Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปเศรษฐกิจพอเพียง(หลักสูตรการทำปุ๋ยจากมูลไส้เดือน)

สรุปเศรษฐกิจพอเพียง(หลักสูตรการทำปุ๋ยจากมูลไส้เดือน)

Published by nahukwang.krunang, 2021-09-07 05:41:38

Description: สรุปเศรษฐกิจพอเพียง(หลักสูตรการทำปุ๋ยจากมูลไส้เดือน)

Search

Read the Text Version

-1-

-2- บันทกึ ขอ้ ความ ส่วนราชการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอทบั สะแก ที่ ศธ0210.4403/2897 วนั ท่ี 30 สิงหาคม 2564 เร่ือง รายงานผลการจดั กิจกรรมโครงการการเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักสูตรการทำป๋ยุ จากมูลไส้เดือน จำนวน 6 ชัว่ โมง เรียน ผอู้ ำนวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอทบั สะแก ตามที่ข้าพเจ้า นางสาวพรพิมล เยาวมาลย์ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลนาหูกวาง ได้รับมอบหมาย ใหด้ ำเนนิ จัดกิจกรรมโครงการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลกั สูตรการทำปุย๋ จากมูลไส้เดอื น จำนวน 6 ช่ัวโมง ในจดั ขึน้ ในวันท่ี 3 กรกฎาคม 2564 ณ ศาลาเอนกประสงค์บา้ นโปง่ แดง หมู่ 3 ตำบลนา หูกวาง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ตามแผนงบประมาณ และทำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย ประจำปงี บประมาณ 2564 นน้ั บัดน้ี ข้าพเจ้าได้การจัดโครงการการเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักสูตรการทำปุ๋ย จากมลู ไส้เดอื น เป็นทเ่ี รยี บร้อยแลว้ รายละเอยี ดเอกสารรายงานสรปุ ผลการจัดกิจกรรมดงั แนบ จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ (นางสาวพรพิมล เยาวมาลย์) ครูกศน. ตำบลนาหกู วาง

ก บทสรปุ สำหรบั ผูบ้ ริหาร ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอทับสะแก จัดโครงการการเรียนรู้ตาม หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลกั สูตรการทำปุ๋ยจากมูลไส้เดือน กศน.ตำบลนาหูกวาง โดยมีวตั ถุประสงค์ เพอ่ื ให้ประชาชนมีความรคู้ วามเข้าใจแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงและประชาชนมีทักษะการดำรงชวี ิตตาม แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประชาชนมีความตระหนักและเห็นคุณค่าการดำรงชีวิตตามแนวปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มเป้าหมายของโครงการ ประกอบด้วย ประชาชนตำบลนาหูกวาง จำนวน 15 คน โครงการการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักสูตรการทำปุ๋ยจากมูลไส้เดือน จำนวน 6 ช่ัวโมง ในจัดข้ึนในวันที่ 3 กรกฎาคม 2564 ณ ศาลาเนกประสงค์บ้านโป่งแดง หมู่ 3 ตำบลนาหูกวาง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ เปน็ การอบรมให้ความรู้ ประชาชนในชุมชนมคี วามรู้ความเขา้ ใจ เห็นคุณค่าและสามารถนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการดำรงชีวิตในประจำวันได้ โดยใช้ แหลง่ ข้อมูล วิทยากร 1 คนทีเ่ ข้ารบั การอบรม โครงการการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักสูตรการทำปุ๋ยจากมูลไส้เดือน กศน. ตำบลนาหูกวาง ในการจัดกิจกรรมมีผลการประเมินความพึงพอใจ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( 4.44 ) ผูท้ ่ีเข้าอบรม ได้รับความรู้ เกิดกระบวนการเรียนรู้ และ ความเขา้ ใจเก่ียวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎีใหม่ เห็นคุณค่าและสามารถนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการดำรงชีวิตใน ประจำวันได้ โดยมีข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาโครงการอบรม คือ ปรับเปลี่ยนวิธีการจัดกิจกรรม ให้เข้ากับ บริบทของขุมชนเพ่ือตอบสนองความต้องการของผู้เข้ารับการอบรมได้อย่างสูงสุด ควรมีการนิเทศติดตาม และรายงานผลการโครงการ อยา่ งต่อเน่ือง

ข คำนำ การดำเนินโครงการการเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งหลกั สูตรการทำปุ๋ยจากมลู ไสเ้ ดือน จำนวน 6 ชั่วโมง ในการจัดกจิ กรรมเพอื่ ส่งเสริมให้ประชาชนได้มีโอกาสเลือก อย่างเหมาะสมและรูปธรรม และเป็นระบบ กลมุ่ เป้าหมายในชุมชนได้รับความรู้ เกดิ กระบวนการเรียนรู้ และมีความสามารถในด้านการ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างต่อเนื่องจนเกิดการพัฒนาอย่างย่ังยืน เมื่อดำเนินการเสร็จส้ินแล้ว จึงมีการสรุปผลการดำเนินงานเพ่ือใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการดำเนินงานในครั้งต่อไป และเพื่อให้เห็น ผลการประเมนิ เป็นรูปธรรมและมีคุณภาพครบกระบวนการดำเนินงาน(PDCA) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอทับสะแก จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารเล่มน้ีจะทำให้ทราบการบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการและจะเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินงานใน ปีงบประมาณต่อไป เพื่อใช้ในการบริหารงาน การพัฒนางานและการทำงานท่ีตรงกับความต้องการของ สถานศึกษาตอ่ ไป กศน.ตำบลนาหูกวาง สงิ หาคม 2564

สารบัญ ค หน้า ก บทสรปุ สำหรบั ผูบ้ ริหาร ข คำนำ ค สารบัญ 1 สรุปผลการดำเนินงานโครงการ 1 1. บทนำ 3 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 3 3. ขอบเขตของโครงการ 4 4. ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะได้รับ 4 5. วิธดี ำเนนิ การ 6 6. ผลการดำเนนิ งาน 9 7. สรุป 11 ภาคผนวก 12 1. โครงการท่ีไดร้ ับอนุมัติ 20 2. ขออนุญาตจัดการศกึ ษาต่อเนื่อง 22 3. คำสง่ั แตง่ ตงั้ คณะวิทยากร 24 4. คำสงั แต่งตง้ั ประชานิเทศ 26 5. แบบรายงานการจบหลกั สูตร 29 6. บนั ทึกการนิเทศ 31 7. ทะเบียนผจู้ บหลกั สตู ร 33 8. แบบตดิ ตาม 35 9. แบบสอบถาม 37 10. ภาพประกอบ 39 11. คณะผ้จู ัดทำ

1 สรุปผลการดำเนินงาน โครงการการเรียนรูต้ ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง หลกั สตู รการทำปุ๋ยจากมลู ไส้เดือน กศน.ตำบลนาหกู วาง ประจำปงี บประมาณ 2564 บทนำ ความเปน็ มาและความสำคัญ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทางการดำเนินชีวิตและวิถีปฏิบัติท่ีพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวทรงมี พระราชดำรัสชี้แนะแก่ พสกนิกรชาวไทยมานานกว่า 30 ปี ดังจะเห็นได้ว่า ปรากฏ ความหมายเป็นเชิงนัยเป็นครั้งแรกใน พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของ พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยูห่ ัว ในปี 2517 ท่ีพระองค์ไดท้ รงเน้นย้ำแนวทางการพัฒนา บนหลกั แนวคดิ พึ่งตนเอง เพือ่ ให้เกิดความ พอมี พอกิน พอใช้ของคนส่วนใหญ่ โดยใช้หลักความพอประมาณ การคำนึงถึงการมีเหตุผล การสร้าง ภมู ิคมุ้ กันท่ีดใี นตัว และทรงเตือนสติ ประชาชนคนไทยไมใ่ ห้ประมาท ตระหนักถงึ การพัฒนาอยา่ งเป็นขน้ั เป็น ตอนที่ถูกต้องตามหลักวิชา และการมีคุณธรรมเป็นกรอบในการ ปฏิบัติและการดำรงชีวิต ในช่วงท่ีประเทศ ไทยประสบกับภาวะวิกฤตเศรษฐกจิ ในปี 2540 นับเป็นบทเรียนสำคัญที่ทำให้ประชาชนเข้าใจถึงผลจากการ พฒั นา ที่ไม่คำนึงถงึ ระดบั ความเหมาะสมกับศักยภาพของประเทศ ดังนั้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอทับสะแก จึงมีความจำเป็นต้อง ดำเนินการจัดกิจกรรมน้ีขึ้น โครงการการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหลักสูตรการทำปุ๋ยจาก มลู ไสเ้ ดือน โดยทำงานร่วมกับเครือข่ายส่งเสริมการเรียนรู้ของคนในชุมชน โดยให้ความสำคัญกับการปลูกฝัง คุณธรรมสำนึกความสำนึกในความเป็นไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้แก่นักศึกษา และประชาชนทั่วไปทุกคน โดยให้สถานศึกษาทุกแห่งนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ มาเปน็ แนวทางในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาทุกระดับ ความสอดคล้องของแผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ สอดคลอ้ งกบั แผนการศกึ ษาแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกชว่ งวัย และการสร้างสังคมแหง่ การเรยี นรู้ ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทยี มทางการศกึ ษา สอดคล้องกบั นโยบายและจุดเนน้ การดำเนินงานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

2 ขอ้ 3) จัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาสงั คมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจดั กระบวนการเรียนรู้ แบบบูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรม การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัด กิจกรรมจิตอาสา การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอ่ืนๆ ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของ ชุมชนแต่ละพื้นที่ เคารพความคิดของผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและ อุดมการณ์ รวมท้ังสังคมพหุวัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการจิตสาธารณะ การสรา้ งจติ สำนกึ ความเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิ และรับผดิ ชอบ ต่อหน้าที่ความเป็นพลเมืองดี การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การบำเพ็ญประโยชน์ในชุมชน การบริหาร จัดการน้ำ การรับมือกับสาธารณภัย การอนุรักษ์พลังงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ช่วยเหลือซึ่ง กนั และกนั ในการพัฒนาสังคมและชุมชนอยา่ งย่ังยืน สอดคลอ้ งกับพนั ธกจิ ของสำนักงาน กศน.จงั หวดั ประจวบคีรขี ันธ์ พันธกิจที่ 4 สง่ เสรมิ สนบั สนนุ สถานศกึ ษาใหด้ ำเนินงานอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ พนั ธกจิ ที่ 5 จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพ่อื สร้างสังคม แห่งการเรียนรูต้ ลอดชีวิต สอดคล้องกบั พันธกิจของ กศน.อำเภอทับสะแก พนั ธกิจที่1 จัดกจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ใหผ้ เู้ รียน/ ผู้รบั บรกิ าร ทกุ กลมุ่ ทกุ ชว่ งวัย มโี อกาสการเรียนรู้อยา่ งตอ่ เน่อื งอยา่ งทว่ั ถึงและมคี ณุ ภาพ พันธกิจที่ 2 จัดกิจกรรมและส่งเสริมให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง พันธกิจที่ 3 จัดกิจกรรมและส่งเสริมให้ผู้เรยี น/ผู้รับบริการมีทักษะการเรียนรู้พร้อมรับการ เปล่ียนแปลงของโลกในศตวรรษท่ี 21 พันธกิจที่ 4 จัดกิจกรรมและส่งเสริมสถานศึกษาคุณธรรมมีการจัดกิจกรรมครอบคลุม 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นศาสนา ด้านวถิ ีไทย ดา้ นคณุ ธรรมอัตลักษณ์ และกิจกรรมจติ อาสาทำความดีดว้ ยหวั ใจ พันธกิจท่ี 6 สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรและรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือและ นวตั กรรมทส่ี อดคล้องกบั บริบทของชุมชน พันธกิจท่ี 8 ส่งเสริมและสนับสนุนภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม การศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย สอดคลอ้ งกับมาตรฐาน กศน. มาตรฐานการศึกษาต่อเนือ่ ง มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรียนการศึกษาต่อเนอ่ื ง มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจัดการเรียนรู้การศึกษาตอ่ เน่ือง มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจดั การของสถานศกึ ษา

3 หลกั การและเหตผุ ล การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนเป็นการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบ บและการศึกษาตาม อัธยาศัยที่มุ่งเน้นการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กลุ่มเป้าหมายนอกระบบซึ่งได้แก่ผู้เรียนทั่วไปได้มีการพัฒนา ความรู้ความสามารถในการแสวงหาความรู้ในการเติมเต็มปัญญาให้กับสังคมที่อยู่นอกระบบการศึกษา เพ่ือ สรา้ งเสริมการเรียนรู้ด้วยกระบวนการตา่ งๆ ในการแก้ไขปญั หาและการพฒั นาชุมชน การจัดการความรู้ การ วิจัยชุมชน ซ่ึงเป็นพื้นฐานของการนำความรู้ในการแก้ไขปัญหาของชุมชน การพัฒนาสังคม ซึ่งการจัด การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนมีรูปแบบการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เป็นหลักสูตรระยะสั้นที่ตอบสนอง ความต้องการของชุมชน โดยใช้ชุมชนเป็นฐานของการพัฒนาการเรียนรู้ของคนในชุมชน การระดมทุนของ ชุมชนเป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้เพ่ือให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาสังคมและ ชมุ ชนของตนเอง โดยเน้นการจัดเวทีชาวบ้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ของชุมชนเป็นการพัฒนานวัตกรรม การเรียนรู้ของคนในชุมชน ในการพัฒนาการเรียนรู้ของคนในชุมชนเน้ือหาสาระมุ่งเน้นในเร่ืองเก่ียวกับการ พัฒนาสังคมและชุมชน เช่นการอบรมเข้าค่ายประชาธิปไตย การอบรมให้ความรู้ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ ม การจดั กลมุ่ วิสาหกจิ ชุมชน เปน็ ต้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอทับสะแก โดย กศน.ตำบลนาหูกวาง ได้ ตระหนักถึงความสำคัญของการศึกษาดังกล่าว จึงได้ดำเนินการจัดโครงการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคม และชุมชนข้ึน เพ่ือเป็นการศึกษาท่ีบูรณาการความรู้และทักษะพื้นฐานในการพัฒนาการเรียนรู้ของคนใน ชมุ ชน คนในชมุ ชนเกดิ ทกั ษะความร้แู ละนำไปประยกุ ต์ใชใ้ นชมุ ชนของแตล่ ะชุมชน/อำเภอได้ วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ 1. เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนในตำบลนาหูกวาง มีความรู้ ความเข้าใจ ร่วมวิเคราะห์ สภาพปญั หาและความตอ้ งการของชุมชน ร่วมทำและสรา้ งประสบการณ์ในการแกไ้ ขปญั หาของชุมชน 2. เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนในตำบลนาหูกวาง มีทักษะในการวเิ คราะห์สภาพปัญหาและความต้องการของ ชมุ ชน ขอบเขตของโครงการ 1. การรายงานครั้งน้ีเป็นการรายงานผลการดำเนินงานตาม โครงการการเรยี นรู้หลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่ หลกั สูตรการทำปุ๋ยจากมูลไส้เดือน ในการจัดกจิ กรรมเสรมิ สร้าง จิตสำนึกการมีส่วนรว่ มของชุมชน โดยการดำเนนิ การในเนอื้ หาสาระ ดังนี้ 1) ชีแ้ จงความสำคัญของโครงการ 2) ชี้แจงวัตถปุ ระสงค์ แนวทางการจัดกจิ กรรมและหลักสูตร

4 3) การบรรยาย “หลักสูตรการทำปยุ๋ จากมูลไส้เดอื น” 4) วธิ ีการปลูกจิตสำนกึ ในเรอ่ื งสร้างกระบวนการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ 5) เทคนิคการออกแบบกิจกรรมการเรยี นการสอน เพ่ือสร้างกระบวนการใหค้ วามรู้หลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ หลกั สูตรการทำปยุ๋ จากมูลไสเ้ ดือน 2. แหล่งขอ้ มูล/ผ้ใู ห้ข้อมลู ในการรายงานครัง้ นี้ ประกอบด้วย 2.1 แหล่งข้อมลู ประเภทเอกสาร/หลักฐาน ได้แก่ 1) อนิ เตอรเ์ น็ต เพ่อื ค้นหาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ 2) เอกสาร/แผน่ พบั ความรู้ ของกศน.ตำบลนาหูกวาง 2.2 แหล่งขอ้ มูลประเภทบคุ คล วิทยากร ประกอบดว้ ย นางสาวมาลินี เกตแุ ก้ว ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะไดร้ บั ประชาชนในตำบลนาหกู วาง ทเ่ี ข้าร่วมโครงการมคี วามรู้ และทักษะกระบวนการคิดตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สามารถมานำมาประยุกตใ์ ช้ในการดำเนนิ ชวี ิตและพัฒนาสังคมได้ วิธดี ำเนนิ การ ขนั้ ตอนการทำงาน 1. การวางแผนดำเนินงาน โดยดำเนนิ การดงั น้ี - เขยี นโครงการเสนอ ขออนุมัติ - เตรียมข้อมลู การอบรม - ประสานวิทยากร - ประสาน กศน.อำเภอเพ่ือกำหนดวนั อบรม - จัดทำหนังสือแจง้ กำหนดวันอบรม - ประชุมวิทยากร โครงการการเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง หลักสูตรการทำ ปุ๋ยจากมูลไส้เดือน จำนวน 6 ชั่วโมง ในจดั ขน้ึ ในวนั ท่ี 1 กรกฎาคม 2564 ณ ศาลาเนกประสงค์บา้ นโปง่ แดง หมู่ 3 ตำบลนาหูกวาง อำเภอทบั สะแก จงั หวัดประจวบครี ีขันธ์

5 2. การดำเนนิ งานตามแผน โครงการการเรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง หลักสตู รการทำ ปุย๋ จากมลู ไส้เดือน จำนวน 6 ชว่ั โมง ในจดั ขึ้นในวนั ที่ 3 กรกฎาคม 2564 ณ ศาลาเนกประสงค์บา้ นโปง่ แดง หมู่ 3 ตำบลนาหูกวาง อำเภอทับสะแก จงั หวดั ประจวบคีรีขันธ์ 3. การตดิ ตามและประเมินผล - สรุปและรายงานผลการดำเนินงานโครงการ เครื่องมือในการเก็บข้อมลู 1. แบบสอบถามความคิดเห็นผู้เข้าอบรมโครงการ เปน็ แบบสอบถามความคิดเห็นผเู้ ขา้ อบรมที่ ผรู้ บั ผิดชอบโครงการสรา้ งขึ้น มีทัง้ หมด 4 ตอน ประกอบดว้ ย ตอนท่ี 1 ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นแบบเติมคำ สอบถามตำแหน่งที่ปฏิบัติงาน เพศ อายุ และประสบการณก์ ารทำงาน กศน. ตอนที่ 2 สอบถามข้อมูลด้านกระบวนการในการอบรมและการนำไปใช้ท่ีตรงกับความต้องการ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่องาน มีลักษณะเป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scales) กำหนดระดบั ความคดิ เห็นตอ่ เนื้อหาการประชุม 5 ระดบั แบ่งเปน็ เนอื้ หา ดงั น้ี 1) ข้อมูลดา้ นความรู้ความเข้าใจ 2) ข้อมูลความมน่ั ใจในการนำไปใช้ ตอนท่ี 3 สอบถามความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรม มีลักษณะเป็นแบบสอบถามชนิดมาตรา สว่ น ประมาณคา่ (Rating Scales) กำหนดระดับความคดิ เหน็ ต่อเนอ้ื หาการอบรม 5 ระดบั ตอนที่ 4 ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ เป็นแบบเตมิ คำ เกณฑ์การให้คะแนน ในการกำหนดคะแนนของตัวเลือกสำหรับแบบสอบถามท่ีเป็นแบบ สอบถามมาตราส่วนประมาณค่าในตอนท่ี 2 และตอนที่ 3 นั้น ผู้รับผิดชอบโครงการได้กำหนดคะแนน ออกเปน็ 5 ระดับ คอื ค่าเฉล่ีย 0.51 - 1.50 หมายถึง มีความคิดเห็นว่าเป็นกระบวนการที่ตรงกับความ ต้องการสามารถนำไปใชป้ ระโยชน์ตอ่ งานและมีความพึงพอใจน้อยท่สี ดุ ค่าเฉลี่ย 1.51 - 2.50 หมายถึง มีความคิดเห็นว่าเป็นกระบวนการท่ีตรงกับความ ตอ้ งการสามารถนำไปใช้ประโยชน์ตอ่ งานและมีความพงึ พอใจน้อย ค่าเฉล่ีย 2.51 - 3.50 หมายถึง มีความคิดเห็นว่าเป็นกระบวนการท่ีตรงกับความ ตอ้ งการสามารถนำไปใช้ประโยชนต์ อ่ งานและมีความพึงพอใจปานกลาง ค่าเฉล่ีย 3.51 - 4.50 หมายถึง มีความคิดเห็นว่าเป็นกระบวนการท่ีตรงกับความ ตอ้ งการสามารถนำไปใชป้ ระโยชน์ต่องานและมคี วามพงึ พอใจมาก ค่าเฉล่ีย 4.51 - 5.00 หมายถึง มีความคิดเห็นว่าเป็นกระบวนการท่ีตรงกับความ ตอ้ งการสามารถนำไปใชป้ ระโยชน์ตอ่ งานและมีความพึงพอใจมากที่สุด

6 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู การเก็บรวบรวมข้อมูลที่ใชใ้ นการประเมินครั้งนี้ ผู้รับผิดชอบโครงการได้ดำเนินการตามข้ันตอน ดังต่อไปนี้ 1. แจกแบบสอบถามความคิดเห็นผู้เขา้ อบรม 2. เก็บรวบรวมสรปุ แบบสอบถาม การวิเคราะหข์ ้อมูล วธิ ีการวเิ คราะหข์ ้อมลู ใชค้ า่ สถติ ิร้อยละและค่าเฉล่ยี เกณฑก์ ารประเมิน 1. ผู้เข้ารับการอบรม ทุกคน ได้รับแนวทางเนื้อหา สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวติ ประจำวัน ได้อยา่ งเหมาะสม 2. ผูเ้ ข้ารับการอบรม มคี วามพึงพอใจต่อการจัดโครงการการเรียนรูห้ ลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ หลกั สูตรการทำปุ๋ยจากมลู ไส้เดือน เฉลีย่ อยใู่ นระดับมาก ผลการดำเนนิ งาน 1. สภาพการดำเนินงานโครงการ 1) จัดอบรมตามโครงการการเรียนรู้หลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ หลักสูตรการทำปุ๋ยจากมลู ไสเ้ ดือน และวิทยากร จำนวน 1 คน เปน็ ผู้ถา่ ยทอดความรใู้ ห้กบั ผู้เขา้ รับการอบรม 2) รูปแบบการประชุมเป็นการบรรยายให้ความรู้ โดยใช้วีดีทัศน์ การแบ่งกลุ่ม กรณีศึกษา รว่ มแสดงความคดิ เหน็ 3) อบรมประชาชนเพ่ือให้ประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจ มีจิตสำนึกถึง ความมีความผิด ชอบรว่ มกนั ของสังคม 4) เสริมสร้างทักษะที่จำเป็นและสำนึกในบทบาทหน้าที่ของทุกคนที่มีส่วนร่วมในการ พฒั นาชมุ ชน 5) ใหผ้ เู้ ข้ารบั การอบรมสามารถ นำความรทู้ ไี่ ด้ไปใช้ในชีวิตประจำวันไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 6) ให้ผเู้ ข้ารับการอบรม นำเสนอแนวทาง สะท้อนแนวคิดเพื่อแลกเปลีย่ นเรียนรู้แผนการ จัดกจิ กรรม 7) สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการต่อ กศน.อำเภอ ผู้เกี่ยวข้องและรายงานกลุ่ม แผนงานโครงการ

7 ระยะเวลาท่ีดำเนินการ โครงการการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักสูตรการ ทำปุ๋ยจากมูลไสเ้ ดือน จำนวน 6 ช่ัวโมง ในจัดขึ้นในวันท่ี 3 กรกฎาคม 2564 ณ ศาลาเนกประสงค์บ้าน โปง่ แดง หมู่ 3 ตำบลนาหกู วาง อำเภอทบั สะแก จังหวดั ประจวบคีรขี นั ธ์ 2. ผลการดำเนินงานโครงการ 2.1 จำนวนผู้เขา้ ร่วมโครงการ จำนวนผเู้ ข้ารว่ มโครงการ เชงิ ปรมิ าณ เปา้ หมาย ประชาชนตำบลนาหูกวาง 11 คน ผลทีไ่ ด้ ประชาชนตำบลนาหูกวาง 15 คน (คิดเป็นร้อยละ136) เชิงคณุ ภาพ ประชาชนในตำบลนาหูกวาง ทเี่ ขา้ ร่วมโครงการมคี วามรู้ และทกั ษะกระบวนการคิดตาม หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สามารถมานำมาประยุกตใ์ ช้ในการดำเนินชีวติ และพัฒนาสังคมได้ 2.2 การใช้จ่ายงบประมาณ วงเงนิ งบประมาณท้งั โครงการ งบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2564 จากแผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจัดการศึกษา นอกระบบ งบดำเนนิ งานจำนวนเงิน 4,400 บาท (สพี่ ันสร่ี อ้ ยบาทถ้วน) ตามรายละเอยี ดดังน้ี - ค่าตอบแทนวทิ ยากร200 x 6ชัว่ โมง เป็นเงิน 1,200 บาท - ค่าอาหารกลางวนั 15 คนx70บาทx1มอ้ื เป็นเงนิ 1,050 บาท - ค่าอาหารวา่ งและเคร่ืองด่ืม 15คนx 25บาทx2ม้อื เปน็ เงิน 750 บาท - คา่ วสั ดุโครงการ เป็นเงนิ 1,400 บาท รวมเป็นเงิน 4,400 บาท 2.3 ผลการประเมินความพงึ พอใจ ตาราง 1 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ส่วนบคุ คล ประชากร จำนวน จำนวนผูเ้ ขา้ รว่ ม รอ้ ยละ ประชาชน ท้ังหมด (n = 15) 100 15 15 รวม 15 15 100

8 จากตาราง 1 จำนวนผู้เข้าอบรมตอบแบบสอบถามท้ังหมด 15 คนจากผู้เข้าอบรมท้ังหมด 15 คน คิดเป็นร้อยละ 100 เม่ือจำแนกตามตำแหน่งในการปฏิบัติงาน ผู้เข้าอบรมส่วนมากเป็น ประชาชนท่ัวไป ตำบลนาหูกวาง 15 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ตาราง 2 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของผูร้ บั การอบรม ประเดน็ ความพงึ พอใจ ค่าเฉลีย่ S.D. แปลผล ตอนท่ี 1 ความพึงพอใจดา้ นเนื้อหา 4.12 0.33 มาก 1 เนือ้ หาตรงตามความต้องการ 4.59 0.51 มากที่สดุ 2 เนอื้ หาเพียงพอต่อความต้องการ 4.18 0.39 3 เนอื้ หาปัจจุบันทันสมัย 4.88 0.33 มาก 4 เนื้อหามีประโยชน์ตอ่ การนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชวี ิต มากทีส่ ุด ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม 4.00 0.00 5 การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม 4.59 0.51 มาก 6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวตั ถุประสงค์ 4.53 0.51 มากท่สี ดุ 7 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา 4.47 0.51 มากที่สดุ 8 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั กลุม่ เป้าหมาย 4.47 0.51 9 วิธกี ารวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ มาก ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจตอ่ วิทยากร 4.59 0.51 มาก 10 วิทยากรมคี วามรู้ความสามารถในเรอื่ งท่ถี า่ ยทอด 4.76 0.44 11 วทิ ยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใชส้ ือ่ เหมาะสม 4.71 0.47 มากท่ีสดุ 12 วทิ ยากรเปิดโอกาสใหม้ ีส่วนรว่ มและซกั ถาม มากท่ีสุด ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก 4.06 0.24 มากที่สดุ 13 สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก 4.18 0.39 14 การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกดิ การเรียนรู้ 4.53 0.51 มาก 15 การบริการ การชว่ ยเหลอื และการแก้ปัญหา 4.44 0.11 มาก มากที่สดุ ภาพรวม มาก จากตาราง 2 พบว่า ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในการอบรมโดยรวมอยู่ในระดับมาก ( 4.44) เมื่อ พิจารณาเป็นรายข้อพบว่าผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจใน เน้ือหามีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพัฒนา

9 คณุ ภาพชวี ิต มีค่าเฉล่ียสงู สุด ( 4.88) รองลงมา คือ วิทยากรมีเทคนคิ การถ่ายทอดใช้ส่ือเหมาะสม และ สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก มีค่าเฉล่ียต่ำสุด ( 4.06) สามารถแสดงเป็น แผนภมู ไิ ด้ ดังนี้ สรุป ตาราง 3 สรปุ ผลการดำเนนิ งานตามโครงการ ตัวชว้ี ัด เกณฑ์ ผลการ เปา้ หมายการบรรลุ หมาย ดำเนนิ งาน บรรลุ ไม่บรรลุ เหตุ 1.ผเู้ ข้ารับการอบรม ไดร้ ับการเรยี นรู้โครงการ ทกุ คน การเรยี นรู้หลกั ปรัชญาของ ทกุ คน ✓ เศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ มคี วาม หลกั สตู รการทำปยุ๋ จากมลู ไสเ้ ดอื น พงึ พอใจ ระดบั มาก ✓ 2. ผเู้ ขา้ รับการอบรมมีความพึงพอใจต่อการ ในระดับ จัดโครงการการเรียนรู้ตามหลักปรชั ญา เศรษฐกิจพอเพยี ง หลักสูตรการทำปุย๋ จาก มาก มลู ไส้เดอื นเฉลีย่ อยใู่ นระดับ มาก

10 1.จุดเดน่ ของโครงการการเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักสตู รการทำปุ๋ยจากมูลไสเ้ ดือน 1.1 โครงการการเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง หลักสูตรการทำปยุ๋ จากมูลไส้เดือน มผี ลการประเมินความพงึ พอใจ โดยรวมอยู่ในระดบั มาก ( = 4.44 ) 1.2 ผู้เข้ารับการอบรม ทุกคน ได้รับแนวทางเน้ือหา สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน ไดอ้ ย่างเหมาะสม 1.3 เข้ารับการอบรม มคี วามพงึ พอใจตอ่ การจดั ตามโครงการการเรียนรหู้ ลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ หลักสตู รการทำปุ๋ยจากมลู ไส้เดือน เฉล่ยี อยู่ใน ระดบั มาก 2. จดุ ท่คี วรพัฒนาของโครงการการเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 2.1 จำนวนสอื่ และอุปกรณก์ ารฝกึ ประกอบการเรียนไมเ่ พยี งพอต่อการฝึกอบรม 3. ขอ้ เสนอแนะเพอื่ การพัฒนา 3.1 เป็นเรื่องท่ีต้องนำไปขยายผลการอบรม เน้นการสรา้ งจิตสำนึกในการร่วมกนั แกป้ ัญหา ควรมี การนิเทศติดตามและรายงานผลการโครงการการเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง อย่างตอ่ เนือ่ ง

11 ภาคผนวก

12 โครงการการเรียนรูต้ ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง กศน.ตำบลนาหกู วาง ประจำปงี บประมาณ 2564

13 1. ชื่อโครงการ : โครงการเรียนรตู้ ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง กศน.ตำบลนาหูกวาง ปงี บประมาณ 2564 2. ความสอดคล้องของแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 2.1 สอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ 2.2 สอดคลอ้ งกบั แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพฒั นาศกั ยภาพคนทุกชว่ งวยั และการส้รางสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ 2.3 สอดคล้องกับนโยบายและจดุ เน้นของกระทรวงศึกษาธกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 1. เรยี นรู้การใชด้ ิจิทัล เพ่อื ใช้เปน็ เครอ่ื งมือสำาหรับหาชอ่ งทางในการสร้างอาชพี 2. จัดทำหลักสตู รพัฒนาอาชพี ทีเ่ หมาะสมสำหรบั ผู้ท่เี ข้าสสู่ ังคมสงู วยั 2.4 สอดคล้องกบั 12 นโยบายเรง่ ด่วนภารกจิ ตอ่ เนื่อง พ.ศ. 2564 12 ภารกจิ “เร่งด่วน” ทจ่ี ะต้อง “จบั ต้องได้” ภายใน 6 เดือน ของเลขาธกิ าร กศน. (นายวรทั พฤกษาทวีกลุ ) “คนสำราญ งานสำเร็จ” ข้อ 8 ส่งเสริม สนับสนุนการฝึกอาชีพเพื่อการมีงานทำ “Re-Skill Up-Skill และออก ใบรบั รอง ความรคู้ วามสามารถ” ข้อ 9 สง่ เสริมการมีส่วนรว่ มกับทุกภาคีเครือข่ายและภาคเอกชนในการฝึกอาชีพและ สง่ เสรมิ การตลาด เพ่ือยกระดับผลติ ภณั ฑ์/สนิ คา้ กศน. ขยายช่องทางการจำหน่าย ภารกจิ ต่อเนอ่ื ง 1.3 การศกึ ษาต่อเน่อื ง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทำอย่างย่ังยืน โดยให้ความสำคัญกับการจัดการศึกษา อาชีพเพอื่ การมงี านทำในกลมุ่ อาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณชิ ยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทาง หรือการบริการ รวมถึงการเน้นอาชีพช่างพ้ืนฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและ ศักยภาพของแต่ละพ้ืนที่ มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นท่ียอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีหนึ่งอาชีพเด่น รวมทั้งให้มีการกำกับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำอย่างเป็นระบบและ ต่อเนือ่ ง 2.5 สอดคลอ้ งกับพนั ธกิจของสำนักงาน กศน.จงั หวดั ประจวบครี ขี ันธ์ พันธกิจท่ี 2 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมี คุณภาพและการเรียนรู้ตลอดชีวิตภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะที่จำเป็นในโลก ศตวรรษที่ 21

14 พันธกิจที่ 3 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาจัดทำหลักสูตร รูปแบบการจัดการเรียนรู้ ส่อื และนวัตกรรม การวิจยั การวัดผลและประเมินผล ให้สอดคลอ้ งกับบริบทในพ้ืนท่ี พันธกจิ ที่ 4 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษานำเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยี ดิจิทลั มาใช้ในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ พันธกิจที่ 5 ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายจัดส่งเสริมและสนับสนุนการจัด การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2.6 สอดคลอ้ งกับพนั ธกิจของ กศน.อำเภอทับสะแก พนั ธกจิ ท่ี 1 จัดกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ใหผ้ ู้เรยี น/ ผู้รับบรกิ าร ทุกกลมุ่ ทกุ ชว่ งวัย มโี อกาสการเรยี นรู้อยา่ งตอ่ เน่ืองอย่างทัว่ ถึงและมีคุณภาพ พนั ธกจิ ท่ี 3 จัดกจิ กรรมและส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียน/ผู้รับบริการ มีทักษะการเรยี นรู้พร้อมรบั การ เปล่ียนแปลงของโลกในศตวรรษท่ี 21 พนั ธกจิ ท่ี 5 สถานศกึ ษาสง่ เสริมและพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ทีห่ ลากหลาย พันธกิจท่ี 6 สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรและรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและ นวัตกรรมที่สอดคลอ้ งกบั บริบทของชมุ ชน พันธกิจท่ี 8 ส่งเสริมและสนับสนุนภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม การศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย 2.7 สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานการศกึ ษา ตอ่ เนอื่ ง มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รยี นการศึกษาต่อเนอื่ ง มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจดั การเรียนรกู้ ารศึกษาต่อเน่ือง มาตรฐานท่ี 3 คณุ ภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา 3. หลักการและเหตผุ ล หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาช้ีถึงแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของ ประชาชนในทุกระดับ ต้ังแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหาร ประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง มีความพอประมาณ มีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นท่ีจะต้องมีระบบ ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงท้ังภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบและความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ใน การวางแผนและการดำเนินการทุกข้ันตอน ให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซ่ือสัตย์สุจริต และมีความรอบรูท้ ่ี เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพ่ือให้สมดุลและ

15 พร้อมต่อการรองรับการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และ วฒั นธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอทับสะแก โดย กศน.ตำบลนาหูกวาง ได้เล็งเห็นความสำคัญของเร่ืองดังกล่าว จึงได้โครงการการเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กศน. ตำบล นาหูกวาง ประจำปงี บประมาณ 2564 ขึ้น 4. วตั ถุประสงค์ 4.1 เพอื่ ให้ผู้เรียนในตำบลนาหกู วาง มคี วามร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4.2 เพื่อให้ผู้เรียนในตำบลนาหกู วาง มที ักษะกระบวนการคิดตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 5.เป้าหมาย 5.1 เปา้ หมายเชงิ ปริมาณ ประชาชนตำบลนาหูกวาง จำนวน 15 คน 5.2 เปา้ หมายเชิงคุณภาพ ผู้เรียนในตำบลนาหูกวาง มีความรู้และทักษะกระบวนการคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง สามารถนำมาประยกุ ตใ์ ช้ในการดำเนนิ ชีวติ และพัฒนาสงั คมได้ 6. วิธกี ารดำเนนิ งาน กิจกรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เป้าหมาย พนื้ ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ ดำเนนิ การ - 1. ขัน้ วางแผน(Plan) เพื่อใหก้ าร - ผอ.กศน. 1 คน เม.ย. 64 1.1 ประชุมวางแผน ดำเนินงานตาม อำเภอ กศน. - ปฏบิ ัตงิ าน โครงการมี ทบั สะแก 2 คน 1.2 แตง่ ตง้ั คณะทำงาน ประสิทธภิ าพ - ครูผ้ชู ่วย 2 คน อำเภอ ม.ิ ย. 64 1.3 จัดทำโครงการและ - ครู ขออนุมตั ิโครงการ อาสาสมคั ร 6 คน ทับสะแก 1.4 ประชาสัมพนั ธ์ กศน. โครงการฯ - ครู กศน. ตำบล

16 กจิ กรรมหลัก วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เปา้ หมาย พ้ืนท่ี ระยะเวลา งบประมาณ ดำเนินการ 2.ขั้นดำเนนิ งาน (Do) 1.เพื่อให้ผ้เู รยี น - ประชาชน 15 คน ศาลา 3 ก.ค. 64 4,400 -อบรมใหค้ วามรู้ทักษะ และกระบวนการคิด ในตำบลนาหู ทวั่ ไป เอนกประส ตามหลกั ปรัชญาของ กวาง มีความรู้ งคห์ มู่ 3 เศรษฐกิจพอเพียง ตามหลัก ตำบล หลักสูตรการทำปุ๋ยจาก ปรัชญาของ นาหูกวาง มลู ไสเ้ ดือน จำนวน 6 เศรษฐกจิ อำเภอ ชวั่ โมง พอเพียง ทับสะแก 2.เพื่อให้ผูเ้ รยี น จงั หวัด ในตำบลนาหู ประจวบ ครี ีขนั ธ์ กวาง มีทักษะ กระบวนการคดิ ตามหลัก ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง 3. ขนั้ ตรวจสอบ 1.เพื่อประเมิน คณะกรรมการ 4 คน ศาลา 3 ก.ค. 64 - ทรี่ ับผดิ ชอบ เอนกประส (Check) ความเปน็ ไปได้ ฝ่ายวดั ผลและ งคห์ มู่ 3 ประเมนิ ผล ตำบล 3.1 การประเมนิ ผลก่อน ของโครงการ นาหกู วาง ดำเนินโครงการ อำเภอ 2.เพือ่ ประเมิน ทบั สะแก 3.2 การประเมินระหว่าง ความกา้ วหน้า จงั หวัด ดำเนินการ ประจวบ ของโครงการ ครี ีขนั ธ์ 3.3 การประเมนิ เมื่อ 3.เพื่อประเมิน เสรจ็ สิน้ โครงการ ผลสำเรจ็ ของ โครงการ

17 กิจกรรมหลัก วตั ถปุ ระสงค์ กล่มุ เป้าหมาย เป้าหมาย พื้นท่ี ระยะเวลา งบประมาณ ดำเนินการ 4. ขั้นปรบั ปรุงแก้ไข เพ่อื ปรบั ปรุง คณะกรรมการ 4 คน กศน. ก.ค. 64 - (Action) แก้ไขและ ทีร่ บั ผิดชอบ อำเภอทบั 4.1 รวบรวมขอ้ มลู สะแก พัฒนาการ ฝา่ ยรายงาน วเิ คราะห์ข้อมลู สรปุ และ ดำเนินโครงการ ผล จดั ทำรายงานการ ประเมินโครงการ 4.2 ประชุมคณะทำงาน เพ่ือนำขอ้ มูลจากการ ประเมินโครงการไปใช้ ปรับปรุงแก้ไข และ พฒั นาดำเนินโครงการ ต่อไป 7. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ งบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2564 จากแผนงาน : พ้ืนฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตท่ี 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กจิ กรรมจัดการศึกษานอกระบบ งบ ดำเนนิ งานจำนวนเงิน 4,400 บาท (ส่ีพนั สรี่ ้อยบาทถ้วน) ตามรายละเอียดดงั นี้ - ค่าตอบแทนวทิ ยากร200 x 6ช่วั โมง เป็นเงิน 1,200 บาท - คา่ อาหารกลางวัน15 คนx70บาทx1มอื้ เปน็ เงนิ 1,050 บาท - คา่ อาหารว่างและเครอ่ื งดมื่ 15คนx 25บาทx2มือ้ เปน็ เงนิ 750 บาท - คา่ วัสดโุ ครงการ เปน็ เงนิ 1,400 บาท รวมเปน็ เงิน 4,400 บาท หมายเหตุ ทกุ รายการถวั เฉลีย่ จา่ ยเทา่ ท่ีจ่ายจรงิ

18 8. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ กจิ กรรมหลัก ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (ต.ค.-ธ.ค. 63) (ม.ค.-ม.ี ค. 64) (เม.ย.-มิ.ย. (ก.ค.-ก.ย. 64) 64) 1. จัดอบรมให้ความรู้ทักษะ และกระบวนการ - -- 4,400 คิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง อบรมใหค้ วามรู้ทกั ษะ และกระบวนการคิด 4,400 ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักสูตรเรียนรู้ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนา ทีย่ ง่ั ยืน จำนวน 6 ชวั่ โมง 2. การติดตามและประเมินผล 3. การรายงานและพัฒนาการจัดกิจกรรม รวม 9. ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ ครู กศน.ตำบลนาหูกวาง กศน. 9.1 นางสาวพรพมิ ล เยาวมาลย์ ครู อาสาสมัคร 9.2 นางสาวยุพเยาว์ เยาวหลี 10. เครือข่าย 10.1 องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลนาหกู วาง 10.2 ผนู้ ำชมุ ชนตำบลนาหกู วาง 11. โครงการท่ีเกี่ยวขอ้ ง 11.1 โครงการจัดการศึกษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชวี ิต 11.2 โครงการจัดการศึกษาเพอ่ื พฒั นาสังคมและชมุ ชน 11.3 โครงการจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย 12. ผลลัพธ์ (Outcome) ผ้เู รียนมคี วามรู้ และทักษะกระบวนการคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสามารถนำมา ประยุกต์ใช้ในการดำเนนิ ชีวติ และพฒั นาสงั คมได้

19

20 ขออนญุ าตจดั การศกึ ษาต่อเนื่อง โครงการการเรียนร้ตู ามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง กศน.ตำบลนาหกู วาง ประจำปีงบประมาณ 2564

21

22 คำสง่ั แต่งตงั้ คณะวิทยากร โครงการการเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงกศน.ตำบลนาหกู วาง ประจำปงี บประมาณ 2564

23

24 คำสง่ั แตง่ ตัง้ ประชานเิ ทศ โครงการการเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงกศน.ตำบลนาหกู วาง ประจำปงี บประมาณ 2564

25

26 แบบรายงานการจบหลักสูตร โครงการการเรยี นรูต้ ามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงกศน.ตำบลนาหกู วาง ประจำปีงบประมาณ 2564

27

28

29 บันทึกการนเิ ทศ โครงการการเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกศน.ตำบลนาหกู วาง ประจำปงี บประมาณ 2564

30

31 ทะเบียนผ้จู บหลกั สตู ร โครงการการเรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงกศน.ตำบลนาหกู วาง ประจำปงี บประมาณ 2564

32

33 แบบตดิ ตาม โครงการการเรยี นร้ตู ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกศน.ตำบลนาหกู วาง ประจำปีงบประมาณ 2564

34

35 แบบสอบถาม โครงการการเรยี นร้ตู ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงกศน.ตำบลนาหกู วาง ประจำปงี บประมาณ 2564

36 โครงการการเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง หลักสตู รการทำปยุ๋ จากมลู ไส้เดือน จำนวน 6 ชว่ั โมง วนั ที่ 3 กรกฎาคม 2564 ณ ศาลาเนกประสงค์บ้านโปง่ แดง หมู่ 3 ตำบลนาหูกวาง อำเภอทับสะแก จังหวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ ............................................................................ คำชี้แจง แบบสอบถามชุดน้ีมีวัตถุประสงค์ เพื่อสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อการอบรมครั้งน้ี ขอให้ท่านตอบข้อมูลท่ีตรง กบั ความเปน็ จริงหรือความคิดเห็นของทา่ นมากที่สดุ โดยการทำเครอ่ื งหมาย  และเตมิ ขอ้ ความในคำถามท่ีกำหนด ซ่ึง มที ้งั หมด 3 ตอน ประกอบดว้ ย ข้อมูลพน้ื ฐานของผู้ประเมนิ ความพึงพอใจ เพศ 0 ชาย 0 หญิง อายุ...........ปี วุฒกิ ารศึกษา......................อาชพี ........................ คำชแี้ จง 1. แบบประเมินความพงึ พอใจ มี 4 ตอน 2. โปรดแสดงเครอื่ งหมาย √ ในชอ่ งวา่ งระดับความพึงพอใจตามความคดิ เหน็ ของท่าน ระดับความพงึ พอใจ หมาย ข้อ รายการประเมินความพงึ พอใจ มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย เหตุ ท่สี ดุ กลาง ทส่ี ุด ตอนที่ ๑ ความพงึ พอใจดา้ นเน้ือหา 1 เนื้อหาตรงตามความต้องการ 2 เน้ือหาเพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการ 3 เนอ้ื หาปัจจบุ นั ทันสมยั 4 เน้ือหามปี ระโยชนต์ ่อการนำไปใชใ้ นการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ตอนที่ ๒ ความพงึ พอใจด้านกระบวนการจดั กจิ กรรมการอบรม 5 การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค์ 7 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา 8 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับกล่มุ เปา้ หมาย 9 วธิ ีการวัดผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ ตอนท่ี ๓ ความพึงพอใจต่อวิทยากร 10 วิทยากรมีความรูค้ วามสามารถในเรอื่ งท่ีถ่ายทอด 11 วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใชส้ อื่ เหมาะสม 12 วทิ ยากรเปิดโอกาสให้มสี ่วนร่วมและซักถาม ตอนท่ี ๔ ความพงึ พอใจดา้ นการอำนวยความสะดวก 13 สถานท่ี วสั ดุ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก 14 การสือ่ สาร การสร้างบรรยากาศเพือ่ ให้เกิดการเรยี นรู้ 15 การบรกิ าร การช่วยเหลือและการแกป้ ัญหา ตอนที่ 3 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ ............................................................................................................................................................................

37 ภาพประกอบ โครงการการเรยี นร้ตู ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กศน.ตำบลนาหกู วาง ประจำปงี บประมาณ 2564

38 โครงการเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง หลักสูตรการทำปุ๋ยจากมลู ไส้เดือน จำนวน 6 ชวั่ โมง วนั ที่ 3 เดือน กรกฎาคม พ.ศ 2564 ณ ศาลาเอนกประสงคห์ มู่ 3 ตำบลนาหูกวาง อำเภอทบั สะแก จงั หวัดประจวบคีรขี ันธ์

39 คณะผู้จดั ทำ ที่ปรกึ ษา ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอทับสะแก นางมณีรัตน์ อจั ฉริยพันธกลุ ครู กศน.อำเภอทับสะแก นายสุรพงษ์ อนนั ต์ธนสาร ครูผูช้ ่วย กศน.อำเภอทับสะแก นางสาวภชิ ชากร ชูรตั น์ วทิ ยากร วิทยากรและคณะทำงาน ครู กศน.ตำบล นางสาวมาลินี เกตุแกว้ นางสาวพรพิมล เยาวมาลย์ ผู้สรุปรายงานและจดั ทำรูปเล่ม นางสาวพรพมิ ล เยาวมาลย์ ครู กศน.ตำบล ออกแบบปก นางสาวพรพิมล เยาวมาลย์ ครู กศน.ตำบล

40