง อนั ตราย (Hazard Identification) การประมาณระดบั ความเสยี่ ง (Risk Assessment) และการควบคมุ ความเสยี่ ง (Risk Control)2. การชบ้ี ง่ อนั ตราย (Hazard Identification) 2.1 มกี ารชบี้ ง่ อันตรายดว้ ยวธิ กี าร หรอื เทคนคิ ทเ่ี หมาะสมกบั ลักษณะความเสยี่ งขององคก์ ร เชน่ JSA, Check List, HAZOP, What if Analysis, JTAP (Job Task Analysis Procedure) หรอื ตามแนวทาง TIS/OHSAS18001 เป็ นตน้ โดยอาจใชเ้ ทคนคิ การชบ้ี ่งอันตรายเพยี งเทคนคิ เดยี วหรอื หลายเทคนคิ ร่วมกันก็ไดข้ นึ้ อยูก่ ับลักษณะของอันตราย ประเภท และความซบั ซอ้ น ของงาน 2.2 มกี ารชบ้ี ง่ อนั ตรายและประเมนิ ความเสย่ี ง ทค่ี รอบคลมุ ทัง้ 2.2.1 อนั ตรายทท่ี าใหเ้ กดิ การบาดเจ็บ หรอื ทรัพยส์ นิ เสยี หาย ไดแ้ ก่ อนั ตรายจากเครอ่ื งมอื เครอื่ งจกั ร และอปุ กรณ์ (Mechanical) อันตรายจากไฟฟ้า (Electrical) อนั ตรายจาก ยานพาหนะ (Vehicle) อันตรายจากวัตถุไวไฟและวัตถุระเบดิ (Flammable & Explosive Materials) 2.2.2 ความเสย่ี งดา้ นสุขภาพ (Health Risk Assessment) ของผูป้ ฏบิ ัตงิ าน ไดแ้ ก่ อันตรายจากภาวะแวดลอ้ มในการทางานดา้ นกายภาพ (Physical: แสง เสยี ง ความ รอ้ น ความสน่ั สะเทอื น รงั ส)ี ดา้ นสารเคมี (Chemical) ดา้ นชวี ภาพ (Biological) และ ดา้ นการยศาสตร์ (Ergonomics) เป็ นตน้ (ขน้ึ อย่กู ับความเสยี่ งทอ่ี าจจะเกดิ ขน้ึ จาก การทางาน) 2.3 มกี ารชบ้ี ง่ อันตรายโดยทมี ทมี่ คี วามรูค้ วามสามารถในวธิ กี ารหรอื เทคนคิ การชบี้ ่งอันตราย เชน่ จป.วชิ าชพี วศิ วกร หวั หนา้ งาน รว่ มกบั ผปู้ ฏบิ ตั งิ านทเ่ี กยี่ วขอ้ งกนั 2.4 มกี ารชบ้ี ง่ อนั ตรายครอบคลมุ ทกุ กจิ กรรม และทกุ พนื้ ท่ี และทกุ ครงั้ ภายหลังการเกดิ อบุ ตั เิ หตุ3. การประมาณระดบั ความเสย่ี ง (Risk Assessment) 3.1 มกี ารกาหนดหลกั เกณฑใ์ นการประมาณระดับความเสยี่ งทไี่ ดจ้ ากการชบ้ี ง่ อันตรายโดยพจิ ารณา จากปัจจัยสาคัญ คอื โอกาสทจ่ี ะเกดิ อนั ตราย และความรนุ แรงของอนั ตราย 3.2 มหี ลักเกณฑใ์ นการแบ่งระดับความเสย่ี งทไ่ี ดจ้ ากการประเมนิ อย่างชดั เจน เชน่ ระดับเล็กนอ้ ย ยอมรับได ้ ปานกลาง สงู ยอมรับไมไ่ ด ้ เป็ นตน้ 3.3 มกี ารกาหนดมาตรการในการดาเนนิ การกบั ความเสยี่ งระดบั ตา่ งๆ4. การควบคมุ ความเสย่ี ง (Risk Control) มกี ารดาเนนิ การในการกาจัด ลด หรอื ควบคมุ ความเสยี่ ง ใหเ้ พยี งพอ อยใู่ นระดับทย่ี อมรับได ้ และสอดคลอ้ งตามขอ้ กาหนดของกฎหมาย ดังนี้ 4.1 การควบคมุ ความเสย่ี งทแ่ี หลง่ กาเนดิ และสถานทปี่ ฏบิ ตั งิ าน (Hardware) ไดแ้ ก่ 4.1.1 มกี ารตดิ ตัง้ อปุ กรณ์เพอ่ื ความปลอดภยั (Safety Devices) ในจุดทมี่ อี ันตรายอยา่ ง เพยี งพอ ไดม้ าตรฐาน และครบถว้ น เชน่ การด์ Pull Rope Switch, Emergency Stop, สายดนิ อปุ กรณป์ ้องกนั กระแสไฟฟ้ารว่ั /ไฟฟ้าเกนิ เป็ นตน้ 22/57
SCG Safety Framework: 2012 4.1.2 มีการกั้น หรือ แยกแหล่งอันตรายออกจากผูป้ ฏิบัติงาน เช่น การทางานใน หอ้ งควบคมุ การทารัว้ คอกกัน้ เป็ นตน้ หรอื มกี ารกาหนดพน้ื ทโี่ ดยขดี เสน้ แสดงเขต อนั ตราย ณ บรเิ วณทตี่ งั้ แหลง่ อนั ตรายใหช้ ดั เจน 4.1.3 มกี ารตดิ ตัง้ เครอ่ื งหมาย สัญลักษณ์ รูป ขอ้ ความ ทาสี สัญญาณ หรอื ใชร้ ะบบการ ควบคมุ ทส่ี ามารถมองเห็นและสอื่ ความหมายไดโ้ ดยงา่ ย (Visual Control) เพอ่ื เตอื น อนั ตราย หรอื บงั คบั ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บ และมาตรการความปลอดภยั ทส่ี าคัญ 4.1.4 มีการจัดเก็บสารเคมีและวัตถุอันตราย ที่ปลอดภัย ถูกตอ้ งตามหลักวชิ าการและ เป็ นไปตามขอ้ กาหนดของกฎหมาย4.2 การควบคมุ ความเสย่ี งโดยการกาหนดมาตรการ/วธิ กี ารปฏบิ ตั งิ านทป่ี ลอดภยั (Software) 4.2.1 มกี ารกาหนดวธิ กี ารปฏบิ ัตงิ าน (WI: Work Instruction) ทไี่ ดม้ าตรฐานความ ปลอดภัย หรอื มาตรฐานการทางานทป่ี ลอดภยั (JSS: Job Safety Standard) ตาม ความเสย่ี งทีม่ อี ยู่อย่างเหมาะสม (กาหนดวธิ กี าร กรป้ องกันอันตราย PPE ท่ี เหมาะสม) 4.2.2 มกี ารวางแผน และดาเนนิ การตรวจสอบและบารงุ รักษา เครอื่ งมอื เครอ่ื งจักร อปุ กรณ์ ต่างๆ ใหส้ อดคลอ้ งตามขอ้ กาหนดของกฎหมาย และไดต้ ามมาตรฐานของผูผ้ ลติ (Overall Plan ทัง้ ระบบการ Preventive Maintenance) 4.2.3 มกี ารพจิ ารณาเลอื กใชว้ ัตถดุ บิ หรอื สารเคมี ทม่ี อี นั ตรายนอ้ ยกวา่ เพอ่ื ลดความเสยี่ ง 4.2.4 มกี ารตดิ ตัง้ และจัดเก็บขอ้ มลู เคมภี ัณฑเ์ พอื่ ความปลอดภัยเกยี่ วกับสารเคมี (MSDS: Material Safety Data Sheet) ในพน้ื ทที่ มี่ กี ารปฏบิ ัตงิ านกบั สารเคมอี ันตรายที่ สามารถเห็นไดอ้ ยา่ งชดั เจน หรอื ในจดุ ทผ่ี ปู ้ ฏบิ ตั งิ านทุกคนทราบ สามารถเขา้ ถงึ และ นามาใชง้ านไดท้ นั ทเี มอ่ื มคี วามจาเป็ น 4.2.5 เจา้ หนา้ ท่ีสถานพยาบาลตอ้ งสามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มูลเคมภี ัณฑเ์ พ่ือความปลอดภัย เกย่ี วกบั สารเคมี (MSDS: Material Safety Data Sheet) ของสารเคมอี นั ตรายทมี่ ใี ช ้ ทกุ ชนดิ ในองคก์ รและนามาใชง้ านไดอ้ ยา่ งทันที ในกรณีพนักงานไดร้ ับอนั ตรายมาที่ สถานพยาบาลจะไดม้ ขี อ้ มลู ในการปฐมพยาบาล และการสง่ ตอ่ ทถ่ี กู ตอ้ ง4.3 การควบคมุ ความเสยี่ งทต่ี วั ผปู ้ ฏบิ ตั งิ าน (Human ware) 4.3.1 การคัดเลอื กผปู ้ ฏบิ ตั งิ านที่มคี วามพรอ้ มทางดา้ นรา่ งกาย ในการปฏบิ ตั งิ านทม่ี คี วาม เสย่ี งตา่ งๆ เชน่ งานอบั อากาศ งานบนทสี่ งู หรอื คนขบั รถ (ควรดคู วามพรอ้ มทางดา้ น จติ ใจดว้ ย) 4.3.2 มีการฝึ กอบรมเพื่อใหผ้ ูป้ ฏิบัติงานทุกคนตระหนักและรูถ้ ึงอันตรายที่มีในการ ปฏบิ ตั งิ าน กฎระเบยี บ มาตรการความปลอดภยั และวธิ กี ารปฏบิ ตั งิ าน หรอื มาตรฐาน การทางานทปี่ ลอดภยั เพอ่ื ใหส้ ามารถปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ยา่ งปลอดภยั 4.3.3 มกี ารประเมนิ ความรคู ้ วามสามารถ (Competency) ของผใู ้ ช ้ หรอื ผคู ้ วบคุมเครอื่ งมอื เครอื่ งจกั รทมี่ อี นั ตรายสงู หรอื ตอ้ งใชค้ วามรแู ้ ละเทคนคิ เฉพาะ ไดแ้ ก่ พนักงานขับรถ ยก (Fork Lift) ผูค้ วบคุมหมอ้ ไอน้า (Boiler) ผปู ้ ฏบิ ัตงิ านในสถานทอี่ บั อากาศ ชา่ ง เชอื่ ม พนักงานขบั ปั่นจน่ั (Crane) เป็ นตน้ 4.3.4 มกี ารตรวจสขุ ภาพผปู ้ ฏบิ ตั งิ านทมี่ คี วามเสย่ี งต่อการไดร้ ับอนั ตรายจากภาวะแวดลอ้ ม ในการทางาน ไดแ้ ก่ การตรวจสมรรถภาพการไดย้ นิ การตรวจสมรรถภาพของปอด การตรวจหาปรมิ าณสารเคมอี นั ตรายในรา่ งกาย เป็ นตน้ 4.3.5 มกี ารจัดหาอปุ กรณ์ป้องกนั อนั ตรายสว่ นบคุ คลทไ่ี ดม้ าตรฐาน และสอดคลอ้ งกบั ความ เสย่ี ง 23/57
SCG Safety Framework: 20124.2 กฎความปลอดภยั (Safety Rules)4.2.1 กฎความปลอดภยั ทว่ั ไป (General Safety Rules) เพอื่ ใหม้ ขี อ้ บงั คบั พนื้ ฐานในการปฏบิ ตั งิ านใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ของพนักงาน และพนักงานคธู่ รุ กจิทกุ คนในองคก์ ร ตลอดจนผเู ้ กยี่ วขอ้ งอน่ื ๆ เชน่ ผทู ้ ม่ี าเยยี่ มชม แตล่ ะองคก์ รตอ้ งกาหนดกฎความปลอดภัยท่ัวไป (General Safety Rules) ทเ่ี ป็ น ขอ้ ปฏบิ ัตหิ รอื ขอ้ หา้ มดา้ นความปลอดภัยท่ัวไปทเี่ หมาะสมกับลักษณะความเสย่ี งขององคก์ ร ไดแ้ ก่ การแตง่ กายและใชอ้ ปุ กรณป์ ้องกนั อนั ตรายสว่ นบคุ คลตามทก่ี าหนดใหป้ ฏบิ ัตติ ามกฎระเบยี บ มาตรการความปลอดภัย และวธิ ีการปฏบิ ัตงิ านทปี่ ลอดภัยโดยเคร่งครัด ดูแลสถานทท่ี างานใหส้ ะอาดเป็ นระเบยี บเรยี บรอ้ ย รายงานและแกไ้ ขสภาพทไี่ ม่ปลอดภัย เป็ นตน้ โดยมกี ารดาเนนิ การ ดังนี้ 1. มกี ารกาหนดกฎความปลอดภยั ท่ัวไปเป็ นลายลักษณ์อักษร มกี ารลงนามโดยผูบ้ รหิ ารสงู สดุ เชน่ กจก./รอง กจก./ ผร. และประกาศใชอ้ ยา่ งเป็ นทางการ 2. มกี ระบวนการ หรอื ระบบทชี่ ดั เจนในการเผยแพรก่ ฎความปลอดภยั ท่วั ไปใหผ้ ทู ้ เ่ี กย่ี วขอ้ งทุกคนได ้ ทราบ เขา้ ใจ ตระหนัก และนาไปปฏบิ ตั อิ ยา่ งตอ่ เน่ือง 3. เปิ ดโอกาสใหพ้ นักงาน พนักงานรับเหมา และผูเ้ กยี่ วขอ้ งมสี ่วนร่วมในการใหข้ อ้ คดิ เห็นในการ ปฏบิ ตั ติ าม 4. มกี ารทบทวนตามความจาเป็ นเพอื่ ใหก้ ฎความปลอดภยั ท่ัวไปสามารถปฏบิ ัตไิ ดจ้ รงิ และเหมาะสม กบั ความเสย่ี งขององคก์ รมากทส่ี ดุ4.2.2 กฎแหง่ การรกั ษาชวี ติ ใหป้ ลอดภยั (Life Saving Rules) เพอื่ ใหม้ ขี อ้ บังคับทส่ี าคัญ ตอ้ งมกี ารปฏบิ ัตติ ามโดยเคร่งครัด ถา้ ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามจะนาไปสกู่ ารเกดิอบุ ตั เิ หตรุ นุ แรงถงึ ขนั้ สญู เสยี อวัยวะหรอื เสยี ชวี ติ และ/หรอื ทรพั ยส์ นิ เสยี หายจานวนมากได ้ แต่ละองคก์ รตอ้ งกาหนด กฎแหง่ การรักษาชวี ติ ใหป้ ลอดภยั หรอื กฎเหล็กแห่งความปลอดภยั ทเี่ ป็ นขอ้ ปฏบิ ตั หิ รอื ขอ้หา้ มดา้ นความปลอดภยั ในการทางานทส่ี าคัญ และเหมาะสมกบั ความเสย่ี งขององคก์ รมกี ารกาหนดกฎแหง่การรกั ษาชวี ติ ใหป้ ลอดภยั โดยไมค่ วรมากกวา่ 10-15 ขอ้ เป็ นลายลักษณ์อกั ษร 1. มกี ารกาหนดกฎแหง่ การรักษาชวี ติ ใหป้ ลอดภยั (Golden Rule/ Life Saving Rule) เป็ นลาย ลกั ษณ์อกั ษร มกี ารลงนามโดยผบู ้ รหิ ารสงู สดุ เชน่ กจก. /รอง กจก./ ผร. และประกาศใชอ้ ยา่ งเป็ น ทางการ 2. มกี ระบวนการ หรอื ระบบทช่ี ดั เจนในการเผยแพรก่ ฎแหง่ การรกั ษาชวี ติ ใหป้ ลอดภยั ใหผ้ ทู ้ เี่ กย่ี วขอ้ ง ทกุ คนไดท้ ราบ เขา้ ใจ ตระหนัก และนาไปปฏบิ ตั อิ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง 3. กระบวนการทไ่ี ดม้ าซงึ่ กฎแห่งการรักษาชวี ติ จะตอ้ งกาหนดกับพฤตกิ รรมทร่ี า้ ยแรง (Extreme behavior) ซงึ่ เป็ นพฤตกิ รรมทผี่ ปู ้ ฏบิ ัตงิ านทุกคนเห็นชอบร่วมกัน และกฎจะตอ้ งสอดคลอ้ งและ เหมาะสมกบั ความเสย่ี งขององคก์ ร 4. บทลงโทษสาหรับการฝ่ าฝื นกฎแห่งการรักษาชวี ติ จะตอ้ งรุนแรงหรอื แตกต่างจากการฝ่ าฝื นกฎ ความปลอดภยั ทวั่ ไปอยา่ งชดั เจน 5. มแี นวทางการควบคมุ การปฏบิ ตั ิ และการบงั คับใชก้ ฎแหง่ การรักษาชวี ติ ใหป้ ลอดภยั ทชี่ ดั เจน เสมอ ภาคและทว่ั ถงึ (Uniformly Enforced) ทัง้ พนักงานและคธู่ รุ กจิ 6. มกี ารเปิดโอกาสใหผ้ ปู ้ ฏบิ ัตงิ านโดยตรงมสี ว่ นร่วมในการใหข้ อ้ คดิ เห็นในการกาหนดและปฏบิ ตั มิ ี การทบทวนตามความจาเป็ นเพอ่ื ใหก้ ฎแหง่ การรักษาชวี ติ ใหป้ ลอดภยั สามารถปฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ 24/57
SCG Safety Framework: 20125. วศิ วกรรมและการออกแบบสถานทที่ างาน (Workplace Design & Engineering)5.1 การจดั การกรณีเป็ นโครงการใหม่ (Management of New Project or Initial Phase) เพอื่ ใหก้ ารออกแบบ (Design) เครอ่ื งจักรและสถานทที่ างานมกี ารพจิ ารณาดา้ นความปลอดภัยและการทบทวนความปลอดภัยกอ่ นเดนิ เครอื่ งจักร (Start-up Review) สาหรับทกุ โครงการทม่ี กี ารตดิ ตัง้เครอื่ งจักรใหม่ แตล่ ะองคก์ รตอ้ งดาเนนิ การเรอ่ื ง วศิ วกรรมและการออกแบบสถานทที่ างาน ดงั นี้ 1. มแี นวปฏบิ ัตใิ นการออกแบบเครอื่ งจักรและสถานทท่ี างานโดยมกี ารพจิ ารณาดา้ นความปลอดภัย และการทบทวนความปลอดภยั กอ่ นเดนิ เครอ่ื งจกั ร ทค่ี รอบคลมุ การชบี้ ่งอันตราย และประเมนิ ความเสย่ี งจากโอกาสทจ่ี ะเกดิ อันตราย และระดับความ รนุ แรง ขอ้ มลู ความปลอดภยั ในการออกแบบ การทบทวนการออกแบบ บทบาท หนา้ ท่ี ความรบั ผดิ ชอบในแตล่ ะหน่วยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งในแตล่ ะขนั้ ตอน 2. มผี ทู ้ มี่ คี วามรดู ้ า้ นสขุ ภาพและความปลอดภยั (Safety & Health Professionals) รว่ มอยใู่ นขนั้ ตอน การออกแบบ การทบทวนกอ่ นเดนิ เครอ่ื งจักร รวมทัง้ การพจิ ารณาจัดซอ้ื เครอ่ื งจักรหรอื วัสดทุ ต่ี อ้ ง คานงึ ถงึ มาตรฐานดา้ นความปลอดภยั 3. ใหผ้ ทู ้ เ่ี กยี่ วขอ้ งทกุ ฝ่ ายมสี ว่ นรว่ มในการพจิ ารณาการออกแบบและการทบทวนกอ่ นเดนิ เครอื่ งจักร (Pre-Start up Safety Review) เชน่ ผลติ ซอ่ มบารงุ สว่ นวศิ วกรรม เป็ นตน้ 4. การชบี้ ่งอันตรายในขัน้ ตอนการออกแบบ การดาเนนิ โครงการ ตอ้ งมกี ารวเิ คราะห์กระบวนการ ทางานของเคร่ืองจักรท่ีเป็ นขัน้ ตอน และมีการชีบ้ ่งอันตรายในแต่ละขัน้ ตอน และครอบคลุม อันตรายในทุกดา้ น ทัง้ อันตรายทอ่ี าจจะเกดิ จากอบุ ัตเิ หตุ หรอื การเจ็บป่ วย หรอื ผลกระทบจาก สขุ ภาพ 5. ผทู ้ ท่ี าหนา้ ทท่ี บทวนการออกแบบและการทบทวนกอ่ นเดนิ เครอ่ื งจักร ใหพ้ จิ ารณาเลอื กใชเ้ ทคนคิ หรอื วธิ ปี ้ องกนั ทเี่ หมาะสมทส่ี ดุ โดยพจิ ารณา 2 ทางเลอื กคอื กาจัดอนั ตรายใหห้ มดไปกอ่ น หรอื ถา้ ทาไมไ่ ดจ้ ะควบคมุ อยา่ งไรใหอ้ นั ตรายอยใู่ นระดับทยี่ อมรับได ้ เชน่ การจัดทาการด์ เป็ นตน้ 6. ส่งเสรมิ ใหผ้ ูท้ เ่ี ดนิ เครอ่ื งจักร หน่วยงานวศิ วกรรมและผูอ้ อกแบบ มคี วามรูค้ วามสามารถในการ ประเมนิ และกาหนดวธิ ีการควบคุมอันตราย เมอื่ ตอ้ งมกี ารตดิ ตัง้ เครอ่ื งจักรใหม่หรือการปรับปรุง เครอื่ งจักรเดมิ 7. ผทู ้ อี่ อกแบบดา้ นความปลอดภยั ตอ้ งเนน้ การออกแบบทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพในการผลติ ควบคไู่ ปกบั การ ทางานทใ่ี หค้ วามปลอดภยั มากทสี่ ดุ โดยมปี ัจจยั อยู่ 4 ประเด็นทตี่ อ้ งคานงึ ถงึ ดังนี้ 7.1 พน้ื ที่ปฏบิ ัตงิ านและสภาพแวดลอ้ มในการทางาน: การออกแบบสภาพพน้ื ทีป่ ฏบิ ัตงิ าน (Workstation Design) ตอ้ งคานงึ สงิ่ ตอ่ ไปน้ี การควบคุมพนื้ ทใ่ี นจุดทต่ี อ้ งการใหม้ ผี ูเ้ ขา้ ไปเกยี่ วขอ้ งนอ้ ยทสี่ ดุ เชน่ อาคาร Sub Station, Boiler เป็ นตน้ จดั สภาพแสงสวา่ งใหพ้ อเพยี งกบั ลักษณะในการทางาน มอี ปุ กรณ์ชว่ ยในการยก เคลอ่ื นยา้ ยทเี่ บาแรง จัดทน่ี ั่งใหค้ นงานเมอื่ ตอ้ งการนั่งพักระหวา่ งทางาน จดั ผังการไหลของงานใหส้ ะดวกตอ่ คนงานในการเคลอ่ื นยา้ ยวสั ดตุ า่ งๆ จดั สญั ญาณเตอื นอนั ตรายทเี่ ป็ นแสงและเสยี งทเ่ี หมาะสม 25/57
SCG Safety Framework: 2012 ส่วนที่เคล่ือนไหว (Moving Parts) ของเครื่องจักร ถอื เป็ นจุดท่อี ันตรายมาก โดยเฉพาะจุดท่ีมีการหนีบหรือตัด ดังนั้นควรออกแบบใหม้ จี ุดเหล่านี้นอ้ ยลงหรือ จัดทา Safe Guard ทเ่ี หมาะสมเพอื่ ปิดคลมุ จดุ ทอ่ี นั ตรายเหลา่ นี้ 7.2 ความสอดคลอ้ งกับกฎหมายและมาตรฐานทีเ่ กยี่ วขอ้ ง: การพจิ ารณาขอ้ กฎหมาย และ ขอ้ กาหนดดา้ นความปลอดภยั ในการออกแบบถอื เป็ นขนั้ พน้ื ฐานในการออกแบบ แต่ถา้ จุด อนั ตรายดังกลา่ วไมม่ ขี อ้ กาหนดใหย้ ดึ แนวปฏบิ ตั ทิ ด่ี ที โี่ รงงานอน่ื มกี ารจัดทา 7.3 สภาพอาคาร กระบวนการผลติ และปัจจัยสนับสนุนทต่ี อ้ งการ: ปัจจัยดา้ น Ergonomics เป็ นปัจจัยทสี่ าคัญทผี่ ูอ้ อกแบบควรพจิ ารณาและวเิ คราะห์ การจดั สภาพงานใหล้ ดปัญหาการบาดเจ็บหรอื การเจ็บป่ วยจากการทางานในลักษณะ ทไี่ มเ่ หมาะสม การออกแบบทเี่ กย่ี วกับการเคลอื่ นยา้ ยวัสดุ ตอ้ งคานงึ ถงึ ลักษณะของวัสดทุ จี่ ะทาให ้ เกดิ อนั ตราย เชน่ มคี วามคม สารทเี่ ป็ น กรด ด่างหรอื เป็ นพษิ มนี ้าหนักมาก เป็ นตน้ และพจิ ารณาแนวทางในการออกแบบทป่ี ลอดภยั กระบวนการผลติ ทเ่ี ป็ นระบบอตั โนมัติ โดยปกตจิ ะมอี นั ตรายนอ้ ย ยกเวน้ กรณีทเ่ี กดิ การขัดขอ้ งอาจกอ่ ใหเ้ กดิ อันตรายได ้ ดังนัน้ จะตอ้ งมกี ารพจิ ารณาอันตรายในส่วนนี้ รวมทัง้ การป้ องกันไม่ใหม้ ีการสัมผัสขณะท่ีเคร่ืองจักรทางานและมกี ารเคลื่อนท่ี อตั โนมตั ดิ ว้ ย 7.4 วธิ กี ารปฏบิ ตั งิ านทป่ี ลอดภยั และการป้ องกันอคั คภี ัยและการระเบดิ : การออกแบบในเรอื่ ง การป้ องกันอัคคภี ัยและเหตุฉุกเฉนิ ถอื เป็ นสว่ นทส่ี าคัญทผี่ ูอ้ อกแบบจะตอ้ งคานงึ ถงึ โดย จะตอ้ งออกแบบใหร้ ะบบมีการเกดิ เพลงิ ไหมไ้ ดย้ าก และถา้ เกดิ จะ ตอ้ งมีระบบในการ ควบคุมใหก้ ารดับไฟมปี ระสทิ ธภิ าพ รวมไปถงึ การออกแบบใหผ้ ูท้ ป่ี ฏบิ ัตงิ านสามารถหนี ออกมาไดอ้ ยา่ งปลอดภยั ซง่ึ โดยปกตกิ ารออกแบบจะใชม้ าตรฐาน NFPA เป็ นหลัก5.2 การจดั การการเปลย่ี นแปลง (Management of Change) เพ่อื ใหม้ ีการดาเนินการป้ องกันอันตรายที่อาจเกดิ จากการเปล่ยี นแปลง ซงึ่ ครอบคลุมถงึ การเปลย่ี นแปลงกระบวนการผลติ (Process Change) วธิ กี ารผลติ (Method Change) วสั ดอุ ปุ กรณ์ (Materialor Equipment Change) และ บคุ ลากร (Personal Change) และมผี ลกระทบตอ่ ความปลอดภัย สขุ ภาพและสง่ิ แวดลอ้ ม โดยแตล่ ะองคก์ รตอ้ งมกี ารจัดการการเปลยี่ นแปลง ดังน้ี 1. กาหนดขนั้ ตอนการจัดการการเปลย่ี นแปลงทเี่ ป็ นลายลักษณ์อักษร มกี ารกาหนดและมอบหมาย ผรู ้ บั ผดิ ชอบในแตล่ ะขนั้ ตอนทชี่ ดั เจน 2. การเปลยี่ นแปลงทต่ี อ้ งมกี ารจัดการ ไดแ้ ก่ การเปลย่ี นแปลงเทคโนโลยี (Change in Technology) ไดแ้ ก่ กระบวนการผลติ วัตถดุ บิ สารเคมี ตัวเร่งปฏกิ ริ ยิ า (Catalysts) ขอ้ กาหนดผลติ ภัณฑ์ (Product Specifications) ผลติ ภณั ฑพ์ ลอยไดแ้ ละของเสยี (By-products or Waste Products) ระบบการตรวจวัด และการควบคมุ การผลติ วธิ กี ารปฏบิ ตั งิ าน เป็ นตน้ การเปลยี่ นแปลงสง่ิ อานวยความสะดวก (Change in Facilities) ไดแ้ ก่ อปุ กรณ์ เครอื่ งมอื เครือ่ งจักร โครงสรา้ งอาคาร พ้ืนท่ที างาน ประตู ทางเขา้ -ออก บันได ทางเดนิ ระบบ ระบายอากาศ ระบบปรับอากาศ ระบบทอ่ ตา่ งๆ ระบบไฟฟ้า ระบบลม ระบบน้า เป็ นตน้ 3. มกี ารวเิ คราะหถ์ งึ อนั ตรายทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ และผลกระทบตอ่ ความปลอดภัย สขุ ภาพ และสง่ิ แวดลอ้ ม อนั เนอื่ งมาจากการเปลย่ี นแปลงดงั กลา่ ว ทัง้ นตี้ อ้ งมกี ารพจิ ารณาทกุ ครงั้ ทม่ี กี ารเปลย่ี นแปลง ไมว่ า่ การเปลย่ี นแปลงนัน้ จะมากหรอื นอ้ ยก็ตาม 4. กาหนดมาตรการป้องกนั จากอนั ตรายหรอื ความเสยี่ งทไ่ี ดจ้ ากการวเิ คราะหด์ ังกลา่ ว 26/57
SCG Safety Framework: 2012 5. การพจิ ารณาการเปลย่ี นแปลง วเิ คราะหถ์ งึ อนั ตรายทอี่ าจเกิดขน้ึ และผลกระทบ ตอ้ งดาเนนิ การ โดยผทู ้ มี่ คี วามรู ้ และผทู ้ ม่ี คี วามเกย่ี วขอ้ งกบั การเปลยี่ นแปลงนัน้ ๆ อยา่ งครบถว้ น 6. จดั ทาผลการพจิ ารณาเป็ นเอกสารโดยจะตอ้ งมหี วั ขอ้ อยา่ งนอ้ ย ดังน้ี วัตถปุ ระสงคข์ องการเปลย่ี นแปลง รายละเอยี ดของการเปลยี่ นแปลง รปู ภาพ หรอื แบบ (ถา้ ม)ี ชว่ งเวลาทด่ี าเนนิ การเปลยี่ นแปลง อนั ตรายทอ่ี าจเกดิ และผลกระทบของการเปลยี่ นแปลง มาตรการป้องกนั อนั ตราย กาหนดผรู ้ บั ผดิ ชอบดาเนนิ การป้องกนั อนั ตราย และกาหนดแลว้ เสร็จทชี่ ดั เจน มผี ทู ้ บทวน และผอู ้ นุมตั เิ อกสาร มกี ารประเมนิ ผลความสอดคลอ้ ง และปฏฺบัตไิ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งตามกฎหมายกอ่ เรมิ่ กอ่ สรา้ ง หรอื ปรับปรงุ เป็ นตน้ 7. มกี ารสอ่ื สาร/ฝึกอบรม ใหก้ ับบุคลากรทมี่ ผี ลกระทบหรอื เกยี่ วขอ้ งเขา้ ใจและสามารถปฏบิ ัตติ าม มาตรการป้องกนั อนั ตราย ตอ่ การเปลยี่ นแปลงนัน้ ได ้ 8. ตดิ ตามและทบทวนผลการดาเนนิ การป้องกนั อนั ตรายใหแ้ ลว้ เสร็จตามกาหนดอยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ล 9. กรณีทม่ี กี ารเปลยี่ นแปลงของเครอ่ื งจกั ร จะตอ้ งมรี ะบบหรอื กระบวนการในการจัดเก็บขอ้ มลู ประวัติ การเปลย่ี นแปลงของเครอ่ื งจักร5.3 การทบทวนดา้ นความปลอดภยั กอ่ นการเดนิ เครอื่ งจกั ร (Pre Start up Safety Review) เป็ นการกาหนดใหต้ อ้ งมกี ารทบทวนหรอื พจิ ารณาถงึ ความปลอดภยั กอ่ นทจ่ี ะเรมิ่ เดนิ เครอ่ื งจักรที่ผ่านการปรับปรุง (modify) หรอื หยุดซอ่ มเครอ่ื งจักร (shut down or turnaround) เพอ่ื ใหม้ น่ั ใจว่าเครอ่ื งจักร อปุ กรณ์ ทุกอยา่ งมคี วามพรอ้ มและมคี วามปลอดภัยเพยี งพอกอ่ นทจ่ี ะเรม่ิ กระบวนการผลติ ได ้การดาเนนิ การทบทวนนี้จะตอ้ งอาศัยบุคลากรที่มคี วามรูค้ วามสามารถและพนักงานประจาเครอ่ื งจักรรว่ มกนั พจิ ารณา 1. มที บทวนอันตรายของวัตถุดบิ วัสดุ ท่ีนามาใชใ้ นกระบวนการผลติ และทบทวนการปฏบิ ัตติ าม ขอ้ กาหนดของการใชว้ ัตถดุ บิ ดงั กลา่ ว เชน่ MSDS, จดั ทาป้าย การประกาศแจง้ เตอื น เป็ นตน้ 2. มกี ารทบทวนความพรอ้ มของพนักงานแตล่ ะหน่วยการผลติ ไดร้ ับการฝึกอบรม มคี วามเขา้ ใจ และ พรอ้ มสาหรับการเดนิ เครอ่ื งกระบวนการผลติ ใหม่ และมคี วามเขา้ ใจในหนา้ ทเี่ มอ่ื เกดิ เหตุฉุกเฉิน สามารถปฏบิ ตั หิ นา้ ทใ่ี นการตอบโตเ้ หตฉุ ุกเฉนิ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 3. มกี ารประเมนิ ความพรอ้ มของกระบวนการผลติ ระบบควบคุม เครอื่ งจักร อปุ กรณ์ท่มี คี ว ามเสย่ี ง เครอื่ งมอื วัดในกระบวนการผลติ ระบบอัตโิ นมตั ใิ นหน่วยการผลติ ระบบไฟฟ้ า ฯลฯ ทน่ี ามาใชใ้ น กระบวนการผลติ 4. มกี ารประเมนิ และปฏบิ ัตติ ามขอ้ กาหนดดา้ นสุขศาสตรอ์ ุตสาหกรรม อันตรายหรอื ผลกระทบจาก สภาพแวดลอ้ มในการทางาน และเสน้ ทางในการอพยพพนักงานในกรณีเกดิ เหตุฉุกเฉิน และ มาตรการในการป้องกนั ทค่ี รอบคลมุ ความเสยี่ ง 5. มกี ารทบทวน ดา้ นการป้ องกันและตอบโตเ้ หตุฉุกเฉิน มีอุปกรณ์ในการตอบโตเ้ หตุฉุกเฉินท่ี เพยี งพอ มแี ผนฉุกเฉินทค่ี รอบคลุมตามความเสยี่ ง และตอบโตเ้ หตุฉุกเฉินทรี่ า้ ยแรงทส่ี ุดทอ่ี าจ เกดิ ขน้ึ (Worse scenario plan) ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และได ้ update วธิ กี ารปฏบิ ัตงิ าน มาตรฐานและขนั้ ตอนดาเนนการในกรณฉี ุกเฉนิ เพอื่ ใหแ้ น่ใจวา่ กระบวนการใหม่ / ปรับเปลย่ี นไป มคี วามปลอดภยั 27/57
SCG Safety Framework: 20126. มกี าร update ขอ้ มลู ทมี่ กี ารเปลยี่ นแปลงไปจากการแกไ้ ข ปรับปรงุ ทเี่ กดิ ขนึ้ ใน P&IDs (Process & Instrument Diagrams) หรอื PFD (Process flow diagram) มกี าร update ขนั้ ตอนการ ทางาน (PM/ WI) และเอกสารทเี่ กย่ี วขอ้ ง ใหส้ อดคลอ้ งกับสง่ิ ทเ่ี ปลยี่ นแปลงไป และมคี วาม ปลอดภยั เพยี งพอ7. ขนั้ ตอนการบารงุ รักษาและซอ่ มบารงุ ไดร้ ับการพฒั นาหรอื ปรบั ปรงุ ตามความจาเป็ นเพอ่ื ใหแ้ น่ใจวา่ การทางานทปี่ ลอดภยั ของกระบวนการใหม่ / ปรบั เปลยี่ นไป8. มกี ระบวนการในการจัดเกบ็ ขอ้ มลู การเปลยี่ นแปลงทเี่ กดิ ขนึ้ เพอ่ื ใชเ้ ป็ นจดุ เรยี นรใู ้ นการดาเนนิ การ เปลยี่ นแปลงตอ่ ไปในอนาคต 28/57
SCG Safety Framework: 20126. โปรแกรมดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั (Operational Health & Safety Programs)6.1 การปฏบิ ตั ติ ามขอ้ กาหนดของกฎหมายและขอ้ กาหนดอน่ื ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง (Registration & Regulation Compliance) เพื่อใหแ้ น่ใจว่าไดป้ ฏิบัติตามขอ้ กาหนดของกฎหมายและขอ้ กาหนดอื่นๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ขององคก์ รอยา่ งครบถว้ น แตล่ ะองคก์ รตอ้ งมกี ารชบ้ี ง่ ตดิ ตาม และทบทวนการปฏบิ ตั ติ ามขอ้ กาหนดของกฎหมายและขอ้ กาหนดอนื่ ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ดงั นี้ 1. กาหนดวธิ กี าร และดาเนนิ การชบ้ี ่งและตดิ ตามขอ้ กาหนดของกฎหมายและขอ้ กาหนดอนื่ ๆ ที่ เกย่ี วขอ้ งดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภัยขององคก์ ร เพอื่ ใหม้ ีขอ้ กาหนดทบ่ี ังคับใชอ้ ยู่ใน ปัจจบุ นั และขอ้ กาหนดใหมอ่ ยา่ งครบถว้ น ทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง และการบงั คบั ใช ้ 2. จัดทารายการสรุปขอ้ กาหนดของกฎหมายและขอ้ กาหนดอน่ื ๆ ดังกล่าวทอี่ งคก์ รตอ้ งปฏบิ ตั ิ และ ระบสุ ถานะการตดิ ตามดว้ ย และมอบหมายผูร้ ับผดิ ชอบในการดูแลใหม้ กี ารปฏบิ ัตติ ามขอ้ กาหนด ของกฎหมายและขอ้ กาหนดอนื่ ๆ ดงั กลา่ ว 3. มกี ารประเมนิ ความสอดคลอ้ งการปฏบิ ตั ติ ามขอ้ กาหนดของกฎหมายและขอ้ กาหนดอนื่ ๆ ดังกล่าว เป็ นระยะอยา่ งตอ่ เนอื่ ง และกรณพี บวา่ มคี วามไมส่ อดคลอ้ ง ตอ้ งมกี ารแกไ้ ข และป้องกนั6.2 การสอบสวนและการวเิ คราะหอ์ บุ ตั กิ ารณ์ (Incident Investigation & Analysis) เพอื่ ใหม้ กี ารดาเนนิ การแกไ้ ขและการป้ องกันอบุ ัตกิ ารณ์ทเี่ กดิ ขนึ้ อยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ล แต่ละองคก์ รตอ้ งมกี ารสอบสวนและวเิ คราะหอ์ บุ ตั กิ ารณ์ ดงั นี้ 1. มกี ระบวนการและขัน้ ตอนการรายงาน การสอบสวนและการวเิ คราะหอ์ บุ ัตกิ ารณ์อยา่ งเป็ นระบบท่ี ชดั เจนเป็ นลายลกั ษณอ์ กั ษร ครอบคลมุ ทงั้ พนักงานและคธู่ รุ กจิ 2. มกี ารกาหนดอยา่ งชัดเจนว่าตอ้ งมกี ารรายงาน สอบสวน และการวเิ คราะหอ์ ุบัตกิ ารณ์ ทัง้ ทเ่ี ป็ น อบุ ตั เิ หตุ (Accident) และเหตกุ ารณ์เกอื บเกดิ อบุ ตั เิ หตุ (Near Miss) และดาเนนิ การตามทกี่ าหนด 3. มกี ารกาหนดระยะเวลาทเี่ หมาะสมสาหรับการรายงานอบุ ตั กิ ารณ์แตล่ ะประเภทตามความรนุ แรงทัง้ ดว้ ยวาจาและการเขยี นรายงาน โดยถา้ เป็ นอุบัตเิ หตุท่ีรุนแรงถงึ ขัน้ เสยี ชวี ติ หรอื สูญเสยี อวัยวะ หรอื ทรัพยส์ นิ เสยี หายจานวนมาก ตอ้ งใหม้ กี ารรายงานดว้ ยวาจาโดยทันทใี นโอกาสแรกใหก้ ับ ผบู ้ งั คบั บญั ชา ผบู ้ รหิ ารสงู สดุ และดาเนนิ การรายงานตามแนวปฏบิ ตั ขิ อง SCG 4. มกี ารกาหนดบคุ คลทเ่ี กย่ี วขอ้ งและเหมาะสมในการสอบสวนอบุ ตั กิ ารณ์ สาหรบั อบุ ตั กิ ารณท์ ม่ี คี วาม รุนแรงมาก หรอื มแี นวโนม้ ก่อใหเ้ กดิ ความรุนแรงถงึ ขัน้ เสยี ชวี ติ สูญเสยี อวัยวะ หรือทรัพยส์ นิ เสยี หายจานวนมาก ตอ้ งมผี ูบ้ รหิ ารระดับจัดการรว่ มในการสอบสวน และอาจใหผ้ ูเ้ ชยี่ วชาญ และ ผเู ้ กย่ี วขอ้ งจากหน่วยงานอน่ื เขา้ รว่ มในการสอบสวนดว้ ย และดาเนนิ การตามทก่ี าหนด 5. มกี ารบันทกึ ขอ้ มูลเบอื้ งตน้ ของการเกดิ อุบัตกิ ารณ์ลงในรายงานอบุ ัตกิ ารณ์ ตอ้ งมคี วามครบถว้ น สมบูรณ์ และ มรี ะบบการจัดเก็บขอ้ มูลที่สามารถใหผ้ ูเ้ กย่ี วขอ้ งเขา้ ไปใชง้ านไดโ้ ดยง่ายและ ตลอดเวลา (ครอบคลมุ ถงึ การจัดทาการรายงานตามขอ้ กาหนดของกฎหมายอยา่ งครบถว้ น ไดแ้ ก่ การรายงาน จปว./จปท. กท.16 อยา่ งครบถว้ น) มกี ารวเิ คราะหห์ าสาเหตกุ ารเกดิ อบุ ัตกิ ารณ์ใหถ้ งึ สาเหตุพน้ื ฐาน หรอื สาเหตุรากฐาน (Basic or Root Causes) อย่างครบถว้ น ถูกตอ้ ง และ สมเหตสุ มผล 29/57
SCG Safety Framework: 2012 6. มกี ารวเิ คราะหห์ าสาเหตุการเกดิ อบุ ัตกิ ารณ์ใหถ้ งึ สาเหตุพนื้ ฐาน หรอื สาเหตุรากฐาน (Basic or Root Causes) อยา่ งครบถว้ น ถกู ตอ้ ง และสมเหตสุ มผล มกี ารใชเ้ ครอ่ื งมอื สาหรบั การวเิ คราะหห์ า สาเหตุพน้ื ฐาน หรอื สาเหตุรากฐาน (Basic or Root Causes) เชน่ Why Why Analysis, Fish Bone Diagram, Event & Casual Factor Charting เป็ นตน้ มกี ารกาหนดมาตรการการแกไ้ ขและ การป้ องกันทสี่ อดคลอ้ งกับสาเหตุพนื้ ฐานหรอื สาเหตุรากฐาน(Basic or Root Causes) ที่ วเิ คราะหไ์ ด ้ 7. มกี ารกาหนดมาตรการการแกไ้ ขและการป้องกนั ทสี่ อดคลอ้ งกบั สาเหตพุ นื้ ฐานหรอื สาเหตรุ ากฐาน (Basic or Root Causes) ทว่ี เิ คราะหไ์ ด ้ และ มรี ะบบในการมอบหมายผรู ้ ับผดิ ชอบการแกไ้ ขและ การป้ องกัน กาหนดแลว้ เสร็จภายในระยะเวลาทเ่ี หมาะสม มกี ารตดิ ตามผลการแกไ้ ขและการ ป้องกนั ใหแ้ ลว้ เสร็จตามทกี่ าหนดอยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ล 8. มกี ารนาเสนอขอ้ มลู ในรายงานอบุ ตั กิ ารณ์ การวเิ คราะหห์ าสาเหตุการเกดิ อบุ ัตกิ ารณ์ มาตรการการ แกไ้ ขและการป้ องกัน ใหท้ ปี่ ระชมุ คณะกรรมการความปลอดภัยฯ คณะผูบ้ รหิ ารพจิ ารณา และ เผยแพรใ่ หพ้ นักงานรบั ทราบ ผา่ นชอ่ งทางตา่ งๆ 9. มกี ารสอื่ สารขอ้ ความสาคัญของการเกดิ อุบัตกิ ารณ์ ใหห้ น่วยงานอน่ื ในองค์กรเพื่อนาไปเป็ น บทเรยี นใหพ้ นักงานในหน่วยงาน และขยายผลการป้องกนั ทป่ี ระกอบดว้ ย สรปุ เหตกุ ารณ์ทเ่ี กดิ ขนึ้ สาเหตกุ ารเกดิ มาตรการการแกไ้ ขและการป้องกนั โดยเนน้ เฉพาะ Case โดยไมจ่ าเป็ นตอ้ งระบชุ อื่ ผปู ้ ระสบเหตุ 10. มกี ารวเิ คราะหข์ อ้ มลู ลกั ษณะการเกดิ อบุ ตั กิ ารณ์ และสาเหตกุ ารเกดิ ในรอบ 1 ปี และ 3 หรอื 5 ปี ที่ ผา่ นมา โดยวเิ คราะหถ์ งึ 10.1 อตั ราความถใี่ นการเกดิ อบุ ตั กิ ารณ์ Incident Frequency Rate (IFR) 10.2 อตั ราความรนุ แรงในการเกดิ อบุ ตั กิ ารณ์ Incident Severity Rate (ISR) 10.3 จานวนผปู ้ ระสบอบุ ตั เิ หตถุ งึ ขนั้ เสยี ชวี ติ Number of Fatalities และจานวนผปู ้ ระสบอบุ ตั เิ หตุ ถงึ ขนั้ สญู เสยี อวัยวะ Number of Organ Lost Cases 10.4 วเิ คราะห์แนวโนม้ ของอัตราการเกดิ อุบัตเิ หตุ และปัจจัยท่ีทาใหเ้ กดิ แนวโนม้ ดังกล่าว (Trend Analysis) พรอ้ มนาผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ไปกาหนดแผนการดาเนนิ งานดา้ นอาชวี อนามัยและความ ปลอดภยั และตวั ชว้ี ัดผลการดาเนนิ งานทส่ี าคญั (KPIs)6.3 การเตรยี มความพรอ้ มตอ่ สถานการณ์ฉุกเฉนิ (Emergency Preparedness & Response) มกี ารสารวจและระบคุ วามตอ้ งการในการตดิ ตัง้ อปุ กรณ์ป้ องกันและระงับเหตฉุ ุกเฉนิ เชน่ อคั คภี ัยสารเคมีร่ัวไหล และครอบคลุมถงึ เหตุแผ่นดนิ ไหว น้าท่วม สนึ ามิ วาตภัยหรือความเสียหายจากภัยธรรมชาติ และจราจล เรอื ลม่ หรอื สารเคมจี ากโรงงานขา้ งเคยี งรั่วไหล เป็ นตน้ ครอบคลุมความเสย่ี งตา่ งๆทอี่ าจจะเกดิ ขน้ึ ตลอดทกุ พนื้ ทท่ี มี่ คี วามเสยี่ งขององคก์ ร โดยตอ้ งคานงึ ประเด็นดังตอ่ ไปน้ี 1. มกี ารชบ้ี ง่ และประเมนิ สถานการณ์ฉุกเฉิน ครอบคลุมเหตุการณ์ต่างๆ ครบถว้ นตามท่กี าหนดไว ้ หรอื ไม่ 2. ไดจ้ ดั ทาแผนฉุกฉนิ ครอบคลมุ ทกุ ความเสยี่ งทอี่ าจจะเกดิ ขนึ้ ตามขอ้ 1 หรอื ไม่ 3. มกี ารระบคุ วามตอ้ งการ การตดิ ตัง้ อปุ กรณ์ป้ องกันและระงับเหตฉุ ุกเฉนิ มกี ารสารวจและระบคุ วาม ตอ้ งการในการตดิ ตัง้ อุปกรณ์ป้ องกันและระงับเหตุฉุกเฉนิ เชน่ อัคคภี ัย สารเคมรี ั่วไหล เป็ นตน้ ตลอดทกุ พนื้ ทที่ มี่ คี วามเสยี่ งขององคก์ ร โดยครอบคลมุ ประเด็นดังตอ่ ไปนี้ 30/57
SCG Safety Framework: 2012 3.1 พนื้ ท่ีต่างๆ ไดถ้ ูกประเมนิ ความตอ้ งการการตดิ ตัง้ อุปกรณ์ และระงับเหตุฉุกเฉินโดยผูม้ ี ความรูค้ วามสามารถว่าถกู ตอ้ งตามขอ้ กาหนดของกฎหมาย เหมาะสมกบั ความเสย่ี งทม่ี อี ยู่ และมเี อกสารหรอื หลักฐานทตี่ รวจสอบได ้ 3.2 ในการระบคุ วามตอ้ งการนัน้ ควรระบอุ ยา่ งชดั เจนถงึ ประเภท ชนดิ ของอปุ กรณ์ทเี่ หมาะสม ใน แตล่ ะพนื้ ทด่ี งั น้ี ระบุถงึ ประเภทของการเกดิ เพลงิ ไหม ้ รวมทัง้ เหตุฉุกเฉนิ อนื่ ๆ ทอี่ าจเกดิ ขน้ึ ในแต่ละ พน้ื ท่ี ระบุถงึ ประเภท ขนาด และจานวนถังดับเพลงิ รวมทัง้ ระบบดับเพลิง และอุปกรณ์ ประกอบ และอปุ กรณ์ฉุกเฉนิ อนื่ ๆ ตามความจาเป็ นและเหมาะสมกบั ประเภทของเพลงิ ไหมแ้ ละเหตฉุ ุกเฉนิ ทอี่ าจเกดิ ขนึ้ ระบุถงึ พ้ืนที่ทค่ี วรตดิ ตัง้ ระบบสัญญาณแจง้ เหตุฉุกเฉิน ซงึ่ รวมไปถงึ อุปกรณ์ในการ ตรวจจบั เชน่ ควัน สารเคมี ความรอ้ น เป็ นตน้ ระบถุ งึ ความตอ้ งการอปุ กรณ์ทใี่ ชใ้ นการชว่ ยเหลอื และปฐมพยาบาล4. มกี ารจดั เตรยี มอปุ กรณ์ป้ องกันและระงับเหตุฉุกเฉนิ ทเี่ หมาะสมกบั สภาพความเสย่ี งขององคก์ ร ท่ี สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการการตดิ ตงั้ อปุ กรณ์ป้องกนั และระงบั เหตฉุ ุกเฉนิ ตามขอ้ 1 เชน่ ระบบตรวจจบั ความรอ้ น ควัน หรอื ตรวจจบั การรั่วไหลของสารเคมี หรอื กา๊ ซไวไฟ ระบบสญั ญาณแจง้ เหตเุ พลงิ ไหม ้ สญั ญาณแจง้ เหตฉุ ุกเฉนิ ระบบหัวฉีดน้าดับเพลงิ หรอื สารดบั เพลงิ ถังดับเพลงิ ไฟแสงสวา่ งฉุกเฉนิ (Emergency Lighting) พลังงานไฟฟ้าสารอง (Diesel Generator) และป๊ัมน้าสารอง หรอื Fire pump เป็ นตน้ พรอ้ มเตรยี มอปุ กรณ์ดับเพลงิ ทสี่ าคัญ (ถงั ดับเพลงิ สายฉีดน้าดบั เพลงิ หวั ฉีดน้าดบั เพลงิ ) สารองไวป้ ระมาณ 5% เพอื่ ใชใ้ นกรณีฉุกเฉนิ หรอื สง่ ซอ่ มบารงุ5. มกี ารตรวจสอบ การทดสอบ และการบารุงรักษาอปุ กรณ์ป้ องกันและระงับเหตุฉุกเฉนิ มแี ผนการ ตรวจสอบ การทดสอบและการบารงุ รักษาอปุ กรณ์ป้องกนั และระงบั เหตฉุ ุกเฉนิ ทมี่ ที กุ ประเภท โดย กาหนดระยะเวลา หรอื ความถ่ใี นการตรวจตามขอ้ กาหนดของกฎหมาย และผูผ้ ลติ กาหนด หรอื ตามมาตรฐานสากล (เชน่ NFPA) พรอ้ มผลการตรวจสอบ ทดสอบ บารงุ รกั ษาอปุ กรณ์ป้ องกนั และ ระงับเหตุฉุกเฉินตามแผนฯ ทก่ี าหนด (วธิ กี ารทเ่ี ป็ นมาตรฐานและจากผูเ้ ชย่ี วชาญเฉพาะดา้ น) และมแี ผนดาเนนิ การแกไ้ ข กรณีพบอปุ กรณท์ ม่ี กี ารชารดุ บกพรอ่ ง ตามระยะเวลาทเี่ หมาะสม6. มกี ารจัดทาแผนป้ องกันและระงับเหตุฉุกเฉนิ เป็ นลายลักษณ์อักษร และเหมาะสมกับความเสยี่ ง ขององค์กร และเผยแพร่ใหก้ ับผูเ้ ก่ยี วขอ้ งไดร้ ับทราบ ทัง้ ภายในและภายนอกองค์กร โดย แผนงานตอ้ งครอบคลมุ ถงึ การตรวจตรา การอบรมและการฝึกซอ้ ม การรณรงคป์ ้องกนั เหตฉุ ุกเฉนิ การตอบโตภ้ าวะฉุกเฉนิ การอพยพ การบรรเทาทกุ ข์ และการปฏริ ปู ฟ้ืนฟู โดยจะตอ้ งมกี ารประเมนิ ความเสยี่ งเกยี่ วกบั ผลทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ ภายหลงั การเกดิ เหตกุ ารณ์ฉุกเฉนิ ดว้ ย7. การอบรมพนักงาน เรอ่ื งการป้องกนั และระงบั เหตฉุ ุกเฉนิ อบรมพนักงานท่ัวไป เรอื่ งการป้ องกันและระงับอัคคภี ัยขัน้ ตน้ ในแต่ละหน่วยงาน ตามท่ี กฎหมายกาหนด โดยตอ้ งผ่านการฝึกอบรมอย่างนอ้ ย 40% (โดยเฉพาะหน่วยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง โดยตรง ตอ้ งมากกวา่ 40%) และผใู ้ หก้ ารอบรมการป้องกนั และระงบั อคั คภี ยั ตอ้ งไดร้ บั ใบอนุญาต ตามทก่ี ฏหมายกาหนด และเนอื้ หาการอบรมตอ้ งสอดคลอ้ งตามลักษณะความเสย่ี งขององคก์ ร8. การฝึกซอ้ มแผนป้องกนั และระงบั เหตฉุ ุกเฉนิ 8.1 จัดซอ้ มแผนป้ องกันและระงับเหตุฉุกเฉินโดยตอ้ งมกี ารฝึ กซอ้ มทุกแผน อยา่ งนอ้ ยปี ละ 1 ครัง้ พรอ้ มมกี ารประเมนิ ผลการฝึ กซอ้ มแผนป้ องกันและระงับเหตุฉุกเฉินทุกครัง้ และ 31/57
SCG Safety Framework: 2012 ภายหลงั การเกดิ เหตฉุ ุกเฉนิ จรงิ โดยมกี ารสรปุ ปัญหาอปุ สรรค แนวทางการปรับปรุง แกไ้ ข ในแตล่ ะขนั้ ตอน และกาหนดตวั ชวี้ ัดผลทช่ี ดั เจน 8.2 กรณีทม่ี กี ารทางานในเวลากลางคนื จะตอ้ งจัดใหม้ กี ารฝึกซอ้ มแผนป้ องกันและระงับเหตุ ฉุกเฉนิ ในเวลากลางคนื อยา่ งนอ้ ยปีละ 1 ครงั้ 8.3 มกี ารประเมนิ ผลการฝึกซอ้ มแผนป้ องกนั และระงับเหตฉุ ุกเฉนิ ทุกครัง้ และภายหลังการเกดิ เหตฉุ ุกเฉนิ จรงิ โดยมกี ารสรปุ ปัญหาอปุ สรรค แนวทางการปรับปรุง แกไ้ ข ในแต่ละขนั้ ตอน และกาหนดตัวชวี้ ัดผลที่ชัดเจน และตอ้ งจัดใหม้ ีการทบทวนแผนป้ องกันและระงับเหตุ ฉุกเฉนิ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง เป็ นประจาทกุ ปีภายหลงั การซอ้ ม และทกุ ครงั้ ทเี่ กดิ เหตฉุ ุกเฉนิ โดยผู ้ ทเี่ กย่ี วขอ้ งทัง้ หมด รวมถงึ นาขอ้ เสนอแนะ ปัญหาอุปสรรคจากการฝึกซอ้ ม มาปรับปรุง แกไ้ ขใหเ้ หมาะสมตอ่ ไป 8.4 มมี าตรการในการอพยพ การกาหนดจดุ รวมพล และการนับจานวน (Head count) ทเ่ี ชอ่ื มั่น ไดว้ า่ จะไมม่ ผี ตู ้ กคา้ งในพน้ื ทท่ี เี่ กดิ อบุ ตั เิ หตุ6.4 การรกั ษาความสะอาดและความเป็ นระเบยี บเรยี บรอ้ ยในสถานทที่ างาน (Housekeeping) เพอ่ื ใหส้ ถานทท่ี างานมคี วามสะอาดและความเป็ นระเบยี บเรยี บรอ้ ย ซงึ่ นับเป็ นปัจจัยพน้ื ฐานสาคัญท่ีจะก่อใหเ้ กดิ ความปลอดภัยและเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการทางานมากขนึ้ แต่ละองคก์ รจงึ ตอ้ งมกี ารดาเนนิ การตา่ งๆ เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การรักษาความสะอาดและความเป็ นระเบยี บเรยี บรอ้ ยในสถานทที่ างานดงั นี้ 1. มกี ารออกแบบและจัดแบง่ พน้ื ทส่ี าหรับการทางาน และการจัดเก็บวัสดุอปุ กรณ์ วัตถุดบิ สารเคมี อยา่ งเป็ นระบบโดยคานงึ ถงึ ความสะดวกและความปลอดภยั ในการทางาน 2. มกี ารจัดเก็บวัสดุอุปกรณ์ วัตถุดบิ สารเคมตี ่างๆ ในพืน้ ท่ีทกี่ าหนด และ ถูกตอ้ งตามหลักความ ปลอดภยั มรี ะบบการชบี้ ง่ สถานะความพรอ้ มในการใชง้ านอยา่ งปลอดภัย และแยกวัสดุอปุ กรณ์ท่ี ชารุดออก พนื้ ทคี่ วบคมุ ตา่ งๆเชน่ หอ้ งไฟฟ้า หอ้ ง IT (Server) หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทดสอบ จะตอ้ งมี มาตรการในการควบคมุ ป้องกนั มใิ หบ้ คุ คลภายนอกเขา้ -ออก และตอ้ งไมม่ กี ารจัดเกบ็ อปุ กรณท์ ไี่ มม่ ี ความจาเป็ น หรอื วัสดทุ ก่ี อ่ ใหเ้ กดิ อนั ตราย 3. มกี ารดแู ลสถานทป่ี ฏบิ ตั งิ าน พน้ื ที่ ทางเดนิ บันได หอ้ งเก็บของ เป็ นตน้ ใหส้ ะอาดปราศจากสง่ิ ที่ อาจกอ่ ใหเ้ กดิ อันตราย เชน่ ฝ่ ุน คราบน้ามัน สารเคมี เศษวัสดทุ เ่ี ป็ นเชอ้ื เพลงิ รวมทัง้ สง่ิ กดี ขวาง ตา่ งๆ 4. มกี ารจัดเตรียมถังขยะ พรอ้ มคัดแยกประเภทของขยะ และกาจัดทง้ิ ตามวธิ ีการที่ถูกตอ้ งและ ปลอดภยั6.5 การตรวจความปลอดภยั ทว่ั ไป (General Safety Inspection) เพอ่ื เป็ นการคน้ หาปัญหา หรอื อันตรายทอี่ าจจะเกดิ ขนึ้ ทัง้ ในลักษณะของสภาพการทางานทไ่ี ม่ปลอดภัย และ พฤตกิ รรมการทางานทเี่ สยี่ งต่อการเกดิ อุบัตเิ หตุ แลว้ หาทางแกไ้ ขป้ องกันก่อนทจ่ี ะเกดิความสญู เสยี แตล่ ะองคก์ รตอ้ งดาเนนิ การตรวจความปลอดภยั ท่วั ไป ดังน้ี 1. มแี ผนการตรวจความปลอดภัยทั่วไป และดาเนนิ การตรวจฯ โดยคณะกรรมการความปลอดภัยฯ หรือ คณะทางานความปลอดภัยฯ ท่ีมีตัวแทนจากหน่วยงานต่างๆ ( Cross Functional Committee) ประจาอยา่ งนอ้ ยเดอื นละ 1 ครงั้ ใหค้ รอบคลมุ ทกุ หน่วยงาน และทกุ พนื้ ทขี่ ององคก์ ร และโดยหัวหนา้ งานทุกคนเป็ นประจาทุกวันท่ีมกี ารปฏบิ ัตงิ าน ในพืน้ ท่ีที่หัวหนา้ งานแต่ละคน รบั ผดิ ชอบ โดยมกี ารระบหุ นา้ ทแ่ี ละพน้ื ทท่ี ร่ี ับผดิ ชอบใหช้ ดั เจน 32/57
SCG Safety Framework: 2012 2. มกี ารกาหนดมาตรฐานการตรวจสอบความปลอดภยั ท่ัวไป โดย 2.1 ระบรุ ายการตรวจสอบ เชน่ เครอ่ื งมอื เครอื่ งจักร วัสดอุ ปุ กรณ์ สารเคมี วัตถดุ บิ สภาพพนื้ ที่ ในการทางาน อปุ กรณด์ บั เพลงิ อปุ กรณ์ฉุกเฉนิ อปุ กรณ์ป้องกนั อนั ตรายสว่ นบคุ คล เป็ นตน้ 2.2 วธิ กี ารตรวจสอบรายการตา่ งๆ อยา่ งชดั เจน 3. มรี ะบบในการบนั ทกึ ผลการตรวจสอบและรายงานใหผ้ บู ้ งั คับบญั ชา เจา้ ของพนื้ ท่ี และผเู ้ กย่ี วขอ้ ง ทราบ 4. มกี ารจัดลาดับความสาคัญของปัญหาหรอื อันตรายทตี่ รวจพบ (Hazard Classification) กาหนด วธิ กี ารและผรู ้ ับผดิ ชอบการแกไ้ ขและการป้องกนั และกาหนดระยะเวลาแลว้ เสร็จทเ่ี หมาะสม 5. มรี ะบบการตดิ ตามผลการแกไ้ ขและการป้ องกัน เพ่อื ใหแ้ น่ใจว่ามกี ารดาเนินการแลว้ เสร็จตาม กาหนดอยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ล 6. มกี ารวเิ คราะหผ์ ลการตรวจความปลอดภยั ฯ เพอ่ื หาสาเหตุพน้ื ฐาน หรอื สาเหตุรากฐาน (Basic or Root Causes) ของอนั ตรายทเี่ กดิ เป็ นประจาหรอื เกดิ ซ้าอยเู่ สมอ (Recurring Hazard) และนาไป พจิ ารณาในการดาเนนิ การป้ องกัน และกาหนดแผนการดาเนินงานดา้ นอาชวี อนามัยและความ ปลอดภยั6.6 การตรวจความปลอดภยั ของเครอ่ื งจกั รและอปุ กรณ์ (Machine & Equipment Inspection) เพอ่ื ใหเ้ ครอื่ งจักรและอุปกรณ์ทนี่ ามาใชง้ านอยู่ในสภาพทป่ี ลอดภัยอยเู่ สมอ แต่ละองคก์ รตอ้ งมีการดาเนนิ การตรวจความปลอดภยั ของเครอ่ื งจักรและอปุ กรณ์ ดังน้ี 1. มแี นวปฏบิ ตั ทิ เ่ี กย่ี วกบั ตรวจความปลอดภยั ของเครอื่ งจักรและอปุ กรณ์ โดยระบุ 1.1 ประเภทของเครอื่ งจักรและอปุ กรณ์ทต่ี อ้ งตรวจสอบ (โดยเฉพาะทม่ี อี นั ตรายถา้ มสี ภาพไม่ พรอ้ มใชง้ าน) ไดแ้ ก่ อปุ กรณ์ทใี่ ชใ้ นการเชอ่ื มไฟฟ้ า/แก๊ส ปั่นจั่น รอกโซ่ สลงิ เครอ่ื งเจยี ร เครอ่ื งขดั เป็ นตน้ 1.2 จดุ ทตี่ อ้ งตรวจ(โดยเฉพาะจดุ ทถ่ี า้ ชารดุ แลว้ จะกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายรนุ แรงได)้ 1.3 มาตรฐาน/วธิ กี ารตรวจ 1.4 ความถใี่ นการตรวจ 1.5 บทบาท หนา้ ที่ ความรบั ผดิ ชอบของผตู ้ รวจสอบ 2. ผทู ้ ที่ าหนา้ ทใี่ นการตรวจความปลอดภัยจะตอ้ งมีความรู ้ ความสามารถในการตรวจและมเี ครอ่ื งมอื หรอื อปุ กรณใ์ นการตรวจทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพทจี่ ะชใ้ี หเ้ ห็นถงึ ความปลอดภยั ในการใชง้ าน เชน่ อปุ กรณ์ ในการทดสอบแรงดงึ อปุ กรณ์ทดสอบการรั่วของกระแสไฟฟ้า เป็ นตน้ 3. มกี ารจดั ทาแผนการตรวจสอบทชี่ ดั เจนและเหมาะสมกบั การใชง้ าน โดยการตรวจสอบอาจแบง่ เป็ น การตรวจดว้ ยสายตา (Visual Check) และการตรวจสอบแบบใชอ้ ปุ กรณ์ทดสอบความปลอดภัย พรอ้ มทัง้ มีการแสดงผลการตรวจท่ีชัดเจนว่าอุปกรณ์ดังกล่าวไดท้ าการตรวจแลว้ และมีความ ปลอดภยั ตอ่ การใชง้ านหรอื ไม่ 4. เครอื่ งมอื และอปุ กรณ์ทไ่ี มพ่ รอ้ มใชง้ านหรอื ไม่ปลอดภัยจะตอ้ งมกี ารตดิ ป้ ายชบ้ี ง่ หา้ มใชง้ านและ แยกเก็บจากเครอื่ งมอื ทพ่ี รอ้ มใชง้ าน 5. อปุ กรณ์ไฟฟ้า ตูจ้ ่ายไฟฟ้า แผงไฟฟ้าสาหรับตอ่ พว่ งทใี่ ชใ้ นโรงงานทุกชนดิ จะตอ้ งจัดใหม้ รี ะบบ สายดนิ และระบบป้องกนั ไฟฟ้ารว่ั เชน่ Breaker, Earth Leakage Circuit Breaker เป็ นตน้ 6. มกี ารกาหนดเขตพน้ื ทค่ี วบคุมสาหรบั งานไฟฟ้า บรเิ วณสถานไี ฟฟ้าแรงสงู หอ้ งไฟฟ้า Substation พรอ้ มกาหนดขัน้ ตอนการทางานทเ่ี หมาะสมในพนื้ ทดี่ ังกลา่ ว รวมถงึ การตดิ ตัง้ ป้ ายเตอื นอันตราย ตา่ งๆ อยา่ งครบถว้ น 33/57
SCG Safety Framework: 2012 7. กรณีพื้นที่ไฟฟ้ าแรงสูงดังกล่าว ตอ้ งมีระบบการขออนุญาต และมาตรฐานการทางาน ซงึ่ ครอบคลุมถงึ การตัดแหล่งจ่ายไฟฟ้าแรงสูง ก่อนเขา้ โรงงาน กอ่ นเขา้ หมอ้ แปลง และ/หรอื ตัด แหลง่ จา่ ยไฟฟ้าทเ่ี ขา้ ตจู ้ า่ ยไฟของเครอ่ื งจกั ร 8. อปุ กรณ์การยกเคลอ่ื นยา้ ย (โดยเฉพาะ เครน Hoist สลงิ ค์ เชอื ก รอกโซ่ Mobile Crane) จะตอ้ ง มี Tag ในการชบี้ ง่ ความพรอ้ มใชง้ าน และมรี ายงานการตรวจสอบซง่ึ จะตอ้ งครอบคลมุ ถงึ มปี ้ายบอกพกิ ดั น้าหนักยกไวท้ เ่ี ครน หรอื อปุ กรณ์ (รอก โซ่ เชอื ก สลงิ ค)์ มสี ญั ญาณเตอื นอนั ตรายแสงและเสยี งเตอื นขณะทางาน (กรณี เครน Mobile crane รอก ไฟฟ้ า)6.7 การตรวจภาวะแวดลอ้ มในการทางาน (Industrial Hygiene Measurement) มกี ารนาผลตรวจวัดดา้ นสขุ ศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม (Industrial Hygiene Monitoring) มาใช ้ในการประเมนิ ความเสย่ี งตอ่ สขุ ภาพพนักงานอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ไดแ้ ก่ แสงสวา่ ง เสยี ง ความรอ้ น ฝ่ นุรังสี และสารเคมี โดยกาหนดระยะเวลา บรเิ วณ และตาแหน่งท่ีตรวจวัดท่สี ามารถเป็ นตัวแทนครอบคลมุ ครบถว้ นตามความเสย่ี ง และตามขอ้ กาหนดของกฎหมาย 1. มแี ผน และผลดาเนนิ การตรวจวัดทางดา้ นสุขศาสตร์อุตสาหกรรม หรือ ภาวะแวดลอ้ มในการ ทางานในพนื้ ทท่ี อี่ าจมอี นั ตรายตอ่ สขุ ภาพของพนักงานผปู ้ ฏบิ ัตงิ าน ไดแ้ ก่ แสงสว่าง เสยี ง ความ รอ้ น ฝ่ ุน รังสี และสารเคมี โดย กาหนดระยะเวลา บรเิ วณ และตาแหน่งทต่ี รวจวัดทส่ี ามารถเป็ น ตวั แทน ครอบคลมุ ครบถว้ นตามความเสยี่ ง และตามขอ้ กาหนดของกฎหมาย 2. มกี ารตรวจวดั ฯ ดว้ ยเครอ่ื งมอื และวธิ กี ารทไ่ี ดม้ าตรฐานตามหลักวชิ าการ และตามขอ้ กาหนดของ กฎหมาย เคร่ืองมอื ท่ใี ชต้ รวจวัดตอ้ งมีการสอบเทยี บตามหลักวชิ าการ กรณีว่าจา้ งหน่วยงาน ภายนอก ตอ้ งหน่วยงาน ตอ้ งไดร้ ับอนุญาตจากทางราชการ 3. มรี ะบบการจัดทารายงานและเก็บประวัตขิ อ้ มูลการตรวจวัดดา้ นสขุ ศาสตรอ์ ุตสาหกรรม และการ สอื่ สารใหผ้ เู ้ กย่ี วขอ้ งรบั ทราบถงึ ผลการตรวจวดั ดังกลา่ ว 4. มกี ารเก็บประวัตกิ ารไดร้ บั หรอื การสมั ผัสกบั สารเคมอี นั ตราย หรอื สง่ิ ทอ่ี าจเป็ นอันตรายต่อสขุ ภาพ จากการปฏบิ ตั งิ าน ของพนักงานแตล่ ะคนในประวัตสิ ขุ ภาพของพนักงาน 5. ไดน้ าผลการตรวจวัดในพน้ื ทกี่ ารทางาน (Area Sampling) หรือการสัมผัสของแต่ละบุคคล (Personal Sampling) มา เพอื่ ใชใ้ นการวเิ คราะหผ์ ล และกาหนดแผนงานประจาปี หรอื ไม่6.8 โครงการสขุ ภาพ (Health Program) เพอ่ื ใหม้ กี ารดาเนนิ การควบคมุ และป้องกนั โรคจากการทางาน และมกี ารสง่ เสรมิ สขุ ภาพของทกุ คนในองคก์ รอยา่ งเป็ นระบบ แตล่ ะองคก์ รตอ้ งมกี ารดาเนนิ การโครงการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ดงั น้ี 1. มรี ะบบการชบี้ ง่ อนั ตรายและประเมนิ ความเสยี่ งทคี่ รอบคลมุ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพทช่ี ดั เจน ตามความ เสยี่ งทมี่ อี ยใู่ นองคก์ ร โดยครอบคลมุ ถงึ ปัจจัยสขุ ภาพและปัจจยั ภาวะแวดลอ้ มในการทางาน 2. มกี ารประเมนิ ระดับการสมั ผัส (Exposure Assessment) โดยเฉพาะการสมั ผัสสารเคมกี อ่ นทจี่ ะนา ขอ้ มลู ทไี่ ดไ้ ปประเมนิ ความเสย่ี งตอ่ สขุ ภาพ 3. มกี ารนาผลตรวจวัดดา้ นสขุ ศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม (Industrial Hygiene Monitoring) มาใชใ้ นการ ประเมนิ ความเสย่ี งต่อสุขภาพพนักงานอย่างต่อเนือ่ ง ไดแ้ ก่ แสงสว่าง เสยี ง ความรอ้ น ฝ่ ุน รังสี และสารเคมี โดย กาหนดระยะเวลา บริเวณ และตาแหน่งท่ีตรวจวัดท่ีสามารถเป็ นตัวแทน ครอบคลมุ ครบถว้ นตามความเสยี่ ง และตามขอ้ กาหนดของกฎหมาย 34/57
SCG Safety Framework: 2012 4. พจิ ารณาความเสยี่ งในงานทอี่ าจเป็ นอันตรายต่อสุขภาพในแต่ละหน่วยงาน ตาแหน่งงาน หรอื พน้ื ท่ี และกาหนดแผนการตรวจสขุ ภาพตามความเสยี่ งดงั กลา่ วในเหมาะสมกบั พนักงาน โดยมกี าร ปรกึ ษากบั แพทยท์ างดา้ นอาชวี เวชศาสตร์ โดยตรงดาเนนิ การครบถว้ นตามทกี่ ฏหมายกาหนด 5. ผลการตรวจสขุ ภาพตามความเสยี่ งจากการทางานกอ่ นการจา้ งงาน ผลการตรวจสขุ ภาพประจาปี กอ่ นกลับเขา้ ทางาน ภายหลงั จากทต่ี อ้ งหยดุ งานจากการประสบอบุ ตั เิ หตหุ รอื การเจ็บป่ วยจากการ ทางาน การยา้ ยงาน กอ่ นพน้ สภาพการเป็ นพนักงาน 5.1 ตรวจกอ่ นจา้ งงานเป็ นพนักงาน 5.2 ตรวจรา่ งกายประจาปี (ตรวจทงั้ พนักงานและคธู่ รุ กจิ ) 5.3 ตรวจกอ่ นกลบั เขา้ ทางานหลงั เกดิ อบุ ตั เิ หตทุ ท่ี าใหต้ อ้ งหยดุ งานเกนิ 3 วนั 5.4 ตรวจกอ่ นยา้ ยงาน (ดาเนนิ การภายใน 30 วัน) 5.5 ตรวจกอ่ นพน้ สภาพการเป็ นพนักงาน 6. ตอ้ งจัดใหม้ สี มดุ สุขภาพประจาตัวพนักงาน หรอื ระบบการจัดเก็บขอ้ มูลสุขภาพของพนักงาน ทมี่ ี ขอ้ มลู ยอ้ นหลงั ได ้ 7. มกี ารใหค้ าปรกึ ษาดา้ นสุขภาพอนามัย มบี คุ ลากรทางการแพทย์ ทสี่ ามารถใหค้ าปรกึ ษาแนะนา กาหนดระยะเวลาท่ีบุคลากรทางการแพทย์ อยู่ประจาในระหว่างเวลาทางาน (อย่างนอ้ ยตอ้ ง สอดคลอ้ งกบั ขอ้ กาหนดของกฏหมาย) 8. มกี ารเตรยี มสงิ่ อานวยความสะดวกดา้ นสขุ ภาพอนามัย หอ้ งพยาบาลทม่ี อี ุปกรณ์ทางการแพทย์ (และเวชภัณฑ)์ อยา่ งเพยี งพอและพรอ้ มทจี่ ะใหก้ ารรักษา พรอ้ มทัง้ ตยู ้ าสามัญในแต่ละพน้ื ที่ ซง่ึ ตอ้ งมรี ะบบในการตรวจสอบใหพ้ รอ้ มใชง้ านไดเ้ สมอ (ยาเพยี งพอ ยาไมห่ มดอายุ เป็ นตน้ ) 9. การสอ่ื สารดา้ นสขุ ภาพอนามยั มรี ะบบการแจง้ ขอ้ มลู ใหแ้ กพ่ นักงาน ทม่ี ปี ัญหาสขุ ภาพ ใหม้ ารับคาแนะนา และการดูแล รกั ษาจากแพทย์ และถอื เป็ นความลับสว่ นบคุ คล และมรี ะบบการแจง้ ใหผ้ บู ้ รหิ ารทเ่ี กยี่ วขอ้ งทราบ กรณีจากดั การทางานของพนักงานอนั มสี าเหตุเนอื่ งมาจากปัญหาเกยี่ วกบั สขุ ภาพ 10. การเก็บและวเิ คราะหข์ อ้ มลู 10.1 มรี ะบบการเก็บบันทกึ ประวัตเิ กย่ี วกับสขุ ภาพของพนักงาน และถอื เป็ นความลับส่วนบคุ คล (มรี ะบบ Authority ในการเขา้ ถงึ ขอ้ มูล) และนาขอ้ มูลมาวเิ คราะห์ผลดา้ นสุขภาพของ พนักงาน เพอ่ื นาไปใชใ้ นการวางแผนการดาเนนิ งานตอ่ ไป 10.2 หากพบวา่ ผลการตรวจสขุ ภาพของพนักงานมแี นวโนม้ วา่ จะเกยี่ วเนอื่ งมาจากการทางาน ให ้ ทาการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทัง้ หมดทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ไดแ้ ก่ ผลการตรวจสขุ ภาพตามความเสยี่ งจากการ ทางานผลการตรวจสุขภาพท่ัวไป ผลการตรวจวัดดา้ นสุขศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม ประวัตกิ าร ทางาน ประวตั กิ ารเจ็บป่ วยและรกั ษาพยาบาล เป็ นตน้ เพอ่ื หาขอ้ สรปุ วา่ เป็ นโรคอนั เนอ่ื งจาก การทางานหรือไม่ เพ่ือจะกาหนดวธิ ีการดูแล รักษาไดอ้ ย่างถูกตอ้ งต่อไป หากพบว่ามี แนวโนม้ จากการทางาน ตอ้ งดาเนนิ การแกไ้ ขปรับปรงุ 11. มโี ครงการสง่ เสรมิ สขุ ภาพใหก้ บั พนักงาน 11.1 จัดโครงการการตรวจสขุ ภาพทั่วไป และจัดใหม้ กี ารทดสอบสมรรถภาพร่างกายท่ัวไป ตาม ระยะเวลาทเี่ หมาะสม ใหก้ บั พนักงานและคธู่ รุ กจิ 11.2 จัดกจิ กรรมเพอ่ื สง่ เสรมิ สขุ ภาพ เชน่ การออกกาลังกาย การควบคุมน้าหนักตัว (BMI) เลกิ บหุ รี่ ลดเหลา้ อาหารเพอ่ื สขุ ภาพ เป็ นตน้6.9 การยศาสตร์ (Ergonomics) เพอื่ ใหม้ กี ารคน้ หา วเิ คราะห์ ควบคุมและป้ องกันปัญหาการยศาสตรใ์ นสถานทท่ี างานอยา่ งเป็ นระบบ แตล่ ะองคก์ รตอ้ งมกี ารดาเนนิ การเรอ่ื งการยศาสตร์ ดงั น้ี 35/57
SCG Safety Framework: 2012 1. มกี ารคน้ หาและวเิ คราะหป์ ัญหาการยศาสตรใ์ นบรเิ วณสถานทที่ างาน 1.1 สารวจปัญหาการยศาสตรเ์ บอื้ งตน้ ทกุ พน้ื ทปี่ ฏบิ ัตงิ านในองคก์ ร เพอื่ หางานทอ่ี าจมปี ัญหา การยศาสตร์ 1.2 สารวจ เก็บขอ้ มลู ในรายละเอยี ด และวเิ คราะหอ์ นั ตรายดา้ นการยศาสตรใ์ นแตล่ ะงานทอี่ าจมี ปัญหาการยศาสตร์ 1.3 สารวจปัญหาการยศาสตรเ์ ป็ นระยะๆ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง 2. นาผลการคน้ หาและวเิ คราะหป์ ัญหาการยศาสตรใ์ นบรเิ วณสถานทที่ างาน มาพจิ ารณาดาเนนิ การ ควบคมุ และป้องกนั อนั ตรายอนั เกดิ จากปัญหาดา้ นการยศาสตร์ โดยตอ้ งครอบคลมุ ในเรอ่ื งตอ่ ไปนี้ 2.1 ออกแบบสถานที างานตามหลกั การยศาสตร์ 2.2 ออกแบบวธิ กี ารปฏบิ ตั งิ านตามหลักการยศาสตร์ 2.3 ออกแบบเครอื่ งมอื และอปุ กรณต์ ามหลักการยศาสตร์ 3. มกี ารจัดการดา้ นการแพทย์ (Medical Management) ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ดา้ นการยศาสตร์ 3.1 มกี ารเฝ้าระวังโรคทอี่ าจเกดิ ขน้ึ เนอ่ื งจากปัญหาดา้ นการยศาสตร์ 3.2 ใหค้ วามรแู ้ ละอบรมเกย่ี วกบั การป้องกันปัญหาดา้ นการยศาสตรเ์ ป็ นระยะอยา่ งตอ่ เนอื่ ง 4. มกี ารเกบ็ บนั ทกึ สขุ ภาพอนามยั ดา้ นการยศาสตร์ และวเิ คราะหแ์ นวโนม้ ของปัญหาดา้ นนมี้ โี ปรแกรม การเสรมิ สรา้ งสุขภาพของพนักงานเพ่ือเสริมสรา้ งกลา้ มเนื้อ /ลดความลา้ /ลดความเครียด เนอื่ งจากการทางาน ทส่ี อดคลอ้ งกบั ปัญหาทไี่ ดจ้ ากการคน้ หาและวเิ คราะหป์ ัญหาการยศาสตรใ์ น บรเิ วณสถานทที่ างาน6.10 การควบคมุ ผขู้ ายและคธู่ ุรกจิ (Vendor & Contractor Control)6.10.1 การควบคมุ ผขู้ าย (Vendor Control) เพอื่ ใหม้ กี ารจัดซอ้ื วัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ที่มกี ารพจิ ารณาและไดม้ าตรฐานความปลอดภัย การยศาสตร์ แตล่ ะองคก์ รตอ้ งดาเนนิ การควบคมุ ผขู ้ าย ดงั น้ี 1. การกาหนดความตอ้ งการดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภัย สาหรับการจัดซอื้ วัสดุ เครอ่ื งจักร อปุ กรณ์ตา่ งๆ โดย 1.1 ผเู ้ กยี่ วขอ้ งทกุ ฝ่ าย ไดแ้ ก่ ผูใ้ ชง้ าน ผูจ้ ัดซอื้ เจา้ หนา้ ทคี่ วามปลอดภยั ระดับวชิ าชพี /เทคนคิ ชนั้ สงู /เทคนคิ มสี ว่ นร่วมในการกาหนด ใหเ้ ป็ นไปตามขอ้ กาหนดของกฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ ง หรอื ไดม้ าตรฐานในระดับประเทศ หรอื ระดับสากล เชน่ มอก. DIN, JIS, ASME, NFPA, ASTM, ANSI เป็ นตน้ 1.2 ครอบคลมุ วสั ดุ อปุ กรณต์ า่ งๆ ทจ่ี าเป็ น ไดแ้ ก่ เครอ่ื งมอื /เครอื่ งจักร/Waste Treatment และ Pollution Control Equipment เครอ่ื งมอื /อปุ กรณ์ไฟฟ้า สารเคม/ี วัตถุดบิ อปุ กรณ์ ป้องกนั อนั ตรายสว่ นบคุ คล (PPE ) อปุ กรณท์ ใี่ ชใ้ นระบบป้ องกนั และระงับอคั คภี ัย เชน่ Fire Alarm, ถังดับเพลงิ สายดับเพลงิ เครอ่ื งมอื ยานพาหนะ อุปกรณ์ทีใ่ ชใ้ นการตรวจวัด ทางดา้ นสขุ ศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม หรอื ภาวะแวดลอ้ มในการทางาน 1.3 มกี ารขอ และพจิ ารณาขอ้ มลู ความปลอดภยั จากผขู ้ ายดงั ตอ่ ไปน้ี สารเคมอี นั ตราย ตอ้ งมเี อกสารขอ้ มลู เคมภี ัณฑเ์ พอื่ ความปลอดภัย (Material Safety Data Sheet, MSDS) อปุ กรณ์ เครอื่ งมอื เครอื่ งจักร ใหพ้ จิ ารณาขอ้ มลู รายละเอยี ดของเครอ่ื งจักร ถา้ มจี ุดท่ี อนั ตรายตอ้ งมอี ปุ กรณ์ ป้องกนั อนั ตรายตดิ มาดว้ ย และตอ้ งมเี อกสารคมู่ อื การใชง้ าน และการบารงุ รกั ษา อุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นการตรวจวัด ตอ้ งมเี อกสารคู่มอื การใชง้ าน การบารุงรักษา และการ สอบเทยี บ (Calibration) เป็ นตน้ 36/57
SCG Safety Framework: 2012 2. เมอื่ มกี ารสัง่ ซอ้ื ตอ้ งนาเอาความตอ้ งการดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภยั ดังกลา่ วมากาหนด และสอื่ สารไปถงึ ผขู ้ าย และคดั เลอื กสนิ คา้ ใหเ้ ป็ นไปตามความตอ้ งการดังกลา่ วทกุ ครัง้ 3. มกี ารตรวจรับสนิ คา้ เพอื่ ใหแ้ น่ใจวา่ ไดร้ บั สนิ คา้ ตามทกี่ าหนดโดยผเู ้ กยี่ วขอ้ งทุกฝ่ าย ยกเวน้ สนิ คา้ ทจ่ี ดั ซอื้ เป็ นประจา และมี Stock ทช่ี ดั เจนสามารถใหผ้ จู ้ ดั ซอื้ เป็ นผตู ้ รวจรบั เทา่ นัน้ ก็ได ้ 4. ผใู ้ ชง้ านตอ้ งมกี ารพจิ ารณาและดาเนนิ การตามขอ้ มลู ความปลอดภยั ทไี่ ดม้ าจากผขู ้ าย 5. มกี ารทบทวนความตอ้ งการดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภัยอยา่ งสมา่ เสมอ เป็ นระยะ และทุก ครัง้ ในกรณีทีม่ ปี ัญหา หรือ กรณีอน่ื ๆ ท่ีมผี ลกระทบ เช่น กฏหมาย หรอื Know how มกี าร เปลย่ี นแปลง โดยผเู ้ กยี่ วขอ้ งทกุ ฝ่ าย6.10.2 การควบคมุ คธู่ ุรกจิ (Contractor Control) เพอื่ ใหม้ กี ารดแู ลความปลอดภยั ของคธู่ รุ กจิ ทปี่ ฏบิ ตั งิ านใหก้ บั องคก์ ร แตล่ ะองคก์ รตอ้ งดาเนนิ การควบคมุ คธู่ รุ กจิ ใหม้ กี ารปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายตง่ ๆ เป็ นขนั้ ต่า และตอ้ งดาเนนิ การใหค้ รอบคลมุ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. มกี ารพจิ ารณากาหนดความตอ้ งการดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ขององคก์ ร ในการจัดจา้ ง อยา่ งชดั เจนและครอบคลมุ ประเด็นตา่ งๆ ดังน้ี 1.1 คธู่ รุ กจิ ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามขอ้ กาหนดของกฎหมายแรงงาน และกฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ งดา้ นอาชวี อ นามยั และความปลอดภัยโดยเครง่ ครัด โดยเฉพาะ เรอ่ื ง ประกนั สงั คม กองทนุ เงนิ ทดแทน คณะกรรมการความปลอดภัยฯ หน่วยงานความปลอดภัย เจา้ หนา้ ทคี่ วามปลอดภัยในการ ทางาน 1.2 มกี ารระบคุ วามตอ้ งการดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภัยขององคก์ รและแนบเอกสารที่ เกย่ี วขอ้ ง ในสัญญาจา้ ง เชน่ มกี ารกาหนดคณุ สมบัติ ประสบการณ์ทเ่ี หมาะสม และความ ตอ้ งการทางดา้ นความปลอดภยั ของเครอื่ งมอื เครอื่ งจักรทค่ี ธู่ รุ กจิ นามาใชต้ อ้ งอยใู่ นสภาพ พรอ้ มใชง้ าน เป็ นตน้ 1.3 มีการกาหนด กฎระเบียบ และมาตรการความปลอดภัยท่ัวไปที่พนักงานคู่ธุรกิจตอ้ ง ปฏบิ ัติ พรอ้ มควบคุมดูแลพนักงานคู่ธุรกจิ ใหป้ ฏบิ ัตงิ านอย่างปลอดภัย โดยปฏบิ ัตติ าม กฎระเบียบ และมาตรการความปลอดภัยทั่วไป และ มาตรการหรือวธิ ีการปฏบิ ัตงิ านที่ ปลอดภยั ตามทก่ี าหนดไวอ้ ยา่ งเครง่ ครดั 1.4 มกี ารกาหนดมาตรการ หรอื วธิ กี ารปฏบิ ตั งิ านทปี่ ลอดภยั ทชี่ ดั เจน และเป็ นไปตามขอ้ กาหนด ของกฎหมาย โดยเฉพาะงานทมี่ คี วามเสยี่ งสงู ทพี่ นักงานคธู่ รุ กจิ ตอ้ งปฏบิ ตั ิ ดังน้ี งานเกยี่ วกับเครอ่ื งจักรทม่ี สี ว่ นเคลอ่ื นไหว หรอื เคล่ือนท่ี / การเขา้ ไปปฏบิ ัตงิ านใน เครอื่ งจกั ร ทอ่ี าจกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายรา้ ยแรงถงึ ขนั้ สญู เสยี อวยั วะ หรอื เสยี ชวี ติ งานซอ่ มบารงุ ตดิ ตัง้ เกยี่ วกบั ไฟฟ้า งานทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั สารเคมอี นั ตราย วัตถอุ นั ตราย และรังสี งานในทอ่ี บั อากาศ งานทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ ความรอ้ นหรอื ประกายไฟ (Hot Work) งานยกเคลอื่ นยา้ ยดว้ ยปัน้ จนั่ หรอื เครน งานขบั รถยก (Folk Lift) งานบนทส่ี งู ทผี่ ูป้ ฏบิ ัตงิ านตอ้ งทางานในลักษณะโดดเดยี่ วทส่ี ูงเกนิ กว่า 2 เมตร เชน่ บนหลังคา ระเบยี งดา้ นนอก หรอื งานอน่ื ๆ ตามทอี่ งคก์ รกาหนด เชน่ ขบั รถไฟ ขบั เรอื คธู่ รุ กจิ ขนสง่ เป็ นตน้ 1.5 พนักงานคู่ธุรกจิ ตอ้ งไดร้ ับการฝึกอบรมกฎระเบยี บ และมาตรการความปลอดภัยท่ัวไป และ มาตรการหรอื วธิ กี ารปฏบิ ตั งิ านทปี่ ลอดภยั ตามทกี่ าหนดไวก้ อ่ นทจ่ี ะใหเ้ รมิ่ ปฏบิ ตั งิ าน 1.6 กาหนดใหพ้ นักงานคธู่ รุ กจิ ตอ้ งมกี ารสอบวัดความรคู ้ วามสามารถ เพอ่ื รับใบอนุญาตใหท้ างาน ทม่ี คี วามเสย่ี งขององคก์ ร ตามขอ้ 1.4 กอ่ นเรม่ิ ทางานเสยี่ งนัน้ หรอื ไม่ 37/57
SCG Safety Framework: 2012 2. มีการสอ่ื สาร ช้แี จงความตอ้ งการดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภัยขององค์กรใหค้ ู่ธุรกจิ รับทราบกอ่ นทจี่ ะมกี ารประมลู และจดั จา้ ง 3. หน่วยงานผูจ้ ัดจา้ งโดยตรงและผเู ้ กยี่ วขอ้ ง มกี ารประชมุ หารอื การดาเนนิ การตามความตอ้ งการ ดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ขององคก์ รรว่ มกบั คธู่ รุ กจิ เพอ่ื ใหแ้ น่ใจวา่ คธู่ รุ กจิ มคี วามเขา้ ใจ และสามารถปฏบิ ตั ติ ามความตอ้ งการดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ขององคก์ ร กอ่ นทจี่ ะเรมิ่ ใหป้ ฏบิ ัตงิ าน โดยเฉพาะการจัดจา้ งครัง้ แรก และทุกครัง้ ท่ีมกี ารเปล่ียนแปลง เพม่ิ เตมิ ความ ตอ้ งการดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ขององคก์ ร 4. มกี ารตดิ ตาม และควบคุมใหค้ ู่ธุรกจิ และพนักงานคู่ธุรกจิ ปฏบิ ัตติ ามความตอ้ งการดา้ นอาชวี - อนามยั และความปลอดภยั ขององคก์ รอยา่ งตอ่ เนื่อง 5. มกี ารประชมุ หารอื กับคู่ธุรกจิ ทุกครัง้ เพอื่ หาแนวทางการแกไ้ ขและการป้ องกันร่วมกัน ในกรณีที่ พบวา่ คูธ่ ุรกจิ ไมส่ ามารถปฏบิ ัตติ ามความตอ้ งการดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภัยขององคก์ ร ได ้ หรอื เกดิ อบุ ตั เิ หตจุ ากการทางานขนึ้ 6. มกี ารประเมนิ ผลการดาเนนิ งานดา้ นความปลอดภยั ฯ ของคู่ธุรกจิ โดยเฉพาะ วา่ สามารถปฏบิ ตั ติ าม ความตอ้ งการดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภัยขององคก์ ร และใหค้ วามรว่ มมอื กับองคก์ รใน การแกไ้ ขและการป้องกนั อยรู่ ะดบั ใด และนาผลการประเมนิ ไปใชใ้ นการพจิ ารณาจัดจา้ งครงั้ ตอ่ ไป 7. สง่ เสรมิ ใหค้ ู่ธุรกจิ ไดม้ สี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมความปลอดภัยของคู่ธุรกจิ เชน่ การทา KYT, Safety Contact หรอื สนทนาความปลอดภยั กอ่ นเรม่ิ งาน การตรวจสอบความปลอดภยั หรอื การสงั เกตการ ทางานโดยคธู่ รุ กจิ 8. มกี ารพัฒนาศักยภาพคู่ธุรกจิ ในการจัดการดา้ นความปลอดภัยตามระบบการประเมนิ คู่ธุรกจิ ตาม ระบบการรับรองความปลอดภัยคู่ธุรกจิ เอสซจี ี (SCG Contractor Safety Certification System) อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ตามนโยบายเอสซจี ี กาหนดให ้ „คู่ธุรกจิ ที่ทางานประจาทัง้ หมดจะตอ้ งผ่านการรับรองความปลอดภยั ‟ ภายในปี 25556.11 การควบคมุ ความปลอดภยั ของผลติ ภณั ฑ์ (Product Safety Control) เพอ่ื ใหม้ คี วามปลอดภัยในการใชง้ านของผลติ ภัณฑ์ (สนิ คา้ และบรกิ าร) แต่ละองคก์ รตอ้ งมกี ารดาเนนิ การควบคมุ ความปลอดภยั ของผลติ ภณั ฑ์ ดงั นี้ 1. มกี ารประเมนิ ความเสย่ี งดา้ นความปลอดภัยของผลติ ภัณฑ์ โดยพจิ ารณาผลกระทบทัง้ ดา้ นความ ปลอดภัย สขุ ภาพ และสง่ิ แวดลอ้ ม ตลอดทัง้ วงจรชวี ติ ของผลติ ภัณฑ์ ตัง้ แต่ การผลติ การขนสง่ การเก็บ การใชง้ าน การนากลบั มาใชใ้ หม่ และการกาจัด ผลติ ภัณฑแ์ ละผลติ ภัณฑพ์ ลอยได ้ (By- product) ขององคก์ ร 2. มกี ารกาหนดขอ้ มลู ความปลอดภยั เกย่ี วกบั ผลติ ภณั ฑ์ ตามความจาเป็ น ไดแ้ ก่ อนั ตราย ขอ้ ปฏบิ ตั ิ เพอื่ ความปลอดภัยในการขนส่ง การเก็บ การใชง้ าน การนากลับมาใชใ้ หม่ และการกาจัดมกี าร พมิ พ์ป้ ายเตือนอันตราย (ถา้ มีอันตราย) และขอ้ มูลความปลอดภัยท่ีสาคัญไวท้ ี่ภาชนะบรรจุ ผลติ ภณั ฑ์ 3. กรณีผลิตภัณฑ์ท่ีเป็ นสารเคมี มีการจัดทาป้ ายหรือเอกสารกากับถูกตอ้ งตามระบบ Global Harmonizing System แลว้ 4. มกี ารใหข้ อ้ มลู ขา่ วสาร คาปรกึ ษา คาแนะนาดา้ นความปลอดภยั แกล่ กู คา้ และผเู ้ กย่ี วขอ้ ง6.12 ความปลอดภยั นอกงาน (Off the Job Safety) เพอ่ื ใหม้ กี ารรณรงค์ ป้ องกันการบาดเจ็บ การเจ็บป่ วย หรอื ประสบอันตรายนอกงาน แตล่ ะองคก์ รตอ้ งมกี ารดาเนนิ การเรอื่ งความปลอดภยั นอกงาน ดังนี้ 38/57
SCG Safety Framework: 2012 1. มกี ารรวบรวมขอ้ มลู วเิ คราะหส์ าเหตุ ประเภทการบาดเจ็บ การเจ็บป่ วย หรอื การประสบอันตราย นอกงานของพนักงานและครอบครัวเพอื่ นามาจดั ทาแผนการดาเนนิ งานหรอื โครงการประจาปี 2. มกี ารกาหนดแผนการดาเนนิ งาน หรอื โครงการรณรงคเ์ พอ่ื ป้องกนั การบาดเจ็บ การเจ็บป่ วย หรอื ประสบอนั ตรายนอกงานอยา่ งชดั เจน 3. มกี ารประเมนิ ผลการดาเนนิ งานตามแผนการดาเนินงาน หรือโครงการที่จัดทาขนึ้ เพื่อประเมนิ ประสทิ ธผิ ลของแผนการดาเนนิ งาน หรอื โครงการอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 4. มกี ารตงั้ เป้าหมายในการควบคมุ หรอื ลดจานวนอบุ ตั เิ หตจุ ากการจราจรนอกงานหรอื ไม่ (MVA หรอื อบุ ตั เิ หตจุ ากรถยนต์ รถจักรยานยนต)์ 5. มกี ารสอื่ สารและรณรงค์ความปลอดภัยนอกงานอย่างต่อเน่ืองทัง้ ในชว่ งเวลาปกติ และในชว่ ง เทศกาลทม่ี วี ันหยดุ ตดิ ตอ่ กนั หรอื ในชว่ งฤดฝู น ทมี่ แี นวโนม้ การเกดิ อบุ ตั เิ หตทุ างยานพาหนะสงู6.13 การตดั แยกพลงั งาน (Plant Isolation) เป็ นการตัดแยกแหลง่ พลังงาน ไฟฟ้า ลม ไฮโดรลคิ ส์ สารเคมี (ทม่ี ี flow / pressure) ทัง้ หมดที่อาจจะสง่ ผลกระทบมายังปฏบิ ัตงิ านทก่ี าลังปฏบิ ัตงิ านกับส่วนทม่ี อี ันตรายของเครอ่ื งจักร อปุ กรณ์ไฟฟ้ าเครอ่ื งมอื หรอื ทอ่ ลาเลยี งตา่ งๆ เพอื่ ไมใ่ หม้ พี ลังงานสะสม หรอื ตกคา้ ง (Zero Energy) โดยผปู ้ ฏบิ ตั งิ านตอ้ งมกี ารล็อกการทางาน พรอ้ มทงั้ แขวนป้ายกบั อปุ กรณท์ จี่ า่ ยแหลง่ พลังงานนัน้ ๆ ดว้ ย 1. มกี ารกาหนดแนวปฏบิ ัติ หรอื มกี ารจัดทาคู่มอื การปฏบิ ัตงิ านในกระบวนการตัดแยกพลังงานได ้ อยา่ งครบถว้ นและชดั เจน ทคี่ รอบคลมุ แหลง่ พลังงานตา่ งๆหรอื ไม่ คมู่ อื จะตอ้ งระบถุ งึ กระบวนการ สอื่ สารระหวา่ งผคู ้ วบคมุ เครอ่ื งจกั รและผเู ้ ขา้ ไปปฏบิ ตั งิ านกบั เครอ่ื งจักรทตี่ อ้ งมกี ารตดั แยกพลงั งาน อยา่ งชดั เจน 2. มกี ารอบรมชแี้ จงใหผ้ ปู ้ ฏบิ ตั งิ าน ผเู ้ กย่ี วขอ้ ง และผบู ้ งั คบั บญั ชาหรอื ไม่ 3. มกี ารจัดเตรยี มอุปกรณ์และความพรอ้ มของจุดที่จะทาการตัดแยกและล็อกอุปกรณ์ไดอ้ ย่างมี ประสทิ ธผิ ลหรอื ไม่ 4. มกี ารประเมนิ และชบี้ ง่ จดุ ทจี่ ะตอ้ งมกี ารตดั แยกแหลง่ พลงั งานไดช้ ดั เจนและครบถว้ นหรอื ไม่ 5. มกี ารตัดแยกแหล่งพลังงานในจุดทปี่ ฏบิ ัตงิ านครบถว้ น และมกี ารล็อกและแขวนป้ ายจุดทตี่ อ้ งมี การตดั แยกแหลง่ พลังงานนัน้ 6. มกี ารคายพลังงานในสว่ นของระบบทสี่ ามารถมพี ลังงานตกคา้ ง หรอื ไม่ (แรงดันลม ไฮดรอลกิ ส์ ไอน้า เป็ นตน้ ) 7. มกี ระบวนการตรวจสอบว่ามกี ารตัดแยกพลังงานไดอ้ ยา่ งครบถว้ น พรอ้ มจดบนั ทกึ งานการตัดแยก พลงั งานหรอื ไม่ 8. มกี ารนาระบบการตดั แยกพลงั งานไปปฏบิ ตั ใิ นภาพรวมไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ล6.14 การควบคมุ อนั ตรายเกยี่ วกบั สารเคมอี นั ตราย (Hazardous Chemical Control) เพอื่ กาหนดมาตรการในการป้ องกันการสัมผัสสารเคมตี ่างๆ ตัง้ แต่กระบวนการพจิ ารณาเลอื กใช ้สงั่ ซอ้ื จัดเก็บ ควบคุมปรมิ าณ และการใชง้ านใหเ้ กดิ ความปลอดภัย รวมถงึ การกาหนดมาตรการกรณีเกดิเหตสุ ารเคมหี กร่วั ไหล ซงึ่ สรา้ งผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ อนามยั และสง่ิ แวดลอ้ มได ้ 1. มกี ระบวนการพจิ ารณาทบทวนการสงั่ ซอื้ สารเคมอี นั ตรายใหม่ หรอื ไม่ โดยคานงึ ถงึ การใชส้ ารเคมที ดแทนทม่ี อี นั ตรายนอ้ ยกวา่ หรอื ไมม่ อี นั ตราย วธิ กี ารกาจดั ขยะปนเปื้อนสารเคมที เี่ กดิ ขน้ึ วธิ กี ารทางวศิ วกรรมสาหรบั การขนยา้ ย และจัดเก็บอยา่ งปลอดภยั 39/57
SCG Safety Framework: 2012 แผนฉุกเฉนิ ทคี่ รอบคลมุ ถงึ อบุ ตั กิ ารณท์ เ่ี กยี่ วขอ้ งกบั สารเคมอี นั ตรายนัน้ ซง่ึ จะตอ้ งมผี ลการพจิ ารณา ซงึ่ ครอบคลุมถงึ กระทบต่อสง่ิ แวดลอ้ มและอันตรายของ สารเคมที กุ ครัง้ ทมี่ กี ารสง่ั ซอ้ื และจะตอ้ งมขี อ้ มลู ความปลอดภยั (MSDS และ Global Harminizing System: GHS) สาหรับสารเคมอี นั ตรายทกุ ชนดิ2. มกี ารจัดทาบัญชรี ายการสารเคมอี ันตราย ซงึ่ ครอบคลุมถงึ ปรมิ าณจัดเก็บ ปรมิ าณจัดเก็บสูงสุด สถานทจ่ี ดั เก็บ ใหเ้ ป็ นปัจจบุ นั อยเู่ สมอ พรอ้ มมกี ารประเมนิ ความเสยี่ งของพน้ื ทจี่ ัดเก็บเรยี บรอ้ ย3. ในกรณีทีม่ ขี อ้ บังคับทางกฎหมายท่ีเกย่ี วขอ้ ง องค์กรไดแ้ จง้ รายละเอยี ดบัญชรี ายการสารเคมี อนั ตราย และรายงาน การประเมนิ ความเสย่ี ง/ การกอ่ อนั ตรายใหห้ น่วยงานราชการทเ่ี กย่ี วขอ้ ง รับทราบตามกาหนดเวลา หรอื ไม่ (เชน่ รายงาน สอ. 1-4 ใบอนุญาตวัตถุอันตราย และการขน้ึ ทะเบยี นผคู ้ วบคมุ วัตถอุ นั ตราย)4. มกี ารกาหนดขนั้ ตอนการปฏบิ ตั งิ านทคี่ รอบคลมุ ถงึ การขนสง่ เคลอื่ นยา้ ย ถ่ายเท การจัดเก็บ และ การใชง้ านสารเคมอี นั ตรายอยา่ งปลอดภยั และตอ้ งเป็ นไปตามมาตรฐานทรี่ าชการกาหนด รวมถงึ ตอ้ งมผี ลการตรวจสอบสภาพพนื้ ทเ่ี ป็ นประจา5. องค์กรไดจ้ ัดใหม้ อี ุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคล (PPE) เพอ่ื ป้ องกันอันตรายจาก สารเคมอี ันตราย ใหก้ ับพนักงานทุกคนทท่ี างานเกย่ี วขอ้ งกับสารเคมอี ันตราย และมกี ารใชง้ าน ดแู ล บารงุ รกั ษาอยา่ งเหมาะสม หรอื ไม่6. สถานทจี่ ัดเก็บสารเคมอี ันตรายถกู จัดสรา้ งตามหลักวศิ วกรรม และอยใู่ นสภาพทเ่ี หมาะสม มกี าร ออกแบบแยกระบบรางระบายน้าฝนออกจาก รางรองรับการหกลน้ มกี ารตดิ ป้ ายประกาศเพอื่ บ่ง บอกเป็ นสาถนทจี่ ัดเก็บสารเคมอี นั ตราย และป้ ายเตอื น (เชน่ Diamond Sign หรอื อนื่ ๆ) อยา่ ง ชดั เจน เป็ นตน้ หรอื ไม่ สรา้ งดว้ ยวัสดทุ นไฟทสี่ ามารถทนไฟไดไ้ มน่ อ้ ยกวา่ 1 ชวั่ โมง (กรณีเก็บสารไวไฟ) พนื้ เรยี บสามารถรบั น้าหนักได ้ มีการป้ องกันผูไ้ ม่ไดร้ ับอนุญาตเขา้ มาในพื้นที่ และมีการปิ ดป ระตูตลอดเวลาที่ไม่มีการ ปฏบิ ตั งิ าน มมี าตรการรองรับการรั่วไหล เชน่ รางรองรบั หรอื เขอื่ นรองรบั (ตามกฎหมาย) ใหม้ กี ารระบายอากาศอยา่ งเหมาะสม มกี ารเคลอื บพน้ื หอ้ งดว้ ยสารทนการกดั กรอ่ น (เกบ็ สารทมี่ คี ณุ สมบตั กิ ดั กรอ่ น) มี Eye washer, ถังดบั เพลงิ อปุ กรณด์ ดู ซบั สารเคมี และถังขยะ ครบ กรณถี งั บรรจสุ ารเคมไี วไฟ ตอ้ งมกี ารต่อระบบสายดนิ อยา่ งครบถว้ น เป็ นตน้7. กรณีทมี่ ถี ังบรรจุสารเคมี (Pressure Vessel, Gas Cylinder) ตอ้ งไดร้ ับการตรวจสอบ และรับรอง โดยวศิ วกรทไ่ี ดใ้ บอนุญาตประกอบวชิ าชพี และมอี ปุ กรณค์ วามปลอดภยั ทจ่ี าเป็ นสาหรบั การจัดเกบ็ หรอื ไม่ กรณถี งั บรรจสุ ารเคมอี นั ตรายทม่ี คี ณุ สมบตั ไิ วไฟ หรอื ระเบดิ ได ้ จดั วางหา่ งจากแหลง่ ความ รอ้ นมากกวา่ 8 เมตร หรอื ตามกฎหมายกาหนด8. มกี ารจัดทาเอกสารระบุขัน้ ตอนในการตอบสนองอุบัตเิ หตุจากสารเคมอี ันตราย ในระหว่างการ ขนสง่ ซงึ่ ระบถุ งึ รายละเอยี ดดังตอ่ ไปนี้ หรอื ไม่ บทบาทหนา้ ทคี่ วามรับผดิ ชอบในการปฏบิ ตั ติ ามแผนฉุกเฉนิ ขนั้ ตอนการระงบั เหตเุ บอื้ งตน้ และแนวทางการแจง้ เหตฉุ ุกเฉนิ ขนั้ ตอนการตอบสนองเพอื่ ไมใ่ หเ้ หตกุ ารณ์ลกุ ลามถงึ ขนั้ วกิ ฤติ แนวทางการอพยพ ขนั้ ตอนการฟ้ืนฟสู ภาพแวดลอ้ มใหก้ ลับคนื สสู่ ภาวะปกติ การรายงาน การตดิ ตอ่ สอ่ื สารกบั องคก์ ร และหน่วยงานทใ่ี หค้ วามชว่ ยเหลอื 40/57
SCG Safety Framework: 2012 9. มกี ารจัดทาแผนควบคมุ การหกรั่วไหลของสารเคมอี นั ตราย ซงึ่ ครอบคลมุ ตัง้ แต่ การป้ องกัน ระงับ แกไ้ ข ฟ้ืนฟสู ภาพ โดยตอ้ งจัดใหม้ พี นักงานทกุ คนมสี ว่ นรว่ มในการฝึกซอ้ ม อยา่ งนอ้ ยปี ละ 1 ครัง้ ซง่ึ ตอ้ งจดั ทารายงาน และนาผลการฝึกซอ้ มทไี่ ดม้ าปรบั ปรงุ แผนใหม้ คี วามเหมาะสมอยเู่ สมอ 10. กรณีรถขนสง่ สารเคมอี นั ตราย จะตอ้ งมกี ารตรวจสอบสภาพของรถทใี่ ชข้ นสง่ ความสอดคลอ้ งกบั ขอ้ กาหนดทางกฎหมายขา้ งตน้ ตอ้ งมกี ารเตรยี ม PPE อปุ กรณ์ป้ องกันหกรั่วไหล และป้ ายเตอื น ครบถว้ น หมายเหตุ : รวมถงึ รถขนสง่ ทจี่ ะเขา้ มาในพนื้ ทข่ี องโรงงาน ทงั้ รถ Vender และ รถ Contractor รถ ขนสง่ จะตอ้ งมถี ังดับเพลงิ อปุ กรณ์ทาความสะอาด อปุ กรณ์ดูดซบั สารเคมี MSDS ครบตามความ เหมาะสม 11. ผูข้ บั ขข่ี นสง่ สารเคมอี ันตราย จะตอ้ งมคี วามรคู ้ วามเขา้ ใจในอันตรายของสารเคมี การแกไ้ ขกรณี สารเคมหี กรวั่ ไหล เป็ นตน้6.15 การควบคมุ กมั มนั ตรงั สี (Radioactive Control) สารกมั มันตรังสี และรังสี สามารถสรา้ งผลกระทบต่อสขุ ภาพอนามยั และกระบวนการผลติ ในบางอุตสาหกรรมได ้ ซงึ่ ครอบคลุมถงึ ชนดิ ทก่ี ่อใหเ้ กดิ ไอออน และไม่ก่อใหเ้ กดิ ไออน (Ionizing & Non-Ionizing Radiation) ดังนัน้ จงึ ควรมกี ารกาหนดมาตรการป้ องกนั และควบคุม เพอื่ ลดโอกาสและความรนุ แรงจากการสมั ผสั สารกมั มนั ตภาพรังสตี า่ งๆ ลง 1. องคก์ รจัดทาบญั ชรี ายการสารกมั มันตรังสี หรอื ของเสยี ปนเปื้ อนสารกมั มันตรังสี ทคี่ รอบคลมุ ถงึ ชนดิ ของสารกัมมันตรังสี (Radionuclides) ปรมิ าณ/ระดับกมั มันตรังสี (uci, Bq) ลักษณะของสาร กัมมันตรังสี เช่น เป็ นของแข็ง ของเหลว เป็ นสารชวี ภาพ หรือเป็ นอันตรายม สถานทที่ ี่มกี าร ปฏบิ ัตงิ าน/สถานทจ่ี ัดเก็บ อุปกรณ์ป้ องกันอันตรายจากรังส/ี ภาชนะบรรจุ พรอ้ มปรับปรุงให ้ update เป็ นประจา (อยา่ งนอ้ ยปีละ 1 ครงั้ ) 2. พน้ื ทจ่ี ดั เกบ็ หรอื ทางานกบั สารกมั มนั ตภาพรังสี ไดม้ กี ารดาเนนิ การป้องกนั ดงั ตอ่ ไปน้ี กาหนดพน้ื ทคี่ วบคมุ โดยจัดทารวั้ คอก หรอื เสน้ แสดงแนวเขต จดั ใหม้ ปี ้ายขอ้ ความ \"ระวังอนั ตรายจากรงั สี หา้ มเขา้ \" เป็ นภาษาไทย มมี าตรการหา้ มผทู ้ ไี่ มเ่ กยี่ วขอ้ ง และบคุ คลภายนอกเขา้ ไป เวน้ แตจ่ ะอยภู่ ายใตก้ ารควบคมุ ของ ผรู ้ บั ผดิ ชอบในการดาเนนิ การทางดา้ นเทคนคิ เครอ่ื งมอื หรอื อปุ กรณ์ชว่ ยลดปรมิ าณรังสที ตี่ น้ กาเนดิ รังสี หรอื ทท่ี างผา่ นของรงั สี ไดจ้ ัดใหม้ ที ่ีลา้ งมอื ที่ลา้ งหนา้ และท่ีอาบน้า เพื่อใหล้ ูกจา้ งซงึ่ ปฏบิ ัตงิ านเกยี่ วกับรังสีใช ้ หลังจากปฏบิ ตั งิ านหรอื กอ่ นออกจากทที่ างาน ภาชนะบรรจสุ ารกมั มนั ตรงั สี หรอื วสั ดปุ นเปื้อนสารกมั มนั ตรังสี เป็ นชนดิ ทเ่ี หมาะสมถกู ตอ้ งกบั สารกมั มนั ตรงั สที บี่ รรจุ หรอื ไม่ 3. องค์กรไดจ้ ัดหาอุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคล และจัดใหม้ ที ่ีเก็บชุดทางานท่ีใช ้ ปฏบิ ตั งิ านเกย่ี วกบั รังสี ไวใ้ นสถานทเ่ี ฉพาะ พรอ้ มทัง้ จัดทาคู่มอื การใชแ้ ละวธิ บี ารุงรักษาอปุ กรณ์ ป้องกนั ดังกลา่ วใหก้ บั พนักงาน หรอื ไม่ 4. องคก์ รมขี อ้ กาหนดในการหา้ ม สตรมี คี รรภ์ และเด็กอายตุ ่ากว่า 18 ปี เขา้ ไปในบรเิ วณทม่ี กี ารใช ้ สารกมั มนั ตรงั สี หรอื หา้ มปฏบิ ตั งิ านเกย่ี วกบั รงั สหี รอื ไม่ 5. มเี อกสารขัน้ ตอนการตรวจสอบสภาพการจัดเก็บและควบคุมสารกัมมันตรังสี และวัสดุปนเป้ื อน กมั มนั ตรงั สี และผลการตรวจ หรอื ไม่ 6. องคก์ รไดด้ าเนนิ การตามทก่ี าหนดหมายกาหนดหรอื ไม่ ใบอนุญาตสาหรับการครอบครอง และการใชป้ ระโยชน์สารกัมมันตรังสจี ากสานักงานปรมาณู เพอื่ สนั ติ 41/57
SCG Safety Framework: 2012 แจง้ การครอบครองสารกัมมันตรังสโี ดยแจง้ จานวน ปรมิ าณความแรง ต่อกรมสวัสดกิ ารและ คมุ ้ ครองแรงงาน รายงานผลการตรวจวัดระดบั ปรมิ าณรงั สี (ทเี่ ครอ่ื งจกั ร) และปรมิ าณรงั สสี ะสมในพนักงานกล่มุ เสยี่ ง สง่ รายงานประจาปีในเรอ่ื งประเภท ปรมิ าณ แหล่งทมี่ า และวธิ กี ารใชง้ าน และการจัดเก็บสาร กมั มนั ตรงั สี (ตามแบบ ร.ง. 7) ตอ่ กรมโรงงานอตุ สาหกรรม ตอ้ งแจง้ ผลการตรวจวดั ระดบั ปรมิ าณรังสี ใหพ้ นักงานทราบ เป็ นประจา จัดใหพ้ นักงานทปี่ ฏบิ ตั งิ านเกยี่ วขอ้ งกับรังสไี ดร้ ับการตรวจสขุ ภาพรา่ งกายอยา่ งนอ้ ยปี ละครัง้ หรอื ไม่ รายงานการปฏบิ ัตงิ านของผูร้ ับผดิ ชอบการดาเนนิ งานทางดา้ นเทคนคิ ในเรือ่ งรังสี ต่อกรม สวสั ดกิ ารและคมุ ้ ครองแรงงานหรอื แรงงานจังหวัด ปีละ 2 ครงั้ หรอื ไม่ กรณีเกดิ เหตฉุ ุกเฉนิ ดา้ นรังสี ไดแ้ จง้ กรมสวัสดกิ ารและคุม้ ครองแรงงาน หรอื แรงงานจังหวัด ทราบภายในเวลาทกี่ าหนดหรอื ไม่ 7. พนักงานทม่ี หี นา้ ทใี่ นการจดั การสารกมั มนั ตรังสี มคี ณุ สมบตั ติ อ่ ไปน้ี หรอื ไม่ วุฒปิ ริญญาตรี และมีความรูอ้ ย่างนอ้ ย 3 หน่วยกติ จากหลักสูตรการฝึ กอบรมเร่ืองสาร กมั มนั ตรังสี หรอื จบหลักสูตรการฝึ กอบรมในเรื่องการจัดเก็บ การขนยา้ ย การบารุงรักษา และการป้ องกัน อันตรายจากสารกัมมันตรังสีที่จัดโดยสานักงานปรมาณูเพ่ือสันติ หรือสถาบันอ่ืนที่กรม สวัสดกิ ารและคมุ ้ ครองแรงงานรับรอง 8. มีการจัดทาแผนหรือขัน้ ตอนปฏิบัติสาหรับกรณีเกดิ เหตุฉุกเฉินเก่ียวกับการรั่วไหลของสาร กมั มนั ตรงั สี และถกู รวบรวมเป็ นสว่ นหนง่ึ ของแผนฉุกเฉนิ ขององคก์ ร และไดท้ ร่ี ะบถุ งึ ขัน้ ตอนตา่ งๆ ครบถว้ น หรอื ไม่ 9. มกี ารฝึกอบรมในเรอื่ งการทางานกบั วสั ดปุ นเป้ือนสารกมั มนั ตรังสเี ป็ นประจาอยา่ งนอ้ ยปีละครงั้ หรอื เมอ่ื มกี ารวา่ จา้ งพนักงานใหม่ หรอื หลังจากวนั เรม่ิ งาน โดยเนอื้ หาตอ้ งครอบคลมุ ถงึ กฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ งและขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ใิ หส้ อดคลอ้ ง ขนั้ ตอนปฏบิ ตั ใิ นการขนยา้ ยและจดั การวสั ดปุ นเป้ือนสารกมั มนั ตรงั สที เี่ หมาะสม ขัน้ ตอนปฏบิ ัตกิ รณีเกดิ เหตุฉุกเฉินเกย่ี วกับวัสดุปนเป้ื อนสารกัมมันตรังสสี าหรับกรณีการหก ร่วั ไหล และอคั คภี ยั การใชอ้ ุปกรณ์ตอบสนองเหตุฉุกเฉิน และอุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคลท่ี เหมาะสม 10. กาหนดมาตรการในการกาจัดสารกัมมันตภาพรังสี หรอื สง่ิ ทกี่ ่อใหเ้ กดิ รังสี อยา่ งถูกตอ้ งตามท่ี กฎหมายกาหนด 6.16 ความปลอดภยั ในงานอบั อากาศ (Confined Spaces Safety) เพอ่ื ใหแ้ น่ใจวา่ ไดป้ ฏบิ ตั ติ ามขอ้ กาหนดของกฎหมายและขอ้ กาหนดอนื่ ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภัยขององคก์ รอย่างครบถว้ น แต่ละองคก์ รตอ้ งมกี ารชบี้ ง่ ตดิ ตาม และทบทวนการปฏบิ ตั ติ ามขอ้ กาหนดของกฎหมายและขอ้ กาหนดอน่ื ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ดังน้ี 1. องคก์ รไดม้ กี ารบง่ ชสี้ ถานทอ่ี บั อากาศ และมกี ารควบคมุ การเขา้ พน้ื ทอี่ บั อากาศ โดยมปี ้ายระบุ \"ที่ อบั อากาศ อนั ตราย หา้ มเขา้ \" ตดิ ทท่ี างเขา้ ออกเพอื่ ป้องกนั ไมใ่ หผ้ ทู ้ ไี่ มเ่ กย่ี วขอ้ งเขา้ ไปทกุ จดุ 2. ผปู ้ ฏบิ ตั งิ านและผทู ้ เี่ กยี่ วขอ้ งไดร้ ับการอบรมหลักสตู รความปลอดภัยในการทางานในทอ่ี บั อากาศ หลักสตู รการอบรมเป็ นไปตามหลักเกณฑข์ อ้ กาหนดกฎหมาย ครอบคลมุ ทัง้ หลักสตู ร ผปู ้ ฏบิ ตั งิ าน ผคู ้ วบคมุ ผชู ้ ว่ ยเหลอื ผอู ้ นุญาต 42/57
SCG Safety Framework: 2012 3. ผปู ้ ฏบิ ัตงิ านจะตอ้ งไมเ่ ป็ นโรคทางเดนิ หายใจ /โรคหัวใจ หรอื สภาวะร่างกายทข่ี ัดต่อการทางาน โดยจะตอ้ งไดร้ บั การรบั รองจากแพทย์ (ใบรับรองแพทยไ์ มเ่ กนิ 6 เดอื น) 4. ตอ้ งมรี ะบบและเอกสารในการควบคุม ตรวจสอบ การปฏบิ ัตติ ามมาตรการความปลอดภัยการ ทางานในทอ่ี บั อากาศ ซง่ึ ครอบคลมุ ถงึ มรี ะบบการควบคุมการผ่านเขา้ และออกสถานทอ่ี ับอากาศตลอดเวลา เชน่ ลงชอื่ เวลา การ ผา่ นเขา้ ออกทกุ ครงั้ มรี ะบบระบายอากาศ (เชน่ พัดลมระบายอากาศ) และแสงสวา่ งทเี่ หมาะสม ตรวจวัดสภาพอากาศกอ่ นและขณะปฏบิ ัตงิ าน (ปรมิ าณ O2 อยรู่ ะหว่าง 19.5-23.5% ก๊าซ ไวไฟ ไมเ่ กนิ 10% LEL และสาหรับสารเคมอี นื่ ๆ (Toxic solvent) ใหต้ รวจสอบปรมิ าณตาม คา่ มาตรฐานทย่ี อมรบั ไดต้ ามชนดิ ของสาร) มกี ารตัดแยกระบบ และ/หรอื ตัดแยกแหล่งพลังงานครบถว้ น (Blind และล็อคกุญแจ แขวน ป้ายทกุ จดุ ) กาหนดตอ้ งมผี เู ้ ฝ้าระวังเฝ้าตลอดระยะเวลาการทางาน อปุ กรณ์ไฟฟ้าทใี่ ชใ้ นทอ่ี ับอากาศทอี่ าจมสี ารไวไฟอยตู่ อ้ งเป็ นชนดิ ป้ องกนั การวาบไฟ/ระเบดิ (Explosion Proof) 5. กอ่ นการปฏบิ ัตงิ านในสถานที่อับอากาศทุกครัง้ ไดม้ กี ารประชมุ ร่วมกันเพอ่ื ชบี้ ่ง ประเมนิ ความ เสยี่ ง จดั ทาแผนควบคมุ การปฏบิ ตั ิ ระหวา่ งหน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง และเจา้ หนา้ ทคี่ วามปลอดภยั 6. การพจิ ารณาอนุญาตใหป้ ฏบิ ตั งิ านจะตอ้ งไดร้ ับการอนุญาตจากนายจา้ งหรอื เจา้ ของพนื้ ทเี่ ป็ นลาย ลกั ษณอ์ กั ษร รวมถงึ ไดม้ กี ารตรวจสอบความพรอ้ มกอ่ นปฏบิ ตั งิ าน โดยหวั หนา้ ผคู ้ วบคมุ งาน 7. มอี ปุ กรณต์ รวจวัดอากาศ (O2 และ Gas Detector) และอปุ กรณช์ ว่ ยชวี ติ เตรยี มไวพ้ รอ้ มใชง้ าน ใน กรณสี ภาพพน้ื ทตี่ อ้ งเขา้ -ออกเป็ นไปโดยยาก เชน่ ชดุ รอกชว่ ยชวี ติ ในลกั ษณะแนวดงิ่ 8. การสอ่ื สาร ใหท้ กุ ฝ่ ายทราบกอ่ นการเรมิ่ ปฏบิ ตั งิ านทกุ ครัง้ กระบวนการวางแผน ชแ้ี จง และซกั ซอ้ ม ความเขา้ ใจ หนา้ ทร่ี ับผดิ ชอบในกลมุ่ คนทเ่ี กย่ี วขอ้ งในแตล่ ะงาน เพอื่ มนั่ ใจวา่ ผเู ้ กยี่ วขอ้ งเขา้ ใจใน แนวทางเดยี วกนั 6.17 ระบบการอนญุ าตปฏบิ ตั งิ าน (Work Permit System) เพอ่ื กาหนดมาตรการป้ องกัน ตรวจสอบ และควบคุมการทางานทมี่ คี วามเสย่ี งขององคก์ ร โดย องคก์ รจะตอ้ งกาหนดประเภทของงานทมี่ คี วามเสย่ี ง และจะตอ้ งดาเนนิ การขออนุญาตกอ่ นเรม่ิ ปฏบิ ตั งิ าน และเป็ นการสรา้ งสอ่ื สารระหวา่ งผปู ้ ฏบิ ตั งิ านภายใน หมายเหต:ุ การอนุญาตปฏบิ ตั งิ าน ไมม่ ผี ลบงั คบั ใชใ้ น workshop เพอ่ื กาหนดมาตรการป้ องกัน ตรวจสอบ และควบคุมการทางานทม่ี คี วามเสย่ี งขององคก์ ร โดยองคก์ รจะตอ้ งกาหนดประเภทของงานทม่ี คี วามเสยี่ ง และจะตอ้ งดาเนนิ การขออนุญาตกอ่ นเรม่ิ ปฏบิ ตั งิ านและเป็ นการสรา้ งสอื่ สารระหวา่ งผปู ้ ฏบิ ตั งิ านภายใน 1. กาหนดใหม้ รี ะบบการอนุญาตใหป้ ฏบิ ัตงิ านในบรเิ วณต่างๆ ของโรงงานซงึ่ เกยี่ วขอ้ งกับงานทมี่ ี ความเสย่ี งตอ่ การเกดิ อนั ตรายแบง่ ออกเป็ นงานลักษณะตา่ งๆ ดังน้ี งานความรอ้ นหรอื ประกายไฟ (Hot Work) งานเกยี่ วกบั ไฟฟ้าแรงสงู (High Voltage Electrical Work) มากกวา่ 500 V. ขน้ึ ไป งานบนทส่ี งู (Working at Height) ตงั้ แต่ 2 เมตรขนึ้ ไป งานในทอี่ บั อากาศ (Confine Space) งานตดั เจาะ เปิดพน้ื หรอื ราวกนั ตก งานขดุ พนื้ ดนิ ลกึ มากกวา่ 2 เมตร 2. กาหนดหนา้ ทข่ี องผเู ้ กย่ี วขอ้ งอยา่ งครบถว้ น โดย 43/57
SCG Safety Framework: 2012 ผขู ้ ออนุญาตปฏบิ ตั งิ าน ไดแ้ ก่ พนักงานผทู ้ ร่ี บั ผดิ ชอบงานหรอื ผปู ้ ฏบิ ตั งิ านโดยตรง ผตู ้ รวจสอบการปฏบิ ัตงิ าน ไดแ้ ก่ พนักงานระดับหัวหนา้ งาน (เจา้ ของพน้ื ท่ี หรอื เจา้ ของงาน) ขน้ึ ไป ผูอ้ นุญาตใหป้ ฏิบัตงิ าน ไดแ้ ก่ พนักงานระดับหัวหนา้ งานขน้ึ ไป ท่ีเป็ นเจา้ ของพื้นที่การ ปฏบิ ตั งิ านนัน้ ๆ เป็ นผมู ้ อี านาจอนุญาตใหป้ ฏบิ ัตงิ านได ้ โดยผอู ้ นุญาตตอ้ งมตี าแหน่งสงู กวา่ ผู ้ ขออนุญาต1 ขนั้ เสมอ และ/หรอื เป็ นผทู ้ ม่ี คี วามเชย่ี วชาญเฉพาะทางในงานนัน้ ๆ ผปู ้ ฏบิ ตั งิ าน ตอ้ งผา่ นการฝึกอบรมดา้ นความปลอดภยั ในการทางานนัน้ ๆ 3. กาหนดให ้ ผูร้ ับผดิ ชอบงานหรอื ผูป้ ฏบิ ัตงิ าน จัดประชมุ ผูท้ เ่ี กยี่ วขอ้ งล่วงหนา้ ก่อนเขา้ ปฏบิ ัตงิ าน เพอ่ื ชแี้ จงความเสยี่ ง และมาตรการป้องกนั อนั ตรายในเบอื้ งตน้ การเตรยี มพน้ื ทห่ี นา้ งาน การเตรยี ม อปุ กรณท์ จี่ าเป็ น รวมถงึ รับฟังความคดิ เห็นหรอื มาตรหารเพม่ิ เตมิ จากทปี่ ระชมุ เป็ นตน้ 4. หัวหนา้ งาน ตอ้ งตรวจสอบความปลอดภัยในพนื้ ทกี่ ารทางานกอ่ นทุกครัง้ โดยเตรยี มสภาพพนื้ ที่ เคร่ืองมือ และอุปกรณ์ต่างๆ ใหพ้ รอ้ มและอยู่ในสภาพท่ปี ลอดภัยก่อนเรมิ่ ปฏบิ ัตงิ าน ก่อนขอ อนุญาตปฏบิ ตั งิ าน 5. แบบฟอรม์ การขออนุญาต จะตอ้ งระบถุ งึ จานวนผปู ้ ฏบิ ตั งิ าน ประเภทของ PPE ทตี่ อ้ งใช ้ พรอ้ ม แนบผลการประเมนิ ความเสย่ี งกอ่ นเรมิ่ งาน และแผนควบคมุ ความเสยี่ ง 6. แบบฟอรม์ การขออนุญาต จะตอ้ งระบถุ งึ ตรวจสอบปฏบิ ตั งิ านตามใบอนุญาตทกุ วนั โดยผตู ้ รวจสอบ การปฏบิ ตั งิ าน 7. กาหนดใหม้ กี ารเกบ็ ตน้ ฉบบั แบบขออนุญาตปฏบิ ตั งิ าน พรอ้ มสง่ สาเนาใหผ้ อู ้ นุมตั ใิ หป้ ฏบิ ตั งิ านและ ผรู ้ ับผดิ ชอบและผปู ้ ฏบิ ตั งิ านไวอ้ า้ งองิ6.18 ความปลอดภยั ในการขบั ข่ี (Driving Safety) เพอื่ ควบคมุ ใหก้ ารขบั ขแ่ี ละขนสง่ มมี าตรการดาเนนิ การควบคมุ ใหพ้ นักงานและผลติ ภัณฑ์ มคี วามปลอดภัย รวมถงึ การป้ องกันไมใ่ หเ้ กดิ อบุ ัตเิ หตุภายนอกพน้ื ที่ ซง่ึ อาจสรา้ งความเสยี หายใหก้ ับชวี ติ และทรัพยส์ นิ ขององคก์ ร และของชมุ ชนได ้ ทัง้ นี้ใหค้ รอบคลุมถงึ รถรับส่งพนักงาน (รถประจาตาแหน่ง รถผแู ้ ทนขาย รถบสั รถตู ้ และรถบรกิ ารขององคก์ ร เชน่ Orix, Biz-car) และรถขนสง่ ผลติ ภณั ฑ์ 1. มกี ารกาหนดคณุ สมบตั แิ ละกระบวนการคัดเลอื กผูข้ บั รถบรษิ ัท รถโดยสาร รถบรกิ าร หรอื รถขนสง่ ผลติ ภณั ฑ์ ขององคก์ รหรอื ไม่ 2. มกี ารกาหนดคุณสมบัตแิ ละกระบวนการคัดเลอื กรถทจ่ี ะใหบ้ รกิ ารรับ-สง่ ในกจิ กรรมขององคก์ ร หรอื ไม่ 3. กอ่ นรบั รถผขู ้ บั ขตี่ อ้ งไดร้ ับการฝึกอบรม หลักสตู ร Defensive Driving สาหรบั รถของบรษิ ัท หลักสูตรการขบั ขอี่ ยา่ งปลอดภยั สาหรับกรณีรถขนสง่ ผลติ ภัณฑ์ ซง่ึ ครอบคลมุ ถงึ กฎจราจร การตรวจสอบสภาพรถกอ่ นขบั ข่ี การใชอ้ ปุ กรณ์ดับเพลงิ การใช ้ stopper การป้ องกนั สารเคมี หกรั่วไหล (เฉพาะโรงงานท่ีขนส่งสารเคมีที่อาจมีผลกระทบต่อความปลอดภัยและ สงิ่ แวดลอ้ ม) เป็ นตน้ 4. มกี ารตรวจแอลกอฮอล์ และยาเสพตดิ ในขัน้ ตอนรับสมัครคนขับรถใหม่ หลังเกดิ อุบัตเิ หตจุ ราจร และ แผนการสมุ่ ตรวจวัดแอลกอฮอลแ์ ละสารเสพตดิ เป็ นประจาหรอื ไม่ 5. มกี ารกาหนดเพดานชว่ั โมงการขบั และชว่ งเวลาพกั ทเี่ หมาะสม (Rest Time Control) หรอื ไม่ 6. รถทกุ คันจะตอ้ งไดร้ บั การตรวจสอบสภาพประจาปี และเขา้ รับการบารุงรักษาตามระยะทกี่ าหนดไว ้ มกี ารตดิ ตงั้ เขม็ ขดั นริ ภยั ทกุ ทน่ี ่ัง พรอ้ มการบงั คบ้ ใชเ้ ข็มขดั นริ ภยั กบั ผโู ้ ดยสารทกุ คน 7. มกี ารเก็บประวัตกิ ารขับรถของคนขับรถ ซงึ่ ครอบคลุมถงึ กรณีท่ีทาผดิ กฎจราจรอย่างเป็ นระบบ หรอื ไม่ 44/57
SCG Safety Framework: 2012 8. มกี ารกาหนดมาตรการหา้ มใชโ้ ทรศัพทใ์ นขณะขับขี่ รวมถงึ หา้ มใช ้ Hand free/ Bluetooth ในขณะขบั ขี่ ดว้ ย 9. มมี าตรการกาหนดใหพ้ นักงานขับรถขนส่งสนิ คา้ พรอ้ มผูป้ ฏบิ ัตงิ านประจารถ ตอ้ งสวมใส่เสื้อ สะทอ้ นแสงตลอดเวลาทปี่ ฏบิ ตั งิ านภายนอกรถ และการเปิดไฟหนา้ รถตลอดเวลาทขี่ บั ขห่ี รอื ไม่ 10. รถขนสง่ ผลติ ภัณฑท์ กุ คัน จะตอ้ งไดร้ ับการตรวจสอบสภาพประจาวันและประจาปี และเขา้ รับการ บารงุ รักษาตามระยะทกี่ าหนดไว ้ มกี ารตดิ ตงั้ เข็มขัดนริ ภัยทุกทน่ี ั่ง พรอ้ มบังคับใหใ้ ชเ้ ข็มขดั นริ ภัย กบั ผโู ้ ดยสารทกุ คน 11. รถขนสง่ ผลติ ภณั ฑ์ ทกุ คันทใี่ ชข้ นสง่ ผลติ ภัณฑข์ ององคก์ ร (รถบรรทุก 6 ลอ้ ขน้ึ ไป)จะตอ้ งตดิ ตัง้ ระบบ GPS พรอ้ มสัญญาณแจง้ เตอื นกรณีขับรถเร็วเกนิ กว่าทก่ี ฎหมายกาหนด และสัญญาณเสยี ง เตอื นขณะถอยหลงั 12. รถขนสง่ ผลติ ภัณฑข์ ององคก์ ร จะตอ้ งมอี ุปกรณ์ทีพ่ อเพยี งประจารถ เชน่ ถังดับเพลงิ กรวยยาง อปุ กรณท์ าความสะอาด หมอนรองลอ้ (2 ชดุ ) ถงุ เก็บขยะ เสอื้ สะทอ้ นแสง เครอ่ื งปฐมพยาบาล เป็ นตน้6.19 ความปลอดภยั ในการทางานบนทส่ี งู (Work at Height Safety) เพอื่ ควบคมุ ใหม้ กี ารปฏบิ ตั ติ ามทกี่ ฎหมายกาหนด โดยทคี่ วามสูง 1.5 เมตร ตอ้ งจัดใหม้ ที างลาดบนั ได พรอ้ มราวกันตก ในกรณีทน่ี ายจา้ งใหล้ ูกจา้ งทางานในทสี่ งู จากพนื้ ดนิ หรอื พน้ื อาคารตัง้ แต่ 2 เมตรขน้ึ ไป ใหน้ ายจา้ งจัดใหม้ นี ่ังรา้ น เป็ นตน้ 1. ตอ้ งจัดใหม้ มี าตรฐานการทางานบนทสี่ งู ระบบการอนุญาต และการตรวจสอบเป็ นเอกสาร 2. พนักงานและผปู ้ ฏบิ ตั งิ านบนทสี่ งู ทกุ คน จะตอ้ งไดร้ บั การฝึกอบรม \"การปฏบิ ตั งิ านบนทส่ี งู \" เพอื่ ให ้ ทราบถงึ วธิ กี ารทางาน ทถ่ี ูกตอ้ งและปลอดภัยรวมทัง้ ควรไดร้ ับการฝึ กปฏบิ ัตใิ นการใชอ้ ุปกรณ์ ทางานบนทสี่ งู อยา่ งถกู ตอ้ งกอ่ น 3. น่ังรา้ นเหล็กสาเร็จรูป ตอ้ งตรวจรอยต่อใหม้ กี ารขันน๊อตทุกตัวของนั่งรา้ นเหล็ก ซงึ่ นอกจากตอ้ ง แข็งแรงมน่ั คงแลว้ การตดิ ตงั้ ตอ้ งงา่ ยและรวดเร็วอกี ดว้ ย 4. น่ังรา้ นท่อเหล็กประกอบ ซงึ่ ใชท้ ่อเหล็กและอปุ กรณ์ประกอบยดึ เขา้ ดว้ ยกนั เชน่ ขอ้ เสอื แผน่ พน้ื สาเร็จ เมอ่ื ประกอบแลว้ เสร็จตามแบบท่ีออกและรับรองโดยวศิ วกรแลว้ เสร็จ ก่อนใชง้ านตอ้ ง ตรวจสอบการยดึ จดุ ตา่ งๆ ใหม้ นั่ คงแขง็ แรงกอ่ นใชง้ าน 5. มกี ารกาหนดแนวทางในการเลือกใชน้ ่ังรา้ น ใหเ้ หมาะสมกับแต่ละงาน โดยพจิ ารณาจากสภาพ สถานที่ และความเหมาะสมกบั สถานที่ น้าหนักบรรทกุ ทใ่ี ชง้ าน ความสะดวกในการตดิ ตัง้ และรอื้ ถอน 6. การตดิ ตงั้ นั่งรา้ นตอ้ งตดิ ตงั้ และดาเนนิ การตามแนวทางทก่ี ฎหมายกาหนด เชน่ การทางานใกลแ้ นวสายไฟทไี่ มม่ ฉี นวนตอ้ งมรี ะยะหา่ งไมน่ อ้ ยกวา่ ทก่ี าหนด หรอื ตดิ ตงั้ ฉนวน นั่งรา้ นสูงเกนิ 2 เมตร ตอ้ งมรี าวจับอยู่สูงกว่าพ้ืนไม่ต่ากว่า 90 ซม. และไม่เกนิ 110 ซม. ระยะหา่ งของ แผน่ ไมพ้ าดนั่งรา้ น หรอื พนื้ เหล็ก ตอ้ งเรยี งตดิ กนั ผูกมนั่ คงควรพาดอยา่ งนอ้ ย 3 แผน่ ถา้ น่ังรา้ นสงู กวา่ 180 ซม. ตอ้ งมบี นั ไดใชข้ น้ึ ลง หา้ มปีนขน้ึ ลง หรอื กระโดดลงเด็ดขาด นั่งรา้ นสรา้ งดว้ ยโลหะตอ้ งรับน้าหนักบรรทกุ ไดไ้ มน่ อ้ ยกวา่ 4 เทา่ ของน้าหนักการใชง้ าน มกี ารตดิ ตงั้ ราวกนั ตก กรณีตดิ ตงั้ นั่งรา้ นทส่ี งู เกนิ 21 เมตร ตอ้ งจัดใหม้ กี ารออกแบบ คานวณ ตรวจสอบและอนุญาต จากวศิ วกรโยธา กอ่ น 7. การใชน้ ั่งรา้ นทม่ี กี ารตดิ ตัง้ ลอ้ เลอื่ นทขี่ าตงั้ เพอ่ื ความสะดวกในการเคลอ่ื นยา้ ยตอ้ งกาหนดมาตรการ เพอื่ ความปลอดภยั ดงั ตอ่ ไปนี้ 45/57
SCG Safety Framework: 2012 ลอ้ เลอ่ื นทกุ ตัว ตอ้ งมอี ปุ กรณ์ล็อคครบถว้ นสมบรู ณ์ อนุญาตใหเ้ ขน็ น่ังรา้ นไดท้ ค่ี วามสงู ไมเ่ กนิ 2 ชนั้ ตอ้ งล๊อคลอ้ ของนั่งรา้ นใหม้ นั่ คงกอ่ นทกุ ครงั้ ทจ่ี ะขน้ึ ทางาน หา้ มเข็นน่ังรา้ นในขณะทมี่ คี นอยบู่ นน่ังรา้ นโดยเด็ดขาด 8. มกี ารกาหนดมาตรฐานดา้ นความปลอดภยั สาหรบั อปุ กรณ์ทใี่ ชใ้ นการปฏบิ ัตงิ านบนทส่ี งู เชน่ บนั ได ขาหยง่ั น่ังรา้ น และอปุ กรณ์อน่ื ๆ ตอ้ งไดต้ ามมาตรฐานทกี่ าหนดขององคก์ รฯ 9. กาหนดมาตรการป้องกนั สง่ิ ของหรอื อปุ กรณ์ตา่ งๆ ตกลงสเู่ บอื้ งล่าง ขณะปฏบิ ัตงิ านบนทสี่ งู พรอ้ ม จัดใหม้ ขี อบเขตกนั้ (Barricade) พรอ้ มป้ ายเตอื นระวังอันตรายจากทสี่ งู แสดงไวโ้ ดยรอบบรเิ วณ ดา้ นลา่ งทป่ี ฏบิ ตั งิ านดว้ ย 10. ตอ้ งกาหนดใหพ้ นักงานทปี่ ฏบิ ตั งิ านบนทสี่ งู สวมใสอ่ ปุ กรณ์ป้ องกนั อันตรายสว่ นบคุ คลทเ่ี หมาะสม เชน่ รองเทา้ นริ ภัย หรอื หุม้ สน้ หมวกนริ ภัยพรอ้ มสายรัดคาง เข็มขัดนริ ภัย พรอ้ มเชอื กหรอื สาย ชว่ ยชวี ติ (Safety Belt & Lift Line) การสวมใสเ่ ขม็ ขดั นริ ภยั และสายชว่ ยชวี ติ จะตอ้ งยดึ ตดิ กบั จดุ ยดึ ทมี่ นั่ คงอยกู่ บั ท่ี ในระดับทอี่ ยเู่ หนอื ขนึ้ ไปจากพน้ื ทที่ างาน 11. การทางานบนหลังคา จะตอ้ งตดิ ตัง้ อปุ กรณ์ยดึ โยงกับสลงิ เกยี่ วหรอื จุดยดึ และตอ้ งใชใ้ ชเ้ ข็มขัด นริ ภยั ทกุ ครงั้6.20 ความปลอดภยั ในงานยกเคลอื่ นยา้ ยอปุ กรณ์ (Lifting Safety) เพอื่ สรา้ งความมน่ั ใจถงึ ความปลอดภยั ของอปุ กรณย์ กเคลอ่ื นยา้ ย ซงึ่ ครอบคลมุ ถงึ ปั้นจ่ัน MobileCrane และอปุ กรณ์สาหรับยกยา้ ยวสั ดอุ ปุ กรณป์ ระกอบการยกยา้ ย 1. มกี ารกาหนดมาตรฐานการทางานเกย่ี วกบั การใชเ้ ครนหรอื การยกเคลอ่ื นยา้ ยอปุ กรณอ์ ยา่ งเป็ นลาย ลักษณอ์ กั ษร ซง่ึ ครอบคลมุ ถงึ วธิ กี ารปฏบิ ตั งิ าน การตรวจสอบและการบารงุ รกั ษาอปุ กรณ์ (กรณี รถเครน ตอ้ งมกี ารขออนุญาตนาเขา้ มาใชง้ าน) 2. ในมาตรฐานการทางานเกยี่ วกบั การใชเ้ ครนหรอื การยกเคลอ่ื นยา้ ยอปุ กรณ์ จะตอ้ งกาหนด การใชป้ ัน้ จ่ัน หรอื เครน จะตอ้ งขออนุญาตเจา้ ของพน้ื ทก่ี อ่ นทกุ ครงั้ กาหนดการกนั้ พน้ื ที่ (Barricade) ตลอดระยะเวลาทม่ี กี ารทางานหรอื จอดอยใู่ นบรเิ วณโรงงาน ตดิ ป้ายเตอื นอนั ตราย บรเิ วณโดยรอบพน้ื ทที่ จี่ ะยกเคลอื่ นยา้ ย การใชป้ ัน้ จ่ันใกลส้ ายไฟฟ้าตอ้ งหา่ งอยา่ งนอ้ ย 3 เมตร หา้ มใชส้ ลงิ ท่ีเสน้ ลวดขาดแลว้ 2 เสน้ หรอื เสน้ ลวดสกึ ไปมากกว่า 1 ใน 3 ของเสน้ ผ่าน ศูนยก์ ลาง เสน้ ลวดท่ีเสน้ ผ่านศูนยก์ ลางเล็กลงเกนิ 5% ของเสน้ ผ่านศูนยก์ ลางเดมิ และ หา้ มใชเ้ สน้ ลวดถกู บดกระแทกหรอื แตกเกลยี วหรอื ชารดุ 3. อปุ กรณก์ ารยกเคลอื่ นยา้ ย (โดยเฉพาะ Mobile Crane) ตอ้ งการจัดทารายงานตรวจสภาพ (คป.1 และ 2) สง่ ราชการตา่ งระยะเวลาทก่ี าหนด 4. ผปู ้ ฏบิ ัตงิ านประจา Mobile Crane และผูใ้ หส้ ัญญาณจะตอ้ งผ่านการฝึกอบรมตามทก่ี ฎหมาย กาหนด (หลักสูตรการปฏบิ ัตหิ นา้ ทผี่ ูบ้ งั คับปั้นจั่น ผูใ้ หส้ ัญญาณแก่ผบู ้ ังคับปั้นจั่น ผูย้ ดึ เกาะวัสดุ หรอื ผูค้ วบคุมการใชป้ ัน้ จั่น) และจะตอ้ งกาหนดใหม้ กี ารชบี้ ่งโดยการสวมเสอื้ สะทอ้ นแสง) เพอ่ื แยกความแตกตา่ งจากผปู ้ ฏบิ ัตงิ านท่ัวไปอยา่ งชดั เจน6.21 ความปลอดภยั ผตู้ รวจเยยี่ มโรงงาน (Visitor Safety Control) เป็ นการสอื่ สารทาความเขา้ ใจ และควบคมุ ดแู ลความปลอดภยั ใหก้ บั บคุ คลภายนอกทเ่ี ขา้ มาภายในองคก์ ร ใหท้ ราบขอ้ มลู ดา้ นความปลอดภยั เบอ้ื งตน้ และสามารถปฏบิ ตั ติ นไดอ้ ยา่ งปลอดภยั 46/57
SCG Safety Framework: 20121. มกี ารกาหนดแนวปฏบิ ัตสิ าหรับผูเ้ ยย่ี มชม ผูม้ าตดิ ต่องาน รวมถงึ กระบวนสอ่ื สารใหท้ ราบถงึ แนว ทางการปฏบิ ตั ดิ งั กลา่ ว2. มกี ารชบ้ี ง่ และสอื่ สารใหท้ ราบถงึ พนื้ ทมี่ คี วามเสยี่ ง หรอื เป็ นแหล่งทอ่ี าจก่อใหเ้ กดิ อนั ตราย ต่อผู ้ ทม่ี าเยยี่ มชม หรอื ทมี่ าตดิ ตอ่ งาน3. มกี ารกาหนดและเตรยี มอุปกรณ์พื้นฐานสาหรับป้ องกันกันตรายสว่ นบุคคล พรอ้ มแจง้ ขอ้ กาหนด ขอ้ หา้ ม ขอ้ บังคับ และแนวทางการปฏบิ ัตใิ นกรณีเกดิ เหตุฉุกเฉนิ (จุดรวมพล สัญญาณแจง้ เหตุ ฉุกเฉนิ )4. มชี อ่ งทางหรอื กาหนดใหก้ ารเปิดโอกาสใหผ้ เู ้ ยย่ี มชม ผมู ้ าตดิ ตอ่ งานมสี ว่ นรว่ มในการสังเกตความ ปลอดภยั เสนอแนะปรบั ปรงุ หรอื แลกเปลยี่ นดา้ นความปลอดภยั5. มกี ารนาเสนอแนวทางปฏบิ ัตดิ า้ นความปลอดภัยรวมหรือมกี ารใหเ้ อกสารคานาแนะดา้ นความ ปลอดภยั (Safety booklet) แกผ่ เู ้ ยย่ี มชม6. มมี าตรการควบคุม บันทกึ การผ่านเขา้ -ออกพนื้ ทค่ี วบคมุ ของผทู ้ ม่ี าเยย่ี มชม ผทู ้ ม่ี าตดิ ตอ่ รวมถงึ การความคุมการนาทรัพยส์ นิ สนิ ทรัพย์ เครอื่ งมอื อุปกรณ์ ผ่านเขา้ -ออกนอกโรงงาน อยา่ งเป็ น ระบบ 47/57
SCG Safety Framework: 20127. การมสี ว่ นรว่ มของพนกั งาน (Employee Involvement) เพอื่ สรา้ งใหค้ วามปลอดภยั เป็ นหนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบของทกุ คน และเปิดโอกาสใหพ้ นักงานระดบัปฏบิ ตั กิ ารมสี ว่ นในการกาหนดมาตรการ และวธิ ปี ฏบิ ตั งิ านเพอ่ื ความปลอดภยั ในงานของตน และมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมความปลอดภยั ตา่ งๆ อยา่ งชดั เจนและเป็ นระบบ แตล่ ะองคก์ รตอ้ งดาเนนิ การเรอ่ื ง การมสี ว่ นรว่ มของพนักงานดงั นี้1. มแี ผนการดาเนนิ งาน หรอื เอกสารอนื่ ๆ ทแ่ี สดงการมสี ว่ นร่วมของพนักงานดา้ นความปลอดภัยอย่าง ชดั เจน โดยมกี ารกาหนดกจิ กรรมทจ่ี ะใหพ้ นักงานเขา้ ร่วม กลุ่มเป้ าหมาย วัตถุประสงค/์ ประโยชน์ที่ ไดร้ ับของแตล่ ะกจิ กรรม และเป้าหมายการเขา้ รว่ มทชี่ ดั เจน2. มกี ารกาหนดกจิ กรรมทใ่ี หพ้ นักงานมสี ว่ นรว่ ม (Involvement Activities) ไดแ้ ก่ 2.1 การกาหนดเป็ นลายลักษณ์ใหเ้ ป็ นหนา้ ทข่ี องพนักงานในการดาเนนิ กจิ กรรม ดังตอ่ ไปน้ี การชบ้ี ง่ อันตรายและประเมนิ ความเสยี่ งจากการทางาน และการประเมนิ ความเสย่ี งต่อ สขุ ภาพในการทางาน การวเิ คราะหง์ านเพอ่ื ความปลอดภยั (Job Safety Analysis, JSA)** การกาหนดและทบทวนกฏระเบยี บ มาตรฐาน วธิ กี ารทางานทปี่ ลอดภยั (Safety Rules, Job Safety Standard (JSS) /Standard Work Procedure/Work Instruction (WI))** การตรวจความปลอดภยั (Safety Inspection) การรายงานและ สอบสวนอบุ ตั เิ หตุ 2.2 การกาหนดเป็ นเป้าหมาย (เป็ นตัวเลขทว่ี ัดผลได)้ เพอื่ สง่ เสรมิ ใหพ้ นักงานมสี ว่ นร่วมการดาเนนิ กจิ กรรม ดงั ตอ่ ไปน้ี การรายงานและปรับปรุงสภาพท่ีไมป่ ลอดภัย หรอื Unsafe Killer Program/การให ้ ขอ้ เสนอแนะและปรับปรงุ ดา้ นความปลอดภยั หรอื Kaizen / Karakuri Kaizen / One point Lesson การเขา้ รว่ มการสงั เกตการทางานเพอื่ ความปลอดภยั (Safety Observation Program)** การกาหนดพฤตกิ รรมเป้าหมายเพอ่ื ใชใ้ นการสงั เกตการทางานเพอ่ื ความปลอดภยั ** การสนทนาความปลอดภัย (Safety Talk/ One Point Lesson) ดา้ นความปลอดภยั / กจิ กรรมการหยงั่ รรู ้ ะวงั ภยั (KYT) การเขา้ รว่ มประชมุ ความปลอดภยั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง3. กาหนดใหพ้ นักงานผูป้ ฏบิ ัตงิ าน มหี นา้ ทใ่ี นการประเมนิ ความเสยี่ งของงานทด่ี าเนนิ การ JSA/ KYT กอ่ นเรม่ิ งาน Safety Observation / Safety Inspection4. มกี ารใหข้ า่ วสาร/การฝึกอบรม/การใหค้ วามรู ้ (Information/Training/Education) 4.1 กาหนดให ้ หัวหนา้ งาน มหี นา้ ทใี่ นการแนะนา สอนงาน (OJT) ใหพ้ นักงานรถู ้ งึ สงิ่ ทเ่ี ป็ นอนั ตราย ตอ่ สขุ ภาพในงานทป่ี ฏบิ ตั แิ ละวธิ ปี ้องกนั กอ่ นทจ่ี ะปฏบิ ตั งิ าน 4.2 มรี ะบบในการรับขอ้ รอ้ งเรยี น ขอ้ เสนอแนะดา้ นความปลอดภัย และมกี ารดาเนินการตดิ ตาม ตรวจสอบ การแกไ้ ข และสอ่ื สาร อยา่ งเหมาะสมหรอื ไม่5. พนักงานมสี ว่ นร่วมในการพัฒนาความรู ้ และทักษะการทางานดา้ นความปลอดภยั ใหก้ บั ตนเอง อยา่ ง เป็ นระบบหรอื ไม่6. มกี ารชแี้ จง หรอื ฝึกอบรมเพอื่ ใหพ้ นักงานมคี วามรู ้ ความเขา้ ใจ เห็นประโยชน์ และสามารถเขา้ ร่วม กจิ กรรมดงั กลา่ วไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ลตามความจาเป็ น7. มกี ารดาเนนิ การตามแผนงาน หรอื เอกสารทก่ี าหนดไว ้ และตดิ ตามวดั ผลการดาเนนิ งานตามเป้าหมาย ดังกลา่ ว และมกี ารสง่ เสรมิ สนับสนุนเพอ่ื ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายการดาเนนิ งาน 48/57
SCG Safety Framework: 20128. มกี ารใหก้ ารยอมรับ และยกย่องการมสี ่วนร่วมดังกล่าว และถอื ว่าเป็ น KPIs ทสี่ าคัญของพนักงาน รวมทงั้ มกี ารใหร้ างวลั สาหรับการดาเนนิ การดังกลา่ วทบี่ รรลเุ ป้าหมายทกี่ าหนดไวต้ ามความเหมาะสม9. มกี จิ กรรมทสี่ ง่ เสรมิ ใหพ้ นักงานมสี ว่ นรว่ มในการรับผดิ ชอบเรอื่ งความปลอดภยั ของคธู่ รุ กจิ ผา่ นกจิ กรรม ตา่ งๆ เชน่ พนักงานสอนงาน OJT คธู่ รุ กจิ พนักงานจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ ความปลอดภัยใหก้ ับคู่ธุรกจิ (KYT, สนทนาความปลอดภัย Safety Contact เป็ นตน้ ) 49/57
SCG Safety Framework: 20128. ความรคู้ วามสามารถ จติ สานกึ และการฝึ กอบรม (Competency, Awareness & Training) เพอื่ ใหพ้ นักงาน และพนักงานคธู่ รุ กจิ มคี วามรคู ้ วามสามารถ และจติ สานกึ ในการทจ่ี ะปฏบิ ตั งิ านได ้อยา่ งปลอดภัย แต่ละองคก์ รตอ้ งมกี ารดาเนนิ การเรอื่ ง ความรูค้ วามสามารถ จติ สานกึ และการฝึกอบรมดังน้ี1. กาหนดคณุ สมบัติ และคัดเลอื กพนักงานทม่ี คี ุณสมบัตเิ หมาะสมกับแต่ละตาแหน่งงาน ไดแ้ ก่ คุณวุฒิ ความรู ้ ประสบการณ์ ความชานาญ ความสามารถพเิ ศษ โดยเฉพาะความแข็งแรง และสุขภาพท่ี เหมาะสมกบั งานตามความเสยี่ ง เป็ นตน้2. มกี ารทดสอบทัศนคตดิ า้ นความปลอดภัยเมอ่ื รับพนักงานใหม่ และโอนยา้ ยมาจากทอ่ี น่ื ๆ เพอ่ื ใชเ้ ป็ น ขอ้ มลู เบอื้ งตน้ ในการดแู ลความปลอดภยั ของพนักงาน สาหรบั พนักงานใหมอ่ าจใชเ้ ป็ นสว่ นหนงึ่ ในการ พจิ ารณารับพนักงานดว้ ยก็ได ้3. กาหนดและดาเนนิ การให ้ เรอื่ งของความปลอดภัยเป็ นหนงึ่ ใน Competency ของพนักงานทุกระดับท่ี ชดั เจนตามแนวทางของ SCG ดังน้ี 3.1 มกี ารจัดทา Competency Profile สาหรับพนักงานทกุ ระดับ ทกุ ตาแหน่งตามหนา้ ทแ่ี ละความ รับผดิ ชอบ โดยมเี รอื่ งความปลอดภยั เป็ น Profile ทส่ี าคัญอนั หนง่ึ และมกี ารกาหนดระดับของ Competency ทตี่ อ้ งการในแตล่ ะตาแหน่งงาน 3.2 มกี ารพฒั นายกระดับ Competency ใหไ้ ปสรู่ ะดบั ทต่ี อ้ งการ โดยกาหนดวธิ กี าร เชน่ การฝึกอบรม ในหอ้ งเรยี น (Classroom Training) การฝึกปฏบิ ตั ทิ ห่ี นา้ งาน (On the Job Training) หรอื การ ใชร้ ะบบพเี่ ลยี้ งคอยใหค้ าแนะนา (Coaching) เป็ นตน้ โดยมแี ผนการดาเนนิ งานทชี่ ดั เจน4. มกี ารดาเนนิ การเรอ่ื งการฝึกอบรมเพอื่ ใหพ้ นักงานมรี ะดับ Competency ตามทต่ี อ้ งการและเป็ นไปตาม ขอ้ กาหนดของกฎหมาย รวมถงึ เป็ นการสรา้ งจติ สานกึ และกระตนุ ้ ใหพ้ นักงานตระหนักถงึ อนั ตราย และ เห็นความสาคัญของการปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บ และมาตรการความปลอดภยั อยา่ งตอ่ เนอ่ื งดงั น้ี 4.1 มกี ารอบรมพนักงานใหม่ และพนักงานทโี่ อนยา้ ยมาจากองคก์ รอนื่ กอ่ นทจี่ ะใหเ้ ขา้ ปฏบิ ัตงิ านใน เรอ่ื งความรพู ้ น้ื ฐาน กฎระเบยี บ และมาตรการความปลอดภยั ขององคก์ ร 4.2 มกี ารฝึกอบรมในหลักสตู รดา้ นความปลอดภยั ทจ่ี าเป็ น ดังน้ี 4.2.1 หลักสูตรทจ่ี าเป็ นตามขอ้ กาหนดของกฎหมาย ไดแ้ ก่ คณะกรรมการความปลอดภัยฯ เจา้ หนา้ ทค่ี วามปลอดภยั ฯ ระดับตา่ งๆ ผคู ้ วบคมุ หมอ้ ไอน้า ผทู ้ างานเกย่ี วขอ้ งกบั สารเคมี อนั ตราย ผทู ้ ที่ างานในสถานทอี่ บั อากาศ เป็ นตน้ 4.2.2 หลักสตู รทจ่ี าเป็ นตามความเสยี่ งของแตล่ ะตาแหน่ง ไดแ้ ก่ มาตรการ หรอื วธิ ปี ฏบิ ตั งิ าน เพอ่ื ความปลอดภยั ในการควบคมุ ความเสยี่ ง ซงึ่ ตอ้ งทาในลักษณะของ OJT โดยเนน้ ให ้ พนักงานรแู ้ ละตระหนักถงึ อนั ตรายทหี่ นา้ งานไปดว้ ย 4.2.3 หลกั สตู รทจี่ าเป็ นเพอื่ ใหม้ คี วามรู ้ และความสามารถในการดาเนนิ การตามนโยบาย ระบบ การจัดการ และแผนการดาเนนิ งานดา้ นความปลอดภัยขององคก์ ร เชน่ JSA, KYT, Safety Observation Program (BBS), Safety Inspection, Risk Assessment & Control, Ergonomics, Procedures อน่ื ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง เป็ นตน้ 4.2.4 หลกั สตู รทจี่ าเป็ นเพอื่ ใหต้ ระหนักถงึ อนั ตรายและการป้ องกันอันตรายโดยท่ัวไป เพอื่ ให ้ เกดิ ความปลอดภัยในการทางาน และนอกงานดว้ ย เชน่ Safety Awareness, Basic Safety Knowledge, อนั ตรายจากภาวะแวดลอ้ มในการทางาน การดแู ลสขุ ภาพ เป็ นตน้ 4.2.5 หลักสตู รที่จาเป็ นเพอ่ื พัฒนาบทบาท หรอื ภาวะผูน้ าดา้ นความปลอดภัยของผูบ้ รหิ าร (Safety Management Leadership) 50/57
Search