Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักธรรมาภิบาล ทางออกของสังคมไทย

หลักธรรมาภิบาล ทางออกของสังคมไทย

Description: หลักธรรมาภิบาล ทางออกของสังคมไทย

Search

Read the Text Version

1 ภาคีเครือข่ายธรรมาภิบาลแห่งชาติ National Network on Campaign for Good Governance หลกั ธรรมาภิบาล (ภาคปฏิบตั ิเพื่อการป้ องกนั การทุจริตคอร์รัปชนั ในสงั คมไทย) ทางออกของสงั คมไทย เป็ นการเดินตามรอยศาสตร์ของพระราชา ท่ีทรงปกครองบา้ นเมืองมาดว้ ยทศพิธราชธรรม www.facebook.com/KittisakRathprasert www.facebook.com/nncgg www.nagg.info 081-6163333 Gen. Dr.kittisak 2020/2563

1 หลกั ธรรมาภิบาลทางออกของสังคมไทย ภาคปฏิบตั ิเพ่อื การป้ องกนั การทุจริตคอร์รัปชนั ในสงั คมไทย ทางออกของสังคมไทยเป็นการเดินตามรอยศาสตร์ของพระราชาที่ทรงปกครองบา้ นเมืองมาดว้ ย ทศพิธราชธรรม ยุทธศาสตร์พระราชทาน “เขา้ ใจ เขา้ ถึง พฒั นา” ตามหลกั ธรรมาภิบาล สามารถอธิบาย เขา้ ใจ เขา้ ถึง พฒั นา ไดด้ งั น้ี 1) การเข้าใจ คือ การรู้อยา่ งถ่องแทใ้ นประวตั ิศาสตร์ชาติไทยที่มีมาแต่อดีต ถึงปัจจุบนั ในการนาหลกั ธรรมาภิบาลมาใช้ 2) เข้าถึง คือ รู้ถึงหลกั ธรรมาภิบาลในแต่ละขอ้ และสามารถ ที่จะนามาใชไ้ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 3) พฒั นา คือ นามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั หรือนาไปใชใ้ นวงราชการ เพ่อื ประโยชนข์ องประเทศชาติ ต่อจากน้ีไปเป็นการนาขอ้ มูลหลกั ยทุ ธศาสตร์พระราชทานมาอธิบายตาม หลกั ธรรมาภิบาล เพื่อใหเ้ ขา้ ใจมากยง่ิ ข้ึน 1. ความเป็ นมาของการปกครองด้วย “พระราชอานาจ” และ ”พระราชธรรม” ประเทศไทยเป็นประเทศหน่ึงท่ีมีประวตั ิศาสตร์ความเป็ นมาอนั ยาวนาน แมว้ า่ หลกั ฐานเก่ียวกบั การกาเนิดของชาติไทยในช่วงแรกจะไม่สามารถยืนยนั ได้แน่ชดั มากนกั อยา่ งไรก็ตามไดม้ ีการศึกษา คน้ ควา้ และเช่ือวา่ การต้งั อาณาจกั รประเทศไทย (แหลมทอง) เม่ือ พ.ศ. 1781 อาณาจกั รแรกของชาติไทย คืออาณาจกั รสุโขทยั ซ่ึงสถาปนาโดยพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ ตน้ ราชวงศ์พระร่วง ประกาศตนเป็ นอิสระ จากขอมซ่ึงยดึ ครองดินแดนแถบน้ีอยู่ นบั ถึงวนั น้ีเกือบ 800 ปี ดงั แผนท่ีอาณาจกั รไทยแสดงในรูปท่ี 1 การเมืองการปกครองไทยต้ังแต่สมัยสุ โขทัยจนถึงสมัยรัตนโกสิ นทร์ ก่อนหน้ามีการ เปล่ียนแปลงการปกครอง เม่ือวนั ท่ี 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 อยใู่ นรูปแบบระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ซ่ึงมีลกั ษณะคลา้ ยกบั ระบอบเผด็จการ เพราะอานาจสูงสุดในการปกครองเป็ นของพระมหากษตั ริยเ์ พียง พระองค์เดียวเท่าน้ัน พระมหากษตั ริย์ได้อานาจมาด้วยการสืบสันตติวงศ์หรือการปราบดาภิเษก ประชาชนไม่มีส่วนร่วมในการสถาปนาหรือคดั เลือกพระมหากษตั ริย์ ในปาฐกถาสมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพ เรื่องลกั ษณะการปกครองประเทศสยามแต่ โบราณ ไดอ้ ธิบายไวว้ า่ วธิ ีการปกครองในสมยั สุโขทยั น้นั นบั ถือพระเจา้ แผน่ ดินอยา่ งบิดาของประชาชน ท้งั ปวง ซ่ึงเนน้ การปกครองแบบบิดาปกครองบุตรหรือการปกครองคนในครอบครัว

2 รูปท่ี 1 อาณาจกั รประเทศไทย (แหลมทอง) เมื่อ พ.ศ. 1686 ท่ีมา : ประวตั ิศาสตร์แห่งสยาม, 2561 : ออนไลน์ สาหรับระบอบประชาธิปไตยไดม้ ีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อวนั ท่ี 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 มีลกั ษณะที่ไม่ราบร่ืนและพฒั นาไม่มากนกั แมว้ า่ จะดาเนินมาเป็ นเวลากว่า 88 ปี แลว้ ซ่ึงระบอบ ประชาธิปไตยยงั ไม่เป็ นรูปธรรม ประเทศไทยยงั ไม่เป็ นประชาธิปไตยที่แทจ้ ริง นอกจากน้ีการศึกษา ทางดา้ นการเมืองการปกครองไทยมีการแบ่งยคุ สมยั เป็ น 4 ยคุ ดว้ ยกนั คือ สมยั สุโขทยั (พ.ศ. 1781-1921) สมยั อยธุ ยา (พ.ศ. 1893-2310) สมยั ธนบุรี (พ.ศ. 2311-2325) และสมยั รัตนโกสินทร์ (พ.ศ. 2325-ปัจจุบนั ) จากการศึกษาระบอบการปกครองท้งั 4 ยคุ สมยั พบวา่ การปกครองในแต่ละสมยั มีความคลา้ ยกนั ในเร่ืองของหลกั คุณธรรม ซ่ึงเห็นวา่ สามารถนามาใชเ้ ป็ นหลกั ปกครองบา้ นเมืองที่เป็ นธรรมราชา ดงั น้นั แตล่ ะยคุ สมยั ของกษตั ริยใ์ นอาณาจกั รประเทศไทย (แหลมทอง) สรุปไดด้ งั น้ี 1.1 ยุคสมัยสุโขทยั (พ.ศ. 1781-1921) กษตั ริยพ์ ระองคแ์ รกแห่งกรุงสุโขทยั ทรงพระนามวา่ พ่อ ขุนศรีอินทราทิตย์ เป็ นปฐมกษตั ริยแ์ ห่งราชวงศพ์ ระร่วง พระองค์ทรงดูแลพระราชอาณาจกั รและบารุง ราษฎร์เป็ นอย่างดี พระมหากษตั ริยพ์ ระองค์ที่สาม พ่อขุนรามคาแหงมหาราช รูปท่ี 2 ทรงพระปรีชา สามารถมากท้งั ในดา้ นนิรุกติศาสตร์ การปกครอง กฎหมาย วิศวกรรม ศาสนา ความสัมพนั ธ์ระหว่าง ประเทศ เป็ นตน้ กษตั ริยพ์ ระองคส์ ุดทา้ ยในฐานะรัฐอิสระ คือ พระมหาธรรมราชาท่ี 4 สืบต่อกนั มาเป็ น เวลา 200 กวา่ ปี สาหรับดา้ นการเมืองการปกครอง ในสมยั สุโขทยั ตอนตน้ มีการปกครองแบบพอ่ ปกครอง ลูก ต่อมาสมยั สุโขทยั ตอนกลางมีการปกครองแบบธรรมราชา ซ่ึงกษตั ริยต์ อ้ งยึดหลกั ทศพิธราชธรรม เม่ือสมยั สุโขทยั เร่ิมรับอิทธิพลการปกครองมาจากขอมจึงปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์

3 รูปท่ี 2 พอ่ ขนุ รามคาแหงในยคุ สมยั สุโขทยั ที่มา : วนั สาคญั ของไทย, 2557 : ออนไลน์ จากการศึกษาและรวบรวมขอ้ มูลการเมืองการปกครองสมยั สุโขทยั สามารถแบ่งได้เป็ น 3 ลกั ษณะใหญท่ ี่สอดคลอ้ งกบั หลกั ธรรมาภิบาล คือ 1. การปกครองแบบพอ่ ปกครองลูก เป็ นลกั ษณะเด่นของการปกครองตนเองในสมยั สุโขทยั การปกครองลกั ษณะน้ี พระมหากษตั ริยเ์ ปรียบเหมือนพ่อของประชาชน และปลูกฝังความรู้สึกผกู พนั ระหวา่ งญาติมิตร การปกครองเช่นน้ีเด่นชดั มากในสมยั พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั หลกั คุณธรรมที่ยดึ มน่ั ในความดีงาม เป็นการส่งเสริมใหป้ ระชาชนพฒั นาตนเองไปพร้อมกนั 2. การปกครองแบบธรรมราชาหรือธรรมาธิปไตย ทรงยึดหลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา และตอ้ งเผยแพร่ธรรมะสู่ประชาชนดว้ ย การปกครองแบบธรรมราชาน้นั เจริญรุ่งเรืองมากในสมยั พระ มหาธรรมราชาที่ 1 พบวา่ การปกครองแบบธรรมราชาเป็ นการใช้หลกั ทางดา้ นนิติธรรม เป็ นการปฏิบตั ิ ตามกฎหมายโดยไมเ่ ลือกปฏิบตั ิที่เป็นธรรม แมแ้ ต่ในสมยั พอ่ ขมุ รามคาแหง ในศิลาจารึกหลกั ที่ 1 วา่ \"… ในปากประตูมีกระด่ิงอนั หน่ึงแขวนไวห้ ้นั ไพร่ฟ้ าหนา้ ปกกลางบา้ นกลางเมืองมีถอ้ ยมีความ เจบ็ ทอ้ งขอ้ ง ใจมนั จะกล่าวถึงเจา้ ถึงขุนบ่ไร้ ไปลน่ั กระดิ่งอนั ท่านแขวนไว้ พ่อขุนรามคาแหงเจา้ เมืองไดย้ ินเรียกเมือ ถาม สวนความแก่มนั โดยซื่อ ไพร่ในเมืองสุโขทยั น้ีจ่ึงชม..\" สามารถมาร้องทุกขไ์ ด้ 3. การปกครองโดยยึดหลกั สิทธิเสรีภาพ เป็ นการปกครองที่พระมหากษตั ริยไ์ ม่ไดท้ รงใช้ อานาจอยา่ งเด็ดขาด แต่ให้มีสิทธิเสรีภาพในการประกอบอาชีพดา้ นต่าง ๆ ตามความถนดั เป็ นตน้ ส่ิง เหล่าน้ีทาให้เห็นวา่ หลกั ท่ีนามาปฏิบตั ิ คือหลกั การมีส่วนร่วมใหป้ ระชาชนไดต้ ดั สินใจในการประกอบ อาชีพ โดยมีหลกั ของความรับผิดชอบในงานของตนและหลกั ความคุม้ ค่าในการใชท้ รัพยากรที่มีอยู่ให้ เกิดประโยชน์ต่ออาชีพ ให้เสรีในการทาการคา้ ดงั ในศิลาจารึกของพ่อขุนรามคาแหงตอนหน่ึงกล่าว วา่ “เม่ือชัว่ พ่อขุนรามคาแหงเมืองสุโขทยั น้ีดี ในน้ามีปลาในนามีขา้ วเจา้ เมืองบ่เอาจกอบในไพร่ลู่ทาง

4 เพอ่ื นจงู งวั ไปคา้ ข่ีมา้ ไปขาย ใครจกั ใคร่คา้ ชา้ งคา้ ใครจกั ใคร่คา้ มา้ คา้ ใครจกั ใคร่คา้ เงินคา้ ทองคา้ ไพร่ฟ้ า หนา้ ใส” 1.2 ยุคสมัยอยุธยา (พ.ศ. 1893-2310) แผ่ขยายอานาจเขา้ ไปในสุโขทยั และรวมสุโขทยั เขา้ กบั อยุธยา เป็ นราชธานีอย่ถู ึง 417 ปี ทางดา้ นการเมืองการปกครอง ในสมยั ของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พ.ศ. 2133-2148) รูปท่ี 3 เนื่องจากเป็ นช่วงที่มีการศึกสงครามหลายคร้ังและพยายามฟ้ื นฟูอยุธยา หลงั จากถูกปกครองโดยพม่า ทาให้พระองคท์ รงดาเนินนโยบายการปกครองที่เนน้ ระเบียบวินยั เขม้ งวด โดยใชก้ ารปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ พระมหากษัตริยเ์ ป็ นศูนยร์ วมของอานาจการปกครอง มี ฐานะเป็นท้งั ธรรมราชาและเทวราชา จดั การปกครองแบบจตุสดมภ์ 4 ประกอบดว้ ย เวียง วงั คลงั นา ใน สมยั สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงต้งั สมุหกลาโหมดูแลฝ่ ายทหาร และสมุหนายกดูแลฝ่ ายพลเรือน รูปที่ 3 สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชในยคุ สมยั อยธุ ยา ท่ีมา: วกิ ิพเี ดีย, 2563 : ออนไลน์ เม่ือกรุงศรีอยุธยาเปลี่ยนมาเป็ นอาณาจักร ทาให้รูปแบบการปกครองจาเป็ นต้องมีการ เปล่ียนแปลงให้ซับซ้อนมากข้ึน มีการจดั ต้งั หน่วยงานต่าง ๆ เช่นจตุสดมภ์ ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น นอกจากน้ีอยธุ ยายงั รับเอาความเชื่อของลทั ธิเทวราชาเขา้ มาทางศาสนาพราหมณ์ดว้ ย ผปู้ กครองจึงไม่ได้ อยู่ในฐานะ \"พ่อ\" อีกต่อไป แต่กลายมาเป็ นเทพเจา้ แทน การปฏิบตั ิต่อกนั ระหว่างราษฎรกบั ชนช้ัน ปกครอง จึงมีขนบธรรมเนียมต่าง ๆ เพ่ิมเขา้ มา เพราะถือวา่ ผปู้ กครองคือเทพเจา้ ดงั น้นั พิธีการต่าง ๆ จึง ตอ้ งแตกต่างจากคนธรรมดา เช่น การใชค้ าราชาศพั ท์ เป็ นตน้ ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั หลกั นิติธรรมที่ประชาชน ไมล่ ะเมิดสิทธิของคนอื่น แสดงใหเ้ ห็นวา่ การต้งั พระมหากษตั ริยท์ าใหป้ ระชาชนเขา้ ถึงไดย้ ากข้ึน 1.3 ยุคสมยั ธนบุรี (พ.ศ. 2311-2325) หลงั จากท่ีสมเด็จพระเจา้ ตากสินมหาราช รูปท่ี 4 ทรงกอบ กเู้ อกราชเป็นผลสาเร็จและยา้ ยราชธานีมาอยทู่ ่ีธนบุรี ดารงอยไู่ ด้ 15 ปี ในการปกครองยงั ยดึ แบบอยา่ งจาก

5 สมยั อยุธยาดว้ ยธรรมราชา ดา้ นเศรษฐกิจทรงแกไ้ ขปัญหาเศรษฐกิจท่ีกาลงั ตกต่าหลงั จากสงครามกลบั ฟ้ื นฟขู ้ึนมาอีก ส่วนศิลปวฒั นธรรมสืบทอดมาจากอยธุ ยา รูปที่ 4 สมเด็จพระเจา้ ตากสินในยคุ สมยั กรุงธนบุรี ท่ีมา : ทีแอลซีไทยดอทคอม, 2559 : ออนไลน์ 1.4 สมัยรัตนโกสินทร์ (พ.ศ. 2325-ปัจจุบัน) ดงั ในรูปท่ี 5 แสดงพระมหากษตั ริยใ์ นยุคสมยั รัตนโกสินทร์ เมื่อพิจารณาต้งั แต่ในรัชกาลที่ 1 ดา้ นการเมืองการปกครอง มีการชาระกฎหมาย เรียกว่า กฎหมายตราสามดวง สมยั รัชกาลท่ี 5 ทรงปฏิรูปการปกครองคร้ังใหญ่ จดั ต้งั กระทรวง ทบวง กรม วางรากฐานการบริหารส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคและส่วนทอ้ งถ่ิน เพื่อมาปรับปรุงการปกครอง พฒั นา บ้านเมือง วางระบบสาธารณูปโภค รวมท้ังมีการเลิกทาส ทาให้ชาวสยามในสมยั น้ันทัดเทียมกับ อารยประเทศ สาหรับการเปล่ียนแปลงระบบการปกครองเป็ นแบบเทศาภิบาลโดยกษตั ริยไ์ ดส้ ่งขุนนาง เขา้ ไปดูแลเมืองตา่ ง ๆ โดยตรงเพื่อลดทอนอานาจของเจา้ เมืองเดิม ต้งั สภาท่ีปรึกษาราชการแผน่ ดิน จดั ต้งั กระทรวงต่าง ๆ ปรับปรุงการศาล การทหาร ฯลฯ รูปที่ 5 พระมหากษตั ริยใ์ นยคุ สมยั รัตนโกสินทร์ ที่มา : ชมลม ชมไทย, 2553 : ออนไลน์

6 ในสมยั รัชกาลท่ี 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อย่หู ัวทรงมีพระปรีชาสามารถและสาย พระเนตรท่ียาวไกล ทรงยกเลิกขนบธรรมเนียมและขอ้ ปฏิบตั ิต่าง ๆ เช่น เลิกทาส เลิกไพร่ เลิกประเพณี หมอบคลานเขา้ เฝ้ า เลิกการโกนผมไวท้ ุกข์ และเลิกการปกครองแบบจตุสดมภ์ เปล่ียนการบริหารมาเป็ น กระทรวงต่าง ๆ เมื่อวนั ท่ี 1 เมษายน พ.ศ. 2435 โดยจดั แบ่งอานาจหนา้ ท่ีแต่ละกระทรวงอยา่ งชดั เจน ไม่ ซ้าซอ้ นกนั พระองคโ์ ปรดเกลา้ ฯ ให้สร้างประมวลกฎหมายอาญา เพื่อให้ทนั สมยั ทดั เทียมกบั อารยประเทศ ในปี พ.ศ. 2440 และไดจ้ ดั ต้งั โรงเรียนกฎหมายแห่งแรกของประเทศไทย ในวนั ท่ี 9 มีนาคม พ.ศ. 2434 พระองคไ์ ดเ้ สด็จพระราชดาเนินทรงขุดดินก่อพระฤกษ์เพื่อสร้าง ทางรถไฟเป็ นคร้ ังแรกของประเทศไทย ต่อมาในสมยั รัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยู่หวั ทรงสร้างเมืองจาลองรูปแบบ ระบอบประชาธิปไตยข้ึน เรียกวา่ ดุสิตธานี เมื่อวนั ท่ี 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 บริเวณพระราชวงั พญาไท เพ่ือเป็ นแบบทดลองของการปกครองระบอบประชาธิปไตย โดยโปรดให้มีพระธรรมนูญการปกครอง ลกั ษณะนคั ราภิบาล ซ่ึงเปรียบลกั ษณะของเมือง มีพรรคการเมือง 2 พรรค การเลือกต้งั นคั ราภิบาลหรือ นายกเทศมนตรี (ตาแหน่งน้ีเปรียบไดก้ บั ตาแหน่งนายกรัฐมนตรีในปัจจุบนั และมีสภาการเมืองหรือ รัฐสภาในปัจจุบนั ) ตามระบอบประชาธิปไตย คร้ันถึงสมยั รัชกาลที่ 7 ทรงมีพระราชดาริจะให้มีการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย แต่ทรง วนิ ิจฉยั วา่ ประชาชนยงั ไมพ่ ร้อมกบั การปกครองท่ีประชาชนจะมีอานาจในการปกครอง เพราะประชาชน ยงั ขาดการศึกษา ขาดความรู้ ความเขา้ ใจในเรื่องการปกครองระบอบประชาธิปไตย การที่มีกลุ่มคนเพียง ไม่กี่คนที่เขา้ ใจและข้ึนมามีอานาจปกครองประเทศจะเป็นอนั ตรายมากต่อชาติและประชาชน นบั ถึงปัจจุบนั ขอ้ วนิ ิจฉยั ขององคพ์ ระมหากษตั ริย์ยงั คงถูกตอ้ ง ยงั คงมีคนเพียงบา้ งกลุ่มที่ไดร้ ับ ผลประโยชน์จากการปกครองประเทศ ก่อนวนั ท่ีคณะราษฎร์จะประกาศปฏิวตั ิยึดอานาจจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจา้ อยู่หัว พระองค์ไดท้ รงร่างรัฐธรรมนูญประชาธิปไตย เตรียมการท่ีจะมอบรัฐธรรมนูญการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยใหป้ ระชาชนไวแ้ ลว้ และในวนั ท่ีเสด็จแปรพระราชฐานไปวงั ไกลกงั วลท่ีหวั หิน ไดท้ ราบ วา่ นารัฐธรรมนูญฉบบั ร่างน้นั ไปดว้ ย เพือ่ ทบทวนตรวจสอบเป็ นคร้ังสุดทา้ ย แต่คณะราษฎร์ไดใ้ ชโ้ อกาส ที่พระองคแ์ ปรพระราชฐานน้นั ดาเนินการปฏิวตั ิยดึ อานาจจากพระองค์

7 2. การเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 พระมหากษัตริย์ทรงมอบอานาจอธิปไตยให้แก่ราษฎร โดยทวั่ ไป วนั ท่ี 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 คณะราษฎร์ได้ดาเนินการปฏิวตั ิยึดอานาจจากพระบาทสมเด็จ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั และเปลี่ยนแปลงการปกครองของประเทศไทยจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ไปเป็ นราชาธิปไตยภายใตร้ ัฐธรรมนูญ และเปล่ียนรูปแบบการปกครองเป็ นรูปแบบประชาธิปไตยแบบ รัฐสภา ทาใหป้ ระเทศไทยมีรัฐธรรมนูญฉบบั แรก จากการปฏิวตั ิรัฐประหาร ต้งั แต่ พ.ศ. 2475 ถึงปัจจุบนั มีการปฏิวตั ิรัฐประหารมาแลว้ ถึง 13 คร้ัง การรัฐประหารคร้ังแรก คือ วนั ท่ี 1 เมษายน พ.ศ.2476 พระ ยามโนปกรณ์นิติธาดาไดป้ ระกาศพระราชกฤษฎีกาปิ ดสภาผู้แทนราษฎร พร้อมงดใช้รัฐธรรมนูญบาง มาตรา ต่อมาวนั ที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 มีการรัฐประหาร คร้ังที่ 2 นาโดย พลเอก พระพหลพล พยหุ เสนา ยดึ อานาจรัฐบาล พระยามโนปกรณ์นิติธาดา วนั ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2477 พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงสละราชสมบตั ิ ในการสละ ราชสมบตั ิ พระองคท์ รงมีพระราชหตั ถเลขาวจิ ารณ์รัฐบาล ดงั ความตอนหน่ึงวา่ “...ข้าพเจ้าเห็นว่า คณะรัฐบาลและพวกพอ้ งใช้วิธีการปกครองซ่ึงไม่เห็นถูกต้องตาม หลกั การของเสรีภาพในตวั บุคคลและหลกั ความยุติธรรม ตามความเขา้ ใจและยึดถือของ ขา้ พเจา้ ขา้ พเจา้ ไม่สามารถที่จะยินยอมให้ผใู้ ด คณะใดใช้วิธีการปกครองอย่างน้นั ในนาม ของขา้ พเจา้ ต่อไปได้ ข้าพเจ้ามีความเต็มใจท่ีจะสละอานาจ อันเป็ นของข้าพเจ้าอยู่แต่เดิม ให้แก่ราษฎรโดยทวั่ ไป แต่ข้าพเจ้าไม่ยนิ ยอมยกอานาจท้งั หลายของข้าพเจ้าให้แก่ผู้ใด คณะ ใด โดยเฉพาะเพอ่ื ใช้อานาจน้ันโดยสิทธ์ิขาด และโดยไม่ยอมฟังเสียงอันแท้จริงของประชา ราษฎร...” 2.1 ประวตั ิการทารัฐประหารในไทย จากระยะเวลา 88 ปี ที่ผ่านมาคนไทยยงั ไม่ได้มีส่วนร่วมในการต่อสู้เพ่ือสิทธิ เสรีภาพและ ผลประโยชน์ของตนอยา่ งแทจ้ ริง การละเมิดสิทธิ เสรีภาพและผลประโยชน์ของประชาชนยงั ปรากฏข้ึน ทวั่ ไป ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญในการปกครองจนถึงปี พ.ศ. 2560 เป็ นจานวน 20 ฉบบั โดยเฉล่ียใช้ รัฐธรรมนูญ 4 ปี ต่อ 1 ฉบบั และยงั คงวนเวียนอยกู่ บั การรัฐประหารมาโดยตลอด ซ่ึงเกิดมาแลว้ 13 คร้ัง ดงั แสดงในรูปที่ 6 ประวตั ิการทารัฐประหารในประเทศไทยมีดงั น้ี 1. รัฐประหาร เม่ือวนั ที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2476 พระยามโนปกรณ์นิติธาดาได้ประกาศพระราช กฤษฎีกาปิ ดสภาผแู้ ทนราษฎร พร้อมงดใชร้ ัฐธรรมนูญบางมาตรา

8 รูปท่ี 6 รัฐประหารในประเทศไทยเกิดข้ึนมาแลว้ 13 คร้ัง ท่ีมา : กระปุกดอทคอม, 2563 : ออนไลน์ 2. รัฐประหาร เม่ือวนั ที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 นาโดยพลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา ยึด อานาจรัฐบาล พระยามโนปกรณ์นิติธาดา 3. รัฐประหาร เม่ือวนั ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 นาโดย พล.ท.ผิน ชุณหะวณั ยดึ อานาจรัฐบาล พล.ร.ต.ถวลั ย์ ธารงนาวาสวสั ด์ิ 4. รัฐประหาร เม่ือวนั ท่ี 6 เมษายน พ.ศ. 2491 คณะนายทหารกลุ่มท่ีทาการรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 จ้ีบงั คบั ให้ นายควง อภยั วงศ์ ลาออกจากตาแหน่งนายกรัฐมนตรี และมอบ ตาแหน่งตอ่ ใหจ้ อมพล ป. พบิ ูลสงคราม 5. รัฐประหาร เม่ือวนั ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 นาโดยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ยึดอานาจ รัฐบาลตนเอง

9 6. รัฐประหาร เมื่อวนั ท่ี 16 กนั ยายน พ.ศ. 2500 นาโดยจอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต์ ยึดอานาจรัฐบาล จอมพล ป.พิบูลสงคราม 7. รัฐประหาร เม่ือวนั ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 นาโดยจอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต์ ยึดอานาจรัฐบาล จอมพลถนอม กิตติขจร (ตามท่ีตกลงกนั ไว)้ 8. รัฐประหาร เมื่อวนั ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 นาโดย จอมพลถนอม กิตติขจร ยึดอานาจ รัฐบาลตนเอง 9. รัฐประหาร เม่ือวนั ท่ี 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 นาโดย พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ ยึดอานาจรัฐบาล ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช 10. รัฐประหาร เม่ือวนั ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 นาโดย พล.ร.อ.สงดั ชลออยู่ ยึดอานาจรัฐบาล นายธานินทร์ กรัยวเิ ชียร 11. รัฐประหาร เม่ือวนั ที่ 23 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2534 นาโดย พล.อ.สุนทร คงสมพงษ์ ยึดอานาจ รัฐบาล พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวณั 12. รัฐประหาร เม่ือวนั ท่ี 19 กนั ยายน พ.ศ. 2549 นาโดย พล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน ยึดอานาจ รัฐบาลรักษาการ พ.ต.ท.ทกั ษิณ ชินวตั ร 13. รัฐประหาร เม่ือวนั ท่ี 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 นาโดย พล.อ.ประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา เป็ นการ ประกาศรัฐประหาร เพ่ือให้รัฐมนตรี รักษาการท้ังหมดหมดอานาจ และเปล่ียนผ่านสู่การจัดต้ัง คณะรัฐมนตรีชุดใหม่ สาหรับขอ้ มูลบางแหล่งกล่าววา่ การปิ ดสภาผแู้ ทนราษฎรและงดใชร้ ัฐธรรมนูญบางมาตรา เม่ือ วนั ท่ี 1 เมษายน พ.ศ. 2476 เป็นรัฐประหารคร้ังแรกของไทย และมิไดแ้ ยกเหตุการณ์วนั ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2491 เป็ นรัฐประหารอีกคร้ัง อยา่ งไรก็ตาม นอกจากการรัฐประหาร 13 คร้ังขา้ งตน้ แลว้ ยงั มีเหตุการณ์ ทางการเมืองอยา่ งเหตุก่อกบฏ 11 คร้ัง แต่ทาการปฏิวตั ิหรือรัฐประหารไม่สาเร็จ และมีการปฏิวตั ิ 1 คร้ัง คือ ปฏิวตั ิสยาม เมื่อวนั ท่ี 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 2.2 พระมหากษตั ริย์ทรงยดึ หลกั ทศพธิ ราชธรรม 10 ประการ จากการศึกษา พบวา่ ตลอดระยะเวลา 88 ปี ที่ผา่ นมา ผบู้ ริหารประเทศในระบอบประชาธิปไตย เอาแต่อานาจหรือพระราชอานาจมาจากพระมหากษตั ริยเ์ ท่าน้นั มิไดน้ าเอาพระราชธรรมหรือธรรมของ พระราชามาปฏิบตั ิดว้ ย คือ ธรรมราชา ซ่ึงพระมหากษตั ริยท์ รงยดึ หลกั ทศพิธราชธรรม 10 ประการ ดงั น้ี 1. ทาน คือ การให้ ไดแ้ ก่ อามิสทาน (การให้สิ่งของ) ธรรมทาน (การใหค้ วามรู้) และอภยั ทาน (การใหอ้ ภยั อนั น้ีสุดยอดแห่งการให)้ 2. ศีล คือ การมีความประพฤติดีงาม สารวมกาย วาจา ใจ ประพฤติตนเป็ นตวั อยา่ งที่ดี ให้เป็ นท่ี เคารพนบั ถือของประชาชน

10 3. ปริจจาคะ (การบริจาค) คือ การเสียสละความสุขส่วนตวั เพื่อประโยชน์สุขของประชาชนและ ความสงบเรียบร้อยของบา้ นเมือง หรือการสละประโยชน์ส่วนตวั เพอื่ ประโยชนส์ ่วนรวม 4. อาชวะ คือ การปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความซ่ือสัตยส์ ุจริต มีความจริงใจ ไม่หลอกลวงประชาชน ซ่ือตรงต่อคาพดู ซื่อตรงตอ่ วชิ าชีพ ซื่อตรงตอ่ เวลา ซ่ือตรงต่อตวั เอง 5. มทั ทวะ คือ ความมีอธั ยาศยั ดีงาม ละมุนละไม อ่อนโยน สุภาพ ถา้ เป็ นยคุ น้ีตอ้ งเรียกวา่ มีความ ใจกวา้ งในการรับฟัง ใหป้ ระชาชนติติงได้ ไม่ด้ือ ไม่ร้ัน ไม่บา้ หรือมวั เมาในอานาจ 6. ตบะ คือ การบาเพญ็ ความเพียรเพ่ือกาจดั ความเกียจคร้านและความชวั่ พยายามลดกิเลสของ ตน อนั เป็นธรรมดาของคนที่มีอานาจซ่ึงจะมีโอกาสเห็นผลประโยชน์รูปแบบต่าง ๆ วงิ่ ผา่ นหนา้ ตบะจะ เป็นส่ิงท่ีเหน่ียวร้ังไมใ่ หค้ นดีเสียคน 7. อกั โกธะ คือ การไม่ถือโกรธ ไม่ผกู พยาบาท หรือจงเกลียดจงชงั คนใดคนหน่ึงหรือกลุ่มใด กลุ่มหน่ึง นักปกครองคนใดครองธรรมมะข้อน้ีไม่ได้ อาจจะนาไปสู่การสร้างความยุติธรรมในการ ตดั สินใจไดย้ ากยง่ิ 8. อวิหิงสา คือ การไม่เบียดเบียนผอู้ ื่น เช่น ประชาชน เพ่ือนร่วมงาน ลูกนอ้ งของตน หน่วยงาน และครอบครัวตนเอง เพราะการเบียดเบียนนาไปสู่การเอาเปรียบ การเอาเปรียบบ่อย ๆ ทาให้เสียนิสัยและ นาไปสู่พฤติกรรมคอร์รัปชนั 9. ขนั ติ คือ ความอดกล้นั ไมป่ ล่อยกาย วาจา ใจ ไปตามอารมณ์หรือกิเลสที่เกิดมีข้ึน 10. อวิโรธนะ คือ การธารงรักษาไวซ้ ่ึงความยุติธรรม ความไม่คลาดธรรมในการทางาน อย่าให้ ประชาชนเคลือบแคลงสงสยั นนั่ คือการทางานอยา่ งโปร่งใส ตรงไปตรงมา จากหลกั ทศพิธราชธรรมขา้ งตน้ พบว่า มีความสอดคล้องกบั หลกั ธรรมาภิบาล ไดแ้ ก่ 1) หลัก คุณธรรม เป็ นการกล่าวถึงความถูกตอ้ งดีงาม มีความซื่อสัตย์ ขยนั อดทน ซ่ึงอยู่ในกลุ่มของ ทาน ศีล อาชวะ และขนั ติ 2) หลกั นิติธรรม คือการไม่เลือกปฏิบตั ิหรือแมแ้ ต่การไม่ละเมิดสิทธิของผอู้ ่ืน ถือไดว้ า่ คลา้ ยกบั เร่ืองของ อวิโรธนะ 3) หลักความโปร่งใส คือ ความถูกตอ้ งชดั เจน ซ่ึงสอดคล้องในทิศทาง เดียวกนั กบั อวิหิงสาและอวิโรธนะ 4) หลักการมีส่ วนร่วม เป็ นการให้โอกาสบุคคลมีส่วนในการ วางแผนน้นั ๆ อย่างไรก็ตาม พบวา่ ขอ้ มูลดงั กล่าวสอดคลอ้ งกบั หัวขอ้ มัททวะ ที่ว่าการทางานร่วมกบั ผอู้ ื่นควรตอ้ งมีความสุภาพ อ่อนโยน จะทาให้การงานบรรลุผลสาเร็จ 5) หลักความรับผิดชอบ อาจจะ กล่าวง่าย ๆ คือการมีสานึกในหนา้ ท่ีของตนเอง ดงั น้นั จะตรงกบั หวั ขอ้ ตบะ เป็ นเครื่องเตือนใจในการ ทางาน ไมใ่ หห้ ลงผดิ กบั อานาจ การเห็นผลประโยชน์ในรูปแบบตา่ งๆ และ6) หลกั ความคุ้มค่า เป็ นการทา ให้เกิดประโยชน์ เป็ นแนวทางเดียวกับหัวข้อ ปริ จจาคะ ซ่ึงเป็ นการเสียสละความสุขส่วนตัวเพื่อ ประโยชนส์ ่วนรวม

11 นอกจากทศพธิ ราชธรรมแลว้ ยงั มี จักรวรรดิวัตร 12 และราชสังคหะ 4 ซ่ึงพระมหากษตั ริยไ์ ทยได้ ทรงยดึ ถือเป็น “คติ” ปฏิบตั ิเรื่อยมาจนเป็นจารีต เช่นเดียวกบั รัฐธรรมนูญของสหราชอาณาจกั ร ดงั จะเห็น ไดจ้ ากพระราชกรณียากิจของพระเจา้ อยหู่ วั รัชกาลท่ี 9 ที่ทรงยดึ มาโดยตลอดและดาเนินกุศโลบายและ วเิ ทโศบายต่างๆ ดงั น้นั จึงขอขยายความในส่วนของ จักรวรรดวิ ตั ร 12 และราชสังคหะ 4 ดงั ต่อไปน้ี 2.3 จักรวรรดิวตั รมี 12 ประการ จกั รวรรดิวตั ร 12 (วิมล ไทรนิ่มนวล, 2560: ออนไลน์) คือธรรมอนั เป็ นพระราชจริยานุวตั ร สาหรับพระมหาจกั รพรรดิ และพระราชาเอกในโลก ท้งั น้ี โดยพระมหากษตั ริย์ ผปู้ กครองประชาชน ทรง ถือ และอาศยั ธรรมขอ้ น้ีเป็นธงชยั ไดแ้ ก่ 1) อนฺโตชนสฺมึ พลกายสฺมึ ควรอนุเคราะห์คนในราชสานกั และคนภายนอก ใหม้ ีความสุข ไมป่ ล่อย ปละละเลย 2) ขตฺตเิ ยสุ ควรผกู ไมตรีกบั ประเทศอื่น 3) อนุยนฺเตสุ ควรอนุเคราะห์พระราชวงศานุวงศ์ 4) พรฺ าหฺมณคหปตเิ กสุ ควรเก้ือกลู พราหมณ์ คหบดี และคฤหบดีชน คือเก้ือกลู พราหมณ์และผทู้ ี่อยู่ ในเมือง 5) เนคมชานปเทสุ ควรอนุเคราะห์ประชาชนในชนบท 6) สมณพรฺ าหฺมเณสุ ควรอนุเคราะห์สมณพราหมณ์ผมู้ ีศีล 7) มคิ ปกขฺ สี ุ ควรจกั รักษาฝงู เน้ือ นก และสตั วท์ ้งั หลายมิใหส้ ูญพนั ธุ์ 8) อธมฺมการปฏิกเฺ ขโป ควรหา้ มชนท้งั หลายมิใหป้ ระพฤติผดิ ธรรม และชกั นาดว้ ยตวั อยา่ งใหอ้ ยใู่ น กุศลสุจริต 9) อธนาน ธนานุปฺปทาน ควรเล้ียงดูคนจน เพอื่ มิใหป้ ระกอบการทุจริต กุศลและอกศุ ลต่อสังคม 10) สมณพฺราหฺมเณอุปสงฺกมติ ฺวา ปญฺหาปุจฺฉน ควรเขา้ ใกลส้ มณพราหมณ์ เพอื่ ศึกษาบุญและบาป กุศล และอกศุ ลใหแ้ จง้ ชดั 11) อธมฺมราคสฺส ปหาน ควรหา้ มจิตมิใหต้ อ้ งการไปในที่ที่พระมหากษตั ริยไ์ ม่ควรเสดจ็ 12) วสิ มโลภสฺส ปหาน ควรระงบั ความโลภมิใหป้ รารถนาในลาภที่พระมหากษตั ริยม์ ิควรจะได้ จากหลกั จกั รวรรดิวตั ร 12 พบวา่ มีความสอดคลอ้ งกบั หลกั ธรรมาภิบาลในหวั ขอ้ ตา่ งๆ ไดแ้ ก่ 1) หลัก คุณธรรม เป็ นการกล่าวถึงอนุเคราะห์คนในราชสานัก และคนภายนอก ให้มีความสุข อยู่ในศีล สอดคลอ้ งกบั อนฺโตชนสฺมึ พลกายสฺมึ และสมณพฺราหฺมเณอุปสงฺกมิตฺวา ปญฺหาปุจฺฉน 2) หลกั นิติธรรม คือการไมเ่ ลือกปฏิบตั ิหรือแมแ้ ต่การไม่ละเมิดสิทธิของผอู้ ่ืน ถือไดว้ า่ คลา้ ยกบั เร่ืองของ อธมฺมการปฏิกฺเข โป เป็ นการใหป้ ระชาชนอยใู่ นกฎระเบียบ 3) หลักความโปร่งใส คือ ความถูกตอ้ งชดั เจน ซ่ึงสอดคลอ้ ง

12 ในทิศทางเดียวกบั อวหิ ิงสาและอวโิ รธนะ 4) หลักการมีส่วนร่วม เป็ นการใหโ้ อกาสบุคคลมีส่วนในการ วางแผนบริหารจดั การ พบว่าขอ้ มูลดงั กล่าวสอดคลอ้ งกบั หวั ขอ้ มิคปกฺขีสุ ท่ีกล่าวถึงการวางแผนรักษา สตั วท์ ี่สูญพนั ธ์ใหม้ ีต่อไปจนชว่ั ลูกชว่ั หลาน 5) หลกั ความรับผดิ ชอบ คือการมีสานึกในหนา้ ที่ของตนเอง ดงั น้นั จะตรงกบั หวั ขอ้ วสิ มโลภสฺส ปหาน เป็นเคร่ืองเตือนใจในการทางาน ไมใ่ หห้ ลงผดิ กบั อานาจ ลาภ ยศ ต่างๆ และ6) หลักความคุ้มค่า เป็ นการทาใหเ้ กิดประโยชน์ เป็ นแนวทางเดียวกบั หวั ขอ้ อธนาน ธนา นุปปฺ ทาน ซ่ึงเป็นการเล้ียงดูคนจน เพื่อมิให้ประกอบการทุจริต กุศลและอกุศลต่อสังคม เม่ือมองถึงความ คุม้ ค่า จะเห็นไดว้ า่ ผคู้ นเหล่าน้นั จะยึดหลกั ความดี การให้ การแบ่งปัน เป็ นความคุม้ ค่าท่ีทาให้คนกลุ่มน้ี ไมไ่ ปทาในส่ิงที่เป็นอกุศลต่อผอู้ ่ืน มีแตจ่ ะมุ่งทามาหากินตอ่ ไป 2.4 ราชสังคหวตั ถุ 4 ประการ สังคหวตั ถุของผคู้ รองแผ่นดิน หรือ ราชสังคหวตั ถุ 4 (สังคหวตั ถุของพระราชา, ธรรมเครื่องยึด เหน่ียวจิตใจประชาชน, หลกั การสงเคราะห์ประชาชนของนกั ปกครอง (พจนานุกรมพุทธศาสตร์, 2563: ออนไลน)์ 1) สสั สเมธะ ความฉลาดในการบารุงพืชพนั ธุ์ธญั ญาหาร ส่งเสริมการเกษตร 2) ปุริสเมธะ ความฉลาดในการบารุงขา้ ราชการ รู้จกั ส่งเสริมคนดีมีความสามารถ 3) สัมมาปาสะ ความรู้จกั ผกู ผสานรวมใจประชาชนดว้ ยการส่งเสริมอาชีพ เช่น ให้คนจนกยู้ ืม ทุนไปสร้างตวั ในพาณิชยกรรม เป็นตน้ 4) วาชเปยะ หรือ วาจาเปยยะ ความมีวาจาอนั ดูดดื่มน้าใจ น้าคาควรดื่ม คือ รู้จกั พูด รู้จัก ปราศรัย ไพเราะ สุภาพนุ่มนวล ประกอบดว้ ยเหตุผล มีประโยชน์เป็ นทางแห่งสามคั คี ทาให้ เกิดความเขา้ ใจอนั ดี และความนิยมเชื่อถือ

13 3. พระปฐมบรมราชโองการของรัชกาลท่ี 9 ถึงเวลาแลว้ ที่สงั คมไทยตอ้ งหาทางออกของประเทศไทย คือ การนาหลกั ของ “คุณธรรม” มาใช้ อยา่ งถูกตอ้ ง และการทาอย่างถูกตอ้ ง คือ การน้อมนาคาสอนของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิ พลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์สูงสุดต่อปวงชนชาวไทย เม่ือวนั ท่ี 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ้งั การพระราชพิธีบรมราชาภิเษกตามแบบอยา่ งโบราณราชประเพณี ข้ึน ณ พระท่ีนง่ั ไพศาลทกั ษิณ เฉลิมพระปรมาภิไธยตามท่ีจารึกในพระสุพรรณบฏั ว่า พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรามาธิบดี จกั รีนฤบดินทร สยามมินทราธิราช บรมนาถ บพิตร พระราชทานพระปฐมบรมราชโองการวา่ \"เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพ่ือประโยชน์สุขแห่ง มหาชนชาวสยาม\" ดงั แสดงในรูปท่ี 7 รูปท่ี 7 พระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ท่ีมา : วกิ ิพเี ดีย, 2563: ออนไลน์ ตลอดระยะเวลา 70 ปี ท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เสด็จ ข้ึนครองราชยต์ ้งั แต่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2485 จนถึง 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 พระองค์ทรงยึดมนั่ ในหลัก ทศพิธราชธรรมมาโดยตลอด จากการสูญเสียคร้ังย่ิงใหญ่ของคนไทยทว่ั ประเทศ เม่ือวนั ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เม่ือสานัก พระราชวงั ออกแถลงการณ์ช่วงหวั ค่าวนั น้นั อย่างเป็ นทางการว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิ พลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรามาธิบดี จกั รีนฤบดินทร สยามมินทราธิราช บรมนาถบพติ ร เสด็จสวรรคต ณ โรงพยาบาลศิริราช เวลา 15.52 น.

14 “ในหลวงรัชกาลท่ี 9 สวรรคต” จึงเป็ นข่าวใหญ่สุดในรอบปี 2559 พระองคไ์ ม่เพียงเป็ นกษตั ริย์ ผทู้ รงเป็นศนู ยร์ ่วมจิตใจของชาวไทยเท่าน้นั พระบารมีแผไ่ พศาลไปทวั่ โลก เห็นไดจ้ ากท่ีประชุมสมชั ชา สหประชาชาติ (UNGA) จดั ประชุมสมยั พิเศษ โดยมีผูแ้ ทนจากภูมิภาคต่าง ๆ น้ันกล่าวสดุดีอย่างน่า ประทบั ใจ ดงั แสดงในรูปที่ 8 สื่อต่างประเทศไดน้ าเสนอข่าวการสวรรคตและพระราชกรณียกิจท่ีทรง ปฏิบตั ิตลอด 70 ปี แห่งการครองราชย์ \"ราชนั ผยู้ งิ่ ใหญ\"่ รูปที่ 8 ที่ประชุมสมชั ชาสหประชาชาติ ท่ีมา : ข่าวสดออนไลน์, 2559 : ออนไลน์ เมื่อวนั ท่ี 1 ธนั วาคม พ.ศ. 2559 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร มีพระราช ดารัสตอบรับการข้ึนทรงราชยเ์ ป็ นพระมหากษตั ริยส์ ืบราชสันตติวงศ์ ดงั แสดงในรูปที่ 9 ความตอนหน่ึง วา่ “ตามท่ีประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ปฏิบัติหน้าท่ีประธานรัฐสภาได้กล่าวในนาม ของปวงชนชาวไทย เชิญข้าพเจ้าขึน้ ครองราชย์เป็ นพระมหากษัตริย์ ว่าเป็ นไปตามพระราช ประสงค์ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ว่าด้วยการ สืบราชสันตติวงศ์กับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยน้ัน ข้าพเจ้าขอตอบรับเพื่อสนอง พระราชปณิธานและเพ่ือประโยชน์ของประชาชนชาวไทยท้ังปวง”

15 รูปท่ี 9 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมารทรงรับข้ึนทรงราชยเ์ ป็นพระเจา้ อยหู่ วั ที่มา : สนุกดอทคอม, 2563 : ออนไลน์ และ กระปุกดอทคอม, 2563 : ออนไลน์ เม่ือวนั ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ท่ีห้องรอยลั จูบิลี่ บอลรูม อาคารชาเลนเจอร์ เมืองทองธานี พล.อ.ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เผยในหลวงรัชกาลท่ี 10 รับสั่งให้น้อมนาและปฏิบตั ิตาม ศาสตร์ของพระราชาแห่งพระบรมชนกนาถในการบริหารประเทศ ทรงย้าใหใ้ ชต้ อ่ ไป อยา่ ให้นอ้ ยกวา่ เดิม ดงั ความวา่ \"สมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัวพระองค์ใหม่รับสั่งกับรัฐบาลและรัฐมนตรีบางท่านว่า ขอให้รัฐบาลทา หน้าท่ี เพื่อให้ประชาชนมีความสุขให้มากท่ีสุดในรัชกาลปัจจุบัน โดยใช้แนวทางของสมเดจ็ พระบรมชนกนาถ ซ่ึงได้ทรงทามาตลอด 70 ปี ท่ีผ่านมา ท่านทรงให้สืบสานต่อในสิ่งเหล่านี้ ไม่ให้ เส่ื อมถอยหรื อน้ อยลงไปกว่าเดิม” 4. พระปฐมบรมราชโองการของรัชกาลท่ี 10 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2560 หมวด 1 บททว่ั ไป มาตรา 3 อานาจ อธิปไตยเป็ นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข ทรงใช้อานาจน้ันทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรีและศาล ตามบทบญั ญตั ิแห่งรัฐธรรมนูญ ประเทศไทยหลงั เปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ถึงปัจจุบนั ช่วงหลงั การเปลี่ยนแปลงการปกครองระหวา่ งปี พ.ศ. 2475-2516 อานาจอยใู่ นมือขา้ ราชการ เป็ น การปกครองซ่ึงอานาจการปกครองและการบริหารข้ึนอยกู่ บั ขา้ ราชการ โดยเฉพาะขา้ ราชการประจาและ ขา้ ราชการทหารเป็นสาคญั โดยทหารจะไดอ้ านาจมาจากการปฏิวตั ิ รัฐประหาร การเลือกต้งั เป็ นเพียงพิธี

16 การเพื่อให้เป็ นไปตามระบอบประชาธิปไตยที่ไม่ได้มีความสาคัญ ได้มีการปฏิวตั ิข้ึนเมื่อวนั ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 โดยคณะราษฎร์ ทหารเป็นผกู้ มุ อานาจทางการเมืองจึงทาให้ฝ่ ายทหารเขา้ มามีอานาจ ในการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ที่ไม่เสี ยเลือดเน้ื อ เปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชยม์ าเป็ นการปกครองท่ีมีรัฐธรรมนูญเป็ นหลกั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็ นประมุข และมีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ ปัจจุบนั ประชาชนมีความรู้และความเขา้ ใจในระบอบ ประชาธิปไตยมากข้ึน รัฐบาลใหส้ ิทธิ เสรีภาพ ความเสมอภาคแก่ประชาชนในการคิดและตดั สินใจเท่า เทียมกนั มากข้ึน พ.ศ.2562 มีพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก สมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวราง กูร เสด็จเถลิงด้วยราชสมบตั ิเป็ นพระมหากษตั ริยแ์ ห่งประเทศไทย พร้อมท้งั เฉลิมพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระวชิรเกลา้ เจา้ อย่หู วั พระมหากษตั ริยร์ ัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศจ์ กั รีอยา่ งสมบูรณ์ตาม โบราณราชประเพณี ดงั แสดงในรูปที่ 10 และในวนั ท่ี 4 พฤษภาคม 2562 พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั มี พระปฐมบรมราชโองการพระราชทานอารักขาแก่ประชาชนชาวไทย ความวา่ “เราจะสืบสาน รักษาและ ต่อยอด และครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งอาณาราษฎรตลอดไป” รูปท่ี 10 สมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู ไดท้ รงรับบรมราชาภิเษกข้ึนเป็น พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ มหิศรภูมิพลราชวรางกรู กิติสิริสมบูรณอดุลยเดช สยามินทราธิเบศราชวโรดม บรมนาถบพติ ร พระวชิรเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ที่มา : ไทยรัฐออนไลน์, 2562 : ออนไลน์.

17 ถึงเวลาที่ประชาชนคนไทยท้งั ชาติ ตอ้ งมาเดินตามรอยศาสตร์ของพระราชา พระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 ที่ทรงปกครองบา้ นเมืองดว้ ยทศพิธราชธรรม ตลอดมา 5. ความเป็ นมาของหลกั ธรรมาภิบาลในประเทศไทย หลักธรรมาภิบาล คือ หลกั การบริหารกิจการบา้ นเมืองและสังคมท่ีดี หรืออาจเรียกว่า “การ บริหารกิจการบา้ นเมืองท่ีดี” (Good Governance) หลักธรรมาภิบาล เป็ นหลักการหรือการอยู่ร่วมกันในบ้านเมืองและสังคมอย่างมีความสุข สามารถประสานประโยชน์ คล่ีคลายปัญหาขอ้ ขดั แยง้ โดยสันติวิธี และพฒั นาสังคมใหม้ ีความยงั่ ยนื แต่ หากพิจารณาตามความหมายที่สถาบนั วิจยั เพื่อการพฒั นาประเทศ (TDRI) ได้ให้ความหมายไว้ พบว่า “ธรรมาภิบาล” มาจาก “ธรรม” (แปลวา่ คุณความดี) รวมกบั คาวา่ “อภิ” (แปลว่า ย่ิง) และคาวา่ “บาล” (แปลวา่ ปกครองหรือเล้ียงดู) ดงั น้นั คาวา่ “ธรรมาภิบาล” จึงหมายถึง การบริหารการปกครองท่ีมีความ ถูกตอ้ ง มีความยตุ ิธรรมและมีคุณความดีอยา่ งยงิ่ ซ่ึงตรงกบั ภาษาองั กฤษวา่ “Good Governance” แนวความคิดเรื่องธรรมาภิบาลในประเทศไทยไดถ้ ูกนามาใชใ้ นการบริหารจดั การประเทศอยา่ ง ชดั เจนคร้ังแรกในแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 8 (พ.ศ. 2540-2544) ซ่ึงได้กาหนด \"ยุทธศาสตร์การพฒั นาประชารัฐ\" เป็ นเพียงหลกั การกวา้ ง ๆ ที่ยงั ขาดแนวคิด และแนวปฏิบตั ิเกี่ยวกบั ธรรมาภิบาลท่ีเป็ นรูปธรรม ต่อมาในปี พ.ศ. 2542 รัฐบาลไดอ้ อกระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรี เม่ือวนั ท่ี 10 สิงหาคม พ.ศ. 2542 ใหท้ ุกหน่วยงานของรัฐดาเนินการบริหารจดั การบา้ นเมืองและสังคม โดยยึดหลกั ธรรมาภิบาล 6 ประการ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) แนวคิดและแนวปฏิบตั ิดา้ น ธรรมาภิบาลเร่ิมมีความชดั เจนเป็นรูปธรรมมากยงิ่ ข้ึน โดยแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 9 ไดก้ าหนด “ยุทธศาสตร์ การสร้างระบบการบริหารจดั การที่ดีในประเทศไทย” เป็ นแนวทางพฒั นาระบบบริหารจดั การที่ดีอยา่ ง ต่อเน่ืองจากแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 8 และนา “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” มาเป็ นพ้ืนฐานการพฒั นา ท้งั การดาเนินชีวิตในทางสายกลาง การยึดถือหลกั ความพอเพียง การนาความรู้ต่าง ๆ มาใชอ้ ยา่ งรอบคอบ และการเสริมสร้างพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติใหเ้ กิดมโนสานึกในคุณธรรม พ.ศ. 2546 รัฐบาลไดอ้ อกพระราชกฤษฎีกาวา่ ดว้ ยหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการบริหารกิจการบา้ นเมือง ที่ดี พ.ศ. 2546 ไดก้ าหนดขอบเขตความหมายของคาวา่ “การบริหารกิจการบา้ นเมืองที่ดี” ในภาพรวม ซ่ึง เป็นการช้ีใหเ้ ห็นวตั ถุประสงคข์ องการบริหารราชการท่ีกาหนดในพระราชกฤษฎีกา พ.ศ. 2547 สานกั นายกรัฐมนตรีไดอ้ อกประกาศระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรี ลงวนั ท่ี 9 สิงหาคม พ.ศ. 2547 เพือ่ ยกเลิกระเบียบฯ เม่ือวนั ท่ี 10 สิงหาคม พ.ศ. 2542

18 พ.ศ. 2549 คณะรัฐมนตรีมีมติเม่ือวนั ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2549 เห็นชอบวาระแห่งชาติด้าน จริยธรรม ธรรมาภิบาลและการป้ องกนั การทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือ ทาให้ประชาชนเกิดความมน่ั ใจ ศรัทธาและไวว้ างใจในการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาลและ หน่วยงานภาคราชการ รวมถึงตวั ขา้ ราชการและเจา้ หน้าที่ในทุกระดบั โดยเฉพาะการใช้อานาจรัฐและ การใชจ้ ่ายเงินแผน่ ดิน ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2550 ระบุเก่ียวกบั หลกั ธรรมาภิบาลของการบริหาร กิจการบา้ นเมืองที่ดีไวใ้ นหมวด 4 มาตรา 74 วรรคหน่ึง “บคุ คลผ้เู ป็นข้าราชการ ลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือเจ้าหน้าท่ีอ่ืนของรัฐ มีหน้าท่ีดาเนินการให้เป็ นไปตามกฎหมายเพื่อ รักษาประโยชน์ส่วนรวม อานวยความสะดวกและให้บริการแก่ประชาชนตามหลักธรรมาภิบาลของการ บริ หารกิจการบ้ านเมืองที่ดี” แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) ใหค้ วามสาคญั อยา่ งยงิ่ กบั การเสริมสร้างธรรมาภิบาลให้เกิดข้ึนในการบริหารจัดการประเทศอย่างแท้จริง จึงกาหนดให้มี ยทุ ธศาสตร์การเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจดั การประเทศ ซ่ึงเป็ นยทุ ธศาสตร์สาคญั ท่ีจะมีส่วน สนบั สนุนการขบั เคลื่อนพนั ธกิจและยทุ ธศาสตร์อื่น ๆ 5.1 ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างธรรมาภบิ าลในการบริหารจัดการประเทศ มุง่ เสริมสร้างความเป็ น ธรรมในสังคมอยา่ งยงั่ ยนื โดยใหค้ วามสาคญั กบั 7 แนวทางการพฒั นา ดงั น้ี 1. การเสริมสร้างและพฒั นาวฒั นธรรมประชาธิปไตยและธรรมาภิบาลให้เป็ นส่วนหน่ึงของ วถิ ีการดาเนินชีวติ ในสงั คมไทย 2. เสริมสร้างความเขม้ แข็งของภาคประชาชนให้สามารถเข้าร่วมในการบริหารจดั การ ประเทศ 3. สร้างภาคราชการท่ีมีประสิทธิภาพและมีธรรมาภิบาล เน้นการบริการแทนการกากับ ควบคุม และทางานร่วมกบั หุน้ ส่วนการพฒั นา 4. การกระจายอานาจการบริหารจดั การประเทศสู่ภูมิภาค ทอ้ งถ่ินและชุมชนเพิม่ ข้ึนตอ่ เน่ือง 5. ส่งเสริมภาคธุรกิจเอกชนใหเ้ กิดความเขม้ แขง็ สุจริตและมีธรรมาภิบาล 6. การปฏิรูปกฎหมาย กฎระเบียบและข้นั ตอน กระบวนการเกี่ยวกบั การพฒั นาเศรษฐกิจและ สังคม เพือ่ สร้างความสมดุลในการจดั สรรประโยชนจ์ ากการพฒั นา 7. การรักษาและเสริมสร้างความมนั่ คงเพ่ือสนบั สนุนการบริหารจดั การประเทศสู่ดุลยภาพ และความยง่ั ยนื พ.ศ. 2552 รัฐบาลไดอ้ อกระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรีวา่ ดว้ ยคณะกรรมการธรรมาภิบาลจงั หวดั พ.ศ. 2552 โดยประกาศราชกิจจานุเบกษา เม่ือวนั ที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2552 และมีผลบงั คบั ใช้กับ หน่วยงานของรัฐต้งั แต่วนั ที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2552 ให้มีคณะกรรมการธรรมาภิบาลจงั หวดั คณะหน่ึง เรียกโดยยอ่ วา่ “ ก.ธ.จ.” ประกอบดว้ ยผตู้ รวจราชการสานกั นายกรัฐมนตรีซ่ึงมีเขตอานาจในจงั หวดั เป็ น

19 ประธาน และผแู้ ทนภาคประชาสังคม ผูแ้ ทนสมาชิกสภาทอ้ งถ่ินและผแู้ ทนภาคธุรกิจเอกชนในจงั หวดั น้นั เป็นกรรมการ จานวนกรรมการใน ก.ธ.จ. ใหถ้ ือเกณฑจ์ านวนอาเภอของแตล่ ะจงั หวดั ดงั น้ี 1. จงั หวดั ท่ีมีไมเ่ กิน 10 อาเภอ ใหม้ ีกรรมการจานวนไม่เกิน 14 คน 2. จงั หวดั ที่มีไม่เกิน 15 อาเภอ ใหม้ ีกรรมการจานวนไมเ่ กิน 16 คน 3. จงั หวดั ที่มีไมเ่ กิน 20 อาเภอ ใหม้ ีกรรมการจานวนไม่เกิน 18 คน 4. จงั หวดั ที่มีต้งั แต่ 20 อาเภอข้ึนไป ใหม้ ีกรรมการจานวน 20 คน วาระการดารงตาแหน่งคราวละ 3 ปี และจะดารงตาแหน่งติดต่อกนั เกิน 2 วาระไม่ได้ ก.ธ.จ. มี อานาจหนา้ ที่ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. สอดส่องการปฏิบตั ิภารกิจของหน่วยงานของรัฐและเจา้ หนา้ ท่ีของรัฐในจงั หวดั ให้ใชว้ ิธีการ บริหารกิจการบา้ นเมืองท่ีดี ตามพระราชกฤษฎีกาวา่ ดว้ ยหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการบริหารกิจการบา้ นเมืองท่ีดี 2. แจง้ ให้ผูว้ ่าราชการจงั หวดั หัวหน้าส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอ่ืนของรัฐที่ เก่ียวขอ้ งแลว้ แต่กรณี ดาเนินการตามอานาจหนา้ ท่ี ในกรณีที่พบวา่ มีการละเลยไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอ้ บงั คบั หรือมีกรณีทุจริต 3. เสนอแนะแนวทางการปฏิบตั ิและการส่งเสริมตามหลกั คุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาล เพ่ือการบริหารกิจการบา้ นเมืองท่ีดีของหน่วยงานของรัฐและเจา้ หนา้ ที่ของรัฐแก่ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั และ หน่วยงานของรัฐในจงั หวดั 4. ติดตามการปฏิบตั ิตามมติ ก.ธ.จ. 5. แต่งต้งั ท่ีปรึกษาดา้ นวชิ าการ การประชาสมั พนั ธ์ หรือดา้ นอ่ืน จานวนไม่เกิน 3 คน 6. เผยแพร่ผลการปฏิบตั ิหนา้ ที่ตอ่ สาธารณะตามท่ีเห็นสมควร แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 11 (พ.ศ. 2555-2559) คงยึดหลกั “ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง” และ “คนเป็ นศูนยก์ ลางของการพฒั นา” รวมท้งั “สร้างสมดุลการพฒั นา” ในทุกมิติ มีพนั ธกิจดงั น้ี สร้างความเป็ นธรรมในการกระจายรายได้ ควบคู่กบั การสร้างสังคมคุณธรรม เพื่อให้คน กินดีอยดู่ ี มีคุณภาพชีวิตท่ีดี ปลอดภยั จากอาชญากรรม อุบตั ิเหตุ ยาเสพติดและอบายมุข คนในสังคมอยู่ ร่วมกนั อยา่ งสนั ติสุข มีวฒั นธรรมประชาธิปไตยและธรรมาภิบาล เม่ือวนั ที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2555 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในการประชุม ครม. ตามที่ สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ (ก.พ.ร.) เสนอ เรื่อง “หลกั ธรรมาภิบาลของการบริหาร กิจการบา้ นเมืองที่ดี” ประกอบดว้ ย 4 หลกั การสาคญั และ 10 หลกั การยอ่ ย ดงั น้ี 1. การบริหารจดั การภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) 1.1 หลกั ประสิทธิภาพ (Efficiency) 1.2 หลกั ประสิทธิผล (Effectiveness) 1.3 หลกั การตอบสนอง (Responsiveness) 2. ค่านิยมประชาธิปไตย (Democratic Value)

20 2.1 ภาระรับผดิ ชอบ/สามารถตรวจสอบได้ (Accountability) 2.2 เปิ ดเผย/โปร่งใส (Transparency) 2.3 หลกั นิติธรรม (Rule of Law) 2.4 ความเสมอภาค (Equity) 3. ประชารัฐ (Participatory State) 3.1 การมีส่วนร่วม/การพยายามแสวงหาฉนั ทามติ (Participation/ Consensus Oriented) 3.2 การกระจายอานาจ (Decentralization) 4. ความรับผดิ ชอบทางการบริหาร (Administrative Responsibility) คุณธรรม/จริยธรรม (Morality/ Ethic) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) ดา้ นธรรมาภิบาลปัจจุบนั ประเทศไทยจะตอ้ งให้ความสาคญั กบั เรื่องธรรมาภิบาลอยา่ งเร่งด่วน จากการประเมินผา่ นดชั นีความอยู่ เยน็ เป็นสุขร่วมกนั ในสังคมช้ีวา่ สังคมไทยในภาพรวม มีความเป็ นสุขร่วมกนั อยใู่ นระดบั ปานกลางในปี 2556 แต่องคป์ ระกอบดา้ นสังคมประชาธิปไตยที่มีธรรมาภิบาลอยใู่ นระดบั ท่ีตอ้ งเร่งแกไ้ ข สถานการณ์ ดงั กล่าวถือเป็ นความจาเป็ นของประเทศไทยที่จะตอ้ งให้ความสาคญั กบั เรื่องธรรมาภิบาลอยา่ งเร่งด่วน เน่ืองจากสถานการณ์วกิ ฤตคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลของสังคมไทย ขณะน้ีการทุจริตไดม้ ีการสะสมตวั และลุกลามสู่ทุกภาคส่วน ไดแ้ ก่ ภาคการเมืองท้งั ระดบั ชาติ และระดบั ทอ้ งถิ่นที่มีการซ้ือสิทธ์ิขายเสียงกบั ผลประโยชน์รัฐ หน่วยงานภาครัฐมีระบบการบริหารงานท่ี ไม่เป็ นธรรมาภิบาล มีการใชอ้ านาจหน้าท่ีมิชอบ หาผลประโยชน์ให้กบั ตนเองและพวกพอ้ ง ภาคธุรกิจ บางส่วนร่วมมือกบั นกั การเมืองและขา้ ราชการกระทาการทุจริต สามารถศึกษาไดจ้ ากของ พลเอก ดร. กิตติศกั ด์ิ รัฐประเสริฐ พ.ศ. 2557 ซ่ึงเกี่ยวกบั เรื่อง “การทุจริตประพฤติมิชอบในวงราชการไทย : การ สังเคราะห์องคค์ วามรู้ดา้ นแนวทางการแกไ้ ขจากผูน้ าและบุคคลสาคญั ของประเทศไทย” งานชิ้นน้ีเป็ น ดุษฎีนิพนธ์อนั เป็ นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกั สูตรปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาการบริหารการ พฒั นา แขนงวิชาการพฒั นาสังคม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา พ.ศ. 2557 นอกจากน้ีมีบทความวิชาการ เรื่อง การทุจริตในวงราชการไทย : การสังเคราะห์องค์ความรู้ดา้ นแนว ทางการแกไ้ ขปัญหาตามหลกั ธรรมาภิบาลจากบุคคลสาคญั ของประเทศไทย(กิตติศกั ด์ิ รัฐประเสริฐ, 2559) ซ่ึงได้รับรางวลั การนาเสนอผลงานระดับดี ผลงานดังกล่าวนามาสู่การเสนอแนวคิดในการ แกป้ ัญหาการทุจริตคอรัปชนั ระดบั ประเทศ 5.2 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญตั ิเกย่ี วกบั การปกครองด้วยหลกั ธรรมาภิบาล ในปัจจุบันได้มีการโปรดเกล้าฯ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 20 เม่ือวนั ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2560 เป็ นปี ที่ 2 ในรัชกาลปัจจุบนั ซ่ึงมีการบญั ญตั ิเก่ียวกบั การปกครองดว้ ยหลกั ธรรมาภิ บาลแนวทางประชารัฐภายใตก้ ฎเกณฑ์ตามหลกั การปกครองในระบอบประชาธิปไตย และประเพณีการ

21 ปกครองท่ีเหมาะสมกบั สถานการณ์และลกั ษณะสังคมไทย หลกั ความสุจริต หลกั สิทธิมนุษยชน และ หลกั ธรรมาภิบาล อนั จะทาใหส้ ามารถขบั เคล่ือนประเทศใหพ้ ฒั นาไปขา้ งหนา้ ไดอ้ ยา่ งเป็ นข้นั ตอนจนเกิด ความม่ันคง ม่ังค่ังและย่งั ยืน ท้ังในทางการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจและสังคมตามระบอบ ประชาธิปไตยไทยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข ดงั ขอ้ มูลต่อไปน้ี หมวด ๖ แนวนโยบายแห่งรัฐ มาตรา ๖๕ - รัฐพึงจดั ใหม้ ียทุ ธศาสตร์ชาติเป็นเป้ าหมายการพฒั นาประเทศอยา่ งยงั่ ยืนตามหลกั ธรรมาภิบาล เพื่อใช้เป็ นกรอบในการจดั ทาแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกันเพื่อให้เกิดเป็ นพลงั ผลกั ดนั ร่วมกนั ไปสู่เป้ าหมายดงั กล่าว - การจดั ทา การกาหนดเป้ าหมาย ระยะเวลาท่ีจะบรรลุเป้ าหมาย และสาระที่พึงมีในยุทธศาสตร์ ชาติให้เป็ นไปตามหลกั เกณฑ์และวิธีการที่กฎหมายบญั ญตั ิ ท้งั น้ี กฎหมายดังกล่าวต้องมีบทบญั ญตั ิ เกี่ยวกบั การมีส่วนร่วมและการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนทุกภาคส่วนอยา่ งทว่ั ถึงดว้ ย - ยทุ ธศาสตร์ชาติ เม่ือไดป้ ระกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว้ ใหใ้ ชบ้ งั คบั ได้ 5.3 หลกั ธรรมาภิบาล หลกั ธรรมาภิบาลในการบริหารจดั การในทุก ๆ ดา้ น มี 6 ประการ ดงั น้ี 1. หลกั คุณธรรม (morality) คือ การยึดมน่ั ในความถูกตอ้ งดีงาม การส่งเสริมให้บุคลากรพฒั นา ตนเองไปพร้อมกนั เพื่อให้บุคลากรมีความซื่อสัตย์ จริงใจ ขยนั อดทน มีระเบียบวินัย ประกอบอาชีพ สุจริ ตเป็ นนิสัยประจาชาติ 2. หลกั นิติธรรม (the rule of law) คือ การปฏิบตั ิตามกฎหมาย กฎระเบียบต่าง ๆ ซ่ึงรวมถึงการ ไมเ่ ลือกปฏิบตั ิ การไมท่ าตามอาเภอใจ การไมล่ ะเมิดกฎหมายและการไม่ละเมิดสิทธิของคนอ่ืน 3. หลกั ความโปร่งใส (accountability) คือ ความถูกตอ้ งชดั เจน ปฏิบตั ิตามหลกั การที่ควรจะเป็ น รวมถึงการสร้างความไวว้ างใจซ่ึงกนั และกนั มีกระบวนการตรวจสอบความถูกตอ้ งได้ รวมท้งั การให้และ รับขอ้ มลู ที่เป็นจริง ตรงไปตรงมา ทนั เวลา ในระดบั กิจการอาจแปลความหมายของ \"accountability\" เป็ น \"ความรับผิดชอบที่อธิบายได้ ซ่ึงเป็ นภาระบทบาทของผูบ้ ริหารในแง่ขอ้ ผูกพนั หรือความเต็มใจท่ีจะ ยอมรับความรับผิดชอบ รวมท้งั ความสามารถในการรายงานช้ีแจงให้เหตุผลเพ่ืออธิบายการกระทาของ ตนเอง และสามารถตอบคาถามของทุกฝ่ ายท่ีเก่ียวขอ้ งได้ในทุกท่ีทุกโอกาส เพื่อแจกแจงอธิบายการ กระทาท้งั หมดท่ีตนรับผดิ ชอบ”

22 4. หลกั การมีส่วนร่วม (participation) คือ การให้โอกาสบุคลากรหรือผมู้ ีส่วนเกี่ยวขอ้ งเขา้ มามี ส่วนร่วมทางการบริหารจดั การเก่ียวกบั การตดั สินใจในเรื่องต่าง ๆ เช่น เป็ นคณะกรรมการและ/หรือ คณะทางานโดยใหข้ อ้ มูล ความคิดเห็น แนะนาปรึกษา ร่วมวางแผนและร่วมปฏิบตั ิ 5. หลกั ความรับผดิ ชอบ (responsibility) คือ ความรับชอบในงานของตน ความรับผิดชอบต่อการ กระทาของตนเอง รวมถึงการตระหนกั และสานึกในสิทธิและหนา้ ท่ี 6. หลกั ความคุม้ ค่า (cost-effectiveness of economy) คือ การบริหารจดั การให้เกิดประโยชน์ สูงสุดในระดบั บุคคล ความคุม้ คา่ เทียบเคียงไดก้ บั ความประหยดั ไมฟ่ ่ ุมเฟื อยและใชท้ รัพยากรที่มีอยอู่ ยา่ ง จากดั ใหเ้ กิดประโยชน์อยา่ งคุม้ ค่าและรักษาทรัพยากรธรรมชาติใหย้ ง่ั ยนื 6. การวเิ คราะห์ดชั นีชี้วดั ภาพลกั ษณ์ปัญหาคอร์รัปชัน ปี 2562 องค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ (Transparency International - TI) เผยแพร่ดชั นีช้ีวดั ภาพลกั ษณ์การคอร์รัปชนั ในภาครัฐทว่ั โลก (Corruption Perception Index - CPI) ประจาปี 2019/2562 นับเป็ นคร้ังท่ี 25 ผลปรากฏว่าประเทศไทยได้ 36 คะแนน จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน ซ่ึงไม่ เปลี่ยนแปลงจากปี 2561 แตป่ รับตวั ลดลงเป็นลาดบั ท่ี 101 จากอนั ดบั 99 เมื่อปี ที่แลว้ หลงั จากลาดบั ลดลง มาอยา่ งต่อเน่ืองต้งั แต่ปี 2559 ดงั แสดงในรูปที่ 11 และ รูปท่ี 12 รูปท่ี 11 ผลคะแนนดชั นีช้ีวดั ภาพลกั ษณ์การคอร์รัปชนั ของประเทศไทย ปี 2562 ที่มา: transparency international, 2019 : online

23 รูปที่ 12 คะแนนดชั นีช้ีวดั ภาพลกั ษณ์การคอร์รัปชนั ยอ้ นหลงั ของประเทศไทย ท่ีมา: บีบีซีนิวส์ไทย, 2563: ออนไลน์ TI ซ่ึงมีสานกั งานใหญใ่ นกรุงเบอร์ลิน เยอรมนี ระบุวา่ ดชั นีภาพลกั ษณ์การคอร์รัปชนั ท่ีเผยแพร่ ออกมาล่าสุดน้ี โดยภาพรวมในปี 2562 หลายประเทศมีพฒั นาการในดา้ นการต่อตา้ นการคอร์รัปชนั เพียง เล็กนอ้ ย บางประเทศถือวา่ ไม่มีพฒั นาการเลย ในรายงานฉบบั น้ียงั ระบุอีกว่า เม่ือปี ท่ีผ่านมามีความเคลื่อนไหวต่อตา้ นการคอร์รัปชนั ทว่ั โลก และมีคนหลายลา้ นคนออกมาพูดถึงการต่อตา้ นคอร์รัปชนั ท่ีเกิดข้ึนในรัฐบาลของพวกเขา ในขณะที่ คอร์รัปชนั เกิดข้ึนในบุคคลระดบั สูงในรัฐบาล รวมไปจนถึงการติดสินบนเล็กนอ้ ย ท่ีเป็ นอุปสรรคในการ เขา้ ถึงบริการสาธารณะพ้ืนฐาน เช่น การรักษาสุขภาพ การศึกษา ทาให้ประชาชนจาตอ้ งทนอยู่กบั ผนู้ า หรือองค์กรคอร์รัปชนั ส่ิงเหล่าน้ีทาให้เกิดความสิ้นหวงั ในสังคมต่อความเช่ือมนั่ ในรัฐบาลและเป็ น ตวั การกร่อนทาลายความเชื่อมนั่ ของสังคมต่อผูน้ าทางการเมือง เจา้ หนา้ ที่ท่ีไดร้ ับการเลือกต้งั รวมถึง ระบอบประชาธิปไตย ดชั นีภาพลกั ษณ์การคอร์รัปชนั ในภาครัฐทว่ั โลกในปี ท่ีแลว้ ช้ีวา่ 2 ใน 3 ของประเทศต่าง ๆ ทวั่ โลก ทาคะแนนไดไ้ ม่ถึง 50 คะแนน ซ่ึงไทยกเ็ ป็นหน่ึงในน้นั โดยทาคะแนนได้ 36 คะแนน เท่ากบั ปี ก่อน หนา้ ขณะท่ีคะแนนเฉลี่ยอยทู่ ี่ 43 (บีบีซีนิวส์ไทย, 2563: ออนไลน์) เวียดนามแซงไทย เม่ือพิจารณาคะแนนและอนั ดับในกลุ่มประเทศในอาเซียน พบว่า แมว้ ่า คะแนนของไทยจะเท่าเดิม แตอ่ นั ดบั ของไทยกลบั ลดลง เนื่องจากเวียดนามสามารถทาคะแนนไดด้ ีกวา่ ที่

24 37 คะแนน จาก 100 คะแนน ทาใหไ้ ต่มาท่ีอนั ดบั ท่ี 98 ของโลก และอนั ดบั ที่ 5 ในอาเซียน แทนตาแหน่ง ไทยเม่ือปี 2561 ดงั ตารางที่ 1 ตารางท่ี 1 คา่ คะแนน CPI ประจาปี 2562 ในกลุ่มประเทศอาเซียน ที่มา: สานกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ, 2563 : ออนไลน์ ประเทศท่ีอยใู่ นอนั ดบั ตน้ ๆ ของ CPI ไดแ้ ก่ เดนมาร์ก นิวซีแลนด์ โดยทาคะแนนได้ 87 ตามมา ดว้ ยฟิ นแลนด์ ท่ีมีคะแนน 86 สิงคโปร์ สวีเดน และสวิตเซอร์แลนด์ ทาคะแนนไดป้ ระเทศละ 85 ส่วน ประเทศร้ังทา้ ย ไดแ้ ก่ เวเนซูเอลา เยเมน ซีเรีย เซาทซ์ ูดาน และโซมาเลีย ทาคะแนนได้ 16, 15, 13, 12 และ 9 ตามลาดบั 6.1 วเิ คราะห์ปัญหาการทจุ ริตคอร์รัปชันของปี พ.ศ. 2562 เม่ือวเิ คราะห์ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชนั ของประเทศไทย ซ่ึงมีมาเป็ นเวลาชา้ นาน เปรียบเสมือน โรคมะเร็งร้ายของประเทศ สามารถดูไดจ้ ากผลการสารวจขององคก์ ร TI จดั อนั ดบั การทุจริตคอร์รัปชนั ของประเทศไทย มีการทุจริตคอร์รัปชันค่อนขา้ งมาก โดยดูได้จากข้อมูลท่ีใช้ในการจดั ทาดชั นีช้ีวดั ภาพลกั ษณ์ปัญหาคอร์รัปชนั (Corruption Perception Index: CPI) เม่ือยอ้ นอดีตท่ีผา่ นมาพบวา่ ประเทศ ไทยไดค้ ่า CPI ท่ี 27.9 ในปี 2538 และต่อมาไดค้ ่า CPI ท่ี 38 ในปี 2548, 2557 และ 2558 ส่วนในปี 2561 และ 2562 ค่า CPI กลบั ตกลงมาท่ี 36 แสดงวา่ ปัญหาการทุจริตของประเทศไทยยงั อยใู่ นข้นั ต่ากว่า 40 จาก 100 ถือวา่ สอบตกมาตลอดระยะเวลา 20 กวา่ ปี ที่ผา่ นมา นอกจากน้ี การวิเคราะห์ขอ้ มูลของการทุจริตคอร์รัปชันเพ่ือหาทางออกของสังคมไทยน้ัน จาเป็ นตอ้ งมีขอ้ มูลรอบดา้ นจากแหล่งขอ้ มูลอื่น ๆ มาวิเคราะห์ดว้ ย ซ่ึงพบว่า จากแหล่งขอ้ มูล 9 แหล่ง

25 ประเทศไทยไดค้ ะแนนสูงข้ึน 3 แหล่ง คะแนนเท่าเดิม 4 แหล่ง คะแนนลดลง 2 แหล่ง ดงั น้ี (วรวทิ ย์ สุข บุญ, 2563) 1. แหล่งขอ้ มูลที่ไทยไดค้ ะแนนสูงกวา่ ปี 2561 มี 3 แหล่ง คือ 1.1 แหล่งขอ้ มูล World Competitiveness Yearbook (IMD) ปี 2562 ได้ 45 คะแนน ปี 2561 ได้ 41 คะแนน (เพิ่มข้ึน 4 คะแนน) IMD สารวจขอ้ มูลประมาณเดือนมกราคม-เมษายนของทุกปี เกี่ยวกบั ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศไทย 4 ดา้ น คือ ดา้ นสมรรถนะทางเศรษฐกิจ ดา้ นประสิทธิภาพ ของภาครัฐ ด้านประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ และดา้ นโครงสร้างพ้ืนฐาน โดยสอบถามความคิดเห็น ผบู้ ริหารระดบั สูงในประเทศไทยวา่ “มีการติดสินบนและคอร์รัปชนั หรือไม”่ ดว้ ยคะแนน 45 และเพิ่มข้ึน ถึง 4 คะแนน น่าจะเกิดจากการรับรู้ถึงความจริงจงั ของภาครัฐในการป้ องกนั และปราบปรามปัญหาการ ทุจริตท่ีมีมากข้ึน 1.2 แหล่งขอ้ มูล The Political and Economic Risk Consultancy (PERC) ปี 2562 ได้ 38 คะแนน ปี 2561 ได้ 37 คะแนน (เพิ่มข้ึน 1 คะแนน) PERC สารวจขอ้ มูลประมาณเดือนมกราคมถึงตน้ เดือนมีนาคม 2562 จากนกั ธุรกิจในทอ้ งถิ่นและนกั ธุรกิจชาวต่างชาติท่ีเขา้ ไปทาธุรกิจในประเทศ โดยให้ ประเมินระดบั ปัญหาการทุจริตในประเทศหรือในธุรกิจ คะแนนการรับรู้ดงั กล่าวช้ีให้เห็นวา่ นกั ลงทุน ยงั คงเห็นวา่ ปัญหาการทุจริตในประเทศไทยยงั เป็นความเส่ียงสูงต่อการประกอบธุรกิจ 1.3 แหล่งขอ้ มูล World Economic Forum (WEF) ปี 2562 ได้ 43 คะแนน ปี 2561 ได้ 42 คะแนน (เพิ่มข้ึน 1 คะแนน) WEF สารวจประมาณเดือนมกราคม-มิถุนายนของทุกปี ในมุมมองของนกั ธุรกิจที่เขา้ มาลงทุนในประเทศไทยเกี่ยวกบั ปัจจยั ท่ีเป็นอุปสรรคสูงสุดในการทาธุรกิจ 5 ดา้ น คือ การคอร์ รัปชนั ความไมม่ น่ั คงของรัฐบาล/ปฏิวตั ิ ความไมแ่ น่นอนดา้ นนโยบาย ระบบราชการที่ไม่มีประสิทธิภาพ และโครงสร้างพ้ืนฐานและสาธารณูปโภค โดยถามเก่ียวกบั การจ่ายสินบน เช่น การนาสินคา้ เขา้ หรือ ส่งออก การทาสัญญาและออกใบอนุญาต และการจ่ายโอนเงินงบประมาณของรัฐไปสู่นิติบุคคล กลุ่ม บุคคลหรือบุคคล คะแนนการรับรู้ดงั กล่าวสะทอ้ นถึงอุปสรรคการดาเนินธุรกิจในไทยลดน้อยลง ซ่ึง อาจจะสืบเนื่องจากการประกาศให้พระราชบญั ญตั ิการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผา่ นระบบ ดิจิทลั พ.ศ. 2562 มีผลบงั คบั ใช้ และกาหนดใหต้ อ้ งเปิ ดเผยขอ้ มูล 2. แหล่งข้อมูลที่ไทยได้คะแนนเท่ากับปี 2561 มี 4 แหล่ง คือ Bertelsmann Foundation Transformation Index (BF-TI) ได้ 37 คะแนน, Economist Intelligence Unit Country Risk Ratings (EIU) ได้ 37 คะแนน, Global Insight Country Risk Ratings (GI) ได้ 35 คะแนน และ PRS International Country Risk Guide (PRS) ได้ 32 คะแนน PRS คะแนนเท่าเดิม ซ่ึงท้งั 4 แหล่งขอ้ มูล ผเู้ ชี่ยวชาญมองวา่ การแกไ้ ขปัญหาในเร่ืองของการใหส้ ินบน การตรวจสอบเจา้ หนา้ ที่รัฐ และความโปร่งใสที่เป็ นความเสี่ยง ตอ่ ระบบเศรษฐกิจของประเทศ ยงั มีสถานการณ์ไม่แตกตา่ งจากปี ที่ผา่ นมา 3. แหล่งขอ้ มูลท่ีไทยไดค้ ะแนนลดลงจากปี ก่อน มี 2 แหล่ง คือ

26 3.1 แหล่งขอ้ มูล World Justice Project (WJP) ปี 2562 ได้ 38 คะแนน, ปี 2561 ได้ 40 คะแนน (ลดลง 2 คะแนน) WJP รวบรวมขอ้ มูลระหว่างเดือนพฤษภาคม-พฤศจิกายน 2562 ประเมินค่าความ โปร่งใส โดยใช้ 8 หลกั เกณฑ์ เนน้ เรื่องหลกั นิติธรรม แต่ปี ที่ผา่ นมา องคก์ รเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ (TI) นาเกณฑ์ดา้ นการปราศจากคอร์รัปชนั และแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตนจากการใชท้ รัพยส์ ินของ ราชการของขา้ ราชการสายบริหาร ตุลาการ ตารวจ ทหาร และสภานิติบญั ญตั ิ ได้คะแนน 38 ที่ลดลง เน่ืองจากผเู้ ชี่ยวชาญและกลุ่มตวั อย่างภาคประชาชนมองว่า กลุ่มขา้ ราชการยงั คงใช้ทรัพยส์ ินของทาง ราชการเพื่อผลประโยชน์ส่วนตน และมีแนวโน้มวา่ จะใชท้ รัพยส์ ินของทางราชการเพ่ือประโยชน์ส่วน ตนมากข้ึน 3.2 แหล่งขอ้ มูล Varieties of Democracy Institute (V-DEM) ปี 2562 ได้ 20 คะแนน, ปี 2561 ได้ 21 คะแนน โดย V-DEM วดั เก่ียวกบั ความหลากหลายของประชาธิปไตย การถ่วงดุลของฝ่ ายบริหาร นิติบญั ญตั ิ และตุลาการ ตลอดจนการทุจริตของเจา้ หน้าที่ในฝ่ ายบริหาร นิติบญั ญตั ิ และตุลาการ ด้วย คาถามท่ีว่า การทุจริตทางการเมืองเป็ นที่แพร่หลายมากน้อยเพียงใด (How pervasive is political corruption?) ใน 4 กลุ่ม คือ ภาครัฐ ผบู้ ริหารระดบั สูง ฝ่ ายนิติบญั ญตั ิ และฝ่ ายตุลาการ คะแนน 20 คะแนน และลดลงไปอีกจากปี 2561 เนื่องจากผูเ้ ชี่ยวชาญมองว่าแม้เพิ่งผ่านการเลือกต้งั ใหม่แล้ว แต่สภาพ พฤติการณ์ของเจา้ หน้าท่ีในการเรียกรับผลประโยชน์ หรือสินบน หรือการเบียดบงั เงินงบประมาณ ทรัพยากรภาครัฐเพ่อื ประโยชน์ส่วนตนและพวกพอ้ งยงั คงมีอยู่ จะเห็นไดว้ า่ การแถลงของนายวรวิทย์ สุขบุญ เลขาธิการคณะกรรมการป้ องกนั และปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ตามเอกสารท่ีกล่าวมา มีความสอดคลอ้ งกบั สมาคมภาคีเครือข่ายธรรมาภิ บาล เพราะมีความจาเป็ นอย่างยิ่งยวดท่ีทุกภาคส่วนตอ้ งหาทางออก สังคมไทยตอ้ งรวมพลงั กนั สร้าง สังคมที่ไมน่ ่ิงเฉยกบั การทุจริต สาคญั ท่ีสุดคือรัฐบาลตอ้ งมีเจตจานงในการแกไ้ ขปัญหาการทุจริตที่ชดั เจน และต่อเนื่อง ภาครัฐทุกภาคส่วนตอ้ งมีการบงั คบั ใชก้ ฎหมายอยา่ งจริงจงั และเขม้ ขน้ ภาคเอกชนตอ้ งไม่ให้ ความร่วมมือในการใหส้ ินบนทุกรูปแบบและมีการควบคุมภายในท่ีมีประสิทธิภาพ ภาคประชาสังคมตอ้ ง มีความตื่นตวั ไม่ยอม ไม่ทน ไม่เฉย ต่อการทุจริตทุกรูปแบบ โดยร่วมกนั เฝ้ าระวงั และแจง้ เบาะแสการ ทุจริตอยา่ งต่อเนื่องและจริงจงั ผา่ นช่องทางต่าง ๆ ท้งั ทาง ป.ป.ช. หรือส่งมาทางออนไลน์ใหก้ บั หน่วยงาน ที่เก่ียวขอ้ งกบั การทุจริตโดยตรง เพ่ือสร้างค่านิยมใหม่ของการสุจริต พร้อมขบั เคลื่อนไปสู่เป้ าหมาย เดียวกนั คือ “ทางออกของสังคมไทย เป็ นการเดินตามรอยศาสตร์ของพระราชา ท่ที รงปกครองบ้านเมือง มาด้วยทศพิธราชธรรม” สาหรับสมาคมภาคีเครือข่ายธรรมาภิบาลที่ผา่ นมาไดม้ ีการให้ความรู้เก่ียวกบั หลกั ธรรมาภิบาลเพ่อื เป็นวคั ซีนให้แก่ประชาชน ตา้ นและป้ องกนั การทุจริตมากข้ึน สาหรับผลของดชั นีภาพลกั ษณ์การคอร์รัปชนั ในภาครัฐทว่ั โลก (Corruption Perception Index - CPI) ประจาปี 2019/2562 ประเทศไทยยงั คงได้ 36 คะแนน จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน ซ่ึงไม่ เปลี่ยนแปลงจากปี 2561 แสดงให้เห็นว่ายงั มีการทุจริตคอร์รัปชนั เมื่อวิเคราะห์ขอ้ มูลยอ้ นหลงั ผลการ สารวจของ นางเสาวณีย์ ไทยรุ่งโรจน์ อธิการบดีมหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทย เปิ ดเผยถึงดชั นีสถานการณ์

27 คอร์รัปชนั ไทย ซ่ึงสารวจเม่ือเดือนธันวาคม 2560 ในกลุ่มตวั อยา่ ง 3 กลุ่ม คือ ประชาชน ผูป้ ระกอบการ ภาคเอกชน และขา้ ราชการภาครัฐ จานวน 2,400 ตวั อยา่ ง พบวา่ ความรุนแรงของปัญหาการทุจริตคอร์รัป ชนั สูงข้ึน 37% และเมื่อคาดการณ์ความรุนแรงของปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันในปี 2561 สูงข้ึน 48% สาเหตุสาคญั ในการเกิดการทุจริตคอร์รัปชันในประเทศไทยส่วนใหญ่มาจากกฎหมายเปิ ดโอกาสให้ สามารถใช้ดุลยพินิจที่เอ้ือต่อการทุจริตถึง 18.8% รองลงมา คือ กระบวนการทางการเมืองขาดความ โปร่งใสและตรวจสอบไดย้ าก 15.6% และความไม่เขม้ งวดของการบงั คบั ใชก้ ฎหมายและกฎระเบียบ 14.7% ขณะท่ีรูปแบบการทุจริตคอร์รัปชนั ในสังคมไทยที่เกิดข้ึนบ่อยสุด คือการให้สินบน ของกานลั หรือรางวลั ต่าง ๆ 19.6% การใช้ตาแหน่งทางการเมืองเพ่ือเอ้ือประโยชน์แก่พรรคพวก 16.2% และการ ทุจริตเชิงนโยบาย โดยดารงตาแหน่งทางการเมือง 13.8% และส่วนใหญ่เห็นวา่ เร่ืองคอร์รัปชนั เป็ นเร่ือง ใกลต้ วั มาก และแมร้ ัฐบาลไดท้ าการทุจริต แตม่ ีผลงานและทาประโยชน์ให้สังคมเป็ นเรื่องที่ส่วนใหญ่รับ ไมไ่ ด้ เทา่ กบั การใหส้ ินบนแก่รัฐเป็นเรื่องท่ีเสียหายมาก ที่ไดจ้ ากการสารวจจากประชาชนและท่ีเกี่ยวขอ้ ง นอกจากน้ี จากการสารวจเดือนธันวาคม 2560 พบว่า เปอร์เซ็นต์เงินเพิ่มพิเศษของรายรับท่ี ผปู้ ระกอบการทาธุรกิจกบั ภาครัฐจะตอ้ งจ่ายเงินเพ่ิมพิเศษแก่ขา้ ราชการ นกั การเมืองท่ีทุจริตเพื่อให้ได้ สัญญา เฉล่ีย 5-15% เทา่ กบั วา่ มูลคา่ ความเสียหายที่เกิดข้ึนในปี 2561 ประมาณ 66,271-198,814 ลา้ นบาท สร้างความเสียหายต่อจีดีพี 0.41-1.23% และนอกจากน้ี หากเกิดการทุจริตดา้ นงบประมาณเสียหาย เฉล่ีย 2.29-6.86% ต่องบประมาณรายจ่าย และการลดการเรียกเงินสินบนทุก ๆ 1% ส่งผลให้การคอร์รัปชัน ลดลง 10,000 ลา้ นบาท สาหรับการจ่ายใตโ้ ต๊ะของเอกชนแก่หน่วยงานรัฐและนักการเมืองเพ่ือให้ได้งาน มีทิศทาง เพ่ิมข้ึน เฉล่ียอยู่ท่ี 5-15% ของมูลค่างบประมาณลงทุน ซ่ึงเป็ นค่าเฉล่ียการจ่ายเงินใตโ้ ต๊ะเท่ากบั ก่อน หนา้ ท่ีมีการทารัฐประหาร ในปี 2557 ซ่ึงการเรียกเงินสินบนเฉลี่ย 5-15% จะทาใหเ้ กิดความเสียหาย 1-2 แสนลา้ นบาท (ธนวรรธน์ พลวชิ ยั และเสาวณีย์ ไทยรุ่งโรจน์, 2561) จากขอ้ มูลดงั กล่าวทาให้ทราบวา่ ปัญหาการคอร์รัปชนั มีความเป็นไปไดม้ ากสุดในเร่ืองของการรับสินบน 7. การวเิ คราะห์หลกั ธรรมาภิบาลจากผู้นา 3 ฝ่ าย จากการวิเคราะห์ปัญหาการคอร์รัปชนั ของเลขาธิการคณะกรรมการป้ องกนั และปราบปรามการ ทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) และนกั วิชาการต่าง ๆ ทาให้ทราบถึงปัญหาที่เกิดข้ึน นอกจากน้ียงั ไดก้ ล่าวถึง ประเด็นท่ีตอ้ งแกไ้ ข อยา่ งไรก็ตามปัญหาเหล่าน้ีจะลดนอ้ ยลงเม่ือผนู้ าท้งั 3 ฝ่ ายร่วมมือกนั ไดแ้ ก่ 1) ฝ่ าย นิติบญั ญตั ิ 2) ฝ่ ายบริหาร และ 3) ฝ่ ายตุลาการ ใหเ้ กิดความเขม้ แขง็ และยดึ หลกั คุณธรรมและนิติธรรม นาพาประเทศไทยสู่การลดปัญหาการคอร์รัปชนั ร่วมวเิ คราะห์ประเด็นของผนู้ าท้งั 3 ฝ่ าย ผา่ นช่วงโอกาส อวยพรปี ใหม่ พ.ศ. 2563 ไดด้ งั ตอ่ ไปน้ี

28 7.1 ฝ่ ายนิติบญั ญตั ิ นายชวน หลีกภยั ประธานรัฐสภา กล่าวคาปราศรัย เน่ืองในโอกาสวนั ข้ึนปี ใหม่ ประจาปี 2563 ดงั แสดงในรูปท่ี 13 ความวา่ รูปท่ี 13 ประธานรัฐสภากล่าวคาปราศรัย เน่ืองในวนั ข้ึนปี ใหม่ ประจาปี 2563 ที่มา : ไทยพบี ีเอส, 2563 : ออนไลน์ “ในปี ใหม่ 2563 งานในอานาจหน้าท่ีของฝ่ ายนิติบัญญัติจะดาเนินการต่อไปอย่างมี ประสิทธิภาพและเป็ นประโยชน์ต่อประเทศชาติและประชาชน ในฐานะฝ่ ายนิติบัญญัติ สมาชิกรัฐสภาจะต้องยึดม่ันในหลักนิติธรรม เป็ นแบบอย่างในการเคารพกฎหมายของ บ้านเมืองและหลักคุณธรรม โดยการปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความซื่ อสัตย์ สุจริ ต มีความ รับผิดชอบ ดังพระราชดารัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่ในพิธีเปิ ดประชุมรัฐสภา วันที่ 24 พฤศจิกายน 2562 ความว่า ขอให้ สมาชิกแห่ งสภาพึงนึกถึงความสาคัญและความ รับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าท่ีอย่างจริงจัง เพราะการกระทาทุกอย่างของแต่ละคนจะมีผล โดยตรงถึงความมั่นคงของประเทศ และความสุข ทุกข์ของประชาชน จึงจาเป็ นท่ีทุกคน จะต้องร่วมมือกนั ปฏิบัติภารกิจทั้งปวง โดยเตม็ สติปัญญาความสามารถ ด้วยความสุจริตและ ด้วยความคิดพิจารณาอันสุขมุ รอบคอบหนกั แน่น ด้วยเหตุผลท่ีถกู ต้องเที่ยงตรงตามหลักนิติ ธรรมและคุณธรรม ให้งานของชาติดาเนินก้าวหน้าไปโดยไม่ติดขดั และบงั เกิดประโยชน์อัน พึงประสงค์สมบูรณ์บริบูรณ์ ในวารดิถีขึน้ ปี ใหม่ กระผมของอาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย สิ่งศักด์ิสิทธ์ิในสากลโลกที่พี่น้องชาวไทยเคารพนบั ถือ อีกทั้งพระบารมีแห่งองค์สมเดจ็ พระ

29 เจ้าอย่หู ัวและสมเดจ็ พระบรมราชินี โปรดอภิบาลและประทานพรให้พ่ีน้องชาวไทยประสบ ความสุข สามารถชนะอุปสรรคและปัญหาทั้งปวง และมีความเจริญก้าวหน้าในชีวิตสืบไป สวสั ดีปี ใหม่ครับ” จากคาปราศรัยของประธานรัฐสภาท่ีว่า “จะต้องยึดม่ันในหลักนิติธรรม เป็ นแบบอย่างในการ เคารพกฎหมายของบ้านเมืองและหลักคุณธรรม” แสดงใหเ้ ห็นวา่ ประธานรัฐสภามีความยึดมนั่ ในหลกั ธรรมาภิบาลในเร่ืองของนิติธรรมเป็ นที่ต้งั อนั ไดแ้ ก่ การปฏิบตั ิตามกฎหมาย กฎระเบียบต่าง ๆ ของ รัฐสภา และการไม่เลือกปฏิบตั ิกบั ฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึง โดยไม่ทาตามอาเภอใจในการปฏิบตั ิหนา้ ท่ีน้นั ๆ ส่ิงท่ี ประธานรัฐสภาเห็นถึงความสาคญั ของหลกั คุณธรรม คือ การยึดมนั่ ในความถูกตอ้ ง ซื่อสัตย์ และมี ระเบียบวนิ ยั เมื่อวิเคราะห์อย่างดีแล้ว พบว่า ประธานรัฐสภาให้ความสาคญั กบั เร่ืองการปฏิบตั ิตามหลัก กฎหมาย คือ หลกั นิติธรรม และยดึ มนั่ ในความถูกตอ้ ง คือ หลกั คุณธรรม น้ีคือหลกั ท่ีประธานรัฐสภาได้ ปฏิบตั ิในการทาหนา้ ที่ไดอ้ ยา่ งดีเยยี่ ม 7.2 ฝ่ ายบริหาร พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี กล่าวอวยพร เน่ืองในโอกาสวนั ข้ึนปี ใหม่ พุทธศกั ราช 2563 ดงั แสดงในรูปที่ 14 ความวา่ รูปท่ี 14 นายกรัฐมนตรีกล่าวคาอวยพรปี ใหม่ พุทธศกั ราช 2563 ที่มา : ไทยพบี ีเอส, 2563: ออนไลน์

30 “เน่ืองในโอกาสวนั ขึน้ ปี ใหม่ พทุ ธศักราช 2563 ผมขอเชิญชวนพี่น้องประชาชนคนไทย ร่ วมกันตั้งจิตอธิษฐานอาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยและอานาจสิ่งศักด์ิสิทธิ์ในสากล โปรด อภิบาลประทานพรให้พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปี หลวง และพระบรม วงศานุวงศ์ทุกพระองค์ ทรงพระเจริญย่ิงยืนนาน ทรงพระเกษมสาราญ มีพระราชประสงค์ จานงหมายส่ิงใด ขอจงสัมฤทธิ์ดังพระราชหฤทัยปรารถนา สถิตเป็ นม่ิงขวัญร่ มเกล้าเหล่า พสกนิกรชาวไทยตราบกาลนิรันดร์ ในปี พุทธศักราช 2562 ที่ผ่านมา ถือได้ว่าเป็ นปี มหา มงคล และปี แห่ งความปลื้มปี ติยินดีของคนไทยท้ังชาติ ท่ีได้พร้ อมใจกันถวายความ จงรักภักดี เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัว ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ตามพระราชประเพณี นับเป็ นสวัสดิมงคลของประเทศชาติและประชาชน แสดงให้เห็นถึง ความรั ก ความผูกพันและความจงรั กภักดีของประชาชนชาวไทยที่มีต่ อสถาบัน พระมหากษัตริ ย์มาอย่างยาวนาน” นอกจากน้ี นายกรัฐมนตรีขอให้มาเร่ิมตน้ กนั ใหม่ดว้ ยหลกั ธรรมาภิบาล เมื่อปี พ.ศ. 2559 หลกั ธรรมาภิบาลเป็นหลกั การที่สาคญั ยงิ่ ซ่ึง พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ไดก้ ล่าวในรายการ คืนความสุขใหค้ นในชาติ คร้ังที่ 1 เม่ือวนั ท่ี 19 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2559 ความวา่ “ต้องมองประเทศชาติมาก่อน ประเทศชาติอย่ตู รงไหน ต้องการประเทศชาติเป็ นยงั ไงใน 10 ปี เพราะฉะน้ันท่านต้องเริ่ มนับ 1 ตั้งแต่วันนี้แล้ว ไม่ว่าจะเป็ นธุรกิจเอกชน ข้าราชการ นักการเมือง เอาประเทศชาติให้ได้ก่อนได้ไหม ท่านจะขับเคลื่อนยงั ไง ท่านเป็ นรัฐบาลยังไง ผม ไม่ได้ไปขดั แย้งอะไรกบั ท่าน แต่ถ้าท่านมีธรรมาภิบาล จบทุกอย่าง ธรรมาภิบาลไปดูซิ 6 ข้อ ทาให้ ได้ตามนั้นแหละ ไม่มีใครเขาทา ท่านได้อย่แู ล้วล่ะ นกั การเมืองหรือรัฐบาลอะไรกแ็ ล้วแต่” จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่า พลเอก ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา นายกรัฐมนตรี มีความเห็น สอดคล้องในทางเดียวกันกับการใช้หลักธรรมาภิบาลเพ่ือช่วยในการขับเคล่ือนประเทศ ตามที่ นายกรัฐมนตรีกล่าวถึงหลกั ธรรมาภิบาล 6 ขอ้ แลว้ ใหไ้ ปดูน้นั คือ 1) หลกั นิติธรรม 2) หลกั คุณธรรม 3) หลกั ความโปรงใส 4) หลกั การมีส่วนร่วม 5) หลกั ความรับผิดชอบ และ 6) หลกั ความคุม้ ค่า โดยขอ้ มูล จะอยใู่ นแผนยุทธศาสตร์ชาติ หมวด 6 แนวนโยบายแห่งรัฐ มาตรา 65 ตามที่ผจู้ ดั ทาได้เสนอขอ้ มูลไว้ ก่อนหนา้ น้ีแลว้ คร้ังท่ี 2 เม่ือวนั ที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2559 นายกรัฐมนตรีกล่าวย้าเรื่องธรรมาภิบาลอีก ความวา่ “...เรื่ องของการสร้ าง ปลูกฝังระบบธรรมาภิบาลให้ได้โดยเร็ว ปี นี้ผมเน้นเรื่อง ระบบธรรมาภิบาลในทุกสังคม ในทุกภาคส่วน ตั้งแต่เด็กเล็ก เยาวชน ประชาชน เอกชน

31 ข้าราชการ ทุกหน่วยงานจะต้องมีธรรมาภิบาลนะครับ ไปดูธรรมาภิบาลมีอะไรบ้าง มี 6 ข้อ ในเร่ืองการขจัดการทุจริตคอร์ รัปชัน ในเรื่องของการสร้ างจิตสานึก ป้ องกัน ปราบปราม ต้องเร่ิมแต่เดก็ กฎหมายด้วยกระบวนการและการปฏิบัติท่ีเท่าเทียม เดก็ ต้องเตือนผ้ใู หญ่ นะ ลูกเตือนพ่อแม่ว่าทายงั ไงจะไม่เกิดการทุจริต ไม่ไปคอร์ รัปชันอะไรต่าง ๆ ให้เป็ นท่ีอับอาย ของลูก ถึงจะรวยแต่โกงเขามา ลูกกอ็ ายเขา เวลาถกู ดาเนินคดี ลูกเต้ากเ็ ดือดร้ อนไปหมด ลูก เตือนพ่อแม่ด้วยเป็ นธรรม…” ผจู้ ดั ทาเห็นว่าการใช้หลกั ธรรมาภิบาลสามารถช่วยจดั การปัญหาเร่ืองการทุจริตคอร์รัปชนั ได้ โดยการสร้างหลกั คุณธรรม หลกั นิติธรรม หลกั ความโปร่งใส หลกั การมีส่วนร่วม หลกั ความรับผิดชอบ และหลกั ความคุม้ ค่า ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั แนวคิดของนายกรัฐมนตรีในขณะน้ัน ที่จะตอ้ งสร้างจิตสานึก ใหแ้ ก่เยาวชน คร้ังที่ 3 เมื่อวนั ที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2559 นายกรัฐมนตรีไดก้ ล่าวเนน้ ให้ขา้ ราชการปฏิบตั ิหน้าท่ี โดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาลท้งั 6 ประการ เป็นนิมิตหมายท่ีดีของบา้ นเมือง ความตอนหน่ึงวา่ “...ข้าราชการต้องมีจิตสานึกที่ดี ประพฤติดี อย่างที่เราเรี ยกว่า “ธรรมาภิบาล” ซ่ึง ประกอบด้วยหลัก 6 ประการ ก็อยากจะทบทวน อันได้แก่ หลักคุณธรรม หลักนิติธรรม หลักความโปร่ งใส หลักการมีส่วนร่ วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า ท้ังนี้ รัฐบาลปัจจุบันได้ยึดถือและนามาประยกุ ต์ใช้เป็นหลักการทางานร่วมกันในสังคม ที่สาคัญก็ คือ คาว่า “ประชารัฐ” นอกจากจะให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่ วมจากทุกภาคส่วนแล้ว ใน การรักษาความสมดุลระหว่างหลกั การท้ัง 6 ประการในทุกมิติ ท้ังการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม กจ็ ะทาให้การบริหารราชการแผ่นดินไม่ติดกบั ดกั ตัวเองหรือพบทางตัน…” จากข้อความดังกล่าวทาให้ทราบว่ารัฐบาลไดน้ าหลกั ธรรมาภิบาลหรือหลกั 6 ประการมา ประยุกตใ์ ชใ้ นการทางาน ซ่ึงนบั วา่ เป็ นสิ่งที่ดี เพราะการใช้หลกั ธรรมาภิบาลควรใชใ้ หร้ ู้จริง ก็จะนาพา ประเทศสู่ยคุ รุ่งเรือง 7.3 ฝ่ ายตุลาการ นายไสลเกษ วฒั นพนั ธุ์ ประธานศาลฎีกา กล่าวคาอวยพรปี ใหม่ พุทธศกั ราช 2563 ดงั แสดงใน รูปท่ี 15 ความตอนหน่ึงวา่

32 รูปที่ 15 ประธานศาลฎีกากล่าวคาอวยพรปี ใหม่ พุทธศกั ราช 2563 ที่มา : ไทยพบี ีเอส, 2563: ออนไลน์ “ในรอบปี ท่ีผ่านมา ศาลยตุ ิธรรมในฐานะองค์กรที่ใช้อานาจอธิปไตยฝ่ ายตุลาการได้ ทุ่มเทสรรพกาลังในการปฏิบัติหน้าท่ีตามรัฐธรรมนูญกฎหมายและหลักนิติธรรม ในการ คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของพี่น้องประชาชนชาวไทยอย่างเต็มกาลังความสามารถ โดย ศาลยุติกรรมได้วางแนวทางในการบริหารจัดการสานวนคดี โดยกาหนดเป้ าหมายว่า ศาล ชั้นต้นจะพิจารณาพิพากษาคดีให้แล้วเสร็จภายใน 2 ปี นับแต่วันท่ีรับฟ้ อง ส่วนศาลในชั้น อุทธรณ์และฎีกา จะพิจารณาคดีให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปี นับแต่วนั ท่ีคดีขึน้ สู่ศาล ส่งผลให้คดี ในปี 2562 นับถึงต้นเดือนธันวาคม ศาลยุติธรรมทั่วราชอาณาจักรมีผลงานการพิ จารณา พิพากษาคดีเสร็จไปจากศาลได้ประมาณ 1,540,000 คดี คิดเป็ นร้ อยละ 86 ของคดีท้ังหมดที่ อย่ใู นอานาจหน้าท่ีและความรับผิดชอบของศาลยุติธรรม ในโอกาสนีผ้ มต้องขอขอบคุณพี่ น้องประชาชนชาวไทยท่ีให้ความสาคัญและความสนใจต่อกิจการการดาเนินการต่าง ๆ ของ ศาลยตุ ิธรรม เพราะเม่ือผมเข้ารับตาแหน่งประธานศาลฎีกา ผมขอทราบความคิดเห็นกาหนด นโยบายของศาลยุติธรรมจากพี่น้องประชาชนชาวไทยแล้ว พ่ีน้องชาวไทยได้กรุณาแสดง ความคิดเห็นท่ีเป็ นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการกาหนดทิศทางและแนวนโยบายในการบริหาร ราชการศาลยุติธรรมอย่างหลากหลาย ผมขอยืนยนั ต่อพ่ีน้องประชาชนชาวไทยว่า นอกจาก การพิจารณาพิพากษาอรรถคดีซ่ึงถือเป็ นหน้าท่ีหลักของศาลยุติธรรมแล้ว ศาลยตุ ิธรรมจะ ยกระดับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพขน้ั พืน้ ฐานของผ้ตู ้องหาและจาเลย โดยคานึงถึงเหย่ือ อาชญากรรมและความสงบสุขของสังคม ยกระดับมาตรฐานในการพิจารณาพิพากษาคดี เพ่ือให้ความยุติธรรมเป็ นท่ีประจักษ์ และจะนาเทคโนโลยีมาสนับสนุนการอานวยความ

33 ยุติธรรมการพิจารณาพิพากษาคดี โดยคานึงถึงการมีส่วนร่ วมของประชาชน มีคากล่าวว่า “ความยตุ ิธรรมทล่ี ่าช้า คือการปฏิเสธความยุติธรรม” ซึ่งศาลยตุ ิธรรมได้เร่ งรัดการพิจารณา พิพากษาคดีอย่างเตม็ กาลังความสามารถจนปรากฏผลงานดังที่ได้แจ้งให้ทราบในเบือ้ งต้น แล้ว นบั จากนีศ้ าลยตุ ิธรรมจะเป็นผ้นู าในการยกระดบั ความยุติธรรมไปอีกขน้ั หนึ่ง คือความ ยุติธรรมต้องไม่มีวันหยุด ผมจึงกาหนดนโยบายเร่ งด่วนให้ ศาลยุติธรรมท่ัวประเทศทุกช้ัน ศาลเปิ ดทาการในวันหยุดราชการ เพ่ือพิจารณาส่ังคาร้ องขอปล่อยตัวชั่วคราวแก่ผู้ต้องหา หรื อจาเลยและขอมอบการดาเนินการตามนโยบายนี้ให้ เป็ นของขวัญปี ใหม่ แก่พ่ีน้อง ประชาชนชาวไทยทุกคน ในโอกาสขึน้ ปี ใหม่” จากขอ้ ความที่วา่ “ศาลยตุ ิธรรมทั่วประเทศทุกช้ันศาลเปิ ดทาการในวนั หยดุ ราชการ” และผลงาน ท่ีผา่ นมาของประธานศาลฎีกาสามารถวิเคราะห์ตามหลกั ธรรมาภิบาลไดด้ งั น้ี 1) หลักคุณธรรม คือ การ ยดึ มนั่ ในความถูกตอ้ งตามประกาศระเบียบราชการฝ่ ายตุลาการศาลยตุ ิธรรม ดงั เอกสารในภาคผนวก ก รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย มาตรา 29 ระบุไวต้ อนหน่ึงวา่ “ให้สันนิษฐานไวก้ ่อนวา่ ผตู้ อ้ งหาหรือ จาเลยไม่มีความผิดและก่อนมีคาพิพากษาอนั ถึงท่ีสุดแสดงวา่ บุคคลใดไดก้ ระทาความผิดจะปฏิบตั ิต่อ บุคคลน้นั เสมือนเป็ นผกู้ ระทาความผิดมิไดแ้ ละคาขอประกนั ผูต้ อ้ งหาหรือจาเลยในคดีอาญาตอ้ งไดร้ ับ การพิจารณา” แสดงให้เห็นว่า ประธานศาลฎีกาให้ความสาคญั กบั ผูต้ อ้ งหาหรือจาเลยท่ีไม่เคยมีการ พิจารณาพิพากษาคดีมาก่อนถือว่ายงั เป็ นผบู้ ริสุทธ์ิ ในทางกลบั กนั ถา้ ผตู้ อ้ งหาหรือจาเลยเคยมีความผิด จากการพิจารณาพิพากษามาก่อนแลว้ ถือวา่ มีความผิด 2) หลักนิติธรรม เกิดเหตุการณ์จากผทู้ ่ีดาเนินคดี เลือกวนั ศุกร์หรือวนั ก่อนวนั หยุดเป็ นวนั แจง้ ขอ้ กล่าวหาดาเนินคดีแลว้ ตอ้ งประกันตวั โอกาสในการ ประกนั ตวั ลาบากเพราะเป็ นวนั หยุด เป็ นการบีบ โดยใชโ้ อกาสที่จะไดร้ ับการพิจารณาปล่อยตวั ชวั่ คราว เป็ นเคร่ืองมือบีบให้ยอมรับไม่ว่าจะบงั คบั ชาระหน้ีหรือบงั คบั ให้ยอมคดี ด้วยเหตุน้ีศาลเห็นถึงความ เดือดร้อนของประชาชน จึงเปิ ดทาการศาลเพื่อสั่งประกนั สั่งปล่อยตวั ชวั่ คราวในวนั หยุดทุกกรณี ซ่ึง ประธานศาลฎีกาไดย้ ดึ หลกั นิติธรรมมาสร้างกฎระเบียบใหม่ในศาลเพ่ือแกป้ ัญหาความเดือดร้อนไดอ้ ยา่ ง ถูกตอ้ ง ไม่เลือกปฏิบตั ิ 3) หลกั ความโปร่งใส เม่ือมีนโยบายให้ศาลไม่มีวนั หยุด ตอ้ งมีการตรวจสอบได้ เร่ืองงบประมาณ สาหรับให้บุคคลที่เก่ียวขอ้ งได้ค่าตอบแทนในวนั หยุด ดงั น้ันตอ้ งมีความถูกตอ้ ง 4) หลกั การมสี ่วนร่วม เป็นการใหโ้ อกาสบุคคลมีส่วนในการวางแผนน้นั ๆ ซ่ึงพบวา่ ประธานศาลฎีกาไดน้ า หลกั การมีส่วนร่วมมาใช้ไดอ้ ย่างลงตวั ได้เห็นความเดือนร้อนของประชาชนและไดน้ ามาปฏิบตั ิเป็ น รูปธรรม ส่งผลให้ประชาชนมีความมนั่ ใจในศาลยุติธรรมมากข้ึน 5) หลกั ความรับผิดชอบ อาจจะกล่าว ไดว้ า่ ประธานศาลฎีกามีความสานึกในหนา้ ท่ีของตนเอง เห็นประโยชน์ของผอู้ ่ืนมากกวา่ ของตนเอง และ 6) หลกั ความคุ้มค่า กล่าวไดว้ า่ เป็นการทาใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ ประชาชนไดม้ ากที่สุด

34 เม่ือวิเคราะห์ส่ิงที่ประธานศาลฎีกาไดอ้ ธิบายปัญหาและไดแ้ กป้ ัญหาให้ประชาชนน้นั นบั วา่ ทา ไดต้ รงจุดและเป็นการช่วยเหลือประชาชนโดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล จึงเป็นที่ประจกั ษว์ า่ หลกั ธรรมาภิบาล สามารถนาไปใชไ้ ดจ้ ริง ถา้ รู้จกั ใชอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 8. การแก้ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันด้วยหลกั ธรรมาภบิ าล จากงานวจิ ยั ของ พลเอก ดร. กิตติศกั ด์ิ รัฐประเสริฐ (2557) สามารถสังเคราะห์เป็ นองคค์ วามรู้ ใหมใ่ นการแกไ้ ขปัญหาการทุจริตคอร์รัปชนั ในประเทศไทยดว้ ยองคค์ วามรู้ใหมท่ างดา้ นสาเหตุการทุจริต ในประเทศไทย ผลการวจิ ยั พบว่า เกิดจากการทุจริต 4 ฝ่ าย คือ นกั การเมือง ขา้ ราชการ พ่อคา้ นกั ธุรกิจ และประชาชน ทาให้ระบบการทุจริตท้งั หมดเกิดข้ึนในประเทศไทย ดังแสดงในรูปที่ 16 เม่ือนามา จดั รูปแบบ (model) สามารถสร้างเป็ นองคค์ วามรู้ของสาเหตุการทุจริตในประเทศไทย อย่างไรก็ตาม สาเหตุการทุจริตสามารถแกไ้ ขปัญหาไดโ้ ดยการตดั ระบบวงจรใดวงจรหน่ึงให้ขาดจากการทุจริตก็จะ ส่งผลกบั ระบบหรือฝ่ ายอ่ืน ๆ ท่ีเหลือตามไปดว้ ย นนั่ คือ การตดั วงจรทุกภาคส่วน อนั ไดแ้ ก่ นกั การเมือง ขา้ ราชการ นักธุรกิจ และประชาชน ตอ้ งช่วยกนั แก้ปัญหา โดยเฉพาะเรื่องหลกั คือการแกเ้ รื่องสินบน สามารถแยกแยะประโยชน์ของส่วนตนกบั ส่วนรวมออกจากกนั ได้ หลกั สาคญั คือการนาหลกั ธรรมาภิ บาลจากยุทธศาสตร์พระราชทาน “เขา้ ใจ เขา้ ถึง พฒั นา” เขา้ มาสร้างจิตสานึกใหเ้ กิดข้ึนโดยการลงมือทา อยา่ งจริงจงั ไมเ่ ป็นเพยี งแค่ขอ้ ความในกระดาษเท่าน้นั รัฐบาลและผนู้ าท้งั 3 ฝ่ ายไดป้ ฏิบตั ิตามท่ีกล่าวมา ก็จะนาพาประเทศไทยสู่ทางออก น่าจะช่วยให้ระดบั CPI เพิ่มข้ึน 10 เปอร์เซ็นต์ ซ่ึงเป็ นเพียงการ คาดการณ์ถา้ รัฐบาลสามารถทาได้ ธรรมาภบิ าล ธรรมาภิบาล ธรรมาภบิ าล ธรรมาภิบาล รูปที่ 16 สาเหตุของวงจรแห่งปัญหาการทุจริตคอร์รัปชนั

35 บรรณานุกรม กิตติศกั ด์ิ รัฐประเสริฐ. การทุจริตประพฤติมิชอบในวงราชการไทย : การสังเคราะห์องค์ความรู้ด้านแนว ทางการแก้ไขจากผู้นาและบุคคลสาคัญของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ระดับดุษฎีบณั ฑิต, สาขาวชิ าการบริหารการพฒั นา แขนงวิชาการพฒั นาสังคม, บณั ฑิตวิทยาลยั , มหาวิทยาลยั ราช ภฎั สวนสุนนั ทา, 2557. กิตติศกั ด์ิ รัฐประเสริฐ. การทุจริตในวงราชการไทย: การสังเคราะห์องค์ความรู้แก้ไขปัญหาตามหลกั ธรร มาภิบาลจากบุคคลสาคญั ของประเทศไทย. หนา้ 458-459. เอกสารประกอบการประชุม The 7th Academic Meeting National and International Conference, 25-26 มีนาคม 2559 ณ มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสุนนั ทา, 2559. ขา่ วสด. ภาพทปี่ ระชุมสมชั ชาสหประชาชาต.ิ 29 ตุลาคม 2559. [ออนไลน์]. แหล่งขอ้ มูล : https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_73072 ชมลม ชมไทย. ภาพพระมหากษตั ริย์ในยุคสมยั รัตนโกสินทร์. 2553. [ออนไลน์]. แหล่งขอ้ มลู : http://www.chomthai.com/forum/view.php?qID=3071 ทีแอลซีไทยดอทคอม. ภาพสมเดจ็ พระเจ้าตากสินในยคุ สมยั กรุงธนบุรี. 2559. [ออนไลน์]. แหล่งขอ้ มลู : https://www.tlcthai.com/horo/horo-support/36323.html ไทยพบี ีเอส. ภาพประธานรัฐสภากล่าวคาปราศรัย เน่ืองในวนั ขนึ้ ปี ใหม่ ประจาปี 2563. 2563. [ออนไลน์]. แหล่งขอ้ มลู : https://www.youtube.com/watch?v=IpubWzz5Npw ไทยพบี ีเอส. ภาพประธานศาลฎกี ากล่าวคาอวยพรปี ใหม่ พทุ ธศักราช 2563. 2563. [ออนไลน์]. แหล่งขอ้ มูล : https://www.youtube.com/watch?v=zzzmpXZGzTI ไทยพบี ีเอส. ภาพนายกรัฐมนตรีกล่าวคาอวยพรปี ใหม่ พุทธศักราช 2563. 2563. [ออนไลน์]. แหล่งขอ้ มูล : https://www.youtube.com/watch?v=Fuvo9T22ZgY ไทยรัฐออนไลน.์ ภาพสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ได้ทรงรับบรม ราชาภิเษกขนึ้ เป็ นพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ มหิศร ภูมพิ ลราชวรางกูร กติ ิสิริสมบูรณอดุลยเดช สยามินทราธิเบศราชวโรดม บรมนาถบพติ ร พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หวั . 2559. [ออนไลน์]. แหล่งขอ้ มลู : https://www.thairath.co.th/content/799507 บีบีซีนิวส์ไทย. คอร์รัปชัน : อันดับความโปร่งใสไทยปี 2562 ร่วงท้ังระดับโลกและอาเซียน. 2563. [ออนไลน]์ . แหล่งขอ้ มลู : https://www.bbc.com/thai/thailand-51217494 ประวตั ิศาสตร์แห่งสยาม. ภาพอาณาจักรประเทศไทย (แหลมทอง) เม่ือ พ.ศ. 1686. 2561. [ออนไลน์]. แหล่งขอ้ มลู : https://www.facebook.com/HistoryofSiamTH/?ref=py_c

36 วนั สาคญั ของไทย. ภาพพ่อขุนรามคาแหงในยุคสมัยสุโขทัย. 2557. [ออนไลน์]. แหล่งขอ้ มูล : www.todayth.com วกิ ิพเี ดีย. ภาพพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช. 2563. [ออนไลน์]. แหล่งขอ้ มลู : https://th.wikipedia.org/wiki/พระบาทสมเด็จพระมหาภมู ิพลอดุลยเดช มหาราช_บรมนาถบพิตร วกิ ิพเี ดีย. ภาพสมเด็จพระนเรศวรมหาราชในยุคสมัยอยุธยา. 2563. [ออนไลน์]. แหล่งขอ้ มลู : https://th.wikipedia.org/wiki/สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช เวบ็ ไซตก์ ระปุกดอทคอม. ภาพรัฐประหารในประเทศไทยเกดิ ขึน้ มาแล้ว 13 คร้ัง. 2563. [ออนไลน์]. แหล่งขอ้ มูล : https://hilight.kapook.com/view/102528 เวบ็ ไซตก์ ระปุกดอทคอม. ภาพสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงรับขึน้ ทรงราชย์ เป็ นพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 10. 2563. [ออนไลน์]. แหล่งขอ้ มูล : https://king.kapook.com/kingrama10/sec7_read2.html วรวทิ ย์ สุขบุญ. ป.ป.ช. ชี้แนวทางรอดจากปัญหา \"คอร์รัปชัน\" หลงั ไทยติดอนั ดับ 101 ของโลก. (2563, 24 มกราคม). [ออนไลน์]. แหล่งขอ้ มลู : https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/863452?utm_source=slide_relate&utm_medium =internal_referral วิมล ไทรนิ่มนวล.รัฐธรรมนูญแห่งใจ. (2560, 12 ตุลาคม). [ออนไลน์]. แหล่งข้อมูล : https://www.naewna.com/columnonline/32227 พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบบั ประมวลธรรม. สังคหวตั ถุของผู้ครองแผ่นดนิ หรือ ราชสังคหวตั ถุ 4. 2563. [ออนไลน์] แหล่งขอ้ มูล : https://84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=187 ศิลปากร, กรม. ประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2558. สนุกดอทคอม. ภาพสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร ทรงรับขนึ้ ทรงราชย์เป็ นพระ เจ้าอย่หู วั รัชกาลท่ี 10. 2563. [ออนไลน์]. แหล่งขอ้ มูล : https://www.sanook.com/news/2110802/ สานกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ดชั นีช้ีวดั ภาพลกั ษณ์คอร์รัปชนั . 2563. [ออนไลน]์ . แหล่งขอ้ มูล : https://www.nesdc.go.th/article_attach/article_file_20200127094731.pdf เสาวณีย์ ไทยรุ่งโรจน์ และธนวรรธน์ พลวชิ ยั . แฉคอร์รัปชันยงั รุนแรง ตดิ สินบนเจอบ่อยสุด คาดมูลค่า เสียหายกว่า 200,000 ล้าน. (2561, 15 กมุ ภาพนั ธ์). [ออนไลน์]. แหล่งขอ้ มลู : https://www.khaosod.co.th/economics/news_755850 Transparency International. (2019). CORRUPTION PERCEPTIONS INDEX. แหล่งขอ้ มลู : https://www.transparency.org/en/cpi

37 ภาคผนวก

38 ภาคผนวก ก. ระเบียบราชการฝ่ ายตุลาการศาลยตุ ิธรรม วา่ ดว้ ยการเปิ ดทาการศาลและพจิ ารณาคาร้องขอ ปล่อยชวั่ คราวในวนั หยดุ ราชการ พ.ศ. 2562

39