Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์

Published by prapapon.p, 2020-06-25 04:04:59

Description: 1-math

Keywords: คณิตศาตร์คอม

Search

Read the Text Version

๑ แผนการจดั การเรียนรู้มุ่งเนน้ สมรรถนะ บรู ณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์และปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง รหัส 20204 - 2003 ชื่อวชิ า คณติ ศาสตร์คอมพวิ เตอร์ ๑–๒–๒ โดย นางประภาพร ผิวเรอื งนนท์ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศกึ ษา 2563 ประเภทวชิ า พาณชิ ยกรรม สาขาวชิ าคอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ วิทยาลัยการอาชพี นวมนิ ทราชินมี ุกดาหาร สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ๒ สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ

๒ แผนการจดั การเรียนรู้มุ่งเนน้ สมรรถนะ บรู ณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะ อนั พึงประสงค์และปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง รหัส 20204 - 2003 ชื่อวชิ า คณติ ศาสตร์คอมพวิ เตอร์ ๑–๒–๒ โดย นางประภาพร ผิวเรอื งนนท์ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศกึ ษา 2563 ประเภทวชิ า พาณชิ ยกรรม สาขาวชิ าคอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ วิทยาลัยการอาชีพนวมนิ ทราชินมี ุกดาหาร สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ๒ สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ

๓ แผนการจัดการเรยี นรมู้ ่งุ เน้นสมรรถนะบูรณาการคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ และปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง รหัส ๒๒๐๔ ๒๐๐๔ ช่อื วิชา คณิตศาสตรค์ อมพิวเตอร์ ๑-๒-๒ ระดบั ชั้น/กลุม่ ปวช.๒ สาขาวชิ าคอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ จานวนชว่ั โมงการเรียนรู้ ๓ ชั่วโมง / สปั ดาห์ แผนจดั การเรียนรู้ ๑๘ สปั ดาหต์ ่อภาคเรยี น รวมจานวน ๕๔ ช่ัวโมง ๒ หนว่ ยกิต ………………………………… ………….………………………… (นางประภาพร ผวิ เรอื งนนท)์ (นางสดุ ารตั น์ วงศ์คาพา) ครูประจาวิชา หัวหน้าสาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ เรียนเสนอ รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ ................................................................................................................................... ………………………………… (นายณฐั ภณ ศรลี าดเลา) หัวหนา้ งานพฒั นาหลักสตู รการเรียนการสอน เรยี นเสนอ ผ้อู านวยการฯ................................................................................................................................... …………………………………… (นายปญั ญา มุ่งดี) รองผูอ้ านวยการฝา่ ยวิชาการ คาส่ังผู้อานวยการสถานศึกษา  อนมุ ตั ิ  ไมอ่ นมุ ตั ิ เพราะ......................................................................................... ……………………………………… (นายวิชา อาญาเมือง) ผ้อู านวยการวทิ ยาลยั การอาชพี นวมินทราชนิ มี กุ ดาหาร

๔ คานา แผนการจัดการเรยี นรู้มุ่งเน้นสมรรถนะบูรณาการคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอัน พงึ ประสงค์ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รหัสวิชา ๒๒๐๔ ๒๐๐๔ ช่ือคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ชดุ นี้ ใช้เป็นแผนในการจัดการเรียนรู้ให้กับนักศึกษาระดับช้ัน ปวช.๒ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยการ อาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร ซึ่งผู้จัดทาได้วิเคราะห์จุดประสงค์สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ มาตรฐาน การศึกษาวิชาชีพสาขาวิชา จุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคาอธิบายรายวิชา แล้วจึงกาหนด กรอบเนื้อหากาหนดการเรียนรู้และจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ แบบเน้นสมรรถนะรวมทงั้ หมด ๑๖ แผนการจัดการเรียนรู้ ใช้เวลาในการจัดการเรียนรู้รวม ๕๔ ชวั่ โมง จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนการจัดการ เรียนรู้ชุดนี้ จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดการเรียนรู้ที่จะใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนรู้มีความรู้ ทักษะฝีมือมีความสามารถ มีประสบการณ์ในการแสดงความรู้เก่ียวกับคณิตศาสตร์ คอมพวิ เตอร์ บรรลจุ ดุ ประสงค์และสมรรถนะของรายวชิ าท่หี ลกั สูตรทีก่ าหนด (นางประภาพร ผิวเรอื งนนท)์ ผูจ้ ัดทา

๕ สารบัญ คานา หนา้ สารบัญ ๒ ขอ้ กาหนดการจัดการเรียนรู้ ๓ ๔ การวิเคราะหห์ ลกั สตู รมุง่ เน้นสมรรถนะรายวชิ า ๕-1๓ แผนผงั การบรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม 1๔-1๕ และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๑๖ แผนการวดั ผลประเมนิ ผล ๑๗ การปฐมนเิ ทศการเรยี นรู้ ๑๘-21 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๑ งานศกึ ษาประเภทของระบบจานวน 22-26 27-31 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๒ งานศกึ ษาสมบัติจานวนจรงิ 32-36 แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี ๓ งานศึกษาระบบเลขฐานท่ใี ชใ้ นคอมพวิ เตอรแ์ ละระบบเลขฐานสิบ 37-41 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๔ งานศึกษาระบบเลขฐานสอง ฐานแปด ฐานสบิ หก 42-46 47-52 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๕ งานแปลงเลขฐานต่างๆเปน็ เลขฐานสบิ 53-57 แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ ๖ งานแปลงเลขฐานสบิ เปน็ เลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสิบหก 58-61 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๗ งานแปลงเลขฐานสองเปน็ เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก 62-71 72-81 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๘ งานบวก ลบเลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสบิ หก 82-90 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๙ งานคูณเลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสบิ หก 91-95 แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๑๐ งานศึกษาประพจนแ์ ละและการเช่ือมประพจน์ 96-103 104-108 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๑๑ งานศกึ ษาเกย่ี วกบั เกตพื้นฐานและการเขียนประพจน์บลู นี 109-113 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑๒ งานเขยี นวงจรลอจกิ จากประพจนบ์ ูลีน แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๑๓ งานศึกษาความหมายและชนดิ ของเมตรกิ ส์ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๑๔ งานบวก ลบ คณู เมตริกส์ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๑๕ งานแกส้ มการเชงิ เสน้ ตวั แปรเดียว แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๖ งานแก้สมการเชงิ เส้นสองตัวแปร

๖ ข้อกาหนดการจดั การเรียนรู้ รหสั วิชา 20204 2003 ชื่อวชิ าคณติ ศาสตรค์ อมพิวเตอร์ 1- ๒ - 2 ระดับชั้น/กลุม่ ปวช. 2 สาขาวชิ าคอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ จานวนชั่วโมงการเรยี นรู้ ๓ ช่ัวโมง / สัปดาห์ แผนจัดการเรยี นรู้ 18 สปั ดาห์ต่อภาคเรียน รวมจานวน 54 ช่ัวโมง 3 หน่วยกิต จุดประสงคร์ ายวชิ า เพอื่ ให้ 1. เขา้ ใจเก่ยี วกบั วิวฒั นาการของระบบจานวนและความสัมพันธร์ ะหว่างคณิตศาสตรก์ บั การทางานของ เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ 2. เขา้ ใจเกี่ยวกับระบบจานวน ระบบเลขฐาน พีชคณติ บลู นี พีชคณติ เชิงเส้นและทฤษฎีเมตรกิ ซ์ 3. สามารถคานวณระบบจานวน ระบบเลขฐาน พีชคณติ บลู ีน พชี คณิตเชิงเสน้ และทฤษฎเี มตรกิ ซ์ 4. มีเจตคตแิ ละกิจนสิ ัยที่ในการปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความละเอยี ดรอบคอบและถกู ต้อง สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรเู้ กย่ี วกับระบบจานวน ระบบเลขฐาน พีชคณติ บูลีน พีชคณิตเชิงเสน้ และทฤษฎเี มตรกิ ซ์ 2. แสดงความรเู้ กีย่ วกบั การคานวณทางคณติ ศาสตรค์ อมพวิ เตอร์ คาอธบิ ายรายวิชา ศกึ ษาเกีย่ วกบั ววิ ัฒนาการของระบบจานวนและความสัมพนั ธ์ระหว่างคณติ ศาสตรก์ บั การทางานของ คอมพวิ เตอร์ ระบบเลขฐาน พีชคณิตบูลนี คอมพิวเตอรก์ ับเลขฐาน พชี คณติ เชงิ เส้น และทฤษฎีเมตรกิ ซ์ หน่วยการจดั การเรยี นรู้มงุ่ เนน้ สมรรถนะของรายวชิ า หน่วยที่ ชือ่ หนว่ ย สปั ดาหท์ ี่ ช่ัวโมง 1 งานศกึ ษาประเภทของระบบจานวน 1 3 2 งานศกึ ษาสมบัติจานวนจรงิ 2 3 3 งานศึกษาระบบเลขฐานทใ่ี ชใ้ นคอมพิวเตอรแ์ ละระบบเลขฐานสิบ 3 3 4 งานศกึ ษาระบบเลขฐานสอง ฐานแปด ฐานสบิ หก 4 3 5 งานแปลงเลขฐานตา่ งๆเปน็ เลขฐานสิบ 5 3 6 งานแปลงเลขฐานสบิ เป็นเลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสบิ หก 6 3 7 งานแปลงเลขฐานสองเปน็ เลขฐานแปด และเลขฐานสบิ หก 3 ๘ งานบวก ลบเลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสิบหก 7 3 ๙ งานคณู หารเลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสิบหก 3 ๑๐ งานศกึ ษาประพจน์และและการเชอ่ื มประพจน์ 8 6 ๑๑ งานศึกษาเกย่ี วกบั เกตพื้นฐานและการเขียนประพจน์บลู ีน 9 6 ๑๒ งานเขยี นวงจรลอจกิ จากประพจนบ์ ูลีน 10-11 3 ๑๓ งานศกึ ษาความหมายและชนดิ ของเมตรกิ ส์ 12-13 3 ๑๔ งานบวก ลบ คูณเมตรกิ ส์ 14 3 ๑๕ งานแกส้ มการเชงิ เส้นตัวแปรเดียว 15 3 ๑๖ งานแก้สมการเชิงเสน้ สองตวั แปร 16 3 17 54 18 รวม

๗ การวเิ คราะหห์ ลกั สตู รมงุ่ เน้นสมรรถนะรายวิชา ตารางที่ ๑ แสดงการกาหนดกรอบเน้ือหาจากคาอธบิ ายรายวชิ า ๒๐2๐๔-๒๐๐3 ชือ่ วิชา คณิตศาสตร์คอมพวิ เตอร์ จานวน ๒ หน่วยกิต เวลาเรียน ๓ ชัว่ โมง/สปั ดาห์ จุดประสงค์รายวชิ า สมรรถนะรายวิชา งาน / เนือ้ หาการเรียนรู้ของวิชา กิจกรรม 1. เข้าใจเกี่ยวกบั ๑. แสดงความรู้ งานศกึ ษาประเภทของระบบจานวน ๑. ผู้จัดการ วิวัฒนาการของระบบ เก่ียวกับระบบจานวน งานศึกษาสมบัตจิ านวนจริง งานศึกษาระบบเลขฐานท่ใี ชใ้ น เรียนรู้ อธบิ าย จานวนและ ระบบเลขฐาน สาธติ สังเกต คอมพิวเตอรแ์ ละระบบเลขฐานสบิ สัมภาษณ์ ความสัมพันธร์ ะหว่าง พชี คณิตบูลีน คณติ ศาสตร์กับการ พีชคณติ เชิงเส้น งานศึกษาระบบเลขฐานสอง ฐานแปด ทดสอบ ทางานของเครือ่ ง ทฤษฎเี มทรกิ ซ์ ฐานสิบหก งานศึกษาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง ประเมินผล คอมพวิ เตอร์ ๒. แสดงความรู้ คณติ ศาสตรก์ ับการทางานของ ๒. ผูเ้ รยี นรู้ ทา 2. เข้าใจเก่ยี วกบั คอมพิวเตอร์และแปลงเลขฐานต่างๆ ระบบจานวน ระบบ เกย่ี วกับการคานวณ เป็นเลขฐานสบิ แบบทดสอบ เลขฐาน พชี คณิตบลู นี ทางคณติ ศาสตร์ งานแปลงเลขฐานสบิ เป็นเลขฐานสอง ฝกึ ทักษะปฏิบตั ิ พชี คณิตเชิงเสน้ และ คอมพวิ เตอร์ เลขฐานแปด เลขฐานสบิ หก จดบันทกึ ทฤษฎีเมตรกิ ซ์ งานแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปด 3. สามารถคานวณ สรปุ วิจารณ์ ระบบจานวน ระบบ ประเมินผล เลขฐาน พชี คณติ บลู นี พีชคณติ เชงิ เสน้ และ และเลขฐานสบิ หก ทฤษฎีเมตริกซ์ 4. มีเจตคติและกจิ งานบวก ลบเลขฐานสอง เลขฐานแปด นสิ ยั ทใ่ี นการ เลขฐานสิบหก ปฏบิ ตั ิงานด้วยความ ละเอียดรอบคอบและ งานคณู เลขฐานสอง เลขฐานแปด ถูกต้อง เลขฐานสิบหก งานศกึ ษาประพจน์และและการเชื่อม ประพจน์ งานศกึ ษาเกี่ยวกบั เกตพนื้ ฐานและการ เขยี นประพจนบ์ ูลีน งานเขียนวงจรลอจกิ จากประพจนบ์ ลู ีน งานศกึ ษาความหมายและชนดิ ของ เมตรกิ ส์ งานบวก ลบ คณู เมตริกส์ งานแก้สมการเชิงเสน้ ตวั แปรเดียว งานแก้สมการเชงิ เสน้ สองตัวแปร

๘ ตารางที่ ๒ แสดงการวิเคราะห์แหลง่ ข้อมลู ของหวั ขอ้ งาน/หวั ข้อเรื่อง จากคาอธิบายรายวิชา รหสั วิชา ๒๐2๐๔-๒๐๐3 ชอ่ื วชิ าคณติ ศาสตรค์ อมพิวเตอร์ จานวน ๒ หน่วยกติ เวลาเรียน ๓ ชวั่ โมง/สัปดาห์ หนว่ ยที่ ช่อื หน่วย แหล่งขอ้ มูล ABCDE ๑ งานศกึ ษาประเภทของระบบจานวน /// / ๒ งานศกึ ษาสมบัตจิ านวนจรงิ /// / ๓ งานศึกษาระบบเลขฐานทใี่ ชใ้ นคอมพวิ เตอร์และระบบเลขฐานสิบ / / / / ๔ งานศกึ ษาระบบเลขฐานสอง ฐานแปด ฐานสบิ หก /// / งานศกึ ษาความสมั พันธร์ ะหว่างคณติ ศาสตรก์ ับการทางานของ ๕ คอมพวิ เตอรแ์ ละแปลงเลขฐานต่างๆเป็นเลขฐานสิบ /// / ๖ งานแปลงเลขฐานสบิ เป็นเลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสิบหก / / / / ๗ งานแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปด และเลขฐานสบิ หก /// / ๘ งานบวก ลบเลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสบิ หก /// / ๙ งานคณู เลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสบิ หก /// / ๑๐ งานศึกษาประพจน์และและการเชอื่ มประพจน์ /// / ๑๑ งานศกึ ษาเกี่ยวกับเกตพืน้ ฐานและการเขียนประพจนบ์ ลู นี /// / ๑๒ งานเขียนวงจรลอจกิ จากประพจนบ์ ูลนี /// / ๑๓ งานศึกษาความหมายและชนิดของเมตรกิ ส์ /// / ๑๔ งานบวก ลบ คณู เมตรกิ ส์ /// / ๑๕ งานแก้สมการเชงิ เสน้ ตัวแปรเดียว /// / ๑๖ งานแก้สมการเชงิ เส้นสองตัวแปร /// / A = หลกั สูตรรายวิชา B = เอกสาร และตารา แหลง่ ข้อมูล C = ประสบการณ์ตนเอง D = ผเู้ ชย่ี วชาญ E = อืน่ ๆ เช่น Internet

๙ ตารางที่ ๓ แสดงการกาหนดกรอบคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์จาก จุดประสงคร์ ายวิชา รหสั วิชา ๒๐2๐๔-๒๐๐3 ชอ่ื วชิ าคณติ ศาสตร์คอมพิวเตอร์ จานวน ๒ หน่วยกิต เวลาเรียน ๓ ช่ัวโมง/สัปดาห์ คุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และ พฤติกรรมบง่ ชขี้ องวชิ า คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. มกี ารเตรียมความพรอ้ มในการเรยี นและปฏบิ ัติงาน ๒. ปฏิบตั ิงานดว้ ยความประณตี รอบคอบ และถกู ตอ้ ง ๓. ปฏบิ ัตติ ามกฎระเบียบขอ้ บงั คบั ขอ้ ตกลงต่างๆ ๕. มกี จิ นสิ ัยในการทางานดว้ ยความ ๔. ไมน่ าผลงานของคนอ่ืนมาแอบอา้ ง ประณตี รอบคอบ และถกู ต้อง ๕. มสี มั มาคารวะ ๖. รว่ มมอื กนั ในการทางาน ๗. ยอมรบั ความคิดเหน็ ของผูอ้ ืน่ ๘. เป็นผนู้ าและผ้ตู ามท่ดี ี ๙. ซกั ถามปญั หาข้อสงสยั ๑๐. สามารถแกไ้ ขปญั หาได้ดว้ ยตนเอง วิธีการประเมนิ พฤตกิ รรมบ่งช้ี ๑. ทกุ ครั้งทีเ่ ขา้ เรยี น จะประเมนิ พฤตกิ รรม ๕ ข้อ มคี ะแนนพฤตกิ รรม ๕ คะแนน ๒. ผเู้ รียน – ผสู้ อน รว่ มกันประเมนิ ๓. จะไม่มคี ะแนนให้ในพฤติกรรมที่บกพรอ่ ง ๔. ขาดเรยี นไม่มคี ะแนนพฤติกรรมบ่งชีใ้ ห้ (เปน็ ศนู ย์) ๕. รวมคะแนนที่สะสมได้ แลว้ เฉลี่ย เปน็ คะแนน ๒๐ คะแนนนาไปวัดผล

๑๐ ตารางท่ี ๔ แสดงการวิเคราะห์ระดบั พทุ ธิพิสยั ทกั ษะพิสยั จิตพสิ ยั และจานวนช่วั โมงของรายวชิ า รหสั วชิ า ๒๐2๐๔-๒๐๐3 ชื่อวชิ าคณิตศาสตรค์ อมพิวเตอร์ จานวน ๒ หน่วยกิต เวลาเรยี น ๓ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ ระดับพฤตกิ รรมทพี่ งึ ประสงค์ จา หนว่ ย ช่อื หน่วยการเรียนรู้ พุทธพิ สิ ยั ทักษะพิสยั จติ พิสยั รวม ลา นวน ที่ ดับ ชั่ว 1234561234512345 โมง ๑ งานศึกษาประเภทของระบบ /// / / 12 3 จานวน ๒ งานศึกษาสมบตั ิจานวนจรงิ / / / / / 12 3 ๓ งานศกึ ษาระบบเลขฐานทใี่ ชใ้ น 16 คอมพิวเตอร์และระบบ //// / / 3 เลขฐานสิบ ๔ งานศกึ ษาระบบเลขฐานสอง //// / / 16 3 ฐานแปด ฐานสบิ หก ๕ งานศกึ ษาความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง คณติ ศาสตร์กับการทางานของ คอมพิวเตอร์และแปลงเลขฐาน //// / / 16 3 ต่างๆเป็นเลขฐานสบิ ๖ งานแปลงเลขฐานสบิ เป็น เลขฐานสอง เลขฐานแปด / / / / / / 16 3 เลขฐานสบิ หก ๗ งานแปลงเลขฐานสองเปน็ เลข ฐานแปด และเลขฐานสบิ หก //// / / 16 3 ๘ งานบวก ลบเลขฐานสอง เลข //// / / 16 3 ฐานแปด เลขฐานสิบหก ๙ งานคณู เลขฐานสอง เลขฐาน //// / / 16 3 แปด เลขฐานสบิ หก รวมยกไป 9 18 27 63 27 27 136 27 พทุ ธิพิสยั ทักษะพสิ ัย จิตพสิ ยั 1 = ความรู้ 1 = เลยี นแบบ 1 = รับรู้ 2 = ความเข้าใจ 2 = ทาไดต้ ามแบบ 2 = ตอบสนอง 3 = การนาไปใช้ 3 = ทาได้ถกู ต้อง 3 = เหน็ คุณคา่ 4 = การวิเคราะห์ แมน่ ยา 4 = จัดระบบคุณคา่ 5 = การ 4 = ทาได้ต่อเนือ่ ง 5 = พฒั นาเปน็ ลกั ษณะ สงั เคราะห์ ประสานกัน นสิ ยั 6 = การประเมิน 5 = ทาได้อย่างเป็น ค่า ธรรมชาติ

๑๑ ตารางที่ ๔ แสดงการวิเคราะหร์ ะดับ พุทธพิ ิสยั ทกั ษะพิสยั จิตพสิ ัย และจานวนชว่ั โมงของรายวชิ า (ต่อ) รหสั วชิ า ๒๐2๐๔-๒๐๐3 ช่ือวิชาคณติ ศาสตร์คอมพิวเตอร์ จานวน ๒ หนว่ ยกติ เวลาเรียน ๓ ชัว่ โมง/สัปดาห์ ระดบั พฤตกิ รรมทีพ่ ึงประสงค์ จา หนว่ ย ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ พทุ ธพิ ิสัย ทกั ษะพิสัย จิตพสิ ยั รวม ลา นวน ท่ี ดบั ชวั่ 1234561234512345 โมง รวมยกมา 9 18 27 63 27 27 136 27 ๑๐ งานศกึ ษาประพจน์และและ //// / / 16 3 การเชอ่ื มประพจน์ ๑๑ งานศึกษาเกย่ี วกับเกตพน้ื ฐาน //// / / 16 6 และการเขียนประพจน์บลู ีน ๑๒ งานเขยี นวงจรลอจกิ จาก //// / / 16 6 ประพจนบ์ ลู นี ๑๓ งานศกึ ษาความหมายและชนิด //// / / 16 3 ของเมตรกิ ส์ ๑๔ งานบวก ลบ คณู เมตริกส์ / / / / / / 16 3 ๑๕ งานแกส้ มการเชงิ เส้นตวั แปร //// / / 16 3 เดยี ว ๑๖ งานแกส้ มการเชงิ เสน้ สองตวั //// / / 16 3 แปร รวมทง้ั หมด 16 32 48 91 48 48 248 27 ลาดบั ความสาคัญ 4321 2 2 54 รวมช่วั โมงจดั การเรยี นรู้ พทุ ธิพิสัย ทกั ษะพิสัย จติ พิสัย 1 = เลียนแบบ 1 = รับรู้ 1 = ความรู้ 2 = ทาไดต้ ามแบบ 2 = ตอบสนอง 2 = ความเขา้ ใจ 3 = การนาไปใช้ 3 = ทาไดถ้ กู ต้อง 3 = เห็นคุณค่า แมน่ ยา 4 = จัดระบบคุณค่า 4 = การวเิ คราะห์ 5 = พัฒนาเปน็ ลกั ษณะ 5 = การ 4=ทาไดต้ ่อเน่ือง สงั เคราะห์ นสิ ัย ประสานกนั 6 = การประเมิน 5 = ทาไดอ้ ย่างเป็น ค่า ธรรมชาติ

๑๒ ตารางที่ ๕ แสดงการวิเคราะห์สมรรถนะและกรอบเนอ้ื หาประจาหนว่ ยของรายวชิ า รหสั วชิ า ๒๐2๐๔-๒๐๐3 ช่อื วิชาคณติ ศาสตรค์ อมพิวเตอร์ จานวน ๒ หนว่ ยกติ เวลาเรยี น ๓ ชั่วโมง/สปั ดาห์ งาน / เน้อื หา สมรรถนะ พุทธิพิสัย ทกั ษะพิสัย จติ พิสัย (ความรู้) (ทกั ษะ) (พฤตกิ รรมบ่งชี)้ การเรยี นรูข้ อง รายวิชา ๑. รหู้ ลักการ ๑. แสดงความรู้ ๑.งานศกึ ษาประเภทของ ๑.งานเขียน ๑. มีการเตรยี ม เก่ยี วกบั จานวน เกยี่ วกับระบบ ระบบจานวน วงจรลอจกิ จาก ความพรอ้ มในการ ระบบเลขฐาน จานวน ระบบ ๒.งานศกึ ษาสมบัติจานวน ประพจนบ์ ลู ีน เรียนและปฏบิ ัตงิ าน พชี คณิตบูลนี เลขฐาน จรงิ ๒.งานแก้สมการเชิง ๒. ปฏบิ ัติตามกฎ พีชคณิตเสน้ ตรง พีชคณติ บลู นี ๓.งานศกึ ษาระบบเลขฐาน เสน้ ตวั แปรเดยี ว ระเบียบข้อบงั คับ และทฤษฎเี มท พีชคณติ เชิงเส้น ท่ใี ชใ้ นคอมพิวเตอร์และ ๓.งานแก้สมการเชิง ข้อตกลงต่างๆ ริกซ์ ทฤษฎเี มทรกิ ซ์ ระบบเลขฐานสบิ เสน้ สองตัวแปร ๓. ซกั ถามปญั หาขอ้ ๒. มที กั ษะใน ๔.งานศกึ ษาประพจนแ์ ละ ๔.งานบวก ลบ คูณ สงสยั การคานวณทาง และการเชอื่ มประพจน์ เมตรกิ ส์ ๔. มีสมั มาคารวะ คณติ ศาสตร์ ๕.งานศกึ ษาเกี่ยวกบั เกต ๕. ไม่นาผลงานของ คอมพิวเตอร์ พ้นื ฐานและการเขยี น คนอ่นื มาแอบอ้าง ๓. มีคุณธรรม ประพจน์บลู ีน จริยธรรมและ ๖.งานศึกษาความหมาย ค่านิยมทดี่ ี และชนดิ ของเมตรกิ ส์ ๒. แสดงความรู้ ๑.งานศกึ ษาระบบ ๑.งานแปลง ๑. มกี ารเตรยี ม เกย่ี วกบั การ เลขฐานสอง ฐานแปด เลขฐานสบิ เป็น ความพรอ้ มในการ คานวณทาง ฐานสบิ หก เลขฐานสอง เลข เรียนและปฏบิ ตั งิ าน คณติ ศาสตร์ ๒.งานศึกษาความสมั พนั ธ์ ฐานแปด ๒. ซกั ถามปญั หาข้อ คอมพิวเตอร์ ระหว่างคณติ ศาสตร์กับ เลขฐานสิบหก สงสยั การทางานของ ๒.งานแปลง ๓. ยอมรบั ความ คอมพวิ เตอร์และแปลง เลขฐานสองเปน็ เลข คิดเห็นของผ้อู ่ืน เลขฐานตา่ งๆเป็น ฐานแปด และ ๔. สามารถแก้ไข เลขฐานสิบ เลขฐานสิบหก ปัญหาไดด้ ้วยตนเอง ๓.งานบวก ลบ ๕. ปฏบิ ัติงานด้วย เลขฐานสอง เลข ความประณตี ฐานแปด รอบคอบ และ เลขฐานสิบหก ถกู ตอ้ ง ๔.งานคูณ เลขฐานสอง เลข ฐานแปด เลขฐานสบิ หก

๑๓ ตารางที่ ๖ แสดงการกาหนดหัวขอ้ งาน/หัวขอ้ เรื่อง และจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมการเรียนรู้ของรายวชิ า รหสั วชิ า 2204- 2004 ชอื่ วิชาคณติ ศาสตรค์ อมพวิ เตอร์ จานวน ๒ หน่วยกติ เวลาเรียน ๓ ช่ัวโมง/สัปดาห์ หนว่ ยท่ี หวั ข้องาน/หัวขอ้ เร่อื ง จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรมการเรียนรู้ ปฐมนิเทศการเรียนรู้ ๑ งานศึกษาประเภทของระบบจานวน สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรียนรู้ แสดงความรเู้ กยี่ วกบั ประเภทของระบบจานวนได้ เวลา ๑. ประเภทของระบบจานวน ๑. จาแนกประเภทของระบบจานวนไดถ้ ูกตอ้ ง ๓ ๒. มกี ิจนสิ ยั ในการปฏบิ ตั งิ านอยา่ งเปน็ ระเบยี บ ชั่วโมง ๒ งานศกึ ษาสมบตั ขิ องจานวนจรงิ สมรรถนะประจาหน่วยการเรยี นรู้ แสดงความร้เู กยี่ วกบั สมบตั ขิ องจานวนจริงได้ เวลา ๑. สมบตั ิของจานวนจริง ๑. อธบิ ายสมบัตขิ องจานวนจรงิ ไดถ้ ูกต้อง ๓ ๒. มกี จิ นสิ ยั ในการปฏบิ ัตงิ านอย่างเปน็ ระเบียบ ช่วั โมง ๓ งานศกึ ษาระบบเลขฐาน สมรรถนะประจาหน่วยการเรยี นรู้ แสดงความรเู้ ก่ยี วกับระบบเลขฐานได้ ๑. ระบบเลขฐานที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ ๑. อธบิ ายเลขฐานทเ่ี หมาะสมกบั คอมพวิ เตอรไ์ ด้ ๒. ระบบเลขฐานสบิ ถกู ต้อง เวลา ๓. ระบบเลขฐานสอง ๒. บอกตัวเลขทป่ี ระกอบอยูใ่ นระบบเลขฐานสบิ ๓ ๔. ระบบเลขฐานแปด เลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสบิ หกไดถ้ กู ตอ้ ง ชั่วโมง ๕. ระบบเลขฐานสบิ หก ๓. เขียนและอ่านเลขฐานสิบ เลขฐานสอง เลขฐาน แปด เลขฐานสบิ หกไดถ้ ูกตอ้ ง ๔. มกี ิจนสิ ัยในการปฏิบตั งิ านอย่างเปน็ ระเบยี บ ๔ งานแปลงเลขฐานตา่ งๆเปน็ เลขฐานสิบ สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ แปลงเลขฐานต่างๆเป็นเลขฐานสบิ ได้ เวลา ๑. การแปลงเลขฐานสองเป็นฐานสิบ ๑. แปลงเลขฐานสองเป็นฐานสิบได้ถกู ต้อง ๓ ๒. การแปลงเลขฐานแปดเป็นฐานสิบ ๒. แปลงเลขฐานแปดเปน็ ฐานสบิ ได้ถูกต้อง ชว่ั โมง ๓. การแปลงเลขฐานสบิ หกเป็นฐานสบิ ๓. แปลงเลขฐานสบิ หกเป็นฐานสบิ ได้ถกู ต้อง ๔. มีกจิ นสิ ยั ในการปฏบิ ตั ิงานอยา่ งเป็นระเบยี บ ๕ งานแปลงเลขฐานสิบเปน็ เลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสิบหก สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรยี นรู้ แปลงเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสบิ หกได้ เวลา ๑. การแปลงเลขฐานสบิ เป็นฐานสอง ๑. แปลงเลขฐานสบิ เปน็ ฐานสองได้ถูกตอ้ ง ๓ ๒. การแปลงเลขฐานสบิ เป็นฐานแปด ๒. แปลงเลขฐานสบิ เป็นฐานแปดได้ถูกต้อง ช่วั โมง ๓. การแปลงเลขฐานสบิ เป็นฐานสบิ หก ๓. แปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสบิ หกไดถ้ ูกต้อง ๔. มกี จิ นสิ ยั ในการปฏิบัตงิ านอย่างเปน็ ระเบยี บ

๑๔ หนว่ ยที่ หัวข้องาน/หัวข้อเรอื่ ง จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรมการเรียนรู้ ๖ งานแปลงเลขฐานสองเปน็ เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรียนรู้ แปลงเลขฐานสองเปน็ เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหกได้ เวลา ๑. การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปด ๑. แปลงเลขฐานสองเปน็ เลขฐานแปดได้ถกู ตอ้ ง ๓ ๒. การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบหก ๒. แปลงเลขฐานสองเปน็ เลขฐานสบิ หกได้ถกู ตอ้ ง ชวั่ โมง ๓. มีกจิ นสิ ยั ในการปฏิบตั ิงานอย่างเปน็ ระเบียบ ๗ งานบวก ลบเลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสิบหก สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรียนรู้ บวก ลบเลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสบิ หกได้ เวลา ๑. การบวก ลบเลขฐานสอง ๑. บวก ลบเลขฐานสองไดถ้ ูกตอ้ ง ๖ ๒. การบวก ลบเลขฐานแปด ๒. บวก ลบเลขฐานแปดได้ถูกต้อง ชั่วโมง ๓. การบวก ลบเลขฐานสบิ หก ๓. บวก ลบเลขฐานสิบหกได้ถกู ต้อง ๔. มีกจิ นสิ ัยในการปฏบิ ัตงิ านอย่างเปน็ ระเบยี บ ๘ งานคูณเลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสิบหก สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรียนรู้ บวก ลบเลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสิบหกได้ เวลา ๑. การคณู เลขฐานสอง ๑. คูณเลขฐานสองไดถ้ ูกต้อง ๓ ๒. การคณู เลขฐานแปด ๒. คณู เลขฐานแปดไดถ้ กู ต้อง ชว่ั โมง ๓. การคูณเลขฐานสบิ หก ๓. คูณเลขฐานสบิ หกได้ถกู ตอ้ ง ๔. มกี ิจนสิ ัยในการปฏบิ ัติงานอย่างเป็นระเบียบ ๙ งานหารเลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสบิ หก สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรียนรู้ คณู เลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสบิ หกได้ เวลา ๑. การหารเลขฐานสอง ๑. หารเลขฐานสองได้ถูกต้อง ๓ ๒. การหารเลขฐานแปด ๒. หารเลขฐานแปดได้ถูกตอ้ ง ชว่ั โมง ๓. การหารเลขฐานสบิ หก ๓. หารเลขฐานสบิ หกได้ถูกต้อง ๔. มีกิจนสิ ัยในการปฏิบตั งิ านอย่างเปน็ ระเบยี บ ๑๐ งานศึกษาประพจน์และและการเช่อื มประพจน์ สมรรถนะประจาหน่วยการเรยี นรู้ แสดงความรู้เกยี่ วกับประพจน์และการเชือ่ มประพจน์ได้ เวลา ๑. ประพจน์ ๑. จาแนกประพจน์ไดถ้ ูกต้อง ๓ ๒. การเชอ่ื มประพจน์ดว้ ยตัวเชื่อมตา่ งๆ ๒. เช่อื มประพจน์ด้วยตัวเช่ือมตา่ งๆไดถ้ กู ตอ้ ง ช่ัวโมง ๓. มกี จิ นสิ ัยในการปฏบิ ตั งิ านอยา่ งเปน็ ระเบยี บ ๑๑ งานศึกษาเกี่ยวกบั เกตพื้นฐานและการเขยี นประพจน์บูลีน สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรยี นรู้ แสดงความรเู้ ก่ียวกบั เกตพื้นฐานและการเขยี นประพจนบ์ ลู ีนได้ ๑. เกตพ้นื ฐาน ๑. อธิบายและจาแนกเกตประเภทตา่ งๆไดถ้ กู ต้อง เวลา ๒. การเขียนประพจน์บลู นี จากวงจรลอจิก ๒. เขียนประพจนบ์ ูลีนจากวงจรลอจกิ ได้ถกู ต้อง ๓ ๓. มีกิจนสิ ัยในการปฏบิ ัตงิ านอย่างเปน็ ระเบียบ ช่ัวโมง

๑๕ หน่วยท่ี หัวข้องาน/หัวข้อเรื่อง จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ ๑๒ งานเขียนวงจรลอจิกจากประพจน์บูลีน สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรียนรู้ เขียนวงจรลอจกิ จากประพจน์บลู ีนได้ เวลา ๑. การเขียนวงจรลอจกิ จากประพจนบ์ ลู ีน ๑. เขียนวงจรลอจิกจากประพจน์บลู นี ไดถ้ กู ต้อง ๓ ๒. มีกิจนสิ ยั ในการปฏิบัติงานอยา่ งเปน็ ระเบยี บ ชว่ั โมง ๑๓ งานศึกษาความหมายและชนิดของเมตรกิ ส์ สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรยี นรู้ แสดงความรู้เก่ยี วกบั ความหมายและชนิดของเมตรกิ ส์ได้ เวลา ๑. ความหมายและชนดิ ของเมตรกิ ส์ ๑. บอกความหมายและชนดิ ของเมตรกิ ส์ไดถ้ ูกตอ้ ง ๓ ๒. มีกจิ นสิ ัยในการปฏบิ ัตงิ านอยา่ งเป็นระเบียบ ช่วั โมง ๑๔ งานบวก ลบ คูณเมตรกิ ส์ สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ บวก ลบ คูณเมตริกส์ได้ เวลา ๑. การบวก ลบ คณู เมตรกิ ส์ ๑. บวก ลบ คณู เมตรกิ ส์ไดถ้ กู ต้อง ๖ ๒. การลบ คณู เมตริกส์ ๒. การลบ คณู เมตรกิ ส์ได้ถกู ตอ้ ง ชัว่ โมง ๓. การคณู เมตรกิ ส์ ๓. การคูณเมตริกส์ได้ถกู ตอ้ ง ๔. มกี จิ นสิ ัยในการปฏบิ ตั งิ านอย่างเปน็ ระเบียบ ๑๕ งานแก้สมการเชิงเส้นตวั แปรเดียว สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรียนรู้ งานแกส้ มการเชิงเส้นตวั แปรเดยี วได้ เวลา ๑. ความรูเ้ บ้อื งต้นเก่ียวกบั สมการ ๑. อธบิ ายสมการเชิงเส้นตัวแปรเดยี วได้ถูกต้อง ๓ ๒. สมการเชงิ เส้นตวั แปรเดยี ว ๒. แกส้ มการเชงิ เสน้ ตวั แปรเดยี วไดถ้ ูกตอ้ ง ชว่ั โมง ๓. การแกส้ มการเชงิ เสน้ ตัวแปรเดยี ว ๓. มีกิจนสิ ยั ในการปฏบิ ัติงานอย่างเปน็ ระเบยี บ ๑๖ งานแก้สมการเชงิ เสน้ สองตวั แปร สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรยี นรู้ งานแกส้ มการเชิงเสน้ สองตัวแปรได้ เวลา ๑. สมการเชิงเสน้ สองตวั แปร ๑. อธิบายสมการเชิงเสน้ สองตัวแปรได้ถกู ตอ้ ง ๓ ๒. การแกส้ มการเชงิ เสน้ สองตัวแปร ๒. แกส้ มการเชงิ เสน้ สองตัวแปรไดถ้ ูกต้อง ชั่วโมง ๓. มกี ิจนสิ ยั ในการปฏิบัติงานอย่างเป็นระเบียบ

๑๖ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๑ รหสั วชิ า วชิ าคณิตศาสตรค์ อมพิวเตอร์ เรียนร้คู ร้ังที่ ๑ หน่วยท่ี ๑ ๒๐๒๐๔ ๒๐๐๓ เวลาเรียนรู้ ๓ ชั่วโมง ชื่อหนว่ ยเรยี นรู้ งานศกึ ษาประเภทของระบบจานวน หวั ข้องาน/หวั ข้อเร่ือง งานศกึ ษาประเภทของระบบจานวน ๑.๑ ประเภทของระบบจานวน สาระสาคญั ระบบจานวน เป็นวธิ กี ารหน่ึงของการนาจานวนมาใช้ก็คือระบบจานวนฐานสิบ มเี ลขโดด 10 ตัว (0,1,2,3,4,5,6,7,8,9) ซงึ่ สามารถนามาจดั จานวนทีม่ ีคา่ มาก ระบบจานวนฐานสบิ ได้นามาใชม้ ากในปจั จบุ ัน ที่เป็นเช่นนเี้ พราะพฒั นามาจากการทีม่ นษุ ยใ์ ช้น้ิวมือสบิ นวิ้ และน้ิวเท้าสบิ นวิ้ ในการนบั ประเภทของจานวนจริง ไดแ้ ก่ จานวนตรรกยะ จานวนอตรรกยะ สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ แสดงความรเู้ ก่ยี วกับประเภทของระบบจานวน จุดประสงคก์ ารเรียนรเู้ ชิงพฤตกิ รรม หลงั จากศกึ ษาหน่วยน้ีแลว้ ผู้เรียนรูส้ ามารถ ๑. ด้านความรู้ ๑.๑ จาแนกประเภทของระบบจานวนไดถ้ ูกต้องมีเหตผุ ล ๒. ด้านคณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ มีกจิ นสิ ัยในการปฏบิ ตั งิ านอย่างเปน็ ระเบยี บ พฤตกิ รรมบง่ ช้ีทต่ี ้องการเนน้ ในขณะศกึ ษาหนว่ ยนี้ ผู้เรยี นรู้ตอ้ งมพี ฤตกิ รรมบ่งช้ี ดังนี้ ๑. มีการเตรยี มความพรอ้ มในการเรยี นและปฏบิ ตั งิ าน ๒. ปฏิบัติตามกฎระเบยี บขอ้ บงั คบั ขอ้ ตกลงต่างๆ ๓. มีสมั มาคารวะ ๔. ยอมรบั ความคดิ เห็นของผ้อู ืน่ ๔. ซกั ถามปญั หาขอ้ สงสยั เนอื้ หาสาระการเรียนรู้ ๑.๑ ววิ ฒั นาการของตัวเลข ๑.๒ ประเภทของระบบจานวน งานท่ีปฏบิ ตั ิ ในขณะศึกษาหนว่ ยนี้ ผเู้ รียนร้ตู ้องปฏบิ ัตงิ านตามข้นั ตอน ดงั น้ี ๑. ศกึ ษาใบความรู้เกย่ี วกบั ประเภทของระบบจานวน ๒. ศึกษาววิ ฒั นาการของตัวเลข ๓. ศกึ ษาประเภทของระบบจานวน ๔. อภปิ รายกลมุ่ ๕. ประเมนิ พฤตกิ รรมบ่งช้ี ๖. ทาแบบทดสอบ

๑๗ วัสดุ-อุปกรณ/์ เครอื่ งมอื /เครื่องจกั ร ๑. ใบความรู้ เรื่อง ประเภทของระบบจานวน ๓. เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ ๒. ใบงาน เรือ่ ง ประเภทของระบบจานวน ๔. เคร่อื งฉายโปรเจคเตอร์ ๕. สอ่ื PowerPoint เรือ่ ง ประเภทของระบบจานวน กจิ กรรมการเรียนรู้ ๑. เตรยี มการเข้าสูบ่ ทเรียน ๑.๑ เตรียมแบบทดสอบกอ่ นเรียนรู้ ๑.๒ เตรยี มเอกสารประกอบการเรยี น เร่ือง ประเภทของระบบจานวน ๑.๓ เตรยี ม power point เร่ือง ประเภทของระบบจานวน ๑.๔ เตรียมแบบวัดผลประเมินผล แบบประเมินพฤตกิ รรมบง่ ช้ี ๒. การเรยี นรู้ ๒.๑ ปฐมนิเทศแนะนารายวิชาและกาหนดการเรยี นรรู้ ว่ มสรา้ งขอ้ ตกลงในการเรยี นรู้ การวัดผลประเมนิ ผล แนะนาเอกสารคน้ ควา้ เพ่ิมเตมิ ๒.๒ แบง่ กลมุ่ งานกลมุ่ ละ 4-5 คน แตล่ ะกลมุ่ คละกนั ระหว่างคนผลการเรยี นดี ปานกลางและ อ่อนโดยใช้ผลการเรยี นของวชิ าคณิตศาสตรค์ อมพวิ เตอร์ ๒.๓ ทบทวนการศึกษาในรายวชิ าทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ๒.๔ แจกเอกสารประกอบการเรยี นให้แตล่ ะกลมุ่ ศึกษา ฉาย power point อธบิ าย ชแ้ี นะ แนะนา ทาให้ดู ตอบข้อซกั ถาม ควบคุม สงั เกต ประเมนิ พฤตกิ รรมบ่งชี้ ๓. สรปุ การเรยี นรู้ ร่วมสรปุ เนอื้ หา ชี้แนะข้อควรปรับปรุงกบั ผเู้ รยี น ๔. การวดั ผลประเมินผล ๔.๑ แจกแบบทดสอบกอ่ นการเรียนรู้ ๔.๒ แจกแบบประเมินผลพฤตกิ รรมบง่ ชี้ ๔.๓ แจกแบบทดสอบประจาหน่วย ๔.๔ ประเมินผล ๔.๕ ทดสอบผูไ้ มผ่ า่ นเกณฑใ์ หม่ งานท่มี อบหมาย/กิจกรรม ใหผ้ เู้ รยี นรู้แตล่ ะคนปฏบิ ัติศึกษาข้อมลู จากใบงาน เรอ่ื ง ประเภทของระบบจานวน ขอ้ ควรระวัง ในการปฏิบตั ศิ ึกษาข้อมลู จากใบความรู้ เร่อื ง ประเภทของระบบจานวน ใหเ้ ข้าใจกอ่ นทาใบงาน หลักฐานการเรยี นรู้ ๑. แบบทดสอบกอ่ นเรียนรู้ ๓. แบบทดสอบประจาหนว่ ย ๒. ใบประเมินพฤตกิ รรมบ่งช้ี สื่อการเรียนรู้ ๑. เอกสารประกอบการเรียน เร่ือง เร่ือง ประเภทของระบบจานวน ๒. power point เร่อื ง เร่อื ง ประเภทของระบบจานวน

๑๘ ๓. ใบงาน เรือ่ ง เรื่อง ประเภทของระบบจานวน การวัดผล/ประเมินผล หนว่ ยนว้ี ดั ผลโดยวิธกี าร ดังนี้ ๑. ก่อนเรยี นรู้ ใช้แบบทดสอบกอ่ นเรียนรู้ ๒. ขณะเรียนรู้ สังเกต สัมภาษณ์ ใช้ใบประเมินพฤติกรรมบ่งชี้ ๓. หลังการเรียนรู้ ใชแ้ บบทดสอบประจาหนว่ ย การประเมนิ ผล ๑. ประเมินผลพฤตกิ รรมบง่ ชี้ โดยถอื เกณฑผ์ ่านสาหรบั ผทู้ ีไ่ ดค้ ะแนนจากการประเมิน ๓ คะแนนขนึ้ ไป ๒. ประเมนิ ผลความรู้ โดยถอื เกณฑ์ผา่ นสาหรับผ้ทู ไี่ ด้คะแนนจากการวดั ผลร้อยละ ๖๐ ข้นึ ไป แบบทดสอบหน่วยท่ี 1 เรอ่ื ง ประเภทระบบจานวน จงเลือกคาตอบที่ถูกท่สี ดุ 1. ขอ้ ใดเปน็ จานวนเต็ม ข. 100.01 ค. 0.01 ง. 1/100 ก. 100 2. ข้อใดเปน็ จานวนเต็มลบ ก. 100 ข. 0 ค. –15 ง. 550 3. ข้อใดเปน็ จานวนนับ ก. 1, 2, 3,... ข. –1, –2, –3,... ค. 0, 1, 2, 3,... ง. –1, 1, –2, 2,... 4. ข้อใดเปน็ จานวนเศษสว่ น ก. 2 ข. 6 ค. 0.00 ง. 1.000 07 5. ข้อใดเป็นจานวนตรรกยะ ก. 1.234... ข. 2.3456... ค. 1.000 ง. 0.001234... 6. ข้อใดตอ่ ไปนี้ กลา่ วผดิ ก. จานวนเตม็ บวกเรียกอีกอย่างวา่ จานวนธรรมชาติ ข. จานวนศนู ย์ “0” เป็นจานวนเตม็ ค. จานวนตรรกยะเปน็ สว่ นหน่งึ ของเศษสว่ น ง. จานวนอตรรกยะเป็นส่วนหนง่ึ ของจานวนเชงิ ซอ้ น 7. จานวนที่เปน็ ส่วนหน่งึ ของจานวนเต็มคอื ข้อใด ก. จานวนจรงิ ข. จานวนตรรกยะ ค. เศษสว่ น ง. จานวนนบั 8. ขอ้ ใดเป็นสญั ลกั ษณแ์ ทนจานวนจรงิ ก. R ข. Q ค. I ง. N 9. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องที่สดุ ก. ศนู ยเ์ ปน็ เลขจานวนเตม็ ข. ศนู ยเ์ ป็นจานวนเตม็ บวก ค. ศูนยเ์ ป็นจานวนเต็มลบ ง. ศูนยเ์ ป็นทง้ั จานวนเตม็ บวกและเตม็ ลบ 10. ระบบจานวนท่ใี ชก้ นั ในปัจจุบันเป็นระบบของเลขฐานใดต่อไปน้ี ก. ระบบเลขฐานสอง ข. ระบบเลขฐานแปด ค. ระบบเลขฐานสบิ ง. ระบบเลขฐานสิบหก

๑๙ ใบประเมนิ พฤตกิ รรมบง่ ช้ีทีต่ อ้ งการเน้น ในกลุ่มที่................... หน่วยท่ี 1 เร่ือง ประเภทระบบจานวน เกณฑ์การใหค้ ะแนนในแต่ละองคป์ ระกอบ เป็นดงั นี้ 1 = ปฏิบัตไิ มพ่ บขอ้ บกพรอ่ ง 0.5 = ปฏบิ ัติพบข้อบกพร่อง 0 = ไม่ปฏบิ ตั ิ / ขาดเรียน ช่อื ,สกลุ มีความพร้อมในการเรียนรู้ รวม หมายเหตุ ปฏิบัติตามกฎระเบียบ ้ขอตกลง ่ตาง ๆ ีมสัมมาคารวะ ยอมรับความ ิคดเห็นของผู้ ื่อน ซักถามปัญหา ้ขอสงสัย 1. 2. 3. 4. 5. เกณฑ์การประเมินได้ 3 คะแนน ถอื ว่า ผา่ น ลงชื่อ................................................ผปู้ ระเมนิ (................................................) วนั ท่.ี ......เดอื น.........................พ.ศ. ............

๒๐


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook