Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาPython

ภาษาPython

Published by mintra67894, 2020-01-10 02:38:53

Description: ภาษาPython

Search

Read the Text Version

ภาษาPython วชิ า หลกั การเขียนโปรแกรม รหัส 20204-2004 วณิชญา หงษ์ทอง วรศิ รา พิมล มนิ ตรา เงอ่ื งาม

คํานํ า e-BOOK น้ี จดั ทําเพื่อเป็นส่วนหน่ึ งของวชิ า หลกั การเขียน โปรแกรม มีเน้ื อหาสาระเกีย่ วกับภาษาของภาษาPythonการเขยี น โปรแกรมต่อไป ผจู้ ดั ทาํ หวงั ว่า e-BOOK น้ี จะเป็นประโยชน์ แก่ผอู้ ่าน หรอื นั กเรยี น นัี กศึกษา ท่ีกําลงั หาขอ้ มูลเรอื่ งน้ี อยู่ หากมขี อ้ แนะนํ า หรอื ขอ้ ผดิ พลาดประการใด ผจู้ ัดทําขอน้ อมรบั ไว้ และขออภัยมา ณ ที่นี้ ด้วย วรศิ รา พิมล มนิ ตรา เงอื่ งาม วณิชญา หงษ์ทอง

สารบัญ หน้ า เรอื่ ง 1 2 ความหมายของPython 3 คุณสมบตั ิ 4 โครงสรา้ งของภาษา Python 5 คุณลกั ษณะเดน่ ของภาษา Python ตัวเเปรของภาษาPython 21 ชนิ ดของตัวเเปรเเละตัวอยา่ ง 6-15 ข้อดีขอ้ เสียของภาษาPython 16-19 สรุป 20 บรรณานกุ รม

ความหมายของPython Python คือชอ่ื ภาษาที่ใชใ้ นการเขียนโปรแกรมภาษาหน่ึ ง ซง่ึ ถูก พัฒนาข้ึนมาโดยไมย่ ดึ ติดกบั แพลตฟอรม์ กลา่ วคือสามารถรนั ภาษา Python ได้ทงั้ บนระบบ Unix, Linux , Windows NT, Windows 2000, Windows XP หรอื แมแ้ ต่ระบบ FreeBSD อีก อย่างหน่ึ ง

คุณสมบัติ Python นั้ นมคี ุณสมบัติเป็นภาษาเขียนโปรแกรมแบบได นามกิ ส์และมรี ะบบการจดั การหน่ วยความจาํ อตั โนมัตแิ ละ สนั บสนนุ การเขียนโปรแกรมหลายรูปแบบ ท่ปี ระกอบไป ด้วย การเขียนโปรแกรมเชงิ วตั ถุ imperative การเขยี น โปรแกรมแบบฟังกช์ นั และการเขยี นโปรแกรมแบบขนั้ ตอน มันมไี ลบรารท่ี ี่ครอบคลมุ การทํางานอย่าง หลากหลาย

โครงสรา้ งของภาษา Python # My first Python program name = input('What is your name?\\n') print ('Hi, %s.' % name) print ('Welcome to Python.') ละเรม่ิ ตน้ ทํางานในตวั อยา่ งเป็นโปรแกรมในการรบั ชอื่ และแสดงข้อความทกั ทายออก ทางหน้ าจอ ในการรนั โปรแกรมคุณสามารถรนั ได้หลายวิธี แต่ท่แี นะนํ าคือการใช้ Python shell ให้คุณเปิด Python shell ข้นึ มาแล้วกดสรา้ งไฟล์ใหม่โดยไปท่ี File -> New File จะปรากฏกลอ่ ง Text editor ของภาษา Python ข้นึ มา เพ่ือรนั โปรแกรม Run -> Run Module หรอื กด F5 โปรแกรมจะเปลย่ี นกลับไปยัง Python shell

คุณลักษณะเด่นของภาษา Python •ภาษา Python สนั บสนนุ แนวแบบคิดออปเจกต์โอเรยี น เทด หรอื OOP (Object Oriented Programming) •Pythonเป็นภาษาคอมพิวเตอรท์ ี่ไมค่ ิดมูลค่าการใชง้ าน และเป็นภาษาทีม่ คี วามยดึ หยนุ่ สงู มาก •โค้ดทเ่ี ขียนด้วย Python สามารถนํ าไปรนั บนระบบ ปฏบิ ัตกิ ารอืน่ ๆ ได(้ Portable)เชน่ Linux, Ms-windows (95, 98, NT, 2000, XP), Amiga, Be-OS, OS/2, VMS, QNX, และระบบอ่ืนๆอกี มากมาย

ตัวเเปรของภาษาPython ตวั แปร (variable) เป็นการกาํ หนดชนิ ดข้อมลู ของตวั แปร เพื่อนํ าไปใชใ้ นการเขียนโปรแกรม โดยท่โี ปรแกรมภาษา ไพธอนไปจองพ้ืนที่ในหน่ วยความจํา เพื่อใชเ้ กบ็ ขอ้ มูล ชนิ ดต่าง ๆ แลว้ แตช่ นิ ดของตวั แปรทป่ี ระกาศเอาไว้ อาจ เป็นชนิ ดตวั เลข ตัวอักขระ หรอื สายอักขระ ขอ้ มูลประเภท เหล่านี้ จะถกู นํ าไปอา้ งถงึ เมอ่ื เขียนคําสั่งไปอ้างองิ ภาษา ไพธอนมกี ารประกาศตัวแปรไม่เหมอื นเหมือนภาษาซี หรอื ภาษาปาสกาล ดังนี้

ชนิ ดของตวั เเปร 1. ตัวแปรชนิดตัวเลข ตวั แปรชนิ ดตวั เลข (number) ใชส้ ําหรบั เก็บข้อมูลทเ่ี ป็นจํานวน เชน่ เลขจํานวนนั บ ซง่ึ เลขจํานวนนั บน้ี มคี ุณสมบัตสิ ามารถเพ่ิมค่าได้ คํานวณได้ และเปล่ียนแปลงค่าได้ ประกอบด้วย เลขจํานวนเต็มไดแ้ ก่ ชนิ ด integer ซง่ึ รบั ขอ้ มลู ได้ตัง้ แต่ -231 – 231-1 และชนิ ด long integer ซง่ึ รบั ข้อมูลตัวเลขท่ีมากกว่า integer ท่รี บั ไดโ้ ดยไมจ่ ํากดั ข้ึนอย่กู ับเครอื่ งคอมพิวเตอรแ์ ตล่ ะ เครอ่ื งวา่ มีหน่ วยความจําเสมอื น (virtual memory) เทา่ ไร ในการประกาศตัวแปรชนิ ด long integer นั้ นเพียงใส่ตัวอกั ขระ L ตอ่ ท้ายตวั เลขขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการเก็บเทา่ นั้ น ถือว่าเป็นการ ประกาศตัวแปรชนิ ด long integer แลว้ สําหรบั วธิ กี ารใชต้ วั แปรสามารถเก็บข้อมูลในรูป แบบทัง้ เลขฐานสิบ เลขฐานแปดโดยใส่เลข 0 ดา้ นหน้ าตวั เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหกโดย ใส่เลข 0x ดา้ นหน้ าเลขฐานสิบหก ไดท้ งั้ สองชนิ ด ดังนี้

ตวั อยา่ งของตวั เเปรชนิ ดตัวเลข >>> longvar = 417324698473L >>> print longvar 417324698473 >>> type(longvar) <type 'long'> >>> decimalvar = 17 >>> print decimalvar 17 >>> octalvar = 017 >>> print octalvar 15 >>> hexvar = 0xff >>> print hexvar 255

2. ตวั แปรชนิดสายอักษร ตัวแปรชนิ ดสายอักษร (string) ใชส้ ําหรบั เก็บข้อมลู ทเ่ี ป็นข้อความ หรอื ประโยค เพื่อ นํ ามาเก็บเป็นขอ้ มูลทัว่ ๆ ไป เชน่ ชอื่ -สกลุ ท่ีอยู่ และอื่น ๆ ซง่ึ ตวั แปรชนิ ดนี้ ไมส่ ามารถ นํ ามาคํานวณได้ในการประกาศตัวแปรชนิ ดนี้ ขอ้ ความที่ต้องการเก็บในตัวแปรจะต้อง อยภู่ ายใต้เครอื่ งหมาย (\" \") หรอื เครอ่ื งหมาย ('') กํากบั อยู่ เชน่ name = 'Taweerat' หรอื name = \"Taweerat\" ดงั นั้ นในกรณีทม่ี ีการเกบ็ ตวั เลขดงั รูปแบบ '1234'จึงมีความ หมายเป็นเพียงสายอกั ษรไม่สามารถนํ ามาคํานวณได้แต่ถ้าหากต้องการให้คํานวณได้ จําเป็นต้องใชฟ้ ังก์ชนั เพ่ือเปล่ียนชนิ ดตวั แปรเป็นชนิ ดตวั เลขใหม่ วธิ กี ารเขียนคําสั่ง เพ่ือเกบ็ ข้อมูลชนิ ดตวั แปรสายอกั ษร มี ดังนี้

ตวั อยา่ งของตัวเเปรชนิ ดสายอกั ษร >>> str1 = 'This is a literal string' >>> str2 = \"This is another string\" >>> str3 = \"I'm a teacher\" >>> str4 = 'I don\\'t like VB' >>> str5 = \"This is an example of \\two lines string\" >>> print str1 This is a literal string >>> print str2 This is another string >>> print str3 I'm a teacher >>> print str4 I don't like VB >>> print str5 This is an example o

3. ตัวแปรชนิดลิสต์ ตวั แปรชนิ ดลิสต์ (list) เป็นตัวแปรทมี่ ขี ้ึนในโปรแกรมภาษาใหม่ ๆ ซง่ึ โปรแกรมภาษารุน่ เก่า ๆ จะเรยี กว่า อะเรย์ (array) ซง่ึ ประกอบดว้ ยตวั แปร 1 ตัว มขี อ้ มลู เกบ็ ได้หลาย ๆ จํานวนในลักษณะทตี่ ่อเนื่ องกัน การเรยี กใชข้ อ้ มลู ภายในลสิ ตจ์ ะต้องระบถุ งึ ดชั นี ลําดับของขอ้ มลู ท่ีเก็บเอาไว้ โดยเรม่ิ ตน้ จาก 0 เชน่ เดียวกับอะเรย์ แต่ลสิ ตส์ ามารถเรยี กดัชนี ทเ่ี ป็นค่าลบได้ นั่ นคือ ถา้ เป็น -1 หมายถึง ขอ้ มูลลําดับสดุ ท้าย ดังตัวอยา่ งตอ่ ไปนี้

ตัวอย่างของตวั เเปรชนิ ด ลิสต์ >>> fruits = [\"banana\",\"papaya\",\"orange\",\"apple\",\"mango\"] >>> fruits ['banana', 'papaya', 'orange', 'apple', 'mango'] >>> fruits[0] 'banana' >>> fruits[1] 'papaya' >>> fruits[-1] 'mango' >>> fruits[-3] 'orange'

4. ตัวแปรชนิดทุพเพิล ตวั แปรชนิ ดทุพเพิล เป็นตัวแปรท่ีมลี ักษณะคล้ายกับตัวแปรชนิ ดลิสต์ เพียง แตต่ วั แปรชนิ ดทพุ เพิลไมส่ ามารถนํ ามาเพ่ิมเตมิ หรอื เปล่ียนแปลงข้อมูลได้เลย เม่ือได้สรา้ งข้ึนมาแล้ว ดงั นั้ น การเรยี กใชข้ อ้ มลู จงึ มีการใชต้ ัวเลขดัชนี เชน่ เดยี วกนั และทแ่ี ตกตา่ งกันอีกอยา่ งหน่ึ งคือ ในขณะสรา้ งตวั แปร ตัวแปรชนิ ด ทพุ เพิลจะมขี อ้ มลู อยภู่ ายใต้เครอ่ื งหมาย ‘()’ ในขณะทต่ี ัวแปรชนิ ดลสิ ตจ์ ะมี ขอ้ มลู อยภู่ ายใต้เครอื่ งหมาย ‘[]’ ดงั ตัวอยา่ งต่อไปน้ี

ตัวอย่างของตวั เเปรชนิ ดทพุ เพิล >>> animals = (\"monkey\", \"rabbit\", \"cat\", \"kangaroo\",\"chicken\") >>> animals[0] 'monkey' >>> animals[1] 'rabbit' >>> animals[-1] 'chicken' >>> animals[-3] 'cat'

5. ตวั แปรชนิดดกิ ชันนารี ตวั แปรชนิ ดดิกชนั นารี (dictionary) เป็นตวั แปรที่มลี ักษณะเก็บ ขอ้ มลู ได้หลาย ๆ ค่า แตข่ ้อมูลทเ่ี กบ็ จะตอ้ งเป็นการจับคู่ระหวา่ ง คีย์และข้อมูล สามารถเปลยี่ นแปลงข้อมลู ทเ่ี กบ็ อย่ไู ด้ ตวั แปรชนิ ด นี้ สามารถเก็บขอ้ มูลทม่ี ีชนิ ดแตกตา่ งกันในตวั แปรเดียวกนั ได้ ดัง ตวั อย่างตอ่ ไปน้ี

ตัวอย่างของตวั เเปรชนิ ดดกิ ชนิ นารี >>> name={'Dad':'Somchai','Mom':'Somsri','Bro':'John'} >>> name {'Dad': 'Somchai', 'Bro': 'John', 'Mom': 'Somsri'} >>> name['Dad'] 'Somchai' >>> name['Mom'] 'Somsri‘ >>> age={'Dad':42,'Mom':40} >>> age['Dad'] 42 >>> age['Dad']+ age['Mom'] 82

ขอ้ ดขี ้อเสียของภาษาPython ข้อดี 1.ไวยากรณ์อา่ นงา่ ย 2.กําจัดสัญลักษณ์ท่ใี ชใ้ นการแบ่งบลอ็ คของโปรแกรม การยอ่ หน้ าแทนทําให้งานตอ่ การเขียนสนั บสนนุ การ เขยี น docstring ท่เี ป็นข้อความสั้นๆ 3.ใชอ้ ธบิ ายการทาํ งานของฟังกช์ นั คลาส โมดลู 4.สนั บสนนุ แนวแบบคิดออปเจกต์โอเรยี นเทด หรอื OOP 5.เป็น Open Source

6.โค้ดทีเ่ ขียนดว้ ย Python สามารถนํ าไปรนั บน ระบบปฏิบัติการได้หลากหลาย 7.สนั บสนนุ เทคโนโลยี COM ของ Ms-windows 8.Python รวมมาตรฐานการอินเตอรเ์ ฟส Tkinter ซง่ึ สนั บสนนุ บนระบบ X windows, Ms-windows และ Macintosh การใชค้ ําสั่ง Tkinter API ชว่ ยให้ โปรแกรมเมอรไ์ ม่ตอ้ งแกไ้ ขโค้ดเมือ่ นํ าไปรนั บน ระบบปฏบิ ัตกิ ารอนื่ ๆ 9.Dynamic typing สามารถเปลยี่ นชนิ ดขอ้ มูลได้ งา่ ยและสะดวก

10.มี Built-in Object Types คือ โครงสรา้ งของขอ้ มลู ท่สี ามารถใชไ้ ด้ใน Python ประกอบด้วย ลิสต์, ดิกชนั นาร,ี สตรงิ ที่งา่ ยต่อการใชง้ านและมปี ระสิทธภิ าพสูง 11.มีเครอ่ื งมือตา่ งๆ มากมาย เชน่ การประมวลผลเทก็ ซไ์ ฟล์ การเรยี งขอ้ มลู การเชอ่ื ตอ่ สตรงิ การตรวจสอบเงอ่ื นไขของขอ้ ความ การแทนคํา เป็นต้น 12.มโี มดูลสําหรบั จัดการ Regular Expression 13.มโี มดูลที่สรา้ งข้ึนจากนั กพัฒนาสนั บสนนุ มากมาย ไดแ้ ก่ COM, Image, CORBA, ORBs, XML เป็นตน้ 14.จดั การหน่ วยความจําอยา่ งอตั โนมัติ สามารถจักการพ้ืนที่หน่ วยความจําทไ่ี มต่ ่อ เนื่ องให้ทํางานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ 15.อนญุ าตให้ฝังชุดคําสั่งของ Python เอาไวภ้ ายในโค๊ดภาษา C/C++ ได้

ขอ้ เสียของภาษาPython การทํางานของโปรแกรมผา่ นอนิ เทอรพ์ รเี ตอร์ จะชา้ กวา่ ทาํ งานจากโปรแกรมที่ผา่ นการแปลโปรแกรมเป็นภาษา เครอ่ื งแลว้ เพราะอินเทอรพ์ รเี ตอรจ์ ะตอ้ งแปลแต่ละคําสั่ง ในระหว่างการทาํ งานวา่ จะตอ้ งทําอะไรในขนั้ ตอนตอ่ ไป

สรุป Python เป็นภาษาเขียนโปรแกรมระดบั สูงท่ใี ชก้ ันอย่าง กวา้ งขวางในการเขียนโปรแกรมส าหรบั วัตถปุ ระสงค์ทวั่ ไป ภาษา Python นั้นสรา้ งโดย Guido van Rossum และถูก เผยแพรค่ รงั้ แรกในปี 1991 Python นั้ นเป็นภาษาแบบ interpret ที่ถูกออกแบบโดยมปี รญั ชาท่จี ะท าให้โค้ดอา่ นได้ งา่ ยข้นึ และ โครงสรา้ งของภาษานั้ นจะท าให้โปรแกรมเม อรส์ ามารถเขา้ ใจแนวคิดการเขยี นโค้ดโดยใชบ้ รรทดั ท่ี น้ อยลง กวา่ ภาษาอยา่ ง C++ และ Java ซง่ึ ภาษานั้ นถกู ก าหนดให้มี โครงสรา้ งทต่ี งั้ ใจให้การเขียนโค้ด เข้าใจงา่ ยทงั้ ในโปรแกรม เล็กไปจนถึงโปรแกรมขนาดใหญ

บรรณานกุ รม https://sites.google.com/site/dotpython/input-and- output/variable-type

คณะผจู้ ัดทาํ นางสาว วณิชญา หงษ์ทอง 093 นางสาว มนิ ตรา เงอื่ งาม 090 นางสาว วรศิ รา พิมล 077 เสนอ อ. วลิ าวลั ย์ วัชโรทยั วิชา หลักการเขยี โปรแกรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook