Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติกีฬาฟุตบอล ทั้ง ประวัติฟุตบอลไทย ประวัติกีฬาฟุตบอลโลก และกติกาการเล่นฟุตบอล

ประวัติกีฬาฟุตบอล ทั้ง ประวัติฟุตบอลไทย ประวัติกีฬาฟุตบอลโลก และกติกาการเล่นฟุตบอล

Published by rachan.hemtong, 2020-09-01 09:09:24

Description: ประวัติกีฬาฟุตบอล ทั้ง ประวัติฟุตบอลไทย ประวัติกีฬาฟุตบอลโลก และกติกาการเล่นฟุตบอล

Search

Read the Text Version

ประวตั ิกฬี าฟตุ บอล ท้ัง ประวัตฟิ ุตบอลไทย ประวตั กิ ฬี าฟุตบอลโลก และกติกาการเลน่ ฟุตบอล นับไดว้ ่า ฟุตบอล เปน็ กีฬาที่มีคนสนใจอยู่ทัว่ มมุ โลก เห็นได้จาก เวลาที่มกี ารแขง่ ขนั รายการใหญ่อย่างฟุตบอลโลก หรือฟุตบอลยูโร ก็จะมี บรษิ ัทต่าง ๆ ผลติ สินค้าเกีย่ วกบั การแข่งขนั ออกมาขายตอบสนองความ ตอ้ งการของแฟนบอลในตลาดเสมอ เช่น แกว้ ฟุตบอลโลก เสื้อแข่ง เปน็ ตน้ จึงเป็นหลกั ฐานช้ีชดั วา่ กีฬาชนดิ นี้ ไดร้ ับความนิยมไปท่ัวโลกจริง ๆ โดยเฉพาะประเทศไทย ทป่ี ระชาชนสนใจกฬี าฟตุ บอลเปน็ อันดับ 1 อยู่ แลว้ ดังน้นั เราจะมาทำความรู้จกั กับกีฬาฟุตบอลกัน เพื่อทำให้ผู้อา่ นเกิด อรรถรสในการรับชมการแข่งขันยิง่ ขึน้ ประวตั ิฟตุ บอล ฟตุ บอล (Football) หรือซอคเกอ้ ร์ (Soccer) เป็นกฬี าทมี่ ีผ้สู นใจ ที่จะชมการแข่งขันและเขา้ รว่ มเลน่ มากที่สดุ ในโลก ชนชาตใิ ดเป็นผกู้ ำเนิด กฬี าชนดิ นอี้ ย่างแทจ้ ริงนั้นไมอ่ าจจะยืนยันไดแ้ นน่ อน เพราะแต่ละชนชาติ ตา่ งยนื ยนั วา่ เกดิ จากประเทศของตน แตใ่ นประเทศฝร่ังเศสและประเทศ อติ าลี ไดม้ กี ารละเล่นชนดิ หน่ึงท่ีเรยี กว่า “ซเู ลอ” (Soule) หรอื จโิ อโค เดล คาซิโอ (Gioco Del Calcio) มลี กั ษณะการเล่นท่ีคลา้ ยคลงึ กับกีฬา ฟตุ บอลในปัจจบุ ัน ทั้งสองประเทศอาจจะถกเถยี งกนั วา่ กฬี าฟุตบอลถอื กำเนดิ จากประเทศของตน อันเปน็ การหาข้อยุติไมไ่ ด้ เพราะขาดหลกั ฐาน ยนื ยนั อย่างแท้จริง ดังนน้ั ประวัตขิ องกีฬาฟุตบอลท่ีมหี ลักฐานทแี่ ท้จรงิ สามารถจะอา้ งองิ ได้ เพราะการเลน่ ท่ีมีกตกิ าการแข่งขนั ท่แี น่นอน คอื ประเทศองั กฤษเพราะประเทศองั กฤษตัง้ สมาคมฟุตบอลในปี พ.ศ. 2406 และฟุตบอลอาชีพขององั กฤษเกิดขน้ึ ในปี พ.ศ. 2431

วิวฒั นาการดา้ นฟุตบอลจะเปน็ ไปพรอ้ มกบั ความเจริญกา้ วหนา้ ของ มนุษยต์ ลอดมา ต้นกำเนิดกฬี าตะวันออกไกลจะไดร้ ับอทิ ธิพลมาจาก สงครามคร้งั สำคัญๆ เช่น สงครามพระเจา้ อเลก็ ซานเดอรม์ หาราช ได้ นำเอา “แกลโล-โรมัน” (Gello-Roman) พร้อมกฬี าต่างๆ เขา้ มาสู่เมอื ง กอล (Gaul) อันเป็นรากฐานส่วนหนึ่งของกฬี าฟตุ บอลในอนาคต และการ เลน่ ฮาร์ปาสตัม (Harpastum) ไดถ้ กู ดัดแปลงมาเปน็ กีฬาซเู ล ประวตั กิ ีฬาฟตุ บอลในประเทศไทย กฬี าฟุตบอลในประเทศไทย ได้มกี ารเลน่ ต้ังแต่สมัย “พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอย่หู วั ” รชั กาลที่ 5 แห่งกรุงรตั นโก สิทร์ เนอ่ื งจากสมัยรชั กาลท่ี 5 พระองคไ์ ด้ส่งพระเจ้าลูกยาเธอ พระเจา้ หลานยาเธอ และข้าราชบรพิ ารไปศกึ ษาวิชาการดา้ นต่างๆ ทปี่ ระเทศ อังกฤษ และผทู้ น่ี ำกีฬาฟุตบอลกลบั มายงั ประเทศไทยเป็นคนแรกคอื “เจ้าพระยาธรรมศักดิม์ นตรี (สน่ัน เทพหัสดนิ ณ อยุธยา)” หรือ ที่ ประชนชาวไทยมักเรยี กชอ่ื สนั้ ๆว่า “ครูเทพ” ซึง่ ทา่ นไดแ้ ต่งเพลงกราว กฬี าที่พรอ้ มไปดว้ ยเร่อื งน้ำใจนักกฬี าอย่างแท้จรงิ เชอื่ กันว่าเพลงกราว กีฬาทีค่ รเู ทพแตง่ ไวน้ ีจ้ ะตอ้ งเป็น “เพลงอมตะ” และจะต้องคงอยู่ค่ฟู ้า ไทย เมอ่ื ปี พ.ศ. 2454-2458 ท่านไดด้ ำรงตำแหน่งเป็นเสนาบดีกระทรวง ธรรมการครงั้ แรก เมอื่ ทา่ นไดน้ ำฟตุ บอลเข้ามาเล่นในประเทศไทยไดม้ ี เสียงวิพากษ์วิจารณ์ตา่ งๆมากมาย โดยหลายคนกลา่ วว่า ฟุตบอลเป็นกฬี า ท่ไี ม่เหมาะสมกบั ประเทศที่มอี ากาศร้อน เหมาะสมกับประเทศท่มี ีอากาศ หนาวมากกว่า และเป็นเกมท่ที ำใหเ้ กดิ อนั ตรายตอ่ ผู้เล่นและผูช้ มได้งา่ ย ซ่งึ ข้อวจิ ารณ์ดังกลา่ วถา้ มองอย่างผวิ เผนิ อาจคล้อยตามได้ แตภ่ ายหลงั ขอ้

กล่าวหาดังกล่าวกไ็ ดค้ ่อยหมดไปจนกระท่ังกลายเป็น กีฬายอดนยิ มที่สดุ ของประชาชนชาวไทยและชาวโลกทัว่ ทุกมุมโลก ซงึ่ มวี ิวฒั นาการดงั กำลัง อยู่ระหว่างปรบั ปรงุ ขอ้ มลู ต่อไปนี้ พ.ศ. 2440 รัชกาลที่ 5 ไดเ้ สด็จนิวตั ิพระนคร กฬี าฟตุ บอลได้รับความ สนใจมากขน้ึ จากบรรดาขา้ ราชการบรรดาครอู าจารย์ ตลอดจนชาว อังกฤษในประเทศไทยและผสู้ นใจชาวไทยจำนวนมากข้นึ เปน็ ลำดบั กอร์ป กับครูเทพทา่ นได้เพียรพยายามปลกู ฝังการเลน่ ฟตุ บอลในโรงเรยี นอย่าง จริงจังและแพรห่ ลายมากในโอกาสต่อมา พ.ศ. 2443 (รศ. 119) การแข่งขนั ฟตุ บอลเปน็ ทางการครัง้ แรกของไทย ได้เกิดขึ้นเม่อื วันเสารท์ ่ี 2 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2443 (รศ. 119) ณ สนามหลวง ซ่งึ เป็นสถานทีอ่ อกกำลังกายและประกอบงานพธิ ีตา่ งๆการ แขง่ ขันฟุตบอลคปู่ ระวัติศาสตรข์ องไทย ระหว่าง “ชดุ บางกอก” กับ “ชดุ กรมศึกษาธกิ าร” จากกระทรวงธรรมการหรือเรยี กชื่อการแข่งขันครงั้ นวี้ ่า “การแขง่ ขันฟุตบอลตามขอ้ บงั คับของแอสโซซิเอชน่ั ” เพราะสมัยกอ่ น เรยี กว่า “แอสโซซิเอชน่ั ฟตุ บอล” (ASSOCIATIONS FOOTBALL) สมัย ปจั จบุ ันอาจเรียกได้ว่า “การแขง่ ขันฟตุ บอลของสมาคม” หรือ “ฟตุ บอล สมาคม” ผลการแข่งขนั ฟตุ บอลนดั พเิ ศษดังกล่าวปรากฏว่า “ชดุ กรม ศกึ ษาธิการ” เสมอกับ “ชดุ บางกอก” 2-2 (ครึง่ แรก 1-0) ต่อมาครเู ทพ ทา่ นไดว้ างแผนการจดั การแข่งขันฟุตบอลนักเรียนอยา่ งเป็นทางการพรอ้ ม แปลกติกาฟุตบอลแบบสากลมาใช้ในการแขง่ ขันฟตุ บอลนกั เรยี นครง้ั น้ี ด้วย พ.ศ. 2444 (รศ. 120) หนังสือวทิ ยาจารย์ เล่มที่ 1 ตอนท่ี 7 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2444 ไดต้ ีพมิ พ์เผยแพรเ่ ร่ืองกติกาการแข่งขันฟตุ บอล

สากลและการแขง่ ขนั อยา่ งเปน็ แบบแผนสากล การแข่งขันฟตุ บอลนักเรยี นครงั้ แรกของประเทศไทยได้เกิดขึน้ ในปี พ.ศ. 2444 นี้ ผูเ้ ขา้ แข่งขันตอ้ งเป็นนกั เรียนชายอายุไมเ่ กนิ 20 ปี ใช้วิธี จัดการแขง่ ขนั แบบนอ็ กเอาต์ หรือแบบแพ้คดั ออก (KNOCKOUT OR ELIMINATIONS) ภายใตก้ ารดำเนนิ การจดั การแข่งขันของ “กรม ศึกษาธิการ” สำหรับทมี ชนะเลศิ ติดต่อกนั 3 ปี จะไดร้ ับโล่รางวลั เป็น กรรมสิทธ์ิ พ.ศ. 2448 (รศ. 124) เดือนพฤศจิกายน สามัคยาจารย์ สมาคม ได้ เกดิ ข้นึ ครง้ั แรกเปน็ การแขง่ ขนั ฟุตบอลของบรรดาครูและสมาชกิ ครู โดย ใชช้ อื่ ว่า “ฟุตบอลสามัคยาจารย”์ พ.ศ. 2450-2452 (รศ. 126-128) ผู้ตดั สินฟุตบอลชาวองั ช่ือ “มร.อี. เอส.สมิธ” อดตี นกั ฟตุ บอลอาชีพไดม้ าทำการตดั สนิ ในประเทศไทย เป็น เวลา 2 ปี ทำให้คนไทยโดยเฉพาะครู-อาจารย์ และผู้สนใจไดเ้ รียนรู้กตกิ า และสง่ิ ใหมๆ่ เพ่มิ ขึน้ มาก พ.ศ. 2451 (รศ. 127) มีการจัดการแข่งขนั “เตะฟุตบอลไกล” ครั้งแรก พ.ศ. 2452 (รศ. 128) พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั รัชกาลที่ 5 ได้ทรงสวรรคต เมอ่ื วันที่ 22 ตลุ าคม พ.ศ. 2452 นับเปน็ การสูญเสยี ครงั้ ย่งิ ใหญ่ของผู้สนบั สนนุ ฟตุ บอลไทยในยุคน้ัน ซงึ่ ต่อมาในปี นี้ กรมศึกษาธกิ ารกไ็ ด้ประกาศใช้วธิ ีการแขง่ ขนั “แบบพบกันหมด” (ROUND ROBIN) แทนวธิ ีจัดการแข่งขนั แบบแพ้คดั ออกสำหรบั คะแนนที่ ใชน้ บั เป็นแบบของแคนาดา (CANADIAN SYSTEM) คอื ชนะ 2 คะแนน เสมอ 1คะแนน แพ้ 0 คะแนน และยังคงใชอ้ ยจู่ นถึงปัจจบุ ัน

ต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกลา้ เจ้าอยู่หวั รัชกาลท่ี 6 พระองค์ทรงมี ความสนพระทยั กีฬาฟตุ บอลเป็นอย่างย่ิงถึงกบั ทรงกฬี าฟตุ บอลเอง และ ทรงตง้ั ทมี ฟตุ บอลส่วนพระองคเ์ องชอ่ื ทมี “เสือป่า” และไดเ้ สดจ็ พระราช ดำเนินประทับทอดพระเนตรการแข่งขันฟตุ บอลเปน็ พระราชกจิ วัตรเสมอ มา โดยเฉพาะมวยไทยพระองคท์ รงเคย ปลอมพระองค์เปน็ สามญั ชนข้ึน ตอ่ ยมวยไทยจนได้ฉายาว่า “พระเจ้าเสือปา่ ” พระองคท์ ่านทรงพระปรชี า สามารถมาก จนเปน็ ท่ียกย่องของพสกนกิ รทั่วไปจนตราบเทา่ ทกุ วนั นี้ จากพระราชกจิ วัตรของพระองค์รชั กาลท่ี 6 ทางด้านฟุตบอลนบั ได้ว่าเป็น ยคุ ทองของไทยอยา่ งแทจ้ รงิ อกี ทั้งยงั มกี ารเผยแพร่ขา่ วสาร หนังสือพิมพ์ และบทความต่างๆทางด้านฟุตบอลดงั กำลงั อยูร่ ะหวา่ งปรับปรุงข้อมลู ต่อไปนี้ พ.ศ. 2457 (รศ. 133) พระยาโอวาทวรกจิ ” (แหมผลพันชนิ ) หรอื นามปากกา “ครูทอง” ไดเ้ ขยี นบทความกีฬา “เร่ืองจรรยาของผูเ้ ลน่ และ ผดู้ ฟู ตุ บอล” และ “คณุ พระวรเวทย์ พิสิฐ” (วรเวทย์ ศิวะศริยานนท)์ ได้ เขยี นบทความกีฬา “เร่ืองการเลน่ ฟตุ บอล” และ “พระยาพาณชิ ศาสตร์ วิธาน” (อู๋ พรรธนะแพทย์) ได้เขียนบทความกฬี าทปี่ ระทับใจชาวไทย อย่างยิ่ง “เรือ่ งอยา่ สำหรับนักเลงฟุตบอล” พ.ศ. 2458 (รศ. 134) ประชาชนชาวไทยสนใจกฬี าฟตุ บอลอย่าง กว้างขวาง เน่ืองจาก กรมศกึ ษาธกิ ารไดพ้ ฒั นาวธิ กี ารเลน่ วธิ ีจัดการ แข่งขนั การตดั สนิ กติกาฟตุ บอลทีส่ ากลยอมรับ ตลอดจนระเบียบการ แขง่ ขันท่รี ัดกมุ ย่ิงข้นึ และผู้ใหญใ่ นวงการให้ความสนใจอย่างแท้จริง นบั ตงั้ แตพ่ ระองค์รัชกาลที่ 6 เองลงมาถึงพระบรมวงศานุวงศ์จนถึงสามญั ชน และชาวต่างชาติ และในปี พ.ศ. 2458 จงึ ได้มกี ารแข่งขนั ฟตุ บอล ประเภทสโมสรครงั้ แรกเปน็ การชิงถ้วยพระราชทานและเรียกช่อื การ

แขง่ ขันฟตุ บอลประเภทนี้ว่า “การแขง่ ขนั ฟตุ บอลถว้ ยทองของหลวง” การแขง่ ขนั ฟุตบอลสโมสรน้ีเป็นการแขง่ ขนั ระหวา่ ง ทหาร-ตำรวจ-เสือปา่ ซ่ึงผู้เล่นจะต้องมีอายุเกนิ กวา่ ระดบั ทมี นักเรยี น นับวา่ เป็นการเพ่ิม ประเภทการแขง่ ขนั ฟุตบอล ราชกรฑี าสโมสร หรอื สปอร์ตคลับ นับไดว้ า่ เป็นสโมสรแรกของไทย และเปน็ ศนู ย์รวมของชาวต่างประเทศในกรงุ เทพฯ ซง่ึ ยังอยใู่ นปัจจุบนั และสโมสรสปอรต์ คลับเปน็ ศูนย์กลางของกฬี าหลายประเภท โดยเฉพาะ กฬี าฟตุ บอลได้มผี ู้เล่นระดับชาติจากประเทศองั กฤษมาเข้ารว่ มทมี อยู่ หลายคน เช่น มร.เอ.พี.โคลปี. อาจารย์โรงเรยี นราชวิทยาลัย นับไดว้ ่าเป็น ทมี ฟตุ บอลที่ดี มีความพรอ้ มมากทง้ั ทางดา้ นผู้เลน่ งบประมาณและ สนามแขง่ ขันมาตรฐาน จงึ ต้องเปน็ เจา้ ภาพให้ทีมตา่ งๆของไทยเรามา เยือนอยู่เสมอ ทำให้วงการฟตุ บอลไทยในยคุ น้นั ได้พฒั นายิง่ ขึน้ และ รชั กาลที่ 6 ทรงสนพระทยั โดยเสด็จมาเปน็ องค์ประธานพระราชทาน รางวลั เปน็ พระราชกิจวตั ร ทำให้ประชาชนเรยี กการแขง่ ขนั สมยั นั้นว่า “ฟุตบอลหน้าพระทนี่ ัง่ ” และระหว่างพักครง่ึ เวลามีการแสดง “พวก ฟตุ บอลตลกหลวง” นบั เป็นพิธชี นื่ ชอบของปวงชนชาวไทยสมัยนน้ั เปน็ อยา่ งย่งิ และการแขง่ ขันฟุตบอลสโมสรครงั้ แรกน้ี มีทีมสมัครเขา้ ร่วม แข่งขันจำนวน 12 ทีม ใชเ้ วลาในการแข่งขัน 46 วนั (11 ก.ย.-27 ต.ค. 2458) จำนวน 29 แมตช์ ณ สนามเสอื ปา่ ถนนหนา้ พระลาน สวนดุสิต กรงุ เทพมหานคร หรอื สนามหนา้ กองอำนวนการรักษาความปลอดภยั แห่งชาตปิ ัจจุบนั พระองคร์ ัชกาลท่ี 6 ได้ทรงโปรดเกล้าแต่งตั้ง คณะกรรมการดำเนนิ การแข่งขันนับว่าฟุตบอลไทยมีระบบในการบริหาร มานานนับถึง 72 ปีแล้ว

ความเจรญิ ก้าวหน้าของฟตุ บอลภายในประเทศไดแ้ ผ่ขยาย กว้างขวางทั่วประเทศไปสสู่ โมสรกฬี า-ต่างจังหวัดหรือชนบทอย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นทนี่ ยิ มกนั ท่ัวไปภายใต้การสนบั สนนุ ของรชั กาลท่ี 6 และพระองค์ ท่านทรงเลง็ เหน็ กาลไกลว่าควรทีต่ ะต้ังศูนย์กลางหรอื สมาคมอยา่ งมีระบบ แบบแผนทด่ี ี โดยมีคณะกรรมการบริหารสมาคมและทรงมีพระบรมราช โองการก่อต้งั “สโมสรคณะฟตุ บอลสยาม” ขึน้ มาโดยพระองคแ์ ละพระ บรมวงศานวุ งศ์ทรงเลน่ ฟุตบอลเอง รัชกาลท่ี 6 ได้ทรงมวี ัตถปุ ระสงค์ของการก่อตง้ั สมาคมฟุตบอลแหง่ สยาม ดงั น้ีคือ 1. เพอ่ื ให้ผู้เลน่ ฟุตบอลมีพลานามัยทีส่ มบรู ณ์ 2. เพื่อก่อให้เกิดความสามคั คี 3. เพ่อื ก่อให้เกดิ ไหวพรบิ และเป็นกีฬาทป่ี ระหยดั ดี 4. เพื่อเป็นการศึกษากลยุทธ์ในการรกุ และการรบั เชน่ เดยี วกบั กองทพั ทหารหาญ จากวตั ถุประสงค์ดังกลา่ ว นบั เป็นสง่ิ ทผ่ี ลกั ดันให้สมาคมฟุตบอลแห่งสยาม ดำเนินกจิ การเจริญกา้ วหน้ามาจนตราบถึงทกุ วันนี้ ซึง่ มีกำลังอยูร่ ะหว่าง ปรบั ปรุงข้อมลู ดงั นี้ พ.ศ. 2458 (ร.ศ. 134) การแข่งขนั ระหว่างชาตคิ รงั้ แรกของประเทศ ไทย เมอื่ วันองั คารที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 ณ สนามราชกรีฑา สโมสร (สนามมา้ ปทมุ วันปัจจบุ ัน) ระหวา่ ง “ทีมชาติสยาม” กบั “ทีมราช กรีฑาสโมสร” ตอ่ หนา้ พระทน่ี ่ัง และมี “มร.ดักลาส โรเบริ ์ตสัน” เป็นผู้ ตัดสนิ ซ่งึ ผลการแข่งขันปรากฏว่าทีมชาตสิ ยามชนะทมี ราชกรฑี าสโมสร 2-1 ประตู (คร่ึงแรก 0-0) และครงั้ ที่ 2 เมื่อวันเสารท์ ่ี 18 ธันวาคม

พ.ศ. 2458 เป็นการแขง่ ขนั ระหว่างชาตินัดที่ 2 แบบเหยา้ เยือนตา่ หน้า พระท่นี ัง่ ณ สนามเสอื ปา่ สวนดุสติ และผลปรากฏวา่ ทมี ชาตสิ ยามเสมอ กับทมี ราชกรฑี า สโมสร หรอื ทมี รวมตา่ งชาติ 1-1 ประตู (คร่ึงแรก 0-0) สมาคมฟตุ บอลแหง่ ประเทศไทย(THE FOOTBALL ASSOCIATION OF THAILAND) มวี วิ ัฒนาการตามลำดับตอ่ ไปนี้ พ.ศ. 2459 พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยหู่ ัวทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ตั้งสมาคมฟุตบอลแห่งสยามข้นึ เม่อื วันที่ 25 เมษายน พทุ ธศกั ราช 2459 และตราขอ้ บังคบั ขน้ึ ใช้ในสนามฟุตบอลแห่งสยาม ด้วยซึง่ มีช่ือย่อว่า ส.ฟ.ท. และเขียนเปน็ ภาษาอังกฤษว่า “THE FOOTBALL ASSOCIATION OF THAILAND UNDER THE PATRONAGE OF HIS MAJESTY THE KING” ใชอ้ ักษรย่อว่า F.A.T. และสมาคมฯ จัดการแขง่ ขนั ถ้วยใหญแ่ ละถ้วยนอ้ ยเป็นครง้ั แรกในปีน้ดี ้วย พ.ศ. 2468 เป็นภาคสี มาชิกสมาพนั ธ์ฟุตบอลระหวา่ งชาติ เม่อื วันที่ 23 มถิ ุนายน พุทธศักราช 2468 ชุดฟตุ บอลเสอื ป่าพรานหลวง ได้รบั ถ้วยของพระยาประสิทธิ์ศุภการ (เจ้าพระยารามราฆพ) ซงึ่ เล่นกบั ชดุ ฟตุ บอลกรมทหารรกั ษาวงั เม่ือ พ.ศ. 2459-2460 ไดร้ บั ไวเ้ ปน็ กรรมสิทธิ์ โดยชนะ 2 ปตี ดิ ต่อกัน ชดุ ฟุตบอลสโมสรกรมหรสพ ไดร้ ับพระราชทาน “ถ้วยใหญ่” ของสมาคม ฟตุ บอลแห่งสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ เมอื่ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2459

พ.ศ. 2499 การแกไ้ ขเพ่ิมเติมข้อบังคบั ครงั้ ที่ 3 และเรยี กวา่ ข้อบงั คับ ลกั ษณะปกครอง สมาคมฟตุ บอลฯ ได้สทิ ธ์สิ ง่ ทีมฟตุ บอลชาตไิ ทยเข้ารว่ มการแข่งขนั “กีฬา โอลมิ ปิก” ครง้ั ท่ี 16 นับเปน็ ครัง้ แรกท่ีประเทศไทยมสี ิทธเ์ิ ขา้ รว่ มการ แข่งขัน เมื่อวนั ที่ 26 พฤศจกิ ายน พุทธศักราช 2499 ณ นครเมลเบริ ์น ประเทศออสเตรเลีย พ.ศ. 2500 เป็นภาคสี มาชกิ สมาพนั ธ์ฟุตบอลแหง่ เอเชยี ซึง่ มีชือ่ ยอ่ วา่ เอ เอฟซี และเขยี นเปน็ ภาษาอังกฤษวา่ “ASIAN FOOTBALL CONFEDERATION” ใชอ้ กั ษรย่อวา่ A.F.C. พ.ศ. 2501 การแกไ้ ขเพมิ่ เติมข้อบังคบั ลกั ษณะปกครอง ครงั้ ที่ 4 พ.ศ. 2503 การแก้ไขเพ่มิ เตมิ ข้อบงั คบั ลักษณะปกครอง คร้ังที่ 5 พ.ศ. 2504-ปจั จบุ นั สมาคมฟตุ บอลฯได้จดั การแขง่ ขันฟตุ บอลถ้วยนอ้ ย และถ้วยใหญ่ ซึ่งภายหลงั ไดจ้ ดั การแขง่ ขันแบบเดียวกันของสมาคม ฟุตบอลองั กฤษคอื จัดเป็นประเภทถ้วยพระราชทาน ก, ข, ค, และ ง และ ยังจดั การแข่งขันประเภทอ่ืนๆ อกี เช่น ฟุตบอลนักเรียน ฟุตบอลเตรียม อุดม ฟตุ บอลอาชีวะ ฟตุ บอลเยาวชนและอนชุ น ฟุตบอลอุดมศกึ ษา ฟุตบอลเอฟเอ คัพ ฟุตบอลควสี ์ คพั ฟุตบอลคิงส์คัพ เป็นต้น ฯลฯ นอกจากนยี้ งั ได้จัดการแขง่ ขันและสง่ ทีมเข้าร่วมกบั ทมี นานาชาตมิ ากมาย จนถึงปจั จุบนั พ.ศ. 2511 สมาคมฟุตบอลไดส้ ิทธ์สิ ง่ ทมี ฟุตบอลชาตไิ ทยเข้าร่วมการ แข่งขนั กีฬาโอลมิ ปกิ เปน็ ครง้ั ที่ 2 เมื่อวนั ท่ี 13 ตุลาคม พุทธศักราช 2511 ณ ประเทศเม็กซโิ ก

พ.ศ. 2514 การแกไ้ ขเพ่มิ เตมิ ข้อบงั คบั ลกั ษณะปกครอง ครง้ั ที่ 6 ชดุ ฟุตบอลทีมชาติไทย ชุดแรกทเ่ี ดนิ ทางไปแขง่ ขนั “กฬี าโอลิมปิก” ครั้งที่ 16 ณ นครเมลเบิรน์ ประเทศออสเตรเลยี เม่อื วนั ท่ี 26 พฤศจกิ ายน 2499 พ.ศ. 2531 สมาคมฟุตบอลฯ ไดม้ ีโครงการจดั การแข่งขนั ฟตุ บอล ภายในประเทศ รวมทงั้ เชญิ ทีมต่างประเทศเข้าร่วมแข่งขัน และสง่ ทมี เข้า รว่ มการแข่งขนั ในต่างประเทศตลอดปี สนามแข่งขนั สนามฟตุ บอล ไมไ่ ด้มกี ารกำหนดขนาดไวแ้ บบตรง ๆ เนื่องจากใน พ้ืนทแี่ ตล่ ะสนาม อาจมพี นื้ ทีไ่ มเ่ ทา่ กัน แตไ่ ด้มกี ารกำหนดดา้ นยาว กว้าง ประมาณ 100-130 หลา ส่วนด้านกว้าง กวา้ งประมาณ 50-100 หลา โดยแบง่ เขตแดนออกเป็น 2 ฝง่ั อย่างละเทา่ ๆ กนั มี ประตขู นาดกว้าง 8 หลา สงู 8 ฟุต มเี ขตโทษ ซ่ึงนับหา่ งจากโกล หา่ ง 18 หลา สว่ นพื้นสนาม ฟตุ บอล ใช้หญ้าแท้หรือหญา้ เทยี มก็ได้ ลกู ฟุตบอล ลกู ฟุตบอลมลี กั ษณะเป็นทรงกลม ขนาดเสน้ รอบวงไมเ่ กิน 27- 28 น้วิ และหนัก 400-450 กรัม

ผ้เู ลน่ มีจำนวนฝั่งละ 11 คน โดยทีเ่ ป็นผ้รู กั ษาประตู 1 คน มีหน้าท่ี ปอ้ งกนั ไม่ใหฝ้ ่ังตรงขา้ มยิงประตูได้ วิธีการเล่น ผู้เลน่ จะใช้เท้าเล่นเปน็ หลกั โดยสามารถใชอ้ วยั วะสว่ นอืน่ ท่ไี มใ่ ช่ แขนและมอื ในการเลน่ ไดด้ ้วย โดยมเี ปา้ หมายคอื การทำประตูฝ่ายตรง ข้ามให้ได้ กตกิ า เวลาในการแข่งขัน การแข่งขนั แบ่งออกเปน็ 2 ครง่ึ ครงึ่ ละ 45 นาที โดยทงั้ 2 ฝง่ั มีหน้าท่ยี งิ ประตูฝงั่ ตรงขา้ มให้ได้มากกว่า ทั้งนี้ หาก

เสมอกนั ในการแขง่ ขันฟุตบอลรายการแพ้คัดออก จะตอ่ เวลาเพ่มิ อีกคร่ึง ละ 15 นาที รวม 2 ครง่ึ 30 นาทีดว้ ยกนั และถ้าหากยังตดั สนิ ผู้ชนะ ไม่ได้ กจ็ ะดวลจุดโทษตัดสินฝง่ั ละ 5 ลกู ซงึ่ ถา้ หากตัดสนิ ไม่ไดอ้ กี ก็จะยงิ ทีละ 1 ต่อ 1 คอื หากใครยิงพลาด และอกี ฝ่ายยงิ ได้ ก็เกมจบทันที อย่างไรก็ตาม เมอ่ื ยิงครบ 11 คนแล้วตัดสนิ ผชู้ นะไม่ได้ ก็จะวนกลบั มายงิ ใหม่ท่คี นแรก ไปเร่อื ย ๆ การผดิ กติกา ก็มี การท่ไี ม่ใช่ผู้รกั ษาประตูแล้วใช้มือเลน่ หรือ การพยายามขดั ขวางการเลน่ ของฝงั่ ตรงข้าม เชน่ ชน กระแทก ผู้เล่นที่มี บอล ก็คือวา่ เป็นการฟาลว์ และฝ่ายที่ถูกทำฟาล์ว กจ็ ะได้ลูกต้งั เตะ แตถ่ า้ ฝ่ายบุกถกู ทำฟาลว์ ในเขตโทษของฝ่ายรับ ก็จะเป็นลกู จุดโทษ ทีฝ่ ่ายบุกจะ ได้โอกาสยิงแบบ 1 ต่อ 1 กบั ผ้รู ักษาประตูฝา่ ยรับ กรณีท่ีฟตุ บอลออกขา้ ง ฝ่ายท่ีไมไ่ ดท้ ำใหอ้ อกขา้ งจะเป็นฝ่ายได้ ทุ่ม สว่ นกรณีบอลออกหลัง ถา้ เปน็ ฝา่ ยเจ้าของแดนทำออกหลงั เอง ฝ่ายที่ เดนิ หนา้ บุก จะได้เตะมุมเขา้ มา แตถ่ า้ เปน็ ฝา่ ยบุกทีท่ ำออก จะเป็นลูกต้ัง เตะจากประตู ใบเหลือง-ใบแดง จะแจกกต็ ่อเมอ่ื มผี เู้ ลน่ ท่ที ำผิดกตกิ า ใน ลักษณะท่ีรนุ แรง หรอื การถว่ งเวลา ผู้ตัดสนิ ก็จะให้ใบเหลืองแกค่ นทผ่ี ดิ กติกา สว่ นใบแดง ผู้ตดั สินจะให้ก็ต่อเม่อื มีการทำฟาลว์ ที่รุนแรงมาก เช่น ทำให้ได้รับบาดเจ็บหนกั หรอื เล่นอนั ตรายอยา่ งการเปิดป่มุ สต๊ดั ไปทข่ี า ของฝ่ายตรงข้าม เปน็ ตน้ นอกจากนี้ การได้ใบแดง จะมอี ีกกรณีหนึ่งคือ การทำฟาลว์ แบบไม่รนุ แรง แต่ฟาลว์ ขณะท่ฝี ัง่ ตรงข้ามกำลงั จะทำประตไู ด้ กไ็ ดร้ บั ใบแดงเช่นกัน

การลำ้ หน้า คอื การจา่ ยบอลไปยังผูเ้ ล่นทย่ี นื อยสู่ ูงกว่าผ้เู ล่นฝั่ง ตรงขา้ มในลำดบั รองสดุ ทา้ ย การคิดคะแนน นบั จากจำนวนลูกฟุตบอลท่ผี ่านเสน้ ประตเู ข้าไปอยา่ งเตม็ ใบ ภายในเวลาทกี่ ำหนดในการแข่งขนั (90 นาที) และนี่กค็ อื กตกิ าเบอ้ื งต้นทีเ่ ขา้ ใจงา่ ย ในการแข่งขนั กีฬาฟตุ บอล กีฬายอดฮิตของคนไทย ซ่งึ คาดวา่ จะทำให้ผู้อ่านสามารถดูฟุตบอลได้ อยา่ งเข้าใจง่ายขึ้น

ประวัตกิ ีฬาฟุตบอลโลก ฟุตบอลโลก หรอื ฟุตบอลโลกฟฟี า่ (FIFA World Cup) เปน็ การ แข่งขนั ฟตุ บอลระหว่างประเทศ โดย ฟุตบอลโลก เรม่ิ คร้งั แรกในปี ค.ศ. 1930 (พ.ศ.2473) สำหรบั ผู้รเิ ร่มิ ให้มีการแขง่ ขนั ฟุตบอลโลก คร้ังแรก คอื จลู ส์ ริเมท์ (Jules Rimet) เปน็ ชาวฝรง่ั เศส โดยได้เสนอในที่ประชุม ของประเทศสมาชกิ สหพันธฟ์ ุตบอลนานาชาติ เม่ือปี ค.ศ.1902 (พ.ศ. 2445) แต่กว่าจะลงตัวและเร่ิมจัดขนึ้ จริง ๆ คือปี ค.ศ.1930 ซง่ึ ประเทศทไี่ ด้เกียรตเิ ปน็ เจ้าภาพ ฟตุ บอลโลก คร้งั แรกได้แก่ ประเทศ อรุ กุ วัย โดยมปี ระเทศทเี่ ข้ารว่ มแขง่ ขนั ท้งั หมด 13 ชาติ และประเทศ อุรกุ วยั ก็คว้าแชมปโ์ ลกไปครองไดส้ ำเรจ็ ด้วยการเอาชนะประเทศ อาร์เจนตินาไป 4-2 ประตู ทงั้ น้ี เพ่ือเป็นเกียรตแิ ด่ จลู ส์ รเิ มท์ ถว้ ย รางวัลชนะเลศิ จงึ ใชช้ ่ือ “ถ้วยจลู ส์ รเิ มท”์ จากน้ันก็มีการจัดการแขง่ ขัน ฟุตบอลโลก ต่อเนอื่ งมาทุก 4 ปี โดยครัง้ ท่ี 2 จดั ข้ึนในปี ค.ศ.1934 (พ.ศ.2477) ทปี่ ระเทศอติ าลี ผล ปรากฏวา่ ทีมเจ้าภาพก็คว้าแชมปโ์ ลกไปครองไดอ้ ีก ด้วยการเอาชนะ ประเทศเชโกสโลวาเกยี ส่วนครัง้ ท่ี 3 จดั ข้ึนในปี ค.ศ.1938 (พ.ศ. 2481) ที่ประเทศฝรง่ั เศส แตป่ ระเทศอติ าลยี งั ยอดเยี่ยมควา้ แชมปโ์ ลก ไปครองไดอ้ ีกสมัย แต่หลังจากฟตุ บอลโลกครง้ั ท่ี 3 การแข่งขันต้อง หยดุ ชะงักไป 12 ปี (ค.ศ.1942, 1946) เนอ่ื งจากเกิดสงครามโลกครง้ั ท่ี 2 และไดม้ าเรมิ่ แข่งขันคร้ังที่ 4 ในปี ค.ศ.1950 (พ.ศ.2493) โดย ประเทศบราซิลรับเป็นเจา้ ภาพ ท่ามกลางความขัดแยง้ ของหลาย ๆ ชาติ เนอื่ งจากควนั หลงจากสงครามโลกนน่ั เอง ต่อมาในปี ค.ศ.1970 (พ.ศ.2513) ประเทศบราซลิ ไดค้ วา้ แชมป์ โลกเป็นสมยั ที่ 3 จงึ ไดส้ ิทธค์ิ รอบครอง ถ้วยจูลส์ ริเมท์ (ซ่ึงภายหลังได้ถูก

ขโมยไป) ทางสมาชกิ สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาตจิ ึงได้จัดทำถว้ ยรางวลั ขึ้นมาใหม่ โดยใช้ชื่อวา่ “ถว้ ยฟีฟ่า” ทำดว้ ยทองคำ มีความสูง 36 เซนติเมตร มลู คา่ ประมาณ 4 แสนดอลลารส์ หรัฐฯ และใชม้ าจนถงึ ปัจจบุ ัน ขณะเดยี วกัน ในปี ค.ศ.1982 (พ.ศ.2524) ซง่ึ เปน็ การแข่งขัน ฟุตบอลโลก ครง้ั ท่ี 12 ทางสมาชิกสหพนั ธฟ์ ตุ บอลนานาชาติได้ ปรบั เปลย่ี นจำนวนทมี เขา้ แขง่ ขนั จากเดิม 16 ทีม เปน็ 24 ทีม และในปี ค.ศ.1998 (พ.ศ.2541) ตอ่ มากเ็ พมิ่ จาก 24 ทีมเปน็ 32 ทมี เนอื่ งจาก ฟุตบอลเรม่ิ ได้รับความนิยมไปแพรห่ ลายทัว่ โลก แตล่ ะประเทศมกี าร พฒั นาฝเี ทา้ ข้นึ มาก จึงน่าจะมที มี ที่ผ่านเข้าสรู่ อบสดุ ทา้ ยมากขึ้นตามไป ดว้ ย จนไดช้ ่ือว่าเป็นการแข่งขนั กฬี าทม่ี ีผูช้ มมากที่สดุ ในโลก อยา่ งไรกต็ าม ถอื เปน็ ธรรมเนียมในการปฏิบตั ิ สำหรบั การคดั สรร ตวั มาสคอร์ท (Mascot) เพ่ือเป็นสัญลกั ษณ์ฟตุ บอลโลก (World Cup Mascot) ในการแข่งขันแต่ละคร้งั ในการแขง่ ขนั ฟุตบอลโลก คร้งั ที่ 19 หรอื ฟุตบอลโลก 2010 ตวั นำโชคอย่างเปน็ ทางการคือ ซากูมี (Zakumi) ซ่ึงเป็นมนษุ ย์ครึ่งเสอื ดาว ผมสเี ขยี ว ช่ือของเขามีทมี่ าจาก “ZA” ซง่ึ เป็นรหัสประเทศของประเทศแอฟรกิ าใต้ “kumi” ซ่งึ มี ความหมายวา่ “สิบ” เป็นจำนวนภาษาท่หี ลากหลายในแอฟรกิ า สขี อง ตัวนำโชคนี้บง่ บอกถึงชดุ ทที่ มี เจา้ ภาพใชท้ ำการแข่งขัน คอื สีขาว และ สี ดำ โดยคำขวญั ประจำการของ ซากมู ี คือ Zakumi’s game is Fair Play