คมู่ อื การใชืงาน Google Apps for Education เบ้อื งตน Introduction to Google Apps for Education Manual งานพัฒนาเครอขา่ ยและบรกิ ารคอมพิวเตอร์ สานกั วทิ ยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศคมู่ อื นีืเปนื ส่วนหน่ึงของงานพัฒนาเครอขา่ ยและบริการคอมพิวเตอร์ สานกั วทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสกลนคร
คานำ Google Apps for Education คือ แอปพลเิ คชนท่ีถูกพัฒนาข้ึนมาโดย Google เพอื่ ใหบ้ รกิ ารทางดา้ นการบรหิ ารจดั การภายในองค์กรการศึกษา เปน็ การใหบ้ ริการ “ฟรี” ไม่เสยี เงนิ ทางสานักวิทยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสกลนคร จงึ ได้จัดการฝึกอบรมการใช้งาน Google Apps forEducation เบื้องตน้ เพ่ือให้บุคลากรและนักศึกษาสามารถใชง้ าน และนาไปประยุกต์ใชใ้ นการทางานหรือชีวติประจาวนั ได้ หวังวา่ คู่มือนี้จะเป็นประโยชน์ใหแ้ กบ่ คุ ลากรและนักศึกษาไมม่ ากกนอ้ ยหากมีขอ้ ผดิ พลาดประการใดผู้เขยี นขออภัยมา ณ ท่ีนี้ด้วย สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
สารบัญเรอื่ ง หน้าGoogle Apps for Education คอื อะไร 1การลงชอ่ื เขา้ สู่ระบบ 4Google Mail 6Google Calendar 21Google Drive 38Google Documents 54Google Plus 88Google Hangout 98Google Sites 109
Google Apps for Education 1Google Apps for Education คืออะไร? หลายท่านคงจะรู้จักและเคยใช้งาน Google Apps กนั แลว้ ซง่ึ บรกิ าร Google Apps น้ีเปนที่นิยมมาก ในระดบั องคก์ ร และล่าสดุ Google ประเทศไทย ไดเ้ ริม่ ให้บริการ Google Apps สาหรบั การศึกษาแลว้ มีช่ือ วา่Google Apps for Education หรือ Google Apps สาหรบั การศึกษา Google Apps for Education เปนชุดเครื่องมือสาหรับการทางานรว่ มกนั ผ่าน Google Apps เช่นMail, Calendar, Docs, Drive, Site ฯลฯ เพอ่ื การสือ่ สารกนั เหมาะสาหรับอาจารย์ นักศึกษา เจ้าหน้าที่ ของมหาวทิ ยาลัย
Google Apps for Education 2โดย Google ได้จดั เตรยี มแอปพลเิ คชัน่ ต่างๆ ไว้สำหรบั รองรับการทำงาน ดังนี้ Gmail Hangouts (Google Talk) Google Calendar Google Documents Google Site เปนต้นจดุ เด่นของ Google Apps พนื้ ทเ่ี กบ e-mail มากถึง 25 GB สามารถเกบ e-mail ท้งั หมดไวโ้ ดยไม่ต้องสำรองข้อมูลแบบ offline ความสามารถใหมๆ่ ท่ีช่วยให้จดั การ e-mail ได้อย่างสะดวก เชน่ ป้ายกากับ, conversation, search operation เขา้ ใช้งานได้ จากอปุ กรณ์ต่างๆทง้ั Notebook, โทรศพั ท์ มือถือ หรือ Tablet ทกุ ที่ และทุกเวลา ใช้งานไดท้ ั้ง PC, Mac หรือ Linux กรณีทเ่ี กดิ ความเสียหายกับเครือ่ ง computer ทใ่ี ช้งานอยู่ ข้อมลู ทั้งหมดของคณุ จะยังคงอยู่อย่าง ปลอดภัย และ เรียกใช้งานจากเครื่องอ่นื ๆได้ทันที จัดตารางนัดหมายขององค์กร(หรือกลุ่ม)ได้ด้วย Calendar ท่ที ุกคนในองค์กร(หรือกลุ่ม) ใช้งาน ร่วมกัน ใช้งาน document, spreadsheet รว่ มกัน โดยที่ทกุ คนในกลมุ่ สามารถเข้าใช้งานและแก้ไขได้พร้อม กนั ใช้งาน IM ได้ท้งั text, voice หรือ video จากหน้าใช้งาน e-mail โดยทัว่ ไปในบญั ชี Gmail ปกตจิ ะไดร้ ับนามสกุล @gmail.com ตอ่ ทา้ ย แต่ถ้าเปน Google Apps forEducation เราสามารถปรับแต่งบญั ชีใหเ้ ข้ากับองค์กรสำหรับมหาวิทยาลัยราชภภฏั สกลนคร ทุกคนจะได้นามสกุลเปน @snru.ac.th โดย Google Apps for Education ไดม้ ีสว่ นสำคัญในการเปล่ยี นแปลงโฉมองค์กรในด้านนวัตกรรมการศึกษา และการติดต่อสื่อสารในสถาบันการศึกษาต่างๆ ทาให้อาจารย์ติดตามนกั ศกึ ษาอยใู่ กลช้ ิดมากขึน้ ได้เรยี นรู้ตามหลกั สูตร ชว่ ยลดคา่ ใช้จ่ายของสถาบันการศึกษาดว้ ยความเปนระบบคลาวด์
Google Apps for Education 3รูจัืกคลาวดค์ อมพิวตงิ้ (Cloud Computing) หากพูดถึงวา่ คลาวด์คอมพิวติ้ง (Cloud Computing) คืออะไร? หลายคนอาจจะนึกถึงแค่บริการพน้ื ทีฝ่ ากไฟลบ์ นอินเทอร์เนต อย่าง iCloud บน iPhone, iPad หรือ Google Drive บน Android หรือOneDrive บนมือถือ Windows Phone ซ่งึ ส่ิงเหล่านี้คือบรกิ าร Cloud Storage อันเปนบริการ Cloud ประเภทหนงึ่ เท่านน้ั แต่อันท่ีจริงแล้ว บรกิ าร Cloud Computing มีความหมายกวา้ งขวางกว่านั้นมาก Cloud computing คอื บริการท่ีครอบคลมุ ถึงการให้ใช้กาลังประมวลผล หนว่ ยจัดเกบข้อมลู และ ระบบออนไลน์ต่างๆจากผู้ให้บริการ เพือ่ ลดความยุง่ ยากในการติดตง้ั ดูแลระบบ ช่วยประหยดั เวลา และลด ตน้ ทนุ ในการสร้างระบบคอมพิวเตอร์และเครอื ข่ายเอง ซ่งึ กมที ้งั แบบบริการฟรีและแบบเกบเงินหรือพดู ให้ง่าย Cloud Computing คอื การท่ีเราใชซ้ อฟต์แวร์, ระบบ, และทรพั ยากรของเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ ของผู้ใหบ้ ริการ ผ่านอินเทอร์เนต โดยสามารถเลือกกำลงั การประมวลผล เลอื กจานวนทรัพยากร ไดต้ าม ความต้องการในการใช้งาน และใหเ้ ราสามารถเข้าถึงข้อมูลบน Cloud จากทีไ่ หนกได้ \"Anywhere! Anytime!\" คือทุกทท่ี กุเวลา ไมว่ า่ คณุ จะอยู่ตรงไหนกตาม ขอแคม่ ี Internet กับ Computer คุณกทางานได้ แบบ 24/7 (24 ชัว่ โมง 7วนั ) จากภาพดา้ นบนน้ี จะเหนว่าดา้ นในของกรอบท่ีเป็นก้อนเมฆกคอื ทรพั ยากรของผู้ให้บริการทมี่ ีทั้งHardware และ Software (ซึ่งกทางานบน Hardware ของผูใ้ หบ้ ริการเชน่ กัน) ผู้ใชบ้ ริการเพยี งแคต่ ่อเชื่อมเข้า ไปใช้ผ่าน Network ดว้ ยเวบบราวเซอร์ หรือ Client แอพพลิเคชนั่ บนอปุ กรณต์ ่างๆของตน เช่น มือถือ, Tablet,Notebook หรอื Chromebook เปน็ ต้น
Google Apps for Education 4การลงช่อเขืาสรู่ ะบบ หลังจากที่ได้ Account จาก Admin ของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสกลนครแล้ว ท่านสามารถเช้าใช้งานได้จาก หน้า www.google.co.th 1. เปิดเวบเบราวเ์ ซอร์ Google Chrome พิมพ์ URL ไปที่ www.google.co.th คลกิ ลงชือ่ เข้าสรู่ ะบบ 2. หากเคยลงชอ่ื เขา้ ใช้งานมาก่อนแล้วสามารถคลิกเลือกบัญชีได้เลย แต่ถ้ายังไม่เคยลงช่ือเข้าใช้งาน ให้คลกิ ที่ เพิม่ บัญชี
Google Apps for Education 53. ใส่ชื่อ [email protected] และใสร่ หสั ผ่าน แล้วคลกิ ลงช่อื เขา้ ใช้4. สงั เกตท่มี มุ ขวาบนของเบราวเ์ ซอร์ Google Chrome ถ้าหากข้ึนชอ่ื บัญชีของเราแสดงว่าไดท้ าการลง ชอ่ื เข้าใช้งานเรยี บร้อยแล้ว
Google Apps for Education 6Google mail Google Mail หรือ Gmail คือ บริการฟรี e-mail ท่ีทางานบนระบบ Search Engine ซึ่งมีหน้าตาไม่แตกตา่ งจากรูปแบบของ Google เท่าไหรค่ ือไม่มีลูกเล่น ดูเรียบง่ายแต่เน้นที่ความรวดเรวในการเข้าถึง เปนหลักมีระบบการจัดเกบทดี่ ี มรี ะบบค้นหาตามหวั เรื่องจดหมาย ส่งไฟล์ประกอบงา่ ย และใช้งานงา่ ย
Google Apps for Education 71. การเขาใชงาน Google Mail หลงั จากท่ีไดล้ งช่ือเข้าสรู่ ะบบแล้ว เมอ่ื ต้องการเขา้ ใช้งานในส่วนของ Google Mail ให้ดูสญั ลักษณ์ ใหค้ ลกิ แล้วเลอื ก Gmail ดังรูป2. ส่วนต่างๆของ Google Mail ส่วนต่างๆของ Google Mail จะประกอบไปด้วย 6 สว่ นหลกั ๆ ดังน้ี
Google Apps for Education 81. แสดงเจ้าของบัญชีที่กำลังลงชอื่ ใช้งานอยู่ และ Link สาหรับเข้าใช้งานเคื่องมือต่างๆ เช่น Search, Google Drive, Calendar , Google +, YouTube เปนต้น2. ช่องสาหรบั ใส่ keyword เพื่อใช้ในการค้นหา3. การตง้ั คา่ ตา่ งๆของการใช้งาน Google Mail4. Navigation Pane ส่วนถัดมาเป็นส่วนทใี่ ช้แสดงจดหมายประเภทต่างๆ เช่น กลอ่ งจดหมาย, ตดิ ดาว, สาคัญ, จดหมายทส่ี ่งแลว้ , จดหมายร่าง และ ป้ายกากับทสี่ ามารถสร้างเพมิ่ ได้5. Chat Pane แสดงรายชือ่ ผู้ติดต่อ และสถานะการ online สามารถต้งั สถานะเป็นข้อความส่วนตัวได้ หรือกด ทีช่ ่ือเพ่ือเร่ิมสนทนาไดท้ นั ที6. Mail List แสดงรายระเอียดต่างๆของ Message เช่น Sender, Subject และ date3. การเขยี น Mail ใหม่ 3.1 ไปทีห่ นา้ Mail คลกิ ท่ี “เขยี น” 3.2 จะเขา้ สหู่ นา้ Compose mail(เขยี น Mail) ดงั ภาพ 3.3 ที่ช่อง To (ผ้รู บั )ใหใ้ ส่ email ผู้ทต่ี ้องการจะสง่ หากต้องการสาเนา Message ทจี่ ะส่งให้คลกิ ที่ “สาเนา” แลว้ ใส่ email ทต่ี ้องการ สาเนาไป 3.4 ทชี่ อ่ ง “เรอ่ื ง” ให้ใสช่ ือ่ หวั ข้อหรือชอ่ื เรือ่ งท่ีต้องการส่ง
Google Apps for Education 93.5 ที่ชอ่ งว่าง ให้ใสข่ อ้ ความหรือรายละเอียดเพิ่มเติม หรือจะไมใ่ ส่กได้3.6 หากต้องการ แนบไฟล์ หรือ รปู ภาพต่างๆ ทาได้จากเครื่องมือดังรูป สัญลักษณ์ท่ี 1 คอื การแนบไฟลท์ ีเ่ ปนเอกสารเช่น word, excel, power point, PDF เปนต้น สญั ลักษณท์ ่ี 2 คือการแทรกไฟลโ์ ดยใช้ Google Drive สัญลักษณท์ ี่ 3 คือการแทรกรูปภาพ สัญลักษณ์ที่ 4 คือการแทรกลิงค์ สัญลักษณ์ท่ี 5 คือการแทรกไอค่อนสือ่ อารมณ์ สัญลักษณท์ ี่ 6 คอื การแทรกข้อความเชิญ3.7 หลังจากทำการแนบไฟล์หรอื รูปภาพแลว้ ใหค้ ลกิ Send (ส่งจดหมาย) เปนอนั เสรจส้ิน .
Google Apps for Education 104. การจืัดการ จดหมาย จดหมายทงั้ หมดท่บี ุคคลอื่นส่งมา จะอยูใ่ น Inbox สามารถเปิดดูได้ด้วยการคลิกที่จดหมาย น้ัน เพือ่ ดรู ายละเอียดต่างๆของจดหมาย โดยมสี ว่ นประกอบดงั นี้ 4.1 ส่วนสาหรบั จัดการกับ จดหมาย กลับไปท่ีกล่องจดหมาย จัดเกบไว้ในระบบข้อมูล รายงานจดหมายขยะ//* จัดเกบลงถังขยะ ยา้ ย จดหมาย กาหนดป้ายกากบั เมนูเพิ่มเติม
Google Apps for Education 114.2 สว่ นแสดง Subject ของ Message และ ป้ายกากับ ของ Message นั้น4.3 สว่ นแสดงรายละเอยี ดของ Message4.4 สว่ นจดั การ Message 4.5 สว่ นสาหรับการตอบจดหมาย หรือส่งต่อให้ผู้อนื่ 4.6 ส่วนการ Chat เมอื่ ต้องการ ส่งข้อความ ไปยังผู้ส่ง Mail ให้กดปมุ่ Chat เพื่อทาการเชิญ และเมอื่ ฝ่ายตรง ข้ามตอบรับ กสามารถสง่ ข้อความถึงกันได้
Google Apps for Education 125. การจัดื การป้ายกากับ 5.1 การสรา้ งป้ายกำกับใหม่ ให้คลิกปุ่ม กาหนดป้ายกำกับแล้วเลือก Create New จากน้นั ใสช่ ่ือป้ายกับตามที่ตอ้ งการ แล้วคลิกสร้าง5.2 การกาหนดป้ายกา กับให้กบั Message เราสามารถเลือก ป้ายกากับ ให้กับ Message ท่ีเราต้องการได้ โดยคลิกท่ีปุ่ม กาหนดป้ายกากับแลว้ เลือกป้ายกากับท่ีเราไดส้ ร้างขึ้น เมอ่ื เลือกป้ายกำกับเสรจแล้วจะเหนได้ว่าป้ายกำกับจะแสดงในส่วน Subject ของ Message นน้ั5.3 การลบป้ายกำกับออกจาก Message ท่หี น้า Mail เมอื่ กดเลือก message บริเวณส่วนทีแ่ สดง Subject จะมี ป้ายกำกับ ท่ี กาหนดไว้กบั message นั้น สามารถเอาออกไดโ้ ดยกดที่ x ดา้ นท้าย ป้ายกำกับ
Google Apps for Education 136. การปรบั แต่ืงค่าตางๆ ในเมลคลิกมมุ ขวาท่รี ูป เลอื ก การต้ังค่าต่างๆ (setting) ตามทตี่ ้องการ6.1 การเปลีย่ นเปลยี่ นรูปโปรไฟล์ เปล่ียนภาษา การเปลย่ี นเปล่ยี นรปู โปรไฟล์ เปลย่ี นภาษา สามารถทาได้จากการกดปมุ่ General ทาการปรับค่าต่างๆ จากน้ันกดบนั ทกึ การเปลย่ี นแปลง6.2 การเพ่ิม Email ทีใ่ ช้สาหรับการตดิ ต่อทีห่ น้าจอหลกั ให้คลิกทีป่ ุ่ม เลือก Settings คลิกเลือกหัวข้อ [Forwarding and POP/IMAP]ตรวจสอบ Status ของ IMAP Access โดยจะต้องเปน็ Enable IMAP
Google Apps for Education 14จากน้ันเลือกใช้งาน Tab บัญชี เพม่ิ บัญชีจดหมายที่ต้องการให้แสดงใน @gmail.comสามารถเพม่ิ ได้สูงสดุ 5 บัญชี
Google Apps for Education 15ทดสอบการทางาน ทาการส่ง Mail เขา้ บัญชีท่ีไดเ้ พิ่มไว้ จะมาปรากฏในบญั ชี gmail ดว้ ยเช่นกนั ทำใหไ้ ม่พลาดการติดตอ่ จาก Mail บัญชีเดมิ ๆ เปนการง่ายท่ีจะเปล่ยี นมาใช้บัญชีของ Google
Google Apps for Education 16Google Calendar Google Calendar คือ บริการปฏิทินแบบออนไลน์ของ Google ซึ่งทาให้คุณสามารถเกบข้อมูลเหตุการณ์ต่างๆ รวมไว้ในที่เดียวกันได้ ไม่ว่าจะเป็นการสร้างกำหนดการนัดหมายและกำหนดเวลาเหตุการณ์ต่างๆ สามารถส่งข้อความเชิญ สามารถใช้ปฏิทินร่วมกับเพ่ือนร่วมงาน และ ค้นหาเหตุการณ์ ต่างๆ ได้ ประโยชน์ของ Google Calendar เปนตัวชว่ ยในการจัดตารางเวลาใหก้ ับเราได้อย่างสะดวกสบาย สามารถกำหนดกจิ กรรมที่จะทำลง ไปได้ทา ใหเ้ ราไดเ้ หนอย่างชัดเจน เปลีย่ นแปลงขอ้ มูล ใสส่ ีสันไดต้ ามใจเราเพ่อื บง่ บอกถึงความเป็น ตวั ของคุณ เหตกุ ารณ์ในตาราง เราสามารถกำหนดให้แจ้งเตือนทางอีเมลไ์ ด้ หรือไมต่ ้องแจ้งกได้ บริการนส้ี ามารถส่งข้อความเชิญที่เก่ียวกับกจิ กรรมของเราไดท้ างอีเมล์ และยงั กำหนดล่วงหนา้ ได้ อกี ดว้ ย ใชป้ ฏิทินร่วมกันไดก้ ับเพ่ือนของเรา และยังกาหนดได้อีกว่าจะให้ใครใช้ไดห้ รือไม่ อีกทงั้ แสดงไดอ้ ีก วา่ เรา กาลังอยูใ่ นสถานะใดคล้ายกับการใช้บริการของ MSN สามารถใช้บริการนี้ได้ทุกที่ท่ีมีอินเตอร์เนต ทำให้สะดวกตอ่ การใช้งาน สามารถแจ้งเตือนกจิ กรรมท่ีกาลังจะมาถงึ ได้ทางโทรศัพทเ์ คลื่อนท่ี ทาใหเ้ รารู้ได้ล่วงหน้าอย่าง รวดเรว และไม่พลาดกจิ กรรมหรือนัดหมายนน้ั ๆ
Google Apps for Education 171. การเขาใชงาน ใหใ้คลิกแล้ว เมอื่ ต้องการเข้าใช้งานในส่วนของ Google Calendar ให้ดูสัญลักษณ์ เลอื ก ปฏิทิน ดังรูปรปู ร่างหน้าตาของ Google Calendar
Google Apps for Education 182. สว่ นตา่ งๆของ Google Calendarสว่ นที 1 : คนหาปฏิืทนืิ ค้นหารายการเหตกุ ารณ์ตามทเ่ี ปิดใหท้ ่านสามารถดูข้อมลู ได้ส่วนที 2 : สราง เพ่ือสร้างกาหนดการสว่ นที 3 : ปฏิทื นืิ แสดงตวั เลอื กวนั ท่ีในรูปแบบปฏิทนิ รายเดือนสื่วนที 4 : รายการปฏิืทิืนืแยกตามเจ้าของปฏิทินแสดงรายช่ือปฏิทินที่มีการใช้ร่วมกันสามารถเลือก check ที่ box ด้านหน้า เม่ือต้องการให้แสดงเหตุการณ์ของปฏิทินน้ันๆ ทำให้สามารถดูปฏิทินหลายๆ อันในเวลาเดยี วกนได้ ซึ่งช่วยให้สามารถทราบได้ว่าเหตุการณ์ใดที่ทบั ซอ้ นกันอยู่หรือไม่ทาให้ง่ายในการทากำหนดการต่างๆ นอกจากนี้ยังสามารถต้งั สีของปฏิทินได้ เพื่อให้ง่ายในการดูข้อมูลด้วยส่ืวนที 5 : วัืน สัืปดาห์ เดือน ส่ืีวืันถัืดไป แผนงาน คือ ตัวเลือกส่วนแสดงเหตุการณ์ต่างๆสามารถเลอื กดูตาม วัน สัปดาห์ เดือน แบบกาหนดเอง หรือ ดเู ปนรายการได้ส่วนที 6 : การตั้งคา่ื เพอื่ เขา้ ไปต้งั ค่ารูปแบบของปฏทิ ินสว่ นที 7 : ตารางกจิ กรรม เปนการแสดงรายละเอยี ดต่างๆของกจิ กรรมท่ีเราได้สร้างเอาไว้
Google Apps for Education 193. การสรางกจิ กรรม คลิกปุ่มมุมบนซ้ายที่คาว่า “Create” แล้วจะมีหน้าต่างการสร้างกิจกรรม โดยมีให้กรอก ข้อมลู อย่ทู ั้งหมด 7 สว่ นคือ ส่วนที่ 1 : การกลับไปยังหน้าปฏิทิน, การบันทกึ กิจกรรม และการยกเลิกการสร้างกจิ กรรม ส่วนที่ 2 : ช่อื กจิ กรรม สว่ นท่ี 3 : การกาหนดวนั ทแี่ ละเวลาของกิจกรรม ส่วนที่ 4 : รายละเอียดของกจิ กรรม เช่น สถานที่, การเพ่ิมผู้เขา้ รว่ ม, เลือกรายการปฏทิ นิ , ใส่ รายละเอียดของปฏทิ นิ เปนต้น ส่วนท่ี 5 : การใสส่ ขี องกิจกรรม เพ่ือไม่ให้เกดิ ความสับสน ส่วน ท่ี 6 : การตงั้ ค่าการเตือน สว่ นที่ 7 : การตั้งค่าสถานะ
Google Apps for Education 204. การลบและการแกไขกจิ กรรม 4.1 การลบกจิ กรรม สามารถทาได้โดยคลิกท่ีกิจกรรมที่เราสร้างน้ีมาแล้วคลิก Delete 4.2 การแก้ไข้กิจกรรม วธิ กี ารจะเหมือนกับการลบกิจกรรม เพียงแตเ่ ลือกเมนู Edit event จากนัน้ ใหท้ าการแก้ไขกิจกรรม แลว้ คลิก Save เปนอนั เสรจส้ิน
Google Apps for Education 215. การแชรก์ ิจกรรมใหผูอื่น คลิกท่ีกิจกรรมทเี่ ราสร้างขึ้นมา แลว้ คลกิ เมนู Edit eventดใู นสว่ นเมนู “เพมิ่ ผ้เู ข้ารว่ ม” ให้ใส่อเี มล์ลงในช่องจากนนั้ กาหนดความสามารถของผู้เขา้ รว่ ม ว่าทำอะไรไดบ้ ้างเชน่ แก้ไข, เชิญบุคคลอื่น, ดูรายช่ือผู้เข้ารว่ ม แล้วคลิกเพ่ิม จากนั้นคลิกบนั ทึกกจิ กรรม เปนอันเสรจสิ้น6. การสรางปฏิทนิื ใหม่ การสรา้ งปฏิทินใหม่นั้นเปนการสร้างปฏทิ ินเพื่อใช้ร่วมกับบุคคลอ่ืนๆ เช่น ผู้รว่ มงาน, เพือ่ น ใน กลุ่ม, บุคคลพิเศษ เปนต้น โดยการสร้างปฏิทินใหม่น้ีทำได้โดยคลิกทส่ี ัญลักษณ์ ที่ ปฏิทิน ของฉนั แลว้ เลือกสร้างปฏทิ ินใหม่
Google Apps for Education 22จากนั้นใหก้ รอกข้อมลู ลงไป ตามตัวอยา่ ง เสรจแลว้ คลิกสร้างปฏทิ ินปฏทิ ินทเ่ี ราได้ทาการสร้างกจะเข้ามาอยใู่ นสว่ นของ ปฏิทินของฉัน***หมายเหตุ บคคลที่เราได้ส่งคาเชิญไปน้ันต้องไปตอบรับทางอีเมล์ก่อนถึงจะสามารถมองเหนละแก้ไขกิจกรรมของปฏทิ ินน้ันๆได้
Google Apps for Education 237. รปู แบบของปฏิทินื เราสามารถเลือกรูปแบบของปฏิทินได้ โดยการคลิกท่มี ุมบนขวาของหน้าต่าง โดยมีให้ เลอื กทั้งหมด โดยมีให้เลือกทัง้ หมด 5 รูปแบบดังน้ีแบบวัน เราจะสามารถดูรายละเอยี ดของกิจกรรมในวันน้ันๆได้ โดยรูปแบบน้ีจะแสดงแบบช่วงเวลาแบบสัปดาห์ ในรูปแบบรายสัปดาห์นี้จะแสดงในหน่ึงสัปดาห์ของเรามีกิจกรรมอะไรบ้าง ในวันไหนบ้าง และจะแสดงเปน็ รายเวลาอีกดว้ ย
Google Apps for Education 24แบบเดอน ในรูปแบบน้ีจะแสดงตารางกิจกรรมเปนรายเดือนต้ังแต่วันแรกของเดือนจนถึงวันสุดท้าย ของเดือน แตจ่ ะบอกแค่ว่ามีกิจกรรมอะไร เวลาเท่าไหร่ แต่ไม่ได้แสดงรายละเอียดของกจิ กรรมแบบสีว่ นั ในรูปแบบนี้จะคล้ายๆกับรูปแบบรายสัปดาห์ แต่รปู แบบน้ีจะแสดงแคส่ ว่ี นั ถดั ไปจากวันน้ี
Google Apps for Education 25แบบแผนงานรปู แบบน้ีจะแสดงกิจกรรมทกุ อย่าง โดยจะแสดงกจิ กรรมทั้งหมดของเดือนและมคี ำอธิบายรายละเอียดของกิจกรรม แต่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบตารางเหมือนรูปแบบก่อนหนา้ นี้8. การเพ่มิ ปฏิทื ิืน การเพม่ิ ปฏิทินอ่ืนๆเข้ามาในปฏทิ ินของเรา เพ่ือนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน สามารถทำไดโ้ ดยคลกิ ท่ี สัญลักษณ์ ของเมนปู ฏทิ นิ อืน่ ๆ โดยจะมีวิธการเพ่มิ 4 แบบ คอื 1.การเพมิ่ ปฏิทิน ของเพอื่ น 2.การเรียกดูปฏิทินที่น่าสนใจ 3.การเพม่ิ ด้วย URL 4.การนาเข้าปฏิทิน และสุดท้ายคือ การต้ังค่า การเพม่ิ ปฏิทื ินื ของเพ่อน
Google Apps for Education 26 ทาไดโ้ ดยคลกิ เมนู “เพิ่มปฏิทินของเพื่อน” จากนัน้ จะแสดงหนา้ ตา่ งการเพิ่มขน้ึ มา ให้กรอก อีเมล์ของเพื่อนลงไปในช่อง อีเมล์ของท่ีอยู่ แลว้ คลกิ เพ่ิมเปนอนั เสรจส้นิการเรียกดูปฏิทื ินื ท่ีืน่าื สนใจ คลิกที่เมนู “เรียกดูปฏิทินท่ีน่าสนใจ” จากน้ันจะแสดงหน้าต่างเมนูเรียกดูปฏทิ ินที่น่าสนใจข้ึนมา เช่น วนั หยุด, กีฬา หากต้องการดแู บบอื่นใหค้ ลิกทีเ่ พมิ่ เติม เม่ือเจอปฏิทินที่น่าสนใจแล้วต้องการเพ่ิมเข้าไปในปฏิทินของเรา เช่น วันหยุดในไทยโดยด้านขวาจะมีเมนูแสดงตวั อย่างใหด้ ูก่อนตัดสินใจ จากนน้ั ให้คลิกท่ีสมคั ร เปนอนั เสรจสิ้นการเพ่ิมดวย URL คลิกท่ีเมนู “เพิ่มด้วย URL” จากน้ันจะมีเมนูแสดงการเพ่ิมปฏิทินด้วย URL ให้กรอกที่อยู่ ของURL ในรูปแบบของ ical แลว้ คลกิ เพิ่มปฏิทิน
Google Apps for Education 27 การนำเขาปฏิทื นิื วิธีการนี้จะเป็นการนำเข้าปฏิทินจากไฟล์ทอ่ี ยู่ในเคื่องเรา โดยคลิกท่เี มนู “นำเข้าปฏิทิน” แล้ว เลอื กไฟล์ทอ่ี ย่ใู นรูปแบบของ ical หรือ ไฟล์นามสกุล .CSV หากไมเ่ ข้าใจคลิกท่ี Learn more จากน้นั เลอื กปฏทิ ินทต่ี ้องการนาเข้า แลว้ คลกิ นำเข้า9. การต้งั คาื่ เมอ่ื คลิกท่เี มนู “Setting” แล้วจะมีเมนูการตง้ั ค่าปฏิทินอยู่ 4 แบบคอื 1.ทวไป 2.ปฏทิ นิ3. ตัง้ คา่ อุปกรณเ์ คลอ่ื นท่ี และ 4.แลบ ท่วั ไป เปนการตั้งค่าทว่ั ไปเช่น ภาษา, ประเทศ, รูปแบบวันท่ี , เวลา ฯลฯ เปนตน้
Google Apps for Education 28 ปฏิทิน เปนการต้งั ค่าต่างๆของปฏิทิน เช่น การแจ้งเตือนให้ทราบ, การยกเลิกการสมัคร เปน ตน้ ต้ังค่าอุปกรณ์เคล่ือนที่เปนการต้งั ค่าการแจ้งเตือนบนโทรศัพท์ของเรา เพอื่ ไม่ให้พลาดกับ ตารางนดั ต่างๆ ของงานหรือชีวิตประจำวัน แลบ เป็นการเปิดใช้งานฟังก์ชนต่างๆ แต่ยังอยู่ในระหว่างการทดสอบ ซึ่งยังไม่พร้อมสาหรับ การใช้งานสาธารณชน โดยคุณลักษณะเหล่าน้ีอาจจะ เปลี่ยนแปลง ใช้ไม่ได้ หรือ หายไป เมือใดก ได้
Google Apps for Education 2910. การปรบั แตื่งปฏทิ ิืน ของ เปนการปรับแต่งและตั้งค่าต่างของปฏทิ นิ ทีเ่ ราเพ่ิมหรือนาเข้า เขา้ มา โดยคลกิ ท่สี ัญลักษณ์ปฏทิ นิ น้ันๆทเ่ี ราต้องการปรับแต่ง โดยจะมีเมนูดังนี้ แสดงเฉพาะปฏิทินนี้ ซ่อนปฏิทนิ นจี้ ากรายการ การตงั้ ค่าปฏิทนิ การแจ้งเตือนและการแจ้งให้ทราบ ส่งใหเ้ พอ่ื น การเลือกสี ของปฏิทิน
Google Apps for Education 38Google DriveGoogle Drive คอื อะไร Google Drive เป็นบริการจาก Google ท่ีทาให้เราสามารถนาไฟล์ต่าง ๆ ไปฝากไว้กับ Google ผ่าน พื้นท่ีเกบข้อมูลระบบคลาวด์และการสารองข้อมูลไฟล์ที่มีความปลอดภัย ทาให้เราสามารถใช้ไฟล์เหล่านั้นที่ ไหนกได้ ไม่เพียงแค่ฝากไฟล์ได้เท่าน้ันคุณยังสามารถ สามารถแบ่งปนไฟล์กับคนที่ต้องการ และสามารถ แก้ไขร่วมกันได้จากอปุ กรณห์ ลายประเภท เชน่ อุปกรณม์ ือถอื อปุ กรณ์แทบเลต หรอื คอมพวิ เตอร์ สำหรับพน่ื ท่ี ๆ Google ให้เราใช้บริการฟรีน้ันอยู่ท่ี 15 GB สาหรับผู้ใช้งานทั่วไป และหากต้องการ พื่นที่มากขนึ้ กสามารถซอ้ื พนื้ ทจี่ ัดเกบข้อมูลเพมิ่ ได้ ส่วนราคากขน้ึ อยู่กับขนาดของพนื้ ท่ี แต่หากสำหรับ ผู้ใช้งานท่เี ปนGoogle Apps for Education นน้ั จะอยู่ท่ี 10TBขอ้ ดีของ Google Drive เกบไฟล์ได้ทุกประเภท ดขู ้อมูลแก้ไขเอกสารได้จากทุกท่ี ทกุ เวลา แชรไ์ ฟล์, โฟลเ์ ดอร์ เพอ่ื ทางานร่วมกนั ได้ข้อเสยี ของ Google Drive ตอ้ งเชอื่ มต่อกบั อินเตอร์เนต
Google Apps for Education 391. การเขาใชงาน Google Drive เปิดโปรแกรมเบราวเ์ ซอร์ข้ึนมาแลว้ เขา้ มาท่เี วบไซต์ www.google.co.th คลิกท่สี ญั ลักษณ์ แลว้ คลิก Drive
Google Apps for Education 40 รปู ร่างหน้าตาของ Google Drive2. การติดตัง้ Google Drive บนเคร่ืองคอมพิวเตอร์ หลงั จากที่เขา้ ใช้งาน Google Drive ได้แลว้ ให้คลกิ สัญลักษณ์ แลว้ คลิก Download Drive
Google Apps for Education 41 คลกิ Download Drive อีกคร้ังแลว้ เลือก MAC and PC คลิก Accept and Install ระบบจะทำการดาวนโ์ หลดเองอตั โนมตั ิ เสรจแลว้ คลกิ ที่ googledrivesync.exe ดา้ นซ้ายลา่ ง
Google Apps for Education 42 คลิก Yes เพอ่ื ทาการติดต้งั คลิกเร่ิมตน้ ใช้งาน
Google Apps for Education 43 กรอก username และ password แล้วคลิกลงชอื่ เข้าใช้ คลิกถัดไป
Google Apps for Education 44 คลิกถัดไป คลิกถดั ไป
Google Apps for Education 45 คลกิ เสรจสิ้น เม่ือทาการตดิ ต้ังเสรจแล้ว Google Drive จะทาการสร้าง Shortcut ให้
Google Apps for Education 46 3. การอัพโหลดไฟล สาหรับการอัพโหลดไฟลส์ ามารถทาไดส้ องช่องทางคือ อัพโหลดผ่านเวบเบราว์เซอร์ และอพั โหลด ผา่ น Application 3.1 การอัพโหลดผ่าื นเวบเบราว์เซอร์ เขา้ ใช้งาน Google Drive แลว้ คลกิ ขวาเลือก Upload files หรือ Upload folder แล้วเลอื กไฟล์หรือโฟลเดอรท์ ตี่ ้องการอัพโหลด
Google Apps for Education 47 จากนั้นระบบจะทำการอัพโหลดให้ ใหร้ อจนกว่าจะข้ึนวา่ Uploads completed3.2 การอพั โหลดผ่ืาน Application ทำการคดั ลอกไฟลห์ รือโฟล์เดอร์ที่ตอ้ งการอัพโหลด
Google Apps for Education 48 จากน้นั เปิด Shortcut Google Drive ท่ีเราตดิ ต้ังลงบนคอมพวิ เตอร์ แลว้ วางไฟล์ที่คดั ลอกมาวางใน Google Drive ท่ีเราตดิ ต้ังลงบนคอมพวิ เตอร์
Google Apps for Education 49 Application Google Drive จะทาการอัพโหลดให้อัตโนมัติ สามารถเชคได้โดยคลิกขวาท่ีไอคอน Google Drive ด้านล่างขวา หลงั จากที่ าการอัพโหลดเสรจแลว้ ให้เข้าไปดทู ่เี บราว์เซอร์ว่าไฟล์และโฟลเดอร์ทเี่ ราอัพโหลด ได้ ทาการ อพั โหลดไปยังระบบแล้วหรือไม่
Google Apps for Education 504. การแชรไ์ ฟลแ์ ละโฟลเดอร์ คลกิ ทีไ่ ฟล์หรือโฟลเดอร์ท่ีต้องการแชร์ แลว้ คลิกทีส่ ญั ลักษณ์ กรอกรายละเอยี ดดงั นี้ ชอ่ งที 1 กรอกอีเมล์ของเพอ่ื น หรือผู้รว่ มงานท่ีต้องการแชรไ์ ฟลห์ รือโฟลเดอร์น้ันๆให้ ช่ืองที 2 เลือกว่าจะให้เพ่ือนหรือผ้รู ่วมงาน สามารถแก้ไขได้ (Can edit) หรือสามารดูได้อย่างเดียว (Can View) ช่องที 3 ใสร่ ายละเอียด หรือจะเว้นว่างไวก้ ได้ เสรจแลว้ คลิกปมุ่ “Send”
Google Apps for Education 51 เมอ่ื ทาการแชร์เสรจเรียบรอ้ ยแล้วสัญลักษณ์ของไฟลห์ รือโฟลเดอร์น้ันจะเปล่ียนไป กอ่ น แชร์ หลงั แชร์ Google Drive ไม่จากดั แค่การทางานบนเวบเบราวเ์ ซอร์หรือแคบ่ นคอมพิวเตอรเ์ ท่าน้นั แต่ยังสามารถทางานบนสมาร์ทโฟนท้ังระบบปฏิบติการ IOS, Android และ Windows Phone ไดเ้ พียงแคเ่ ข้าไป ดาวนโ์ หลดApps Google Drive ท่ี App Store, Play Store และ Windows Store
Google Apps for Education 52Google DocumentsGoogle Documents คืออะไร?? Google Documents หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า Google Docs เป็นบริการออนไลน์ที่ให้ คุณสามารถจัดการเอกสารได้แบบไม่ต้องเสียเงิน เพียงแค่คุณมีอีเมล์ของ Gmail และเชื่อมต่ออินเทอร์เนต เพราะ Google Docs เตรียมมาให้คณุ หมดแลว้ ไม่ว่าจะเป็นการพิมพร์ ายงานแบบท่คี ุ้นเคย การาสไลด์เพอื่ นาเสนองานสาคัญ หรือจะจัดการเอกสารแบบSpreadsheets ได้เหมือน Excel กสามารถทาได้ Google Docs ทางานเหมือน Microsoft Office แตท่ ุกอย่างจะทางานอยู่บนเวบ สามารถทางานได้ทันทีทม่ี ีการเชอื่ มต่ออินเทอรเ์ นต โดยไม่ต้องเสียเวลาติดตั้งโปรแกรมลงในเคร่ือง หรอื เสยี เงินค่าลิขสิทธก์ิ อ่ นใชง้ านแต่อยา่ งใดเพียงแคเ่ ข้าไปยงั Google Docs เรากสามารถสรา้ ง แกไ้ ข หรอื เปิดอ่านเอกสารไดเ้ ลย โดยตัวขอ้ มูลไป พร้อมๆ กนั โดยจะเหนว่าอกี ฝ่ายกาลงั พิมพอ์ ะไรอยู่ โปรแกรมจดั การเอกสารออนไลน์ดว้ ย Google Docs ประกอบด้วย
Google Apps for Education 53ความสามารถของ Google Docsความสามารถของ Google Docs มีอยา่ งล้นเหลอื เรยี กไดว้ ่าตอบสนองคนท่ีต้องการใชง้ านเอกสารได้อย่างสมบรู ณแ์ บบ โดยเราจะมาทาความรู้จักกันอย่างละเอียดก่อนวา่ Google Docs ใชท้ าอะไรได้บา้ ง 1. สร้างเอกสาร สเปรดชีต และงานนำเสนอแบบออนไลน์ สร้างเอกสารพน้ื ฐานแบบเร่ิมต้นจากศูนย์ สามารถทำงานพนื้ ฐานทกประเภทได้อย่างง่ายดาย รวมถึง การทารายการสัญลักษณ์แสดงหัวข้อย่อย การเรียงลำดับตามคอลัมน์ การเพม่ิ ตาราง รูปภาพ ข้อคิดเหน สตู ร การเปล่ยี นแปลงแบบอกั ษร และอ่ืนๆ โดยไม่มีคา่ ใช้จ่ายใดๆ อัพโหลดไฟล์ของคุณท่ีมีอยูแ่ ลว้ รองรับรูปแบบไฟลท์ ่ีนยิ มใช้กันสว่ นใหญ่ ได้แก่ DOC, XLS, ODT, ODS, RTF, CSV และ PPT คณุ จงึ สามารถทางานต่อไปพรอ้ มกบั อพั โหลดไฟลข์ องคุณทม่ี ีอย่ไู ด้ดว้ ย ใชง้ านบนแถบเครืองมือได้อย่างคุ้นเคยทาใหก้ ารแก้ไขเปนเรอื งงา่ ยๆ เลือกตัวหนาขีดเส้นใต้ เพ่มิ สัญลกั ษณใ์ นขอ้ ย่อย เปล่ยี นแบบอกั ษร หรอื รูปแบบตวั เลข เปลี่ยนสพี นื้ หลังของเซลล์ และอ่ืนๆ เพยี งคลิก ปมุ่ บนแถบเครอื่ งมือที่คุณค้นุ เคย 2. ใช้งานและทำงานร่วมกันในแบบเรยี ลไทม์ เลือกคนท่ีคุณต้องการให้เข้าถึงเอกสารของคุณได้เพียงป้อนท่ีอยู่อีเมลของคนท่ีคุณต้องการให้ใช้ งาน เอกสารทรี่ ะบุรว่ มกนั แลว้ ส่งคำเชิญไปให้เขาเหลา่ น้ัน กสามารถใช้งานเอกสารร่วมกันได้ ใช้งานรว่ มกนั ได้ทนท่ีทุกคนที่คณุ เชิญให้เข้ามาแกไ้ ขหรือดเู อกสาร สเปรดชีต หรือ งานนาเสนอ ของคุณ สามารถเข้าถึงข้อมูลไดท้ ันทีท่ีเขา้ สรู่ ะบบ แกไ้ ขและนาเสนอร่วมกับบคุ คลอ่ืนในแบบเรียลไทมส์ ามารถดแู ละแกไ้ ขร่วมกันได้หลายคนในเวลา เดียวกัน มีหนา้ ตา่ งสนทนาบนหนา้ จอสาหรับการแก้ไขเอกสารและสเปรดชีต เพอื่ แสดงใหค้ ุณเหน ว่าใครแก้ไขอะไร และเมื่อใด และแล้วการดงู านนาเสนอพร้อมกันไม่ใชเ่ รืองยากอีกตอ่ ไป เนื่องจาก ใครกตามท่ีเข้ามาร่วมใน งานนาเสนอ ตา่ งกสามารถตดิ ตามงานนาเสนอน้ันไดโ้ ดยอัตโนมัติ 3. จัดเกบและจัดระเบยี บงานอย่างปลอดภัย แก้ไขและเข้าถึงจากท่ีไหนกได้ ไม่ต้องดาวนโ์ หลดสิง่ ใด คุณสามารถเขา้ ถึงเอกสารสเปรดชีต และ งาน นาเสนอของคุณได้จากคอมพิวเตอร์เครอื งใดกได้ท่ีมีการเชือมต่ออินเทอร์เนต และมบี ราวเซอร์ มาตรฐาน โดยไมม่ คี ่าใชจ้ า่ ยใดๆ จัดเกบงานของคุณได้อย่างปลอดภัย อุปกรณ์เกบขอ้ มลู แบบออนไลน์ และการบนั ทกึ อัตโนมัติ ชว่ ย ใหค้ ณุ ไมต่ ้องกงั วลเรืองฮาร์ดไดร์ฟเสียหรือไฟดับเพราะข้อมลู จะถกู เกบไว้ในเซริ ์ฟเวอร์ขนาดใหญ่ ของ Google
Google Apps for Education 54 บนทึกและสง่ ออกสาเนาได้อย่างงา่ ยดาย สามารถบันทึกเอกสาร และสเปรดชตี ของคณุ ไปยงั เครอื่ ง คอมพิวเตอร์ของคุณในรปู แบบ DOC, XLS, CSV, ODS, ODT, PDF, RTF และ HTML ได้ การจดั ระเบียบเอกสารของคุณค้นหาเอกสารของคุณได้อย่างง่ายดายดว้ ยการจัดระเบยี บเอกสาร ใน โฟลเดอรต์ ่างๆ และสามารถลากและวางเอกสารต่างๆ ของคณุ ลงในหลายโฟลเดอร์ไดต้ ามที่คุณ ต้องการ4. ควบคุมว่าใครสามารถดเู อกสารของคุณได้ เผยแพร่งานของคุณเปน็ หน้าเวบ คุณสามารถเผยแพรเ่ อกสารของคณุ แบบออนไลน์ไดโ้ ดยการคลกิ เพยี ง ครง้ั เดยี ว กสามารถเผยแพร่ผลงานชน้ิ สาคัญของคุณให้เปน็ หน้าเวบไดอ้ ยา่ งงา่ ย ควบคุมว่าจะให้ใครเหนหน้าเวบของคุณได้บ้าง สามารถเผยแพร่ข้อมลู ได้ทัว่ โลกหรือจากดั เอกสาร ให้เหน ไดใ้ นกลุ่มเพยี งแคส่ อง สามคน หรือจะส่ังไมใ่ ห้ใครเหนเอกสารนัน้ เลยกได้ ซึ่งกแลว้ แต่คุณจะ กาหนด นอกจากนี้ยังสามารถหยุดการเผยแพรข่ ้อมลู ได้ตลอดเวลา โพสต์เอกสารขนึ้ บลอกของคุณ เมื่อคณุ สรา้ งเอกสารเสรจ คณุ สามารถโพสต์เอกสารลงบลอกของ คุณได้ ทนั ที เผยแพรภ่ ายในบริษัทหรอื กลุ่มของคณุ เมื่อใช้ Google Apps จะชว่ ยใหใ้ ชง้ านเอกสาร สเปรดชีต และ งานนาเสนอท่สี าคญั ร่วมกันภายในบริษทั หรือกลุม่ ของคณุ ไดง้ า่ ยขน้ึ1. การสรางเอกสาร (Google Docs) เปิดเบราว์เซอร์ไปท่ี Google Drive จากนัน้ คลิกขวาเลือก New file แล้วเลือก Google Docs หน้าตาของ Google Docs จะคล้ายๆกนั กับ MS Word
Google Apps for Education 55 เมนูและแถบเครืองมือ ทม่ี ลี กั ษณะคลา้ ยกบั โปรแกรม MS Word สามารถใช้งานได้งา่ ย เชน่ การกาหนด ลักษณะข้อความ แบบตวั อักษร ขนาดตวั อักษร ตัวหนา ตวั เอยี ง ตัวขดี เส้นใต้ ตาแหน่งของ ข้อความ แทรกตาราง หรอื แม้กระทง่ั แทรกภาพ เป็นตน้2. การเปลีย่ื นช่ือเอกสาร ทุกๆคร้ังทส่ี ร้างเอกสารใหม่ โปรแกรมจะกำหนดชือ่ เอกสารเป็น “Untitled document” แต่เรา สามารถเปล่ียนชื่อเอกสารเองได้ใหม่ โดยคลกิ เมาสท์ ี่ชอ่ ง “Untitled document” จากนัน้ จะปรากฏหนา้ ต่าง “Rename document” ใหเ้ รากรอกช่ือเอกสารทีต่ ้องการลงไป แล้วกด ปุ่ม “OK”
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117