ระบบการเงนิ ระหว่างประเทศ EC 452 เศรษฐศาสตรก์ ารเงนิ ระหวา่ งประเทศ พจิ ิตรา ประภสั สรมนอู
ระบบการเงนิ ระหว่างประเทศ • 1. ระบบมาตรฐานทองคา (pure gold standard) ค.ศ. 1870-1914 สิ้นสุดสงครามโลกคร้ังทห่ี น่ึง • 2. ยคุ มืด ค.ศ. 1914-1945 สงครามโลกคร้ังทห่ี น่ึง-สิ้นสุดสงครามโลก คร้ังทสี่ อง • 3. ระบบเบรตเตน็ วูดส์ (Bretton Woods) หรือระบบมาตรฐาน แลกเปลยี่ นทองคา (Gold exchange standard) ค.ศ. 1946-1971 • 4. ระบบอตั ราแลกเปลย่ี นปัจจุบนั
ระบบมาตรฐานทองคา (Gold Standard)
1. ระบบมาตรฐานทองคา • ในยคุ น้นั มีการคน้ พบทองคาเป็นปริมาณมาก ประเทศต่างๆหนั มาใชร้ ะบบ มาตรฐานทองคามากข้ึน • องั กฤษเป็นมหาอานาจ กาหนดค่าเงินปอนดไ์ วก้ บั ทองคา ใครจะคา้ ขายกยู้ มื กบั องั กฤษตอ้ งกาหนดค่าเงินไวก้ บั ทองคาดว้ ย • เศรษฐกิจภายใตร้ ะบบมาตรฐานทองคารุ่งเรืองมากจนเรียกไดว้ า่ เป็นยคุ ทอง (The golden age) แห่งการคา้ และการลงทุน • จนมีผตู้ ้งั คาถามวา่ ระบบมาตรฐานทองคาเป็นระบบท่ีเอ้ืออานวยใหเ้ ศรษฐกิจโลก เจริญรุ่งเรืองจริงหรือ? • มีหลกั ฐานพบวา่ ประเทศต่างๆไม่ไดด้ าเนินนโยบายการเงินตามกฏเกณฑข์ อง ระบบมาตรฐานทองคาอยา่ งแทจ้ ริง ดงั น้นั ความรุ่งเรืองอาจไม่ไดม้ าจากตวั ระบบ แต่อาจมาจากสาเหตุอื่น เช่น การปฏิวตั ิอุตสาหกรรม
1. ระบบมาตรฐานทองคา • ลกั ษณะสาคญั กาหนดใหท้ องคา 1 กก. มีมูลค่าเท่ากบั หน่วยของเงินสกลุ ในประเทศ ทองคา 1 กก.=500,000 บาท ถา้ ประเทศไดท้ องคาเพ่มิ 1 กก. ประเทศเพม่ิ อุปทานของเงินได้ 500,000 บาท การนาเขา้ ส่งออกทองคาทาไดเ้ สรี ไม่มีขอ้ จากดั ราคาทองคาเทียบกบั เงินสกลุ ต่างๆมีค่าคงท่ี ทาใหอ้ ตั ราแลกเปล่ียนระหวา่ ง สกุลเงินต่างๆคงที่ดว้ ย ราคาดอลลาร์ 35 dollar per ounce ราคาปอนด์ 14.58 pound per ounce ราคาดอลลาร์/ปอนด์ =35/14.58=2.4 ทองคาทาหนา้ ท่ีเป็นมาตรฐานในการกาหนดอตั ราแลกเปล่ียนระหวา่ งสกลุ เงินต่างๆ
1. ระบบมาตรฐานทองคา ในระบบมาตรฐานทองคา ธนาคารกลางตอ้ งรักษาอตั ราแลกเปลี่ยน ระหวา่ งสกลุ เงินในประเทศและทองคาใหค้ งที่ โดยตอ้ งกาหนดปริมาณ ทองคาที่เกบ็ เป็นเงินสารองระหวา่ งประเทศใหเ้ หมาะสม การรักษาสมดุลภายนอก (external balance) ไม่ไดอ้ ยทู่ ่ีการรักษา ดุลการชาระเงินสมดุลแต่เป็นการรักษาปริมาณทองคาไหลเขา้ ออกอยา่ ง เหมาะสม การรักษาดุลภายใน (internal balance) จากดั การขยายตวั ของปริมาณเงิน ทาใหม้ ีเสถียรภาพทางดา้ นราคา
การปรับตัวของประเทศภายใต้มาตรฐานทองคา ธนาคารกลางองั กฤษเพ่มิ ปริมาณเงิน อตั ราดอกเบ้ียลดลง อตั ราผลตอบแทนในสินทรัพยเ์ งินปอนดล์ ดลง นกั ลงทุนหนั ไปลงทุนใน สินทรัพยต์ ่างประเทศ นกั ลงทุนขายเงินปอนดแ์ ลกกบั ทองคา แลว้ ขายทองคาเพื่อแลกกบั เงินในสกลุ ที่ใหอ้ ตั ราดอกเบ้ียสูง กวา่ เงินทุนไหลออกจากองั กฤษ ธนาคารกลางองั กฤษซ้ือปอนด์ ขายทองคาเพ่ือรักษาอตั ราแลกเปล่ียนใหค้ งท่ี ธนาคารกลางองั กฤษมี เงินทุนสารองนอ้ ยลง ขณะท่ีธนาคารต่างประเทศมีเงินทุนสารองมากข้ึน เพราะมีการซ้ือทองคาจาก นกั ลงทุน การที่องั กฤษมีทองคานอ้ ยลง ปริมาณเงินในประเทศลดลง กดดนั ใหอ้ ตั ราดอกเบ้ียสูงข้ึน อตั ราดอกเบ้ียปรับตวั จนอตั ราดอกเบ้ียเท่ากบั อตั ราดอกเบ้ียต่างประเทศ กลไกการปรับตวั เป็นแบบสมมาตร (symmetric) กนั ระหวา่ งประเทศ ประเทศท่ีสูญเสียเงินสารองจะ มีปริมาณเงินที่ลดลง ต่างประเทศมีเงินสารองเพ่มิ ข้ึนและมีปริมาณเงินที่สูงข้ึน
การปรับตัวของประเทศภายใต้มาตรฐานทองคา Price-Spicie-Flow Mechanism คือ การปรับตวั ของราคาเมื่อมีการ ไหลเขา้ ออกของทองคา ส่งผลใหร้ าคาสินคา้ ปรับตวั การปรับตวั เกิดข้ึนตามสมการ MV=PQ (M=ปริมาณเงิน V=ความเร็วของ การไหลของเงิน P=ราคาสินคา้ Q=ปริมาณสินคา้ ไม่มีการใชน้ โยบาย sterilization คือไม่มีการปรับอปุ ทานของเงินเพื่อชดเชย การเปลี่ยนแปลงปริมาณเงินอนั เนื่องจากการเสียดุลการชาระเงิน เม่ือดุลการชาระเงินขาดดุล ประเทศสูญเสียทองคา อุปทานเงินจะลดลง รัฐ ไม่ตอ้ งใชน้ โยบายใดๆเพิม่ อุปทานเงิน เพราะราคาสินคา้ จะปรับลดลงโดย อตั โนมตั ิ การส่งออกดีข้ึน การขาดดุลลดลง การเกินดุลการชาระเงิน อุปทานเงินเพ่มิ ข้ึน ราคาสินคา้ สูงข้ึน ส่งออกแยล่ ง นาเขา้ มากข้ึน ดุลการชาระเงินสมดุล
ขอ้ ดขี องการใชร้ ะบบมาตรฐานทองคา การปรับตวั ทางการเงินแบบสมมาตร การที่ประเทศต่างๆกาหนดค่าเงินเทียบกบั ทองคา หมายความวา่ ปริมาณเงินจะไม่ โตเร็วกวา่ ความตอ้ งการถือเงิน ไม่เกิดปัญหาราคาสินคา้ สูงจากการขยายตวั ของ ปริมาณเงินอยา่ งรวดเร็ว มาตรฐานทองคาเป็นตวั จากดั ไม่ใหธ้ นาคารกลางใชน้ โยบายการเงินขยายตวั ท่ีมากไป จนทาใหเ้ กิดปัญหาเงินเฟ้อ มูลค่าท่ีแทจ้ ริงของเงินในประเทศมีเสถียรภาพและสามารถทานายได้
ขอ้ เสียของการใชร้ ะบบมาตรฐานทองคา • 1. เนื่องจากมาตรฐานทองคาจากดั ปริมาณเงิน การใชน้ โยบายการเงินขยายตวั เพือ่ แกป้ ัญหา เศรษฐกิจถดถอยทาไดย้ าก ในกรณีที่เศรษฐกิจโลกมีปัญหา ทุกๆประเทศตอ้ งร่วมมือกนั ใช้ นโยบายการเงินขยายตวั • 2. การผกู ค่าเงินไวก้ บั ทองคาจะทาใหร้ าคาสินคา้ มีเสถียรภาพกต็ ่อเมื่อราคาเปรียบเทียบของ ทองคากบั สินคา้ อื่นๆมีเสถียรภาพ ▫ ราคาดอลลาร์: 35 ดอลลาร์/ออนซ์ ราคาทองคาในตะกร้าสินคา้ : 1/3 ของตะกร้าสินคา้ /ออนซ์ ▫ หมายความวา่ ราคาสินคา้ เท่ากบั 105 ดอลลาร์/ตะกร้าสินคา้ ▫ สมมติวา่ มีการคน้ พบทองคามากข้ึน ราคาทองคาตกเป็น ¼ ของตะกร้าสินคา้ /ออนซ์ ในขณะท่ี ราคาดอลลาร์เหมือนเดิม ดงั น้นั ราคาสินคา้ มีค่าเท่ากบั 140 ดอลลาร์/ตะกร้าสินคา้ ▫ ราคาสินคา้ มีความผนั ผวนตามการเปลี่ยนแปลงในราคาเปรียบเทียบของทองคาต่อสินคา้ อ่ืนๆ
ขอ้ เสียของการใชร้ ะบบมาตรฐานทองคา • 3. ธนาคารกลางไม่สามารถเปลี่ยนแปลงปริมาณการถือเงินสารองระหวา่ งประเทศได้ จนกวา่ จะมีการเปลี่ยนแปลงในปริมาณทองคาที่ธนาคารกลางถือ • 4. ระบบมาตรฐานทองคาส่งเสริมใหป้ ระเทศผลิตทองคามากข้ึน เช่นประเทศรัสเซีย ประเทศแอฟริกาใต้ ซ่ึงทาใหป้ ระเทศเหล่าน้ีมีอิทธิผลอยา่ งมากต่อเศรษฐกิจโลกผา่ น การซ้ือขายทองคาในตลาดทองคา • 5. การผกู ค่าเงินไวก้ บั ทองคาไม่มีเสถียรภาพ เพราะสภาพคล่องในระบบข้ึนกบั การ คน้ พบปริมาณทองคาในแต่ละปี ถา้ เศรษฐกิจโลกข้ึนกบั ปริมาณทองคา ปริมาณเงินจะ ผนั ผวนตามปริมาณทองคาท่ีผลิตได้ ระบบการเงินระหวา่ งประเทศไม่มีเสถยี รภาพ • 6. มาตรฐานทองคาไม่เหมาะกบั สภาพเศรษฐกิจโลกท่ีมีความซบั ซอ้ น การขาด ดุลการชาระเงินนานๆตอ้ งปรับดว้ ยการลดอุปทานเงิน ทาใหเ้ กิดปัญหาการวา่ งงานได้
1. ระบบมาตรฐานทองคา • ช่วงปี ที่ใชร้ ะบบมาตรฐานทองคาคือ ปี 1870-1914 เป็นยคุ ทอง (The Golden Age) ของการคา้ การลงทนุ กลไกการปรับตวั ดา้ นดุลการชาระเงินทางานไดด้ ี • เป็นช่วงปี ท่ีมีการคน้ พบทองคาเป็นจานวนมาก ประเทศที่ขดุ ทองมากไดแ้ ก่ สหรัฐอเมริกา แอฟริกาใต้ รัสเซีย ออสเตรเลีย • องั กฤษผกู ค่าเงินปอน์ไวก้ บั ทองคา ประเทศคู่คา้ กบั องั กฤษตอ้ งผกู ค่าเงินไวก้ บั เงิน ปอนดด์ ว้ ย กรุงลอนดอนเป็นศูนยก์ ลางการเงินโลก เงินปอนดเ์ ป็นที่ยอมรับทว่ั โลก องั กฤษเป็ นผใู้ หก้ ยู้ มื แหล่งสุดทา้ ย (lender of last resort) เป็นนายธนาคาร ของโลกที่ใหก้ ยู้ มื และการลงทุนระหวา่ งประเทศ
ยคุ มืด (The Interwar Years)
2. ยุคมดื • ช่วงสงครามโลก ประเทศต่างๆไม่ยอมคา้ ขายกนั เงินตราต่างประเทศแลกเปลี่ยน กนั ไม่ได้ (ไม่มี convertibility) มีการหา้ มส่งออกทองคาเพราะกลวั วา่ จะสูญเสีย ทองที่ตอ้ งใชช้ าระค่าใชจ้ ่ายในการทาสงคราม • อตั ราแลกเปลี่ยนผนั ผวน เศรษฐกิจ การเมือง การเงินระหวา่ งประเทศยงุ่ เหยงิ • ภาวะเศรษฐกิจตกต่าคร้ังใหญ่ (The great depression) การวา่ งงานสูง รายไดต้ กต่า การเกิดเศรษฐกิจตกต่าเพราะอุปสงคร์ วม (aggregate demand) นอ้ ยเกินไป การ ผลิตต่า การวา่ งงานสูง สาเหตุส่วนหน่ึงมาจากแรงงานและความสามารถในการ ผลิตนอ้ ยลงจากภาวะสงคราม • เศรษฐกิจต่าลุกลามไปทว่ั โลก และหลายประเทศประสบปัญหาเงินเฟ้อ เพราะมี การพิมพเ์ งินเพม่ิ เพ่ือนาเงินไปฟ้ื นฟูประเทศหลงั สงคราม
2. ยุคมดื • The great depression เริ่มจากเศรษฐกิจองั กฤษเริ่มถดถอยในช่วงปี 1920s • ตลาดหุน้ ในอเมริกาล่มในปี 1929 ทาใหภ้ าคการเงินมีปัญหา • ปี 1931 นกั ลงทุนเร่ิมไม่ไวใ้ จในเงินปอนด์ ไม่แน่ใจวา่ เงินปอนดจ์ ะสามารถรักษา ค่าเงินท่ีกาหนดไวก้ บั ทองคาได้ • ปี 1933 อเมริกาประกาศลดค่าเงิน แต่ประเทศอ่ืนๆ เช่น ฝร่ังเศส เบลเยยี่ ม สวิสเซอร์แลนด์ (“Gold bloc” countries) ยงั ตรึงค่าเงินไวก้ บั ทองคาจนปี 1936 • เศรษฐกิจของประเทศที่ลดค่าเงินค่อยๆฟ้ื นฟดู ีข้ึน • นโยบายขอทานเพอ่ื นบา้ น (Beggar-thy-neighbor policies) คือ นโยบายท่ีทาใหเ้ ศรษฐกิจในประเทศดีข้ึนแต่ทาใหเ้ ศรษฐกิจต่างประเทศแยล่ ง ▫ อเมริกาใชน้ โยบายปกป้องแรงงานในประเทศเพอ่ื สนบั สนุนการจา้ งงานในประเทศ ทาใหก้ ารจา้ งแรงงานต่างชาตินอ้ ยลง แคนาดาเพ่ิมอตั ราภาษีส่งออกไปยงั อเมริกา
2. ยุคมืด • หลงั สงครามสิ้นสุด มีความพยายามกลบั ไปใชร้ ะบบมาตรฐานทองคา แต่ไม่สาเร็จ เพราะมีการกาหนดราคาทองคาใหอ้ ยรู่ ะดบั เดิม ท้งั ๆท่ีภาวะเศรษฐกิจเปล่ียนไป จากเดิม เม่ือราคาสินคา้ สูงข้ึนแต่ราคาทองคาเท่าเดิม เกิดปัญหาไม่มีทองคาเพียงพอ สาหรับใชเ้ ป็นเงินสารองระหวา่ งประเทศ • เร่ิมมีการใชเ้ งินสกลุ ท่ีมีความสาคญั เช่น เงินปอนด์ เกบ็ เป็นเงินสารองระหวา่ ง ประเทศ • เศรษฐกิจตกต่าทว่ั โลก ประเทศต่างๆพากนั ลดค่าเงินเพอื่ ทาใหเ้ ศรษฐกิจขยายตวั การแข่งกนั ลดค่าเงินทาใหเ้ กิดความผนั ผวนและความไม่แน่นอนในค่าเงินต่างๆ • องั กฤษมีบทบาทในการเป็นศูนยก์ ลางการเงินโลกนอ้ ยลง เกิดศูนยก์ ลางทาง การเงินแหล่งใหม่หลายแห่ง เช่น นิวยอร์ค ปารีส เบอร์ลิน ทาใหม้ ีการเคล่ือนยา้ ย ทุนเขา้ ออกศูนยก์ ลางทางการเงินเหล่าน้ี แต่ส่วนใหญ่เป็นการเกง็ กาไรระยะส้นั และยงิ่ ทาใหอ้ ตั ราแลกเปล่ียนผนั ผวนมาก
ระบบ Bretton Woods หรือระบบมาตรฐาน แลกเปล่ียนทองคา (Gold Exchange Standard)
3. ระบบเบรตเตน็ วูดส/์ มาตรฐานแลกเปล่ียนทองคา/ มาตรฐานดอลลาร์ • เป็นผลมาจากการประชุมปฏิรูประบบการเงินระหวา่ งประเทศที่เมืองเบรตเตน็ วดู ส์ รัฐนิวแฮมเชียร์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ของตวั แทนประเทศฝ่ ายสมั พนั ธมิตรซ่ึง เป็นผชู้ นะสงคราม • 1. จดั ต้งั กองทุนการเงินระหวา่ งประเทศ (International Monetary Fund: IMF) มี หนา้ ท่ีสร้างกฏเกณฑแ์ ละวธิ ีปฏิบตั ิในระบบการเงินระหวา่ งประเทศ ใหค้ วาม ช่วยเหลือสมาชิกที่มีปัญหาการเงิน ▫ ประเทศสมาชิกตอ้ งนาเงินสมทบเขา้ กองทุน โดยเงินสมทบน้ีจะข้ึนอยกู่ บั โควตาของ แต่ละประเทศ เงินสมทบอยใู่ นรูปของทองคา 25% ของโควตา และเงินตราสกลุ ของ ตนเอง 75% ขนาดของโควตาข้ึนกบั ความสาคญั ของประเทศต่างๆในการคา้ โลก ▫ ประเทศที่มีโควตามากมีอานาจในการออกเสียงลงมติมาก มีสิทธิกเู้ งินจาก IMF ได้ มาก
3. ระบบเบรตเตน็ วูดส/์ มาตรฐานแลกเปลี่ยนทองคา/ มาตรฐานดอลลาร์ • 2. กาหนดระบบอตั ราแลกเปล่ียนใหม่เป็นระบบอตั ราแลกเปล่ียนคงท่ีแบบปรับได้ (adjustable peg) • กาหนดใหเ้ งินดอลลาร์มีค่าเท่ากบั 35 ดอลลาร์ต่อทองคา 1 ออนซ์ และเงินดอลลาร์ สามารถเปล่ียนเป็นทองคาไดอ้ ยา่ งไม่จากดั • เงินดอลลาร์กลายเป็นเงินสกลุ หลกั (key currency) • ประเทศอ่ืนๆตอ้ งประกาศค่าเงินของตนเองอิงกบั ทองคาหรือดอลลาร์ ค่าเงินที่ ประกาศออกมาเรียกวา่ ค่าเสมอภาค (par value) • ประเทศตอ้ งเขา้ แทรกแซงโดยการซ้ือขายเงินตราต่างประเทศเพื่อปกป้องค่าเสมอ ภาคท่ีประกาศไวไ้ ม่ใหเ้ กินแถบความกวา้ ง (band) ที่กาหนดไว้ • เน่ืองจากการแทรกแซงค่าเงินทาไดโ้ ดยการซ้ือขายดอลลาร์ เงินดอลลาร์จึงถูก เรียกวา่ เป็นสกลุ เงินที่ใชแ้ ทรกแซง (intervention currency)
3. ระบบเบรตเตน็ วูดส/์ มาตรฐานแลกเปลี่ยนทองคา/ มาตรฐานดอลลาร์ • 3. เงินสารองระหวา่ งประเทศ นอกจากจะสะสมในรูปทองคาแลว้ ยงั สามารถสะสม ในรูปของเงินตราต่างประเทศสกลุ สาคญั ๆได้ • ความตอ้ งการใชเ้ งินสารองระหวา่ งประเทศมากข้ึนทุกปี ทาใหอ้ เมริกาขาดดุลมาก ข้ึน (ส่งออกเงินดอลลาร์ใหป้ ระเทศอ่ืนๆเพอ่ื ใชใ้ นการคา้ และใชเ้ ป็นเงินสารอง ระหวา่ งประเทศ) • ระบบเบรตเตน็ วดู ส์มีชื่อเรียกอีกอยา่ งวา่ ระบบมาตรฐานดอลลาร์ • 4. ประเทศสมาชิกตอ้ งไม่ควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตราของตน เงินตราสกลุ ต่างๆ ตอ้ งมี convertibility ในขณะเดียวกนั กต็ อ้ งทาใหอ้ ตั ราแลกเปลี่ยนในเงินตราสกลุ ต่างๆคงท่ีดว้ ย ▫ ถา้ ประเทศมีปัญหาไม่สมดุลในดุลการชาระเงิน อตั ราแลกเปล่ียนไม่ใช่ตวั ปรับ แต่เป็น กลไกการปรับตวั ทางรายได้ รายไดล้ ด การจา้ งงานลด การวา่ งงานสูงข้ึน
การรักษาดุลภายใน (internal balance) และดุลภายนอก (external balance) • ดุลยภาพภายในเกิดเม่ือระดบั ผลผลิตท่ีมีการจา้ งงานเตม็ ที่เท่ากบั อุปสงคม์ วลรวม ������������ = ������ + ������������ ������������∗/������, ������ • เสน้ II แสดงความสมั พนั ธ์ระหวา่ งอตั ราแลกเปลี่ยนและการใชจ้ ่ายในประเทศ (domestic spending, A) ที่ทาใหเ้ กิดสมดุลภายในท่ีรายไดใ้ นประเทศอยใู่ นระดบั ท่ี มีการจา้ งงานเตม็ ที่ ▫ ความชนั เป็นลบ การเพม่ิ G ทาใหอ้ ุปสงคร์ วมเพม่ิ รายไดม้ ากกวา่ รายไดท้ ี่มีการจา้ ง งานเตม็ ที่ อตั ราแลกเปลี่ยนตอ้ งแขง็ ค่าเพือ่ รักษาสมดุลภายใน ▫ จุดที่อยเู่ หนือเสน้ II การใชจ้ ่ายมากกวา่ รายไดท้ ่ีมีการจา้ งงานเตม็ ท่ี ดงั น้นั เศรษฐกิจมี การจา้ งงานมากไป (overemployment) ▫ จุดใตเ้ ส้น II การใชจ้ ่ายนอ้ ยไป เกิดปัญหาจา้ งงานต่าเกินไป (underemployment)
การรักษาดุลภายใน (internal balance) และดุลภายนอก (external balance) • ดุลยภาพภายนอก เกิดเม่ือดุลบญั ชีเดินสะพดั มีค่าเท่ากบั Z: ������������ ������������∗/������, ������ = ������ • เสน้ XX แสดงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งอตั ราแลกเปลี่ยนกบั การใชจ้ ่ายในประเทศ ▫ ความชนั เป็นบวก การเพ่ิมการใชจ้ ่ายทาใหร้ ายไดเ้ พ่มิ ข้ึน ส่งผลใหด้ ุลบญั ชีเดินสะพดั แย่ ลง ดงั น้นั อตั ราแลกเปลี่ยนตอ้ งอ่อนค่าเพื่อรักษาสมดุลภายนอก ▫ จุดที่อยบู่ นเสน้ XX แสดงวา่ ดุลบญั ชีเดินสะพดั มีค่าเท่ากบั เป้าหมาย Z ▫ จุดที่อยบู่ นเส้น XX อตั ราแลกเปลี่ยนสูงเกินกวา่ จะทาใหด้ ุลบญั ชีเดินสะพดั อยใู่ น เป้าหมาย แสดงวา่ ดุลบญั ชีเดินสะพดั เกินดุล ▫ จุดที่อยใู่ ตเ้ สน้ XX แสดงการขาดดุลในบญั ชีเดินสะพดั
การรักษาดุลภายใน (internal balance) และดุลภายนอก (external balance) • จุดที่ 1 เป็นจุดท่ีไดท้ ้งั ดุลภายในและดุลภายนอก • ภายใตอ้ ตั ราแลกเปลี่ยนคงที่ นโยบายการเงินไม่มีประสิทธิผล นโยบายการคลงั โดยการ เพม่ิ การใชจ้ ่ายรัฐบาล นโยบายการลดค่าเงิน ทาใหร้ ายไดข้ องประเทศเพ่มิ ข้ึนได้ • การใชน้ โยบายการคลงั เป็นการเปลี่ยนแปลงการใชจ้ ่ายในประเทศเพอ่ื ทาใหร้ ายไดเ้ ปล่ียน มาอยทู่ ่ีจุดที่ 1 เรียกวา่ expenditure-changing policy เพราะเป็นการ เปล่ียนขนาด (level) ของอุปสงคม์ วลรวมของประเทศ • นโยบายที่ทาใหก้ ารใชจ้ ่ายเปล่ียนอนั เน่ืองมาจากการเปลี่ยนแปลงของอตั ราแลกเปล่ียน เรียกวา่ expenditure-switching policy เพราะเป็นการเปล่ียนทิศทาง (direction) ของอุปสงคร์ วม ▫ การอ่อนค่าของเงินในประเทศทาใหก้ ารนาเขา้ ลดลง การส่งออกดีข้ึน มี expenditure switching จากการใชจ้ ่ายในสินคา้ ต่างประเทศมาใชจ้ ่ายในสินคา้ ในประเทศ
การรักษาดุลภายใน (internal balance) และดุลภายนอก (external balance) • ภายใตร้ ะบบ Bretton Woods นโยบาย expenditure-switching จากการ เปลี่ยนแปลงอตั ราแลกเปลี่ยนทาไดไ้ ม่บ่อยนกั นโยบายที่เลือกไดใ้ นการทาให้ เศรษฐกิจไดด้ ุลภายในและดุลภายนอกคือ นโยบายการคลงั ที่ทาใหเ้ กิด expenditure-changing • อยา่ งไรกต็ าม เราจะเห็นวา่ นโยบายการคลงั เพยี งอยา่ งเดียวไม่สามารถทาใหเ้ กิดดุล ภายในและดุลภายนอกพร้อมกนั ได้ ▫ ที่จุดที่ 2 เศรษฐกิจมีการจา้ งงานต่าไปและดุลบญั ชีเดินสะพดั ขาดดุล ▫ ตอ้ งมีการใชท้ ้งั นโยบายการลดค่าเงิน (expenditure-switching) และนโยบายการคลงั ขยายตวั (expenditure-changing) เพ่ือทาใหเ้ ศรษฐกิจไดท้ ้งั ดุลภายในและภายนอก
การไม่สามารถใชน้ โยบายลดค่าเงินเพื่อรักษาเสถียรภาพของ ท่ีจุดที่ 2 ภายอตั ราแลกเปลี่ยน เศรษฐกิจเป็นขอ้ เสียอยา่ งหน่ึงในระบบ Bretton Woods ลอยตวั ตอ้ งมีการลดคา่ เงินและการ เพ่มิ การใชจ้ ่ายในประเทศ เพือ่ ทาให้ เศรษฐกิจไดด้ ุลภายในและภายนอกท่ี จุดท่ี 1 ภายใตอ้ ตั ราแลกเปลี่ยนคงที่ ไม่ สามารถใชน้ โยบายที่ทาใหเ้ กิดสมดุล ภายในและภายนอกพร้อมกนั ได้ ถา้ ใชน้ โยบายการคลงั การคลงั ขยายตวั เพียงอยา่ งเดียว เศรษฐกิจ เคลื่อนไปท่ีจุดที่ 3 เกิดสมดุลภายใน แต่จะยง่ิ ทาใหด้ ุลบญั ชีเดินสะพดั ขาด ดุลมากข้ึนอีก นโยบายการคลงั หดตวั ทาให้ เศรษฐกิจเคลื่อนไปท่ีจุดที่ 4 เกิด สมดุลภายนอกแต่จะยงิ่ ทาใหด้ ุล ภายในแยล่ ง
3. ระบบเบรตเตน็ วูดส/์ มาตรฐานแลกเปลี่ยนทองคา/ มาตรฐานดอลลาร์ • ขอ้ บกพร่อง ▫ 1. ก่อใหเ้ กิดการเกง็ กาไรในอตั ราแลกเปล่ียน ภายใตร้ ะบบ Bretton Woods มีการเกง็ กาไรไปในทางเดียว คือค่าเงินของ ประเทศท่ีขาดดุลการชาระเงินจะลดค่า ผเู้ กง็ กาไรขายเงินสกลุ ในประเทศ ซ้ือเงินตราต่างประเทศเกบ็ ไว้ เมื่อมีการลด ค่าเงินในประเทศจริง ผเู้ กง็ กาไรขายเงินตราต่างประเทศเพือ่ แลกเป็นเงินใน ประเทศ การเกง็ กาไรในระบบน้ีทาใหอ้ ตั ราแลกเปลี่ยนไม่มีเสถียรภาพ
3. ระบบเบรตเตน็ วูดส/์ มาตรฐานแลกเปลีย่ นทองคา/ มาตรฐานดอลลาร์ • ขอ้ บกพร่อง ▫ 2. ความเชื่อมน่ั ในเงินดอลลาร์ ▫ ความตอ้ งการเงินดอลลาร์เพือ่ ใชเ้ ป็นเงินสารองระหวา่ งประเทศมีมาก ทาใหอ้ เมริกาตอ้ ง ผลิตเงินดอลลาร์มากข้ึน อเมริกาขาดดุลการชาระเงินกบั ประเทศอื่นๆในปริมาณมาก ▫ เมื่อดอลลาร์อยใู่ นมือประเทศอ่ืนๆมากๆ ในขณะที่ปริมาณทองคาเพ่มิ ข้ึนชา้ ความ เช่ือมนั่ ในเงินดอลลาร์ลดลง ▫ ความสามารถในการใหแ้ ลกเงินดอลลาร์กบั ทองคาไม่จากดั เป็นปัญหาที่สาคญั ที่สุด ถา้ จะแกป้ ัญหาน้ีโดยใหอ้ เมริกาขาดดุลนอ้ ยลง แต่กจ็ ะเกิดปัญหาที่โลกไม่มีเงินสารอง เพียงพอ ▫ ฉะน้นั จึงเกิดปัญหา 2 ประเภทคือที่เสมือนเป็นทางสองแพร่ง (dilemma) ปัญหาความ เช่ือมน่ั ในค่าเงินดอลลาร์ (confidence problem) และปัญหาสภาพคล่องไม่พอเพยี ง (liquidity problem)
3. ระบบเบรตเตน็ วูดส/์ มาตรฐานแลกเปล่ียนทองคา/ มาตรฐานดอลลาร์ • ขอ้ บกพร่อง ▫ 3. ความร่วมมือทางการเงินระหวา่ งประเทศทางดา้ นการเงินมีไม่มาก ▫ ยคุ ที่สงครามโลกคร้ังที่ 2 เพ่งิ ยตุ ิ มีความตอ้ งการที่จะฟ้ื นฟูการคา้ การลงทุน และความ ตอ้ งการเงินสารองระหวา่ งประเทศสูง เกิดการขาดแคลนเงินดอลลาร์ ทาใหอ้ เมริกา ขาดดุลการชาระเงิน ▫ ประเทศที่แพส้ งครามอยา่ งเยอรมนีและญ่ีป่ ุนมีการเกินดุลการชาระเงิน และมีการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจมากกวา่ อเมริกาที่มีการขาดดุลการชาระเงิน ▫ เมื่อมีความไม่สมดุลตอ้ งมีการปรับตวั แต่ภายใตร้ ะบบ Bretton Woods อเมริกาไม่ สามารถเปล่ียนแปลงอตั ราแลกเปลี่ยนระหวา่ งเงินดอลลาร์กบั ทองคาได้ ถา้ ทาเช่นน้นั เท่ากบั วา่ เป็นการยกเลิกขอ้ ตกลงวา่ อเมริกาจะรักษาอตั ราแลกเปลี่ยนใหค้ งที่ในระดบั น้ีตลอดไป
3. ระบบเบรตเตน็ วูดส/์ มาตรฐานแลกเปลย่ี นทองคา/ มาตรฐานดอลลาร์ • ขอ้ บกพร่อง ▫ เมื่ออเมริกาปรับตวั ไม่ได้ ญ่ีป่ ุนและเยอรมนีที่มีการเกินดุลในบญั ชีดุลการชาระเงิน ตอ้ งปรับตวั โดยการเพ่มิ ค่าเงินตวั เอง แต่ท้งั สองประเทศต่างไม่ยอมปรับ ▫ อเมริกาผลิตเงินออกมามากเพ่ือนาไปใชจ้ ่ายในสงครามเวยี ดนาม ในขณะเดียวกนั มี การคาดการณ์วา่ เงินดอลลาร์จะอ่อนค่า มีการเทขายดอลลาร์ในปริมาณมาก ▫ ถา้ ทุกประเทศท่ีถือเงินดอลลาร์นาเงินดอลลาร์มาแลกเป็นทองคากบั อเมริกาในเวลา พร้อมๆกนั อเมริกาคงไม่มีทองคาเพยี งพอ อเมริกาตดั สินใจยกเลิกสญั ญาที่จะยอม แลกดอลลาร์กบั ทองคาในเดือนสิงหาคม 1971 ซ่ึงเท่ากบั เป็นการยกเลิกระบบ Bretton Woods ไปโดยปริยาย
3. ระบบเบรตเตน็ วูดส/์ มาตรฐานแลกเปลีย่ นทองคา/ มาตรฐานดอลลาร์ • ก่อนท่ีจะลม้ เลิกระบบ Bretton Woods มีความพยายามในการปฏิรูประบบ ดงั น้ี ▫ ขยายบทบาทของ IMF เช่น มีอานาจในการใหก้ มู้ ากข้ึน, สร้างสิทธิ พเิ ศษถอนเงิน (SDR) SDR ทาหนา้ ท่ีแทนทองคา เป็นกระดาษที่ทาหนา้ ท่ีเป็นเงินตรา หรือเป็น ทองคากระดาษ (paper gold) SDR สะสมเป็นเงินทุนสารองระหวา่ งประเทศแทนการสะสมทองคา มูลค่าของ SDR อิงตามเงินตราสกลุ สาคญั ๆ ▫ ใหม้ ีการแลกเปลี่ยนเงินตราระหวา่ งธนาคารกลาง เพื่อลดปัญหาความ เชื่อมน่ั ในเงินดอลลาร์ ธนาคารกลางองั กฤษแลกเงินดอลลาร์ท่ีตวั เองถือกบั ธนาคารกลางอเมริกา ที่ถือเงินปอนด์
3. ระบบเบรตเตน็ วูดส/์ มาตรฐานแลกเปลยี่ นทองคา/ มาตรฐานดอลลาร์ ▫ แยกราคาทองคาเป็น 2 ตลาด เพ่ือไม่ใหแ้ รงกดดนั ในราคาทองคาสูงข้ึน ตลาดทางการ ทองคาราคา 35 ดอลลาร์/ออนซ์ ตลาดเอกชน ราคาทองคาข้ึนกบั อุปสงคอ์ ุปทานของทองคา ▫ เพ่มิ ความร่วมมือระหวา่ งประเทศมากข้ึน ประเทศท่ีเกินดุลกบั ประเทศท่ีขาดดุล ตอ้ งมีการปรับตวั ▫ ใชเ้ งินตราหลกั หลายสกลุ เป็นเงินสารองระหวา่ งประเทศแทนการใชเ้ งิน ดอลลาร์เพียงอยา่ งเดียว ยากที่ตกลงกนั ระหวา่ งประเทศได้ เพราะการกาหนดสดั ส่วนเงินตราสกลุ ต่างๆเพื่อ ใชเ้ ป็นน้าหนกั ในการกาหนดค่าของเงินสารองระหวา่ งประเทศตอ้ งการความ ร่วมมือระหวา่ งประเทศ และเป็นท่ียอมรับโดยทวั่ กนั
3. ระบบเบรตเตน็ วูดส/์ มาตรฐานแลกเปลีย่ นทองคา/ มาตรฐานดอลลาร์ ▫ กาหนดขอบเขตเงินตราท่ีเหมาะสม (optimum currency areas) 1. เขตเศรษฐกิจเดียวกนั มีอตั ราแลกเปล่ียนคงที่ระหวา่ งกนั อตั ราแลกเปล่ียน ระหวา่ งเขตมีความยดื หยนุ่ โดยท่ีเขตเงินตราเดียวกนั ควรสามารถเคลอื่ นยา้ ย ปัจจยั การผลิตระหวา่ งกนั ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว และมีตน้ ทุนต่า เขตเงินตราที่เหมาะสมแต่ละเขตเปรียบเสมือนประเทศเดียวกนั เม่ือมปี ัญหา ไม่ตอ้ งปรับอตั ราแลกเปลี่ยนระหวา่ งกนั การเคล่ือนยา้ ยปัจจยั การผลิตช่วย ลดปัญหาไดร้ ะดบั หน่ึง 2. ประเทศเลก็ ที่มีเศรษฐกิจเปิ ดควรอิงค่าเงินไวก้ บั เงินสกลุ สาคญั เพ่ือไม่ให้ ราคาสินคา้ ในประเทศผนั ผวนจากการรับเอาความไม่มีเสถียรภาพจาก ภายนอกเขา้ มาในประเทศอยา่ งเตม็ ท่ี ส่วนประเทศใหญ่จะเลือกใชร้ ะบบ อตั ราแลกเปลี่ยนแบบใดไม่น่ามีผล
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนในปัจจุบนั (Managed Floating Exchange Rate)
4. ระบบอัตราแลกเปลย่ี นในปัจจุบนั • ระบบการเงินโลกในปัจจุบนั คือระบบการเงินที่มีการจดั การเกี่ยวกบั อตั รา แลกเปลี่ยน (managed exchange rate system) • เปิ ดโอกาสใหเ้ ลือกใชร้ ะบบอตั ราแลกเปลี่ยนตามที่เห็นสมควร แทรกแซงในตลาด เงินตราต่างประเทศเพือ่ ลดความผนั ผวนในระยะส้นั ปล่อยใหก้ ลไกตลาดทางาน เพื่อเขา้ สู่ดุลยภาพในระยะยาว • ระบบอตั ราแลกเปล่ียนแบบมีการจดั การน้ีเป็นการนาเอาขอ้ ดีของท้งั ระบบอตั รา แลกเปล่ียนแบบลอยตวั และระบบอตั ราแลกเปลี่ยนแบบคงท่ีมาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ สูงสุด
4. ระบบอัตราแลกเปลยี่ นในปัจจุบนั ขอ้ ดีของระบบอตั ราแลกเปลี่ยนแบบลอยตวั • 1. ความเป็นอิสระในการดาเนินนโยบายการเงิน (Monetary Policy Autonomy) ▫ ในระบบอตั ราแลกเปลี่ยนคงที่ความสามารถในการใชน้ โยบายการเงินของประเทศมี จากดั เพราะการรักษาอตั ราแลกเปลี่ยนคงท่ีทาไดด้ ว้ ยการรักษาอตั ราดอกเบ้ียใน ประเทศใหเ้ ท่ากบั อตั ราดอกเบ้ียต่างประเทศ ▫ ระบบอตั ราแลกเปล่ียนลอยตวั ธนาคารกลางมีความเป็นอิสระในการใชน้ โยบาย การเงินมากข้ึน ในกรณีที่เศรษฐกิจมีการวา่ งงาน ธนาคารกลางสามารถใชน้ โยบาย การเงินขยายตวั กดดนั ใหอ้ ตั ราแลกเปลี่ยนสูงข้ึน ค่าเงินในประเทศอ่อนค่า ส่งเสริมให้ การส่งออกและรายไดข้ องประเทศมากข้ึน
4. ระบบอัตราแลกเปลยี่ นในปัจจุบนั ▫ ภายใตร้ ะบบอตั ราแลกเปล่ียนลอยตวั ประเทศสามารถกาหนดอตั ราเงินเฟ้อเป้าหมายในระยะ ยาวไดเ้ องโดยไม่จาเป็นตอ้ งเผชิญกบั การส่งผา่ นทางราคาจากต่างประเทศ ▫ ปกติแลว้ ในกรณีท่ีต่างประเทศมีอตั ราเงินเฟ้อสูง จะมีการส่งผา่ นทางราคาใหเ้ ศรษฐกิจใน ประเทศประสบภาวะเงินเฟ้อตามไปดว้ ยถา้ อตั ราแลกเปลี่ยนถูกกาหนดใหค้ งที่ เม่ือราคาสินคา้ ต่างประเทศสูง ประเทศจะมีดุลการชาระเงินเกินดุล เพระมีความไดเ้ ปรียบในการ แข่งขนั มากข้ึน ส่งผลใหม้ ีความตอ้ งการถือเงินในประเทศเพิม่ ข้ึน ธนาคารกลางตอ้ งเพ่ิมปริมาณเงิน เพื่อกาจดั ส่วนเกินในอุปสงคก์ ารถือเงิน ส่งผลใหร้ ะดบั ราคาสินคา้ ในประเทศสูงข้ึน ภายใตอ้ ตั ราแลกเปล่ียนคงที่จึงมีการนาเขา้ อตั ราเงินเฟ้อจากต่างประเทศ (import foreign inflation) ▫ ในระบบที่อตั ราแลกเปลี่ยนยดื หยนุ่ ไดอ้ ตั ราแลกเปลี่ยนเป็นฉนวนป้องกนั การส่งผา่ นภาวะเงิน เฟ้อ เช่น ถา้ อเมริกาเพมิ่ ปริมาณ ระดบั ราคาสินคา้ ในอเมริกาสูงข้ึน ค่าเงินดอลลาร์อ่อนค่า คา่ เงินบาท ปรับตวั แขง็ ค่าโดยเปรียบเทียบ นน่ั คือ อตั ราแลกเปลี่ยนท่ีเป็นตวั เงินลดลงโดยที่ระดบั ราคาสินคา้ ใน ประเทศไม่เปลี่ยนแปลง
4. ระบบอัตราแลกเปลย่ี นในปัจจุบนั ขอ้ ดีของระบบอตั ราแลกเปล่ียนแบบลอยตวั • 2. ความสมมาตรของนโยบายการเงิน (Symmetry) ▫ ภายใตร้ ะบบ Bretton Woods จะก่อใหเ้ กิดความไม่สมมาตร (asymmetry) ในระบบ การเงินของโลก 2 ประการคือ การท่ีเงินดอลลาร์เป็นเงินสกลุ หลกั ของโลก ทุกๆประเทศในโลกตอ้ งผกู ค่าเงินของตวั เอง ไวก้ บั เงินดอลลาร์ทาใหธ้ นาคารกลางของอเมริกามีบทบาทหลกั ในการกาหนดปริมาณ เงินของโลก ในขณะที่ประเทศอ่ืนๆในโลกไม่มีแมก้ ระทง่ั บทบาทในการกาหนดปริมาณ เงินในประเทศตวั เอง ประเทศท่ีมีความไม่สมดุลพ้นื ฐาน (fundamental disequilibrium) ควรจะมีการลดคา่ เงิน ของตวั เองเพื่อปรับตวั เขา้ สู่สมดุล แต่ภายใตร้ ะบบ Bretton Woods อเมริกาที่ประสบภาวะ ไม่สมดุลพ้นื ฐานกลบั ประกาศลดคา่ เงินไม่ได้ • ภายใตร้ ะบบอตั ราแลกเปล่ียนลอยตวั ประเทศมีอิสระในการดาเนินนโยบาย การเงินการคลงั เพื่อปรับอตั ราแลกเปลี่ยนได้ และค่าเงินของแต่ละประเทศจะถูก กาหนดจากกลไกราคาในตลาดเงินตราต่างประเทศอยา่ งสมมาตรกนั ทวั่ โลก
4. ระบบอัตราแลกเปลย่ี นในปัจจุบนั ขอ้ ดีของระบบอตั ราแลกเปลี่ยนแบบลอยตวั • 3. อตั ราแลกเปล่ียนเป็น Automatic Stabilizers ในระบบเศรษฐกิจ เมื่อมีการลดลงของอุปสงคใ์ น ประเทศเน่ืองจากอุปสงคต์ ่อสินคา้ ส่งออกนอ้ ยลง เสน้ DD เคลื่อน ไปทางซา้ ยดุลยภาพเปลี่ยนจากจุด ท่ี1 เป็นจุดท่ี2 ท่ีอตั ราแลกเปล่ียน สูงข้ึน ค่าเงินในประเทศอ่อนค่าลง ระบบอตั ราแลกเปล่ียนคงท่ีธ.กลาง แทรกแซงซ้ือเงินสกลุ ในประเทศ ขายเงินตราต่างประเทศ ปริมาณเงิน ในประเทศลดลง เสน้ AA เลื่อน ไปทางซา้ ย ผลผลิตลดลงเป็น Y 3 ซ่ึงลดลงมากกวา่ กรณีอตั รา แลกเปล่ียนคงที่
4. ระบบอัตราแลกเปลย่ี นในปัจจุบนั • ในกรณีท่ีอุปสงคต์ ่อสินคา้ ส่งออกลดลงอยา่ งถาวร อตั ราแลกเปลี่ยนคาดการณ์สูงข้ึนดว้ ย เสน้ AA2 เล่ือนกลบั ไปเป็นเสน้ AA1 เราจะเห็นวา่ ▫ เมื่อ shock ในระบบเศรษฐกิจเกิดข้ึนอยา่ งถาวร อตั ราแลกเปลี่ยนจะยงิ่ ปรับตวั สูงข้ึน คา่ เงิน ในประเทศอ่อนค่ามากกวา่ กรณี shock แบบชว่ั คราว ▫ อตั ราแลกเปลี่ยนท่ีอ่อนคา่ น้ีเป็นตวั บรรเทาใหร้ ายไดห้ รือผลผลิตในประเทศไม่ลดลงมากนกั • ภายใตร้ ะบบอตั ราแลกเปลี่ยนคงที่ถา้ หาก shock ที่เกิดข้ึนทาใหเ้ กิดปัญหาความไม่สมดุล พ้นื ฐาน (fundamental disequilibrium) จะมีการคาดการณ์วา่ ค่าเงินในประเทศจะมีการลด ค่า นกั ลงทุนพากนั เกง็ กาไรค่าเงินและเคล่ือนยา้ ยเงินลงทุนออกนอกประเทศ ทาใหเ้ งิน สารองระหวา่ งประเทศลดลง ปริมาณเงินในประเทศหดตวั และยง่ิ ทาใหป้ ัญหาการ วา่ งงานรุนแรงข้ึน • ภายใตร้ ะบบอตั ราแลกเปลี่ยนลอยตวั อตั ราแลกเปล่ียนมีการอ่อนค่าอยา่ งแทจ้ ริง เพราะ อตั ราแลกเปลี่ยนที่เป็นตวั เงินอ่อนค่า การเปล่ียนแปลงในอตั ราแลกเปลี่ยนน้ีเองจะไม่ กดดนั ใหร้ าคาปรับตวั ลดลงและไม่สร้างแรงจูงใจในการเกง็ กาไรในค่าเงิน
4. ระบบอัตราแลกเปลยี่ นในปัจจุบนั ขอ้ ดีของระบบอตั ราแลกเปล่ียนแบบลอยตวั • 4. อตั ราแลกเปล่ียนลอยตวั สามารถป้องกนั การขาดดุลและเกินดุลในบญั ชี เดินสะพดั ที่มากเกินไป ▫ เมื่อมีการขาดดุลบญั ชีเดินสะพดั ประเทศตอ้ งกยู้ มื เงินจากต่างประเทศเพ่ือ ชดเชยการขาดดุล ▫ ในอนาคตประเทศตอ้ งชาระคืนเงินกทู้ ่ีกยู้ มื จากต่างประเทศ หมายความวา่ ประเทศตอ้ งมีรายไดจ้ ากการส่งออกมากข้ึนเพอ่ื นารายไดส้ ่วนน้ีไปจ่ายคืนเงินกู้ ▫ อตั ราแลกเปลี่ยนลอยตวั จะมีการปรับตวั สูงข้ึน เพือ่ ใหค้ ่าเงินในประเทศอ่อนค่า และผลกั ดนั ใหก้ ารส่งออกดีข้ึน ระบบอตั ราแลกเปลี่ยนลอยตวั จึงช่วยใหม้ ีการ ปรับตวั ของดุลบญั ชีเดินสะพดั หรือดุลการชาระเงินไดอ้ ยา่ งอตั โนมตั ิโดยที่ ธนาคารกลางไม่จาเป็นตอ้ งดารงทุนสารองระหวา่ งประเทศไวเ้ ป็นจานวนมาก เพือ่ ปกป้องค่าเงิน
4. ระบบอัตราแลกเปลยี่ นในปัจจุบนั ขอ้ ดีของระบบอตั ราแลกเปล่ียนแบบลอยตวั • 5. การเกง็ กาไรในค่าเงินมีเสถียรภาพ (stabilizing speculation) ภายใตร้ ะบบอตั รา แลกเปลี่ยนลอยตวั • แนวคิดเกี่ยวกบั การเกง็ กาไรในค่าเงินแบ่งเป็น 2 แนวคิด คือ การเกง็ กาไรอยา่ งมีเสถียรภาพ (stabilizing speculation) และการเกง็ กาไรท่ีไม่มีเสถียรภาพ (destabilizing speculation) ▫ การเกง็ กาไรท่ีมีเสถียรภาพเป็นการเกง็ กาไรท่ีตรงขา้ มกบั ตลาด เม่ืออตั ราแลกเปล่ียนต่า นกั เกง็ กาไรคาดวา่ อตั ราแลกเปล่ียนจะสูงข้ึน นกั เกง็ กาไรจึงซ้ือเงินตราต่างประเทศเกบ็ ไวแ้ ละขาย เงินตราต่างประเทศออกเพ่ือทากาไรเม่ืออตั ราแลกเปลี่ยนสูงข้ึนในอนาคต ▫ การเกง็ กาไรโดยการซ้ือเงินตราต่างประเทศทาใหเ้ งินตราต่างประเทศมีราคาแพงหรือเงินตรา ต่างประเทศแขง็ ค่า ค่าเงินในประเทศอ่อนค่าเป็นไปตามท่ีนกั เกง็ กาไรคาดการณ์ไว้ ▫ การเกง็ กาไรลกั ษณะน้ีจะทาใหอ้ ตั ราแลกเปล่ียนเคล่ือนไหวไปตามตวั แปรเศรษฐกิจพ้ืนฐาน และอตั ราแลกเปลี่ยนมีการเปลี่ยนแปลงเพียงเลก็ นอ้ ย
4. ระบบอัตราแลกเปลยี่ นในปัจจุบนั ขอ้ ดีของระบบอตั ราแลกเปล่ียนแบบลอยตวั ▫ การเกง็ กาไรท่ีไม่มีเสถียรภาพเป็นการเกง็ กาไรที่มีทิศทางเดียวกบั การผนั ผวนของตลาด เม่ืออตั รา แลกเปล่ียนลดลง นกั เกง็ กาไรคาดวา่ อตั ราแลกเปลี่ยนจะยง่ิ ลดต่าลงในอนาคต นกั เกง็ กาไรขายเงินตรา ต่างประเทศ ▫ การขายเงินตราต่างประเทศจะยงิ่ ทาใหค้ า่ เงินในประเทศแขง็ คา่ การเกง็ กาไรลกั ษณะน้ีทาใหอ้ ตั รา แลกเปล่ียนผนั ผวนมาก • ผสู้ นบั สนุนระบบอตั ราแลกเปล่ียนลอยตวั มองวา่ ภายใตร้ ะบบน้ีนกั เกง็ กาไรผลกั ดนั ใหเ้ กิดการเกง็ กาไรแบบมีเสถียรภาพ ▫ เม่ืออตั ราแลกเปลี่ยนจะสูงข้ึน นกั เกง็ กาไรคาดวา่ อตั ราแลกเปล่ียนจะต่าลง การเกง็ กาไรโดยการขาย เงินตราต่างประเทศกดดนั ใหอ้ ตั ราแลกเปลี่ยนต่าลงจริงๆ ▫ การแขง็ ค่าของคา่ เงินในประเทศเป็นตวั จากดั ไม่ใหด้ ุลบญั ชีเดินสะพดั เกินดุลมากเกินไป อตั รา แลกเปลี่ยนภายใตร้ ะบบอตั ราแลกเปลี่ยนแบบลอยตวั จะไม่ผนั ผวนมากไปเพราะการเกง็ กาไรท่ีมี เสถียรภาพช่วยทาใหอ้ ตั ราแลกเปลี่ยนอยใู่ นระดบั ที่เหมาะสมกบั การเกิดสมดุลภายนอก ▫ การที่อตั ราแลกเปลี่ยนถูกกาหนดจากกลไกราคาในตลาดเงินตราต่างประเทศทาใหแ้ รงจูงใจในการ โจมตีค่าเงินมีนอ้ ย
4. ระบบอัตราแลกเปลยี่ นในปัจจุบนั ขอ้ เสียของระบบอตั ราแลกเปลี่ยนแบบลอยตวั • อตั ราแลกเปลี่ยนผนั ผวนข้ึนลงตามอปุ สงคแ์ ละอปุ ทานของเงินตราต่างประเทศเป็น อปุ สรรคสาหรับในการดาเนินธุรกิจระหวา่ งประเทศ เพราะจะทาใหเ้ กิดกาไรหรือขาดทุน จากการผนั ผวนได้ • ในการท่ีจะลดความผนั ผวนในอตั ราแลกเปลี่ยนและปกป้องความเส่ียงจากอตั ราแลกเปลี่ยน ไดป้ ระเทศตอ้ งพฒั นาตลาดเงินตราต่างประเทศล่วงหนา้ ใหท้ างานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
4. ระบบอัตราแลกเปลย่ี นในปัจจุบนั ขอ้ ดีของระบบอตั ราแลกเปลี่ยนแบบคงท่ี • 1. ความมีวนิ ยั ในการดาเนินนโยบายเศรษฐกิจมหภาค (Discipline for Macroeconomic Policies) ▫ ภายใตร้ ะบบอตั ราแลกเปล่ียนลอยตวั ธนาคารกลางมีความเป็นอิสระในการดาเนินนโยบาย การเงิน ธนาคารกลางสามารถเปลี่ยนปริมาณเงินใหเ้ หมาะสมกบั ระบบเศรษฐกิจในประเทศ ▫ ความเป็นอิสระในการดาเนินนโยบายอาจทาใหธ้ นาคารกลางหรือรัฐบาลดาเนินนโยบายอยา่ ง ไม่มีวนิ ยั เช่น การใชน้ โยบายการเงินขยายตวั เป็นเวลานานทาใหป้ ระเทศประสบปัญหาเงินเฟ้อ ในอนาคต ▫ การที่อตั ราแลกเปล่ียนถูกกาหนดใหค้ งท่ี ธนาคารกลางหรือรัฐบาลตอ้ งมีวินยั ในการดาเนิน นโยบายเพอ่ื รักษาอตั ราแลกเปล่ียนใหค้ งที่อยเู่ สมอ • 2. เพมิ่ ความเชื่อมน่ั จากนกั ลงทุนจากการที่อตั ราแลกเปลี่ยนมีเสถียรภาพ ▫ ภายใตร้ ะบบอตั ราแลกเปลี่ยนคงที่ นกั ลงทุนไม่ตอ้ งเผชิญความเส่ียงจากความผนั ผวนของอตั รา แลกเปลี่ยน ตน้ ทุนการดาเนินธุรกรรมระหวา่ งประเทศนอ้ ยลง ทาใหเ้ กิดสภาวะท่ีดีต่อการคา้ การลงทุน
4. ระบบอัตราแลกเปลย่ี นในปัจจุบนั ขอ้ เสียของระบบอตั ราแลกเปล่ียนแบบคงท่ี • 1. การกาหนดอตั ราแลกเปลี่ยนท่ีเหมาะสมไม่ใช่เรื่องง่าย ถา้ หากเรากาหนดอตั รา แลกเปลี่ยนใหม้ ีมูลค่าสูงเกินไป (overvalued) จะทาใหร้ าคาสินคา้ ส่งออกแพงเกินไป ราคา สินคา้ เขา้ ถูกเกินไป ส่งผลใหใ้ หด้ ุลการคา้ เลวลงได้ • 2. การกาหนดค่าเงินคงท่ีอาจถูกโจมตีค่าเงินจากนกั เกง็ กาไรไดถ้ า้ หากเง่ือนไขอื่นๆ อานวย เช่น เงินทุนสารองระหวา่ งประเทศมีนอ้ ย ไม่มีการควบคุมการปริวรรตเงินตรา • 3. เม่ือเกิดปัญหาขาดดุลหรือเกินดุลในดุลการชาระเงิน อตั ราแลกเปล่ียนไม่สามารถเป็น กลไกช่วยในการปรับตวั เพือ่ บรรเทาปัญหาได้
4. ระบบอัตราแลกเปลย่ี นในปัจจุบนั 1.1 การใช้เงนิ สกลุ อื่นแทนเงนิ ตราของตน (dollarization) (Ecuador, Panama) 1. กาหนดค่าเงนิ องิ กบั สกลุ อื่น (peg) 1.2 การองิ กบั เงนิ ตราสกลุ หลกั เพยี งสกลุ เดยี ว (single currency peg หรือ currency board ) (Argentina, Brunei, Estonia, Lithuania) 1.3 การองิ กบั เงนิ ตราหลายสกลุ (basket peg) (Fiji, Morocco, Latvia) 2. ยืดหยุ่นอย่างจากดั (limited flexibility) 2.1 crawling pegs ค่าเงนิ เป้าหมายเปลยี่ นได้ 2.2 crawling bands แถบรอบเป้าหมายเปลยี่ นได้ 3. ยืดหย่นุ มากขนึ้ (more flexible) 3.1 managed float (Japan, Thailand) 2.2 free float (Euro, USA)
Fixed Exchange Rate System Gold Standard Crawling peg / Gold Crawling band Gold Exchange Basket of Standard Currencies US dollar Pegged System A group of currencies major currencies
4. ระบบอัตราแลกเปลยี่ นในปัจจุบนั • ประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจใหญ่มกั ใชร้ ะบบอตั ราแลกเปล่ียนลอยตวั ประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจเลก็ มกั ใชร้ ะบบอตั ราแลกเปลี่ยนอิงกบั เงินตราสกลุ หลกั • ประเทศท่ีมีปัญหาเงินเฟ้อ, มีการผลิตหลากหลาย (diversified economies) ไม่พ่งึ พาสาขาหน่ึงในอตั ราท่ีสูง, มีความเกี่ยวเนื่องกบั ตลาด ทุนของโลกมาก ใชร้ ะบบอตั ราแลกเปล่ียนลอยตวั
4. ระบบอัตราแลกเปลย่ี นในปัจจุบนั • ปัญหาของระบบอตั ราแลกเปล่ียนในปัจจุบนั ▫ Currency misalignment อตั ราแลกเปลี่ยนไม่ปรับตวั เขา้ สู่ดุลยภาพ ค่าเงินแขง็ คา่ ท้งั ๆท่ีประเทศขาดดุลการชาระเงินต่อเน่ือง ถึงแมจ้ ะปล่อยใหอ้ ตั ราแลกเปลี่ยนเป็นไปตามกลไกตลาด แต่กต็ อ้ งมีการแทรกแซงเพ่อื ให้ อตั ราแลกเปลี่ยนไดด้ ุลยภาพ ▫ ส่งเสริมใหเ้ กิดการกีดกนั ทางการคา้ ใชก้ ารกีดกนั ทางการคา้ เป็นมาตรการแกป้ ัญหาการขาดดุล/เกินดุลในดุลการชาระเงินแทน การแทรกแซงค่าเงิน ▫ นโยบายเศรษฐกิจมหภาคของประเทศต่างๆไม่เป็นอิสระต่อกนั (no policy autonomy) การเปิ ดเสรีการคา้ การลงทุนระหวา่ งประเทศที่มากข้ึน นโยบายมีผลซ่ึงกนั และกนั ▫ ก่อใหเ้ กิดวกิ ฤตเศรษฐกิจไดง้ ่าย เงินทุนเคล่ือนยา้ ยระหวา่ งประเทศมากและเร็ว เกง็ กาไรในค่าเงิน
Search